SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 24
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ประวัติของ
Albert Bandura (1962 - 1986) นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน เป็น
ผู้พัฒนาทฤษฎีนี้ขึ้นจากการศึกษาค้นคว้าของตนเอง เดิมใช้ชื่อว่า"ทฤษฎีการ
เรียนรู้ทางสังคม" (Social Learning Theory) ต่อมาเขาได้เปลี่ยนชื่อ
ทฤษฎีเพื่อความเหมาะสมเป็น "ทฤษฎีปัญญาสังคม"
ทฤษฎีปัญญาสั งคมเน้ นหลักการเรี ยนรู้ โดยการสั งเกต
(Observational Learning) เกิดจากการที่บุคคลสังเกตการกระทาของ
ผู้อื่นแล้วพยายามเลียนแบบพฤติกรรมนั้น ซึ่งเป็ นการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นใน
สภาพแวดล้อมทางสังคมเราสามารถพบได้ในชีวิต ประจาวัน เช่น การออกเสียง
การขับรถยนต์ การเล่นกีฬาประเภทต่างๆ เป็นต้น
ความคิดพื้นฐานของทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมเชิงพุทธิปัญญา
1. บันดูราได้ให้ความสาคัญของการปฏิสัมพันธ์ของอินทรีย์และสิ่งแวดล้อม และ
ถือว่าการเรียนรู้ก็เป็นผลของปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนและสิ่งแวดล้อม โดยผู้เรียน
และสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อกันและกัน
B
EP
B = พฤติกรรม(Behavior)
P = ปัญญาและองค์ประกอบส่วนบุคคล
(Cognitive and other Personal Factors)
E = สภาพแวดล้อม (Environmental Events)
2. บันดูราได้ให้ความแตกต่างของการเรียนรู้ (Learning) และการกระทา
(Performance) ถือว่าความแตกต่างนี้สาคัญมาก เพราะคนอาจจะเรียนรู้อะไร
หลายอย่างแต่ไม่กระทา
สรุปว่าพฤติกรรมของมนุษย์อาจจะแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท
2.1 พฤติกรรมสนองตอบที่เกิดจากการเรียนรู้ ผู้ซึ่งแสดงออกหรือกระทาสม่าเสมอ
2.2 พฤติกรรมที่เรียนรู้แต่ไม่เคยแสดงออกหรือกระทา
2.3 พฤติกรรมที่ไม่เคยแสดงออกทางการกระทา เพราะไม่เคยเรียนรู้จริง ๆ
3. บันดูราไม่เชื่อว่าพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจะคงตัวอยู่เสมอ ทั้งนี้เพราะสิ่งแวดล้อม
เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ และทั้งสิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมมีอิทธิพลซึ่งกันและกัน
ตัวอย่างเช่น เด็กที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวก็คาดหวังว่าผู้อื่นจะแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวต่อ
ตนด้วย ความหวังนี้ก็ส่งเสริมให้เด็กแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว และผลพวงก็คือว่าเด็กอื่น
(แม้ว่าจะไม่ก้าวร้าว) ก็จะแสดงพฤติกรรมตอบสนองแบบก้าวร้าวด้วย และเป็นเหตุให้เด็กที่มี
พฤติกรรมก้าวร้าวยิ่งแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวมากยิ่งขึ้น ซึ่งเป็นการย้้าความคาดหวังของตน
บันดูรา
สรุปว่า “เด็กที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวจะสร้างบรรยากาศก้าวร้าวรอบ ๆ ตัว จึงท้าให้เด็ก
อื่นที่มีพฤติกรรมอ่อนโยนไม่ก้าวร้าวแสดงพฤติกรรมตอบสนองก้าวร้าว เพราะเป็นการแสดง
พฤติกรรมต่อสิ่งแวดล้อมที่ก้าวร้าว”
ขั้นของการเรียนรู้โดยการสังเกตหรือเลียนแบบ ตามแผนผัง
การเรียนรู้ที่แบ่งออกเป็น 2 ขั้น อาจจะแสดงด้วยแผนผังดังต่อไปนี้
แผนผังที่ 1 ขั้นของการเรียนรู้โดยการเลียนแบบขั้นการรับมาซึ่งการเรียนรู้
ประกอบด้วยส่วนประกอบที่สาคัญเป็นลาดับ 3 ลาดับ ดังแสดงในแผนผังที่ 2
แผนผังที่ 2 ส่วนประกอบของการเรียนรู้ขึ้นกับการรับมาซึ่งการเรียนรู้
แผนผังที่ 3 กระบวนการในการเรียนรู้โดยการสังเกต
ขั้นของการเรียนรู้โดยการสังเกตหรือเลียนแบบ ตามแผนผัง
1.ขั้นให้ความสนใจ (Attention Phase) ถ้าไม่มีขั้นตอนนี้ การเรียนรู้
อาจจะไม่เกิดขึ้น เป็นขั้นตอน ที่ผู้เรียนให้ความสนใจต่อตัวแบบ
(Modeling) ความสามารถ ความมีชื่อเสียง และคุณลักษณะเด่นของตัวแบบจะ
เป็นสิ่งดึงดูดให้ผู้เรียนสนใจ
2.ขั้นจา (Retention Phase) เมื่อผู้เรียนสนใจพฤติกรรมของตัวแบบ
จะบันทึกสิ่งที่สังเกตได้ไว้ในระบบความจาของตนเอง ซึ่งมักจะจดจาไว้เป็นจินต
ภาพเกี่ยวกับขั้นตอนการแสดงพฤติกรรม
ขั้นตอนการเรียนรู้โดยการสังเกต มีทั้งหมด 4 อย่างคือ
3.ขั้นแสดงพฤติกรรมเหมือนตัวอย่าง (Reproduction Phase) เป็น
ขั้นตอนที่ผู้เรียนลองแสดงพฤติกรรมตามตัวแบบ ซึ่งจะส่งผลให้มีการ
ตรวจสอบการเรียนรู้ที่ได้จดจาไว้
4.ขั้นจูงใจ (Motivation Phase) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นแสดงผลของการ
กระทา (Consequence) จากการแสดงพฤติกรรมตามตัวแบบ ถ้าผลที่ตัว
แบบเคยได้รับ (Vicarious Consequence) เป็นไปในทางบวก
(Vicarious Reinforcement) ก็จะจูงใจให้ผู้เรียนอยากแสดง
พฤติกรรมตามแบบ ถ้าเป็นไปในทางลบ (Vicarious Punishment)
ผู้เรียนก็มักจะงดเว้นการแสดงพฤติกรรมนั้นๆ
ขั้นตอนการเรียนรู้โดยการสังเกต มีทั้งหมด 4 อย่างคือ
1) ทาให้เกิดพฤติกรรมใหม่ ๆ เช่น ดูตัวอย่าง การเต้นรา แล้ว
สามารถกระทาตามได้ หรือตัวอย่างทักษะต่าง ๆ เช่น การ
ปฏิบัติงานในห้องทดลอง การดูตัวแบบ ที่ดีจะก่อให้เกิดการเรียนรู้
ที่มีประสิทธิภาพ
2) เป็นตัวกระตุ้นพฤติกรรม ที่สามารถกระทาได้แล้ว เช่น ทักษะ
การพูด ถ้าได้ดูตัวอย่างบุคคลที่พูดเก่งก็จะทาให้มีความสามารถใน
การเรื่องการพูดได้ดีด้วย
ผลที่ได้รับจากการเรียนรู้
3) การเพิ่มหรือลดการไตร่ตรองในการแสดงพฤติกรรม พฤติกรรมที่ไม่
ดีบางอย่างถ้าตัวแบบซึ่งเป็นผู้ที่เด่นหรือบุคคลที่สาคัญเป็นผู้กระทา จะ
ทาให้เกิดการทาตามอย่าง
4) การดึงความสนใจต่อสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้นๆ เพราะโดย
ปกติแล้ว การสังเกตผู้อื่นเราจะไม่สังเกตเพียงแค่การกระทาเท่านั้น แต่
จะสังเกตสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องด้วย
5) การเร้าอารมณ์ การสังเกตพฤติกรรมของผู้อื่นอาจก่อให้เกิดการมี
อารมณ์ร่วมด้วย
ผลที่ได้รับจากการเรียนรู้
ขอบเขตและการนาไปใช้
Bandura เชื่อว่าพฤติกรรมหลายชนิดที่คนแสดงออก เป็น
พฤติกรรมได้มาจากการสังเกต และการแสดงเป็นต้นแบบของคนอื่น
การเป็นโมเดลมี 3 ลักษณะคือ
1. โมเดลมีชีวิตบุคคลจริงๆ แสดงพฤติกรรมบางชนิด
2. โมเดลสัญลักษณ์บุคคลหรือตัวละครแสดงในภาพยนตร์ โทรทัศน์
หนังสือ หรือสื่ออื่นๆ
3. การเรียนการสอนผ่านวัจนะพรรณนาหลักความประพฤติโดยไม่มี
ตัวอย่างของมนุษย์จริงและ สัญลักษณ์ใดๆ
พฤติกรรมที่สามารถเรียนรู้ผ่านโมเดล
1. ความก้าวร้าว : ผลการศึกษาวิจัยพบว่าเด็กจะมีพฤติกรรมก้าวร้าว
ยิ่งขึ้นเมื่อได้ดูโมเดลของความก้าวร้าวรุนแรง
2. หลักศีลธรรม : พฤติกรรมด้านศีลธรรม และจิตสานึกด้านศีลธรรม
หลากหลายได้รับอิทธิพลจากการสังเกตและการเป็น
แบบอย่างที่ดี
เงื่อนไขจาเป็นที่ส่งผลกระทบให้เกิดโมเดล
1. ความตั้งใจ
2. ความทรงจา
3. การแสดงออกทางร่างกาย
4. แรงจูงใจ
ผลกระทบของการเป็นโมเดลต่อพฤติกรรม
1.การเป็นโมเดลสอนพฤติกรรมใหม่ๆ
2. การเป็นโมเดลมีอิทธิพลต่อความถี่การแสดงพฤติกรรมที่เรียนรู้มาก่อน
3. การเป็นโมเดลอาจกระตุ้นพฤติกรรมต้องห้ามที่มีอยู่แล้ว
4. การเป็นโมเดลช่วยเพิ่มความถี่การแสดงพฤติกรรมที่คล้ายคลึงกัน
คุณลักษณะของโมเดลที่มีประสิทธิผล
1. โมเดลที่มีสมรรถภาพ
2. โมเดลที่มีอานาจและบารมี
3. โมเดลที่แสดงพฤติกรรมก้ากึ่งว่าเหมาะสม
4. พฤติกรรมของโมเดที่สอดคล้องกับเหตุการณ์ของผู้สังเกต
ตัวอย่าง
เราเรียนรู้หลายสิ่งหลายอย่างผ่านโฆษณาทีวี โฆษณา
มักจะชี้นาว่าการดื่มเครื่องดื่มบางอย่าง หรือใช้ยาสระผมบางยี่ห้อทา
ให้เราเป็นที่สนอกสนใจจากคนรอบข้าง และมักจะมีคนสวยๆหรือ
หล่อๆเข้ามาหา ขึ้นอยู่กับกระบวนการต่างๆที่เกี่ยวข้อง เช่นความ
สนใจหรือแรงจูงใจ เราอาจเลียนแบบพฤติกรรมที่อยู่ในโฆษณา
และซื้อสินค้าที่เขาโฆษณากันไปตามระเบียบ
รูปภาพ ประกอบ พฤติกรรมการเลียนแบบ
งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)
งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)
งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)
งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม
ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคมทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม
ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคมSiririn Noiphang
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูราทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูราhoossanee
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมจตุรพล ชานันโท
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4พัน พัน
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามPloykarn Lamdual
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)DuangdenSandee
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์Nonsawan Exschool
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบลทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบลimmyberry
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบwanchalerm sotawong
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 

Was ist angesagt? (20)

ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม
ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคมทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม
ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูราทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูรา
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบลทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
2
22
2
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบ
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 

Mehr von Nattayaporn Dokbua

เนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศ
เนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศเนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศ
เนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศNattayaporn Dokbua
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ Newแผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ NewNattayaporn Dokbua
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)Nattayaporn Dokbua
 
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลยกลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลยNattayaporn Dokbua
 
โลโก้โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล (สมมุตินาม)
โลโก้โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล (สมมุตินาม)โลโก้โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล (สมมุตินาม)
โลโก้โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล (สมมุตินาม)Nattayaporn Dokbua
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา
ร่างหลักสูตรสถานศึกษาร่างหลักสูตรสถานศึกษา
ร่างหลักสูตรสถานศึกษาNattayaporn Dokbua
 
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบ
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบกลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบ
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบNattayaporn Dokbua
 
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5Nattayaporn Dokbua
 
การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป กลุ่ม 1
การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป กลุ่ม 1การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป กลุ่ม 1
การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป กลุ่ม 1Nattayaporn Dokbua
 

Mehr von Nattayaporn Dokbua (10)

เนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศ
เนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศเนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศ
เนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศ
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ Newแผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
 
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลยกลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
 
โลโก้โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล (สมมุตินาม)
โลโก้โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล (สมมุตินาม)โลโก้โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล (สมมุตินาม)
โลโก้โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล (สมมุตินาม)
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา
ร่างหลักสูตรสถานศึกษาร่างหลักสูตรสถานศึกษา
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา
 
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบ
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบกลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบ
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบ
 
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
 
การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป กลุ่ม 1
การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป กลุ่ม 1การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป กลุ่ม 1
การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป กลุ่ม 1
 

งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)