SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 38
Downloaden Sie, um offline zu lesen
MBS
Mahasarakham Business School




         Need Respect, Self-Esteem


                       เสนอ
                อาจารย์ วจนะ ภูผานี


       รายวิชา พฤติกรรมผู้บริโภค ( 0902111 )
           ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2554
Need Respect, Self-Esteem   2




Need Respect, Self-Esteem                                                                     3
1.ลักษณะทัวไปของแนวโน้ มของกลุ่มทีมีความต้ องการ Need Respect, Self-Esteem
             ่                      ่                                                         3
2. ปัจจัยทีส่งผลต่ อการเปลียนแปลงและการเกิดขึนของแนวโน้ มนั้น ๆ
           ่               ่                 ้                                                4

       2.1 External Influences                                                                4

       2.2 Internal Influences                                                                8

3. Company Background                                                                         11
4. Business Analysis                                                                          13

       4.1 Market Analysis                                                                    13

       4.2 Competitors (คู่ แข่ งขัน)                                                         14

       4.3 Consumer Behavior (6 W 1H)                                                         15

       4.4 กลยุทธ์ STP บริษัท เมอร์ เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จากัด                              21

       4.5 Marketing Strategy (4 Ps)                                                           24
Need Respect, Self-Esteem   3



                           Need Respect, Self-Esteem




         Need Respect, Self-Esteem เป็ นความต้องการของมนุษย์ที่มีความต้องการเป็ นลาดับขั้น
เป็ นไปตามลาดับขั้นของทฤษฎีมาสโลว์ Self-esteem ความตระหนักถึงคุณค่าตนเอง
(Self-respect) ความเชื่อมันในความสามารถตนเอง(Self-efficacy)ความเชื่อว่า ตนเองมีคุณค่า
                            ่
มีความหมาย มีศกดิ์ศรี เท่าเทียมผูอื่น มีสิทธิ มีโอกาสที่จะสาเร็ จ ได้รับสิ่ งที่มุ่งหวัง มีสุขได้
                  ั               ้
เช่นเดียวกับผูอื่น ชีวิตมีค่า สมควรได้รับการดูแลปกป้ องให้ดี การได้รับการยอมรับจากคนอื่น
              ้
ความเชื่อว่า ตนเองสามารถ คิด เข้าใจ เรี ยนรู ้ ตัดสิ นใจในการแก้ปัญหการเผชิ ญหน้ากับความท้าทาย
หรื ออุปสรรคต่างๆ ในชีวิตได้ ไว้วางใจตนเอง ว่ามีความสามารถ มีพลัง มีประสิ ทธิ ภาพ
และพึ่งพาตนเองได้

        1.ลักษณะทัวไปของแนวโน้ มของกลุ่มทีมีความต้ องการ Need Respect, Self-Esteem
                      ่                       ่
                 เมื่อความต้องการได้รับความรักและการให้ความรักแก่ผอื่นเป็ นไปอย่างมีเหตุผล
                                                                    ู้
และทาให้บุคคลเกิดความพึงพอใจแล้วพลังผลักดันในขั้นที่ก็จะลดลงและมีความต้องการในขั้นต่อ
ไปมาแทนที่ กล่าวคือมนุษย์ตองการที่จะได้รับความนับถือยกย่องออกเป็ น 2 ลักษณะ คือ
                             ้
ลักษณะแรกเป็ นความต้องการนับถือตนเอง (self-respect)
ส่ วนลักษณะที่เป็ นความต้องการได้รับการยกย่องนับถือจากผูอื่น (esteem from others)
                                                        ้

                1.1 ความต้ องการนับถือตนเอง (self-respect) คือ ความต้องการมีอานาจ
มีความเชื่อมันในตนเองมีความแข็งแรงมีความสามารถในตนเองมีผลสัมฤทธิ์ ไม่ตองพึ่งพาอาศัยผู ้
             ่                                                             ้
อื่น และมีความเป็ นอิสระ
Need Respect, Self-Esteem   4


ทุกคนต้องการที่จะรู ้สึกว่าเขามีคุณค่าและมีความสามารถที่จะประสบความสาเร็ จในงานภาระกิจต่า
งๆ และมีชีวตที่เด่นดัง
           ิ

                     1.2 ความต้ องการได้ รับการยกย่ องนับถือจากผู้อน (esteem from others) คือ
                                                                   ื่
ความต้องการมีเกียรติยศ การได้รับยกย่อง ได้รับการยอมรับ ได้รับความสนใจ มีสถานภาพ
มีชื่อเสี ยงเป็ นที่กล่าวขานและเป็ นที่ชื่นชมยินดีมีความต้องการที่จะได้รับความยกย่องชมเชยในสิ่ งที่
เขากระทาซึ่งทาให้รู้สึกว่าตนเองมีคุณค่าว่าความสามารถของเขาได้รับการยอมรับจากผูอื่น    ้

        2. ปัจจัยทีส่งผลต่ อการเปลียนแปลงและการเกิดขึนของแนวโน้ มนั้น ๆ
                   ่               ่                 ้
            2.1 External Influences

                   2.1.1 ฒนธรรม คือ ผลรวมที่เกิดจากการเรี ยนรู ้ ความเชื่ อ ค่านิยม ธรรมเนียม
ศิลปะคุณธรรมกฎหมายความสามารถอุนิสยซึ่ งแต่ละตัวบุคคลจะมีบุคลิกพฤติกรรมแตกต่างกัน
                                      ั
             ่ ั
ออกไปขึ้นอยูกบสภาพแวดล้อมใกล้ๆ ตัวของแต่ละบุคลนั้นๆด้วยซึ่ งพฤติกรรมของคนในสังคมใด
                                                ั
สังคมหนึ่งโดยคนในสังคมนั้นยอมรับและเผยแพร่ กนต่อไปหน้าที่ของวัฒนธรรมวัฒนธรรมเป็ นสิ่ ง
ที่กาหนดพฤติกรรมของมนุษย์ และวัฒนธรรมเป็ นสิ่ งควบคุมสังคมสร้างความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อย
ให้แก่สังคมเพราะในวัฒนธรรมจะมีท้ งความศรัทธาความเชื่อค่านิยมบรรทัดฐานตลอดจนผลตอบ
                                  ั
แทนในการปฏิบติลงโทษ
                 ั

                 2.1.2              คนในกลุ่ม Need Respect, Self-Esteem
เป็ นคนที่อยูในกลุ่มที่ตองการการยกย่องเชิดชูเป็ นที่ยอมรับความต้องการมีอานาจมีความเชื่อมันใน
             ่           ้                                                                 ่
ตนเองมีความแข็งแรงมีความสามารถในตนเองมีผลสัมฤทธิ์ ไม่ตองพึ่งพาอาศัยผูอื่นและมีความเป็ น
                                                              ้              ้
อิสระ คนกลุ่มนี้จะอยูในกลุ่มชนชั้นระดับสู งค่อนข้างไปทางต่า- ระดับกลางค่อนข้างไปทางสู ง
                       ่
กลุ่มสังคมวัฒนธรรมนี้คนในกลุ่มนี้มี ความต้องการมีเกียรติยศ การได้รับยกย่อง ได้รับการยอมรับ
ได้รับความสนใจ มีสถานภาพ มีชื่อเสี ยงเป็ นที่กล่าวขาน และเป็ นที่ชื่นชมยินดี
มีความต้องการที่จะได้รับความยกย่องชมเชยในสิ่ งที่เขากระทาซึ่ งทาให้รู้สึกว่าตนเองมีคุณค่าและค
วาม สามารถของเขาได้รับการยอมรับจากผูอื่นดังนั้นคนในกลุ่มนี้จะยึดติดกับวัตถุ ของมียหอ
                                          ้                                           ่ี ้
ของแบรนด์เนม เป็ นที่ยอมรับของบุคคลในกลุ่มสังคมนั้นๆ มีรูปร่ างโดดเด่น เช่น นาฬิกาPatak
chanel เบนซ์ เป็ นต้น ของพวกนี้จะบ่งบอกถึงความมีเกียรติยศ ความหรู
มีระดับ,เบนซ์,กระเป๋ าChanal และอื่นๆ
Need Respect, Self-Esteem   5


                   2.1.3 ลักษณะประชากร หมายถึง
ลักษณะทางสถิติท่ีสาคัญและสามารถวัดได้ของประชาชน เช่นเพศ อายุ รายได้ อาชีพ การศึกษา
ซึ่งในที่น้ ีรวมถึงฐานะทางสังคมถิ่นฐานอายุความจาเป็ นและความสนใจในสิ นค้าหลายชนิดแปรผัน
ตามอายุซ่ ึ งคนที่มีความต้องการได้รับยกย่อง มีชื่อเสี ยง มีเกียรติยศ (self-esteem)
คนที่ตองการเช่นนี้จะอยูในกลุ่มอายุ Generation X คนในกลุ่ม Generation X คือคนที่เกิดในช่วง
         ้                  ่
ค.ศ.1965-1979 อายุระหว่าง32-46 ปี เป็ นกลุ่ม Gen X มีลกษณะพฤติกรรมชอบความเรี ยบง่ายและ
                                                           ั
ไม่เป็ นทางการ
                    เพศ บทบาทหน้าที่ตามเพศ
เป็ นส่ วนที่สาคัญของทุกวัฒนธรรมและมีความสาคัญในการแบ่งส่ วนตลาด
ซึ่ งกลุ่มคนที่มีความต้องการ Need Respect, Self-Esteem การยกย่องนับถือ มีเกียรติ ทั้งเพศหญิง
ชาย และกลุ่ม LBGT หรื อกลุ่มเลสเปี้ ยน
                                   ่
เมื่อความต้องการมาถึงในระดับที่วาด้วยการต้องการให้คนยกย่องนับถือ มีเกียรติยศ
แต่ส่วนใหญ่จะเป็ นเพศชายมากกว่า

                    2.1.4 สถานภาพทางสั งคม
                          รายได้ การศึกษา อาชีพ ตัวแปรทั้งสามนี้มีความสัมพันธ์กนมากั
และเป็ นความสัมพันธ์ท่ีต่อเนื่อง เนื่องจากผูที่มีอาชีพดีเป็ นที่ยกย่อง มักจะมีรายดีสูง
                                             ้
                                                  ่
และการศึกษาสู งด้วย ซึ่ งคนที่มีความต้องการอยูในระดับ Need Respect, Self-Esteem
จะเป็ นกลุ่มคนที่มีอาชีพดี รายได้ค่อนข้างดี การศึกษาสู ง ฐานะดี แต่ไม่อยูในขั้นชนชั้นระดับสู ง
                                                                            ่
จึงต้องการยกระดับชนชั้น ชื่ อสี ยง ด้วยการต้องการเลื่อนขั้น เพิ่มสิ่ งที่แสดงให้ถึงการมีเกียรติยศ
ชื่อเสี ยง บารมี ต่างๆ ไม่วาจะเป็ นการใช้สินค้าแบรนด์เนม รถเบนซ์ที่บ่งบอกถึงความหรู นาฬิกา
                            ่
Patek phillip เป็ นต้น

                 2.1.5 ชนชั้นทาง
                         ชนชั้นทางสังคม ISC เป็ นการกาหนดโดยตั้งดัชนีคุณสมบัติของฐานะ 4
                                         ่                          ่
ตัวแปร คือ อาชีพ แหล่งของรายได้เขตที่อยูอาศัยและประเภทของที่อยูอาศัยแต่ตวแปรที่มี
                                                                         ั
   หนักมาก ที่สุดคือ “อาชีพ”เป็ นกลุ่มของชั้นได้เป็ น 4 กลุ่มดังนี้
Need Respect, Self-Esteem   6




กลุ่มที่มีความต้องการอยูในขั้นNeed Respect, Self-Esteem มักจะอยูในชนชั้นระดับสู งค่อนข้างต่า และ
                              ่                                          ่
ระดับกลางค่อนข้างไปทางสู ง สิ นค้าที่ชนชั้นนี้แสวงหาเพื่อตอบสนองความต้องการของตนเองคือ
สิ นค้าที่มีความสามารถเสริ มฐานะทางสังคม และได้รับการยกย่องการยอมรับจากสังคม โดยจะไม่ให้ความ
สาคัญกับปั จจัยด้านราคา
           กลุ่มชั้ นสู งระดับล่ าง (Lower Upper) ได้แก่ กลุ่มที่มีรายได้สูงที่สุดของสังคม กลุ่มนี้
สร้างฐานะความร่ ารวยจากความสามารถพิเศษของตนเองเช่น เป็ นประธานบริ ษท หรื อหัวหน้างานอาชีพต่างๆ
                                                                                   ั
ที่ประสบผลสาเร็ จ ได้รับการศึกษาสู ง ชอบช่วยเหลือสังคม ชอบซื้ อผลิตภัณฑ์ที่เป็ นสัญลักษณ์แสดงฐานะ
เพื่อตนเอง และครอบครัว เช่นมีบานราคาแพง มีสระว่ายน้ าส่ วนตัว รถยนต์ราคาแพงเป็ นต้น และการซื้ อสิ น
                                       ้
ค้าจะไม่ถือเรื่ องเงินเป็ นสาคัญ สังคมกลุ่มนี้มีประมาณ 1.2 %
         กลุ่มชนชั้ นกลางระดับบน (Upper Middles) ได้แก่ กลุ่มที่มีรายได้ระดับสู งจากการประกอบอาชีพ
อย่างแท้จริ ง เป็ นผูที่ได้รับตาแหน่งและมีเงินเดือนสู งเช่น นักบริ หาร ผูจดการบริ ษท และนักวิชาชี พชั้นสู ง
                        ้                                                   ้ั         ั
                                   ่ ั
ต่างๆ ฐานะทางสังคมขึ้นอยูกบอาชี พและรายได้ท่ีได้รับ ส่ วนมากจะเป็ น

        ผูที่มีการศึกษาดี แต่ไม่ได้จบจากสถาบันที่มีชื่อเสี ยง มีความต้องการอยากให้ลูกได้รับการศึกษาที่ดี
          ้
ชอบซื้ อผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพสู ง มีบานที่สวยงาม ชอบเข้าร่ วมกิจกรรมทางสังคม และมีชีวตความเป็ นอยูที่ดี
                                     ้                                                  ิ             ่
และมีความสุ ข สังคมกลุ่มนี้มีประมาณ12.5%
Need Respect, Self-Esteem   7


              2.1.6 กลุ่มอ้ างอิงกลุ่ม คือ บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปซึ่ งมีค่านิยม
                     ิ                              ั                   ั
บรรทัดฐานหรื อวิถีชีวตคล้ายคลึงกันบุคคลเหล่านี้มกมีความสัมพันธ์กนและความประพฤติของแต่
ละคนจะส่ งผลกระทบถึงกันและกัน

          กลุ่มอ้างอิงคือบุคคลหนึ่งหรื อกลุ่มคนอื่นใช้เปรี ยบเทียบหรื อมาตรฐานในการเกิดค่านิยม
ทัศนคติ ชนิ ดทัวไปหรื อชนิ ดที่เฉพาะเจาะจงซึ่ งใช้เป็ นสิ่ งชี้นาความประพฤติ หรื อกล่าวอีกนัยหนึ่ง
                  ่
กลุ่มอ้างอิง คือบุคคลหรื อกลุ่มคนซึ่ งมีอิทธิ พลสาคัญต่อพฤติกรรมชองบุคคลซึ่ งกลุ่มอ้างอิงของคน
ในกลุ่มคนที่มีความต้องการทางด้าน Need Respect, Self-Esteem นี้ คือ กลุ่มคนระดับสู ง
นักธุ รกิจชื่อดัง เศรษฐีเก่าแก่ ดาราฮอลลิวดู

เหตุผลที่คนกลุ่มที่มีความต้องการทางด้าน Need Respect, Self-Esteem นี้ตองการเข้ากลุ่ม คือ
                                                                      ้

          การนิยม/ยกย่ องตนเอง
          การเข้ากลุ่มทาให้ตวเองเป็ นบุคคลที่มีค่าและนอกจากจะเป็ นการเพิ่มสถานภาพของตนให้เ
                            ั
ป็ นที่นิยมของบุคคลภายนอกแล้ว ยังรู ้สึกว่าตนเองมีคุณค่าแม้ในหมู่สมาชิกด้วยกัน

         กลุ่มอ้างอิงที่สามารถเข้ามาทาการตลาดในในกลุ่มคนที่มีความต้องการทางด้าน Need
Respect, Self-Esteemนี้ ได้ คือผ่านทางช่องทางที่สามารถเข้าถึงคนกลุ่มนี้ได้ ไม่วาจะเป็ น นิตยสาร
                                                                               ่
เมลล์ อินเตอร์เน็ต หนังสื อพิมพ์ catalog club Lounge สื่ อโทรทัศน์ ทางช่องทางต่างๆ

         ใช้ ความดึงดูดจากผู้มีชื่อเสี ยง
เนื่องด้วยคนในกลุ่ม Need Respect, Self-Esteem นี้จะมีIdolเป็ นคนที่มีชื่อเสี ยง นักธุ รกิจชื่อดัง
นักการเมือง ดารา

         การให้ การรับรอง

                            ่
         จากผูมีชื่อเยงระบุวาตนเองได้ใช้สินค้านั้นแล้วจึงสามารถรับประกันคุณภาพสิ นค้านั้นๆได้
                ้
เช่น คลินิกเกี่ยวกับความสวยความงาม มีการแข่งขันที่สูง แต่เนื่ องด้วยทางวุฒิศกดิ์ทาการตลาดมาดี
                                                                            ั
และได้นาดารา ผูมีส่วนร่ วมออกมารับประกัน
                   ้
                                           ่
และยอมรับว่ามีประสิ ทธิ ภาพเพราะว่าตนก็ผานการใช้มาแล้ว

            การเป็ นโฆษกประจาสิ นค้ าในช่ วงเวลาหนึ่ง
                                                              ั
วิธีน้ ีผมีชื่อเสี ยงทาหน้าที่เป็ นตัวแทนส่ งเสริ มการตลาดให้กบสิ นค้าหรื อบริ การเป็ นระยะเวลาหนึ่ง
         ู้
Need Respect, Self-Esteem   8


         การใช้ผเู้ ชี่ยวชาญ
ความเชี่ยวชาญได้มาจากบุคคลนั้นมีอาชีพผ่านการอบรมหรื อมีประสบการณ์ในการใช้หรื อเกี่ยว
ข้องกับสิ นค้าบางชนิด จึงทาให้สามารถโน้มน้าวผูบริ โภคให้เกิดความเชื่ อถือได้
                                              ้

             2.2 Internal Influences

                 2.2.1          คือกระบวนการซึ่ งแต่ละคนคัดสรร จัดระเบียบ และตีความ
สิ่ งที่มากระตุนเพื่อให้เกิดภาพในสมองที่มีความหมายและสอดคล้องกันเกี่ยวกับโลกที่บุคคลนั้น
               ้
สามารถสัมผัสได้ หรื อเป็ นส่ วนหนึ่งของการกระบวนการประมวลผลข้องมูลของสมองซึ่ งเริ่ ม
จากการ สัมผัสและตามด้วยความใส่ ใจ และการตีความหมาย

                      Need Respect, Self-Esteem มีวธีการรับรู้
                                                         ิ
และเรี ยนรู้ในลักษณะเป็ นไปตามทฤษฏีของ แนวคิดของAlbert Bandura
ซึ่ งเป็ นที่นิยมอย่างกว้างขวาง โดยเจ้าของแนวความคิดเห็นว่า การเลียนแบบของเด็กนั้น
                                      ่                ่
เกิดจากการสังเกตตัวแบบที่มีอยูรอบๆตัว ไม่วาจะเป็ นพ่อแม่ พี่นอง ครู เพื่อน รายการโทรทัศน์
                                                                      ้
หรื อหนังสื อการ์ ตูน ซึ่ งเรี ยกว่าเป็ นการเรี ยนรู ้จากการสังเกตการณ์ ซึ่งเป็ นวิธีสาคัญใน
การเรี ยนรู้พฤติกรรมทางสังคม

                 2.2.2 การเรี ยนรู้

                          คนในกลุ่ม Need Respect, Self-Esteem มีวธีการรับรู้เป็ นไปตามทฤษฏีที่
                                                                    ิ
กล่าวมาข้างต้น โดยมีวธีการเรี ยนรู ้ที่สอดคล้องกับแนวคิดของ Albert Bandura ซึ่ งคนกลุ่มนี้จะมี
                          ิ
                                                                                   ่
การเรี ยนรู ้สิ่งต่างๆ การใช้ชีวิต วิถีชีวต และเรี ยนรู ้จากประสบการณ์ของตนเองที่ผานมา
                                          ิ

                 2.2.3 ความจาเป็ น

                       มีความจาเป็ นที่ตองการให้คนยอมรั ยกย่อง เชิดชูในสิ่ งที่ตน สามารถสร้าง
                                        ้
ขึ้นมาเองได้ดวยมือ
             ้

                 2.2.4 ค     จ

                    คนในกลุ่มนี้จะแสวงหาสิ นค้า แบรนด์ ที่หายากด้วยตนเอง
มากกว่าจากจดจาที่มาจากพรี เซ็นเตอร์ โฆษณา ซึ่ งสิ นค้า แบรนด์ จะบ่งบอกถึงความมีตวตน
                                                                                ั
มีเอกลักษณ์ในตัวเอง
Need Respect, Self-Esteem   9


                        2.2.5     จ จ

                           คือสภาวะที่ถูกกระตุนภายในแต่ละคนซึ่งนาไปสู่ พฤติกรรมที่มีจุดมุ่งหมาย
                                              ้
      หรื อเป็ นเหตุผลของพฤติกรรมแต่ละครั้งคนในกลุ่มนี้ เป็ นไปตามทฤษฏีตามลาดับขั้นความต้องการ
      ของมาสโลว์ เป็ นความต้องการของมนุษย์ในองค์การเป็ นเรื่ องที่ผบริ หารต้องเอาใจใส่
                                                                   ู้
      เพราะพฤติกรรมในการทางานของพนักงาน


                        2.2.6 บุคลิกภาพ

                                    คนที่มี self-esteem จะต้องมีความสมดุลของความต้องการผลสาเร็ จ
      หรื ออานาจ และความรู ้จกคุณค่า ความมีเกียรติ และความซื่อสัตย์ ซึ่งอาจจะหมายถึง จิตใต้สานึก
                                  ั
      และพฤติกรรมนันเอง จิตใต้สานึกของคนที่มี self-esteem จะต้องรู ้จกบาป บุญคุณโทษ รู ้สิ่งใดดี
                         ่                                                ั
      สิ่ งใดไม่ดี ความสื่ อสัตย์ ความมีเกียรติ ส่ วนพฤติกรรมของ self-esteem มีความสามารถที่จะคิด
      แก้ปัญหา เชื่ อมันในความคิด และความสามารถ ของตัวเอง
                       ่

                        2.2.7 วิถีชีวต
                                     ิ

       วิถีชีวต
              ิ                     Self-Esteem สู ง                    Self-Esteem ต่า
                             น่ารัก ภูมิใจ เปิ ดเผย กล้าหาญ   ไม่น่ารัก ไม่มีคนรักเลย ตนไร้คุณค่า
      การมองตน
                                         ซื่อสัตย์                        ไม่ภาคภูมิใจ
                           หนักแน่น มันคง อ่อนโยน รับฟัง
                                      ่
       อารมณ์                                                 หงุดหงิด ขี้โกรธ รุ นแรง สงสัยคาชม
                                        ใจกว้าง

                                                              ทาร้ายคนอื่น ยอมให้คนอื่นเอาเปรี ยบ
การเคารพสิ ทธิของตนเอง           ให้เกียรติ ปกป้ องสิ ทธิ
                                                                       ไม่กล้าตัดสิ นใจ

                                 ปรับตัวเร็ ว ไม่เครี ยด
      การปรับตัว                                                กังวล ปรับตัวยาก การเรี ยนรู ้แย่
                                มองปั ญหาเป็ นสิ่ งท้าทาย
                           ยอมรับ ยุติธรรม ใจกว้าง ร่ วมมือ
              ั ้
 ความสัมพันธ์กบผูอื่น                                            อ้อมค้อม กังวล ขี้อิจฉา ใจแคบ
                                   จริ งใจ ซื่ อสัตย์
                                                              กลัวถูกปฏิเสธ ดิ้นรน อวดร่ าอวดรวย
  ความกลัวถูกปฏิเสธ                ไม่กลัวถูกปฏิเสธ
                                                                    หาความรักแบบแปลกๆ
Need Respect, Self-Esteem   10


                      สุ ข มันคง มีพลัง หน้าผ่อนคลาย
                              ่
                                                          เครี ยด กัวล เศร้าสร้อย หลังงุม ไหล่ห่อ
                                                                                        ้
บุคลิกภายนอก         แจ่มใส มีชีวตชีวา สง่างาม ไหล่ต้ ง
                                   ิ                  ั
                                                        คอตก เสี ยงเบาและไม่ชดเจน หงุดหงิด วิตก
                                                                                ั
                         เสี ยงหนักแน่น ชัดถ้อยชัดคา
                                                            วิธีคิด พฤติกรรม ทาสิ่ งไร้คุณค่า
วงจรที่ไม่สิ้นสุ ด    คิดและทา สิ่ งดีๆ อย่างต่อเนื่ อง     ทาตนเองให้ตกต่าอย่างต่อเนื่ อง
                                                                เช่นการยอมให้เอาเปรี ยบ
                                                        เศร้าใจ ท้อแท้ สิ้ นหวัง หมดกาลังใจ
                     มีความสุ ข สุ ขภาพจิตดี มีกาลังใจ
                                                        ปั่ นป่ วนทางอารมณ์ สุ ขภาพจิตเสื่ อม
ปัญหาสุ ขภาพจิต      มันใจ ภาคภูมิใจ พึงพอใจตนเอง
                       ่
                                                       มองตนเองไร้ความสามารถ ทาร้ายผูอื่น   ้
                               พอใจในงาน
                                                                     มักฆ่าตัวตาย
Need Respect, Self-Esteem   11



               ตัวอย่างบริ ษัท ที่ทาการตลาดกับกลุม Need Respect, Self-Esteem
                                                 ่
        3. Company Background




          Company Background
เป็ นบริ ษทในเครื อของบริ ษท เมอร์เซเดส-เบนซ์ เอจี แห่งประเทศเยอรมนี ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14
          ั                ั
มกราคม 1998 บริ ษทเป็ นผูประกอบและจัดจาหน่ายรถยนต์เมอร์ เซเดส-เบนซ์ ทั้งที่เป็ นรถยนต์
                 ั       ้
นังส่ วนบุคคลและรถเพื่อการพาณิ ชย์ บริ ษทได้ดาเนิ นธุ รกิจการตลาดทั้งรถยนต์นาเข้าและประกอบ
  ่                                     ั
ขึ้นภายในประเทศแบบหลากหลายรุ่ น ได้แก่รถยนต์เมอร์ เซเดส-เบนซ์ในตระกูลต่าง ๆ อาทิ B- C-,
E-, S-Class หรื อรถยนต์เฉพาะกลุ่ม เช่น M-Class, R-Class, SLK-Class และ CLS-Class เป็ นต้น
ในส่ วนที่เป็ นรถเพื่อการพาณิ ชย์ ได้แก่ รถตูแวนและรถอเนกประสงค์ต่าง ๆ อาทิ Vito, Viano และ
                                             ้
Sprinter โดยผ่านเครื อข่ายผูจาหน่ายรถอย่างเป็ นทางการรวมทั้งสิ้ น 38 แห่งทัวประเทศ
                            ้                                              ่
นอกจากนี้ยงให้บริ การสิ นเชื่ อรถยนต์แบบครบวงจรอีกด้วย
          ั
ปัจจุบนนี้บริ ษท เมอร์ เซเดส-เบนซ์ ยังคงครองความเป็ นหนึ่งในด้านนวัตกรรมยานยนต์
      ั        ั
             ั         ั                                                       ั
และเป็ นบริ ษทรถยนต์ช้ นนาของโลกที่ได้ดาเนินกลยุทธ์ในการสร้างความแข็งแกร่ งให้กบองค์กร
เพื่อรองรับการให้บริ การลูกค้าอย่างครอบคลุมทัวประเทศ นอกจากนี้ทางบริ ษทยังเน้นย้ าในด้าน
                                             ่                        ั
การพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์อย่างต่อเนื่องมาเป็ นระยะเวลาที่ยาวนานภายใต้สิ่งที่ยดถือมาตลอด
                                                                             ึ
                                                                ่
คือ การผลิตรถยนต์เพื่อตอบสนองทุกความต้องการของผูบริ โภคโดยยืนอยูบนพื้นฐานของ
                                                ้
การสร้างยานยนต์ที่หลากหลายและนาเสนอผลิตภัณฑ์ใหม่ๆผ่านนวัตกรรมการผลิตชั้นเยียมและ
                                                                           ่
เทคโนโลยีที่ทนสมัย
             ั
        วิสัยทัศน์

        ในความพยายามที่จะเป็ นผูผลิตรถยนต์ที่ประสบความสาเร็ จสู งสุ ดกับการรวบรวมการ
                                ้
บริ การสาหรับลูกค้าอย่างมีประสิ ทธิ ภาพนั้น เราสร้างพื้นฐานสาคัญไว้ดงนี้
                                                                    ั
Need Respect, Self-Esteem   12


สร้างกระบวนการที่ให้ประโยชน์และเกิดประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ดจัดกิจกรรมเพื่อการฝึ กฝนพนักงาน
อย่างต่อเนื่ อง

         ทีต้งสานักงาน บริ ษท เมอร์ เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จากัด
           ่ ั              ั
ชั้น 19 อาคารรัจนาการ 183 ถ. สาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุ งเทพฯ 10120
โทร : +66 (0) 2614-8888 แฟ๊ กซ์ : +66 (0) 2676-6234Contact MBTh@daimler.com

ทุนจดทะเบีนยน::1,200,000,000.- บาท

จานวนพนักงาน :: 270 คน

ประธานบริหาร :: ศ.ดร. อเล็กซานเดอร์ เพาฟเลอร์

ประวัติความเป็ นมา

เมอร์เซเดส-เบนซ์เป็ นหนึ่งในรถยนต์ที่เก่าแก่และมีชื่อเสี ยงที่สุดในแวดวงอุตสาหกรรมยานยนต์
และเป็ นรถยนต์ที่รู้จกกันในประเทศไทยมานานกว่า 100 ปี
                     ั
                                                                        ่ ั
โดยเริ่ มเป็ นที่รู้จกครั้งแรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหว
                     ั
เมื่อมีการนาเข้ารถเมอร์เซเดส-เบนซ์คนแรกเข้ามาในประเทศไทยเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2447
                                   ั
และเมอร์ เซเดส-เบนซ์ได้กลายเป็ นรถยนต์พระที่นงคันแรกในประวัติศาสตร์ไทยด้วย
                                             ั่
ตั้งแต่น้ นเป็ นต้นมาจึงมีการนาเข้ารถเมอร์ เซเดส-
          ั
เบนซ์มากขึ้นและเป็ นพาหนะที่แพร่ หลายในหมู่พระราชวงศ์ เจ้านายชั้นสู ง และคหบดี เมอร์ เซเดส-
เบนซ์ในฐานะยนตรกรรมที่มีความหรู หราและมีรูปลักษณ์ที่โดดเด่นได้กลายเป็ นที่หลงใหลของผู ้
ใช้รถยนต์จานวนมาก นับได้วาเป็ นสัญลักษณ์แห่งเกียรติยศที่บ่งบอกถึงสถานะของ
                         ่
ผูขบขี่ได้เป็ นอย่างดี ในฐานะของการเป็ นผูนาที่มีความน่าเชื่อถือ และมีความน่าไว้วางใจ
  ้ั                                      ้
ต่อมาความนิยมในการใช้รถเมอร์ เซเดส-เบนซ์ได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ วในสังคมไทย
ส่ งผลให้มีการแต่งตั้ง บริ ษท ธนบุรีพานิช จากัด เป็ นผูจดจาหน่ายและให้บริ การรถยนต์เมอร์ เซเดส-
                            ั                          ้ั
เบนซ์ ทั้งรถยนต์นงส่ วนบุคคลและรถเพื่อการพาณิ ชย์อย่างเป็ นทางการในปี พ.ศ. 2500 ในยุคแรก ๆ
                 ั่
ของการนาเข้ารถเมอร์เซเดส-เบนซ์ทางบริ ษทจะเน้นไปที่การนาเข้ารถบรรทุกสาหรับใช้ในกิจการ
                                      ั
ทหารหรื อการขนส่ ง ต่อมาจึงมีการขยายฐานการนาเข้ารถยนต์นงส่ วนบุคคล ในไม่ชาสัญลักษณ์
                                                       ั่                ้
ดาวสามแฉกจึงเป็ นที่ประทับใจแก่คนไทยเรื่ อยมา ด้วยชื่อเสี ยงและคุณภาพของรถเมอร์ เซเดส-
เบนซ์
Need Respect, Self-Esteem   13


ด้วยการเล็งเห็นถึงความสาคัญของตลาดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กอปร
กับต้องการขยายตลาดและผลิตภัณฑ์ให้หลากหลายมากยิงขึ้น รวมถึงยกระดับการบริ การ
                                              ่
หลังการขายแก่ลูกค้าแบบครบวงจรตามมาตรฐานบริ ษทแม่ในเมืองสตุดการ์ ท ประเทศเยอรมนี
                                            ั             ๊
บริ ษท เมอร์เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จากัด จึงได้ถูกก่อตั้งขึ้นในปี 2541
     ั
เพื่อรองรับการขยายตัวทางตลาดอย่างรวดเร็ ว
        ปัจจุบน บริ ษทมีพนักงานทั้งสิ้ น 270 คน
              ั      ั
และทุกคนได้ยดมันในปณิ ธานเดียวกันในการรักษาความเป็ นหนึ่งในการผลิตรถยนต์หรู
            ึ ่
เพื่อความเป็ นเลิศและการสร้างสรรค์รถยนต์ที่มีคุณภาพยอดเยียมที่สุดบนความปลอดภัยสู งสุ ด
                                                         ่
พร้อมรู ปลักษณ์การออกแบบที่มีความเฉพาะตัว ไม่เหมือนใคร และการบริ การที่ประกันความ
มันใจด้วยรางวัลแห่งคุณภาพจานวนมาก
  ่



        4. Business Analysis

                   4.1 Market Analysis
                   เมอร์เซเดส-เบนซ์รุกตลาดไตรมาส 4 ประกาศเดินหน้าทุก เซ็กเม้นต์ ด้วยข้อแสนอ
        และบริ การทาง การเงินสุ ดพิเศษฉลอง 125 ปี พร้อมออกมาตรการเข้มปกป้ องสิ ทธิ์
        และผลประโยชน์ผบริ โภคกรุ งเทพฯ ‟ บริ ษท เมอร์ เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จากัด
                                 ู้                    ั
        เผยกลยุทธ์เชิงรุ กขับเคลื่อนตลาด ในไตรมาสสุ ดท้ายของปี 2011
        คัดรถดีไซน์หรู ทุกเซ็กเม้นต์ พร้อมมอบข้อเสนอสุ ดพิเศษแก่ลูกค้าปิ ดท้ายปี แบบเขย่าวงการ
        ขณะเดียวกันได้ออกมาตรการ เข้มงวด ปกป้ องสิ ทธิ์ และผลประโยชน์ของผูบริ โภค       ้
        พร้อมตั้งเป้ าครองแชมป์ ส่ วนแบ่งตลาด รถหรู ต่อเนื่องเป็ นปี ที่ 11
        ดร. อเล็กซานเดอร์ เพาฟเลอร์ ประธานบริ หาร บริ ษท เมอร์เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย)
                                                                ั
        จากัด กล่าวว่า “ยอดการจาหน่ายรถยนต์เมอร์ เซเดส-เบนซ์ 7 เดือนแรก มีอตราการเติบโต 5%
                                                                                      ั
                                                     ่
        เมื่อเปรี ยบเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ที่ผานมาคือที่ 2,710 คัน โดยแบ่งเป็ นรถยนต์ C-Class
        เซ็กเม้นต์ ซึ่ งเป็ นรุ่ นที่ได้รับความนิยมมากที่ 1,023 คันมีอตราการเติบโตที่ 7%
                                                                      ั
        และมีสัดส่ วนการตลาดถึง 49% ตามด้วยรถยนต์ E-Class เซ็กเม้นต์ซ่ ึ งเป็ นรุ่ นที่ได้
        มียอดจาหน่ายสู งสุ ดที่ 1,452 คัน มีอตราการเติบโตที่ 2% และมีสัดส่ วนการตลาดถึง 57 %
                                                  ั
        และสาหรับรถยนต์ S-Class เซ็กเม้นต์ ซึ่งเป็ นรถธงมีอตราการเติบโตที่ 3%
                                                                   ั
        และมีสัดส่ วนการตลาดถึง 49% และรถยนต์เฉพาะกลุ่มอีก 31 คันโดยการเติบโตนี้สะท้อน
        ให้เห็นถึงความสาเร็ จของแบรนด์ เมอร์เซเดส-
Need Respect, Self-Esteem   14


เบนซ์อีกครั้งหนึ่งภายใต้ความเชื่อมันต่อแบรนด์ ดาวสามแฉกในด้านความสมบูรณ์แบบ
                                     ่
(Perfection) ความงดงามน่าหลงใหล (Fascination) และความรับผิดชอบ (Responsibility)
ภายใต้สโลแกน “The best or nothing.”
เมอร์เซเดส-เบนซ์ยงคงรักษาตาแหน่งของการเติบโตสู งสุ ดในตลาดรถยนต์หรู
                       ั
นอกจากการนาเสนอรถยนต์ที่ตรงตามความต้องการของลูกค้าแล้ว
การให้ความสาคัญกับการ บริ การหลังการขาย การอบรมพนักงานขาย
ช่างเทคนิคที่ได้รับการอบรมอย่างมืออาชีพ ที่ปรึ กษาการขาย
ทั้งนี้เพื่อเป็ นการรักษามาตรฐานการบริ การอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้สิ่งที่เมอร์ เซเดส-
เบนซ์ให้ความสาคัญมาโดยตลอด คือ “คุณภาพ” ซึ่งบริ ษทฯ         ั
ถือเป็ นความมุ่งมันร่ วมกันในความเป็ นเลิศ คุณภาพคือมรดกที่ส่งต่อกันมายาวนานกว่า
                    ่
125 ปี วันนี้ เราสานต่อวัฒนธรรมองค์กร
เพื่อยกระดับความเป็ นเลิศด้านการบริ การภายใต้โปรแกรม “สัญลักษณ์แห่งความโดดเด่น”
(The Marque of Distinction)
มร.สเตฟาน เมอบิอุส รองประธานบริ หารฝ่ ายขายและการตลาด บริ ษท เมอร์ เซเดส-เบนซ์
                                                                        ั
(ประเทศไทย) จากัด กล่าวเสริ มว่า “สาหรับไตรมาส 4 เราทาตลาดเชิงรุ กด้วยการส่ ง
เมอร์เซเดส-เบนซ์รุ่นใหม่ล่าสุ ดทุกเซ็กเม้นต์ถึง 9 รุ่ นด้วยกัน ที่โดดเด่นคือ
ทุกรุ่ นได้รับการคัดสรรอย่างดีที่สุด
และสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ในทุกไลฟ์ สไตล์ พร้อมด้วยการประกาศ
ราคารถใหม่ถึง 7 รุ่ นด้วยกันโดยมีไฮไลท์พิเศษใน 2 รุ่ นคือรุ่ น C 200 BlueEFFICIENCY
ซึ่ งมาพร้อมกับความสมรรถนะและความแรงเต็มพิกดที่เหนือกว่าคู่แข่งถึง 184 แรงม้า
                                                       ั
ด้วยสนนราคาเพียง 2,149,000 บาทเท่านั้น และอีกหนึ่งรุ่ นแห่งความประหยัดพลังงานคือ E
200 NGT Elegance BlueEFFICIENCY ด้วยสนนราคา 3,549,000 บาท
ซึ่งถือเป็ นราคาสุ ดพิเศษ “best price ever”
ซึ่ งราคารถใหม่ที่ประกาศในวันนี้เริ่ มใช้ต้ งแต่วนที่ 8 กันยายน 2554 เป็ นต้นไป
                                            ั ั



        4.2 Competitors (คู่ แข่ งขัน)
                 ตลาดรถหรู น้ น เบนซ์ก็ยงเป็ นผูนาด้วยยอดขาย 2,574 คัน โตขึ้น 15.6%
                               ั        ั       ้
ตามมาด้วย บีเอ็มดับบลิว 1,769 คัน โตขึ้น 25% และวอลโว่ 923 คัน โตขึ้น 50.8% โดย
ศ.ดร.อเล็กซานเดอร์ เพาฟเลอร์ ประธานบริ หาร บริ ษท เมอร์ เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย)
                                                    ั
จากัด บอกว่า “เรายังคงเป็ นผูนาตลาดรถหรู ในประเทศไทย โดยมีรุ่น C-Class, E-Class
                             ้
และ S-Class เป็ นกาลังสาคัญ”
Need Respect, Self-Esteem   15


อนึ่ง ในตลาดโลกรถยนต์เมอร์เซเดส-เบนซ์ รุ่ น The new generation C-Class และ S-Class
ถือว่าเป็ นตัวแปรสาคัญที่ทาให้ยอดขายในครึ่ งปี แรกของปี นี้เพิ่มขึ้น โดยนับตั้งแต่เปิ ดตัว
C-Class โฉมใหม่ในตลาดโลกจนถึงครึ่ งปี แรกของปี นี้
สามารถรักษาตาแหน่งผูนาในเซกเมนต์เดียวกันด้วยยอดขายที่เพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 11.4
                         ้
ส่ วนเดือนมิถุนายนเพิมขึ้นร้อยละ 18.7 ในขณะที่ S-Class
                       ่
ก็ประสบความสาเร็ จเช่นเดียวกันด้วยยอดขายที่เพิ่มขึ้นในเดือนมิถุนายนและครึ่ งปี แรกของ
ปี 2011 ที่สูงถึง 35,956 คัน หรื อคิดเป็ นร้อยละ 18.1

        4.3 Consumer Behavior (6 W 1H)
               4.3.1 Who
               Who is in the target market? ใครอยูในตลาดกลุ่มเป้ าหมาย
                                                         ่
               ลักษณะกลุ่มเปาหมาย Occupants ทางด้ าน
                             ้
                       1) ประชากร เพศ หญิง
                                         ชาย
                                         อายุ 32-46 ปี
                                         อาชีพ ผูบริ หารระดับสู ง,
                                                     ้
                                                   ผูมีตาแหน่งสู ง เช่น คณบดี อธิ การบดี
                                                       ้
                                                    นายพล นักธุ รกิจ
                                         การศึกษา การศึกษาสู ง ปริ ญญาตรี ปริ ญญาโท
                                                           ปริ ญญาเอก
                                         ศาสนา ทุกศาสนา
                       2) ภูมิศาสตร์ จัดแบ่งตามจานวนประชากร
                                         เน้นเมืองหลวงของแต่ละประเทศมักมีประ
                                         ชากรที่หนาแน่น มีอยู่ 36 แห่ งทัวประเทศ
                                                                           ่
                       3) จิตวิทยา แบ่งตามชนชั้น เพราะMercedes-Benz
                                      นี้มีราคาสู ง มีภาพลักษณ์ที่ดี
                                                                         ่
                                      วางภาพลักษณ์ของผลิตภัณฑ์อยูที่คนมีฐานะมี
                                      เกียรติ นักการตลาดเลยเจาะเฉพาะลูกค้าที่
                                          ่
                                      อยูในชนชั้นสู ง และระดับกลางค่อน
                                      ข้างสู งเท่านั้น
Need Respect, Self-Esteem   16


         4) พฤติกรรม เป็ นการแบ่งส่ วนของพฤติกรรมการซื้ อของผูบริ             ้
                             โภค เลือกซื้ อตามโอกาส เช่น
                             วันเกิดของเจ้านายจึงซื้ อให้เป็ นของขวัญ เป็ นต้น
                            ซื้ อตามสถานภาพการใช้
                            สาหรับผูที่มีความต้องการทางด้าน
                                          ้
                             Need Respect, Self-Esteem
                             ต้องการบ่งบอกถึงฐานะ ความเป็ นอยู่
                             ระดับชนชั้น เพื่อสื่ อออกมาทางสิ่ งของที่มีระดับ
                             อย่างเช่นเมอร์เซเดส-เบนซ์ ผูบริ โภครับสื่ อ
                                                                 ้
                             จากกลุ่มอ้างอิงผูที่มีชื่อเสี ยงทางด้านนักธุ รกิจชื่ อ
                                                 ้
                             ดัง เศรษฐี นักร้องดาราฮอลี่วด     ู
กลยุทธ์ ทเี่ กียวข้ อง ใช้ กลยุทธ์ ทางด้ านการตลาด(4P’s) ประกอบไปด้ วย
               ่
         Product                 เป็ นผลิตภัณฑ์ ที่ดูหรู ดูดี
                                 เป็ นที่บ่งบอกถึงความเป็ นไลสไตล์ มีระดับ
                                 มีคุณสภาพสู ง
         Price                   ราคาสู ง และไม่ค่อยมีการลดราคา
         Place                          ั      ่
                                 บริ ษทใหญ่อยูที่เยอรมณี แต่มีการกระจาย
                                 สาขามายังประเทศต่างๆ
                                 หนึ่งในนั้น มีประเทศไทยด้วย
         Promotion มีการโฆษณาผ่านทางช่องทางต่างๆ
                                 ที่ผบริ โภครับสื่ อได้ เช่น หน้าหลักของเว็บ
                                     ู้
                                 นิติยสาร Email

4.3.2 What What does the cosumer buy? ผูบริ โภคซื้ ออะไร
                                             ้
สิ่ งที่ผบริ โภคต้องการจากผลิตภัณฑ์ก็คือ บ่งบอกถึงความมีสไตล์
         ู้
กลยุทธ์ ทางการตลาดที่เกียวข้ อง
                              ่
กลยุทธ์ ทางด้ านผลิตภัณฑ์ ........
            1. ผลิตภัณฑ์ หลัก
                      มีรูปลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ที่สวยหรู
            มีหลายลักษณะหลายแบบ ซึ่งตรงตามความต้องการของลูกค้า
            มีหลายรุ่ น
                                                    ั
            หลายแบบเพิ่อเพิ่มช่องทางในการเลือกให้กบตัวผูบริ โภค
                                                        ้
Need Respect, Self-Esteem   17


        2. รู ปลักษณ์ ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ การบรรจุภณฑ์         ั
                   ตราสิ นค้ า
                   รู ปแบบ
                                มีการพัฒนารู ปแบบเพิมขึ้นเรื่ อยๆ
                                                      ่
                  เพื่อให้ตรงกับความตรงการของผูบริ โภค  ้
                  และเพิ่มช่องทางในการเลือกของผูบริ โภคอีกด้วย
                                                          ้
                   บริการ
                                มีช่องทางการบริ การที่หลากหลาย
                  การสั่งซื้ อผ่านเว็ปไซต์ และการไปเลือกซื้ อที่ร้านเอง
                  คุณภาพ
                                คุณภาพดีเยียม มีการรับประกันคุณภาพ 1 ปี
                                           ่
                   ลักษณะนวัตกรรม
                                มีการพัฒนานวัตกรรม ขึ้นเรื่ อยๆ
                  ทั้งในเรื่ องของอุปกรณ์ คุณภาพของอะไหล่
                  ระบบการทางานของรถ
        3. ศักยภาพผลิตภัณฑ์ ความแตกต่ างทางการแข่ งขัน
        (Competitive Differentiation)
                  สิ่ งที่อยูเ่ หนือของคู่แข่งขันคือการคิดค้นระบบเครื่ อง
        ยนต์ อะไหล่ช้ นดี มีประสิ ทธิภาพสู ง สร้างความประทับใจ
                           ั
              ั ้                               ั
        ให้กบผูซ้ื อ และสร้างชื่อเสี ยงให้กบแบรนด์ได้อย่างรวดเร็ ว

4.3.3 Why Why does the consumer buy? ทาไมผูบริ โภคจึงซื้ อ
                                                  ้
       วัตถุประสงค์ในการซื้ อ (Objectives) ผูบริ โภคซื้ อสิ นค้าเพื่อ
                                             ้
สนองความต้องการของเขาด้านร่ างกายและด้านจิตวิทยา

ปัจจัยทีมีอทธิพลต่ อพฤติกรรมการซื้อ คือ
        ่ ิ

         1. ปัจจัยภายในหรือปัจจัยทางจิตวิทยา
                  รู ปลักษณ์ที่เหนื อกว่าการวางตาแหน่งผลิตภัณฑ์ที่ดีกว่า
                  คู่แข่งทาให้เป็ นแรงจูงใจ ของผูบริ โภค
                                                 ้
                  ขับแล้วรู้สึกสบาย มันคง ปลอด ดูดีหรู หรา มีสไตล์
                                      ่
                  มีระดับ ได้รับยกย่องจากกลุ่มสังคม
Need Respect, Self-Esteem   18


         2. ปัจจัยทางสั งคม และวัฒนธรรม
                คนในกลุ่มสังคมระดับสู งมักมีการแข่ง
                หรื อโชว์ในสิ่ งที่ตนมี และถ้าสิ่ งนั้นมีชื่อเสี ยง ราคาแพง
                                    ้
                จะเป็ นที่ยอมรับจากสังคม

        3. ปัจจัยเฉพาะบุคคล

                เป็ นความชอบเฉพาะบุคคล ซื้ อมาเพื่อให้บุคคลอื่นทราบ
                ถึงสถานะของตน ชอบแล้วซื้ อเลย เพราะคนกลุ่มนี้
                เป็ นคนในกลุ่มระดับสู ง ฐานะดี

กลยุทธ์ ทางการตลาดที่เกียวข้ อง
                        ่
กลยุทธ์ที่ใช้มากคือ

        1. กลยุทธ์ ด้านผลิตภัณฑ์ (Product Strategies)

               1. ผลิตภัณฑ์ หลัก
               มีรูปลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ที่สวยหรู มีหลายลักษณะ
        หลายแบบ ซึ่ งตรงตามความต้องการของลูกค้า มีหลายรุ่ น
                                               ั
        หลายแบบเพิ่อเพิ่มช่องทางในการเลือกให้กบตัวผูบริ โภค
                                                    ้
               2. รู ปลักษณ์ ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ การบรรจุภณฑ์
                                                         ั
        ตราสิ นค้า

                 รู ปแบบ
                มีการพัฒนารู ปแบบเพิ่มขึ้นเรื่ อยๆ เพื่อให้ตรงกับ
        ความตรงการของผูบริ โภค และเพิมช่องทางในการเลือก
                          ้              ่
        ของผูบริ โภคอีกด้วย
             ้
                บริการ
                มีช่องทางการบริ การการไปเลือกซื้ อที่ร้านเองหรื อมีสาย
        ด่วน ออนไลน์ ตลอด24 ช.ม

              คุณภาพ คุณภาพดีเยียม มีการรับประกันคุณภาพ 1 ปี
                                ่
        ลักษณะนวัตกรรม
Need Respect, Self-Esteem   19


       มีการพัฒนานวัตกรรม ขึ้นเรื่ อยๆ ในเรื่ องของการดีไซน์รถ
       เรื่ องระบบของเครื่ องยนต์
                     3. ศักยภาพผลิตภัณฑ์ ความแตกต่ างทางการแข่ งขัน
       (Competitive Differentiation)
       สิ่ งที่อยูเ่ หนือของคู่แข่งขันคือระบบเครื่ องยนต์ที่ดี
       มีประสิ ทธิภาพสู ง มีระดับในสังคมสู ง
                             ั
       สร้างชื่อเสี ยงให้กบแบรนด์ได้อย่างรวดเร็ ว


       2. กลยุทธ์ การส่ งเสริมการตลาด (Promotion Strategies)
       ประกอบด้วยกลยุทธ์การโฆษณา การขายโดยใช้พนักงานขาย
       การส่ งเสริ มการขาย การให้ข่าวสาร ประชาสัมพันธ์

4.3.4Who

        Who participates in the buying?
ใครมีส่วนร่ วมในการตัดสิ นใจซื้อ
บทบาทของกลุ่มต่างๆ (Organizations) มีอิทธิพลในการตัดสิ น
ใจซึ่งประกอบด้วย
        ตัวอย่างการตัดสิ นใจซื้ อรถเบนซ์ของในครั้งงนี้
        1. ผู้ริเริ่ม
        นักบริ หาร
        (อยากได้รถสักคันที่ดูหรู หรามีระดับให้บ่งบอกสถานะของตน)
        2. ผู้มีอทธิพล
                    ิ
        จึงรวบรวมข้อมูลทั้งหมด เพื่อหาข้อแตกต่างของรถแต่ละ
        ยีหอที่มีระดับหรู หรา และให้เพื่อนที่มีความถนันทางด้านรถ
          ่ ้
        เป็ นผูช่วยเลือก
                ้
        3. ผู้ตัดสิ นใจซื้อ เพื่อน นักบริ หาร
        4. ผู้ซื้อ          นักบริ หาร
        5. ผู้ใช้           นักบริ หาร
Need Respect, Self-Esteem   20


4.3.5 When

        When does the consumer buy? ผู้บริโภคซื้อเมื่อใด

โอกาสในการซื้ อ (Occasions) ช่วงเวลาที่ประสบความสาเร็ จ
หาเลือกรถในระดับสู งในการบ่งบอกถึงสถานะของตัวเอง
ส่ วนใหญ่มกจะซื้ อเมื่อมีความพร้อมด้านเงิน และเมื่อเป็ นที่
          ั
ต้องการซึ่งลักษณะพฤติกรรม และความต้องการของแต่ละ
คนก็จะแตกต่างกันออกไป

4.3.6 Where

         Where does the consumer buy? ผู้บริโภคซื้อทีไหน่
ผูบริ โภคสามารถเลือกซื้ อได้ตามสาขาต่างๆ หรื อ จะเป็ นการติดต่อ
  ้
สายด่วนออนไลน์ แต่กลุ่มคนกลุ่มนี้มกจะไปซื้ อที่ บริ ษทสาขา
                                     ั                ั
                     ั        ั ่
ที่ตนสะดวก ส่ วนบริ ษทใหญ่ต้ งอยูที่ เยอรมณี และมีบริ ษทย่อยๆ
                                                          ั
    ่ ั่
อยูทวประเทศ

4.3.7 How

        How does the consumer buy? ผู้บริโภคซื้ออย่ างไร

ขั้นตอนในการตัดสิ นใจซื้ อ (Operations) ประกอบด้วย

        1. การรับรู้ ปัญหา

        2. การค้ นหาข้ อมูล ค้นหาจากแหล่งข้อมูลข้างต้น เว็บไซต์
        จากผูเ้ ชี่ยวชาญและสายด่วนออนไลน์ 24 ช.ม

        3. การประเมินผลทางการเลือก ดูจากคุณลักษณะ คุณภาพ
        ภาพลักษณ์ เปรี ยบเทียบดูตามความพึงพอใจ

        4. ตัดสิ นใจซื้อ ตัดสิ นใจซื้ อจากการดูการเปรี ยบเทียบประเมิน
        ทางเลือกในข้างต้น
Need Respect, Self-Esteem   21


               5. ความรู้ สึกหลังการซื้อ พึงพอใจกับการบริ การก่อนและหลัง
               การขายของที่ได้ได้มีคุณภาพ มีคุณค่าทางใจ และแสดงความ
               มันคงในชีวต สามารถเก็บไว้เป็ นมรดกต่อรุ่ นสู่ รุ่นได้อีกด้วย
                 ่       ิ



4.4 กลยุทธ์ STP บริษัท เมอร์ เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จากัด

       4.4.1 การแบ่งส่ วนตลาด (Segmentation)

           1. ระดับการแบ่งส่ วนตลาดบริ ษทเมอร์ เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย)
                                            ั
              จากัดเป็ นบริ ษทที่สร้างผลิตภัณฑ์มุ่งตลาดเป้ าหมายระดับชนชั้น
                              ั
              สู ง, ผูบริ หาร
                      ้
           2. หลักเกณฑ์ในการแบ่งตลาดผูบริ โภค ้
                    2.1ตามหลักประชากรศาสตร์ มีการแบ่งส่ วนตลาดของผลิต
                                        ่
               ภัณฑ์ระดับชั้นของสังคมอยูในระดับสู ง
                รายได้ต่อเดือน ตั้งแต่ -70,000บาทขึ้ นไป
                แบ่งตามเขตภูมิประเทศ คือ -ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
               (ประเทศไทย)
                        2.2การแบ่งส่ วนตลาดตามพฤติกรรมทัศนคติและความต้
               องการ
                        -ประโยชน์ที่ได้รับจากสิ นค้าคือ
               ความมีระดับและได้รับการยกย่องจากผูอื่นความนับถือ
                                                 ้
                        -ลักษณะการซื้ อการใช้คือจะซื้ อเมื่อมีความพร้อมทาง
               ด้านปัจจัยทางการเงินและความต้องการเป็ นที่ยอมรับในสังคมชน
               ชั้นตน
                        - ทัศนคติต่อผลิตภัณฑ์ คือ ผูบริ โภคจะมีทศนคติที่ดีต่อ
                                                    ้           ั
               ผลิตภัณฑ์เมอร์เซเดส-เบนซ์

       4.4.2 การเลือกตลาดเปาหมาย (Target Market Selection)
                           ้
                  1. การประเมินส่ วนตลาด
                                -
Need Respect, Self-Esteem   22


           ขนาดและความเจริ ญเติบโตของตลาดเป้ าหมายคือทางบริ ษท
                                                             ั
           ได้มีการคาดคะเนว่าผลิตภัณฑ์เมอร์ เซเดส-เบนซ์
           จะเติบโตเป็ นอย่างมากในตลาดแถบเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
           (ประเทศไทย) จะสามารถสร้างยอดขายจากกลุ่มผูบริ โภค
                                                    ้
           กลุ่มผูบริ หารและระดับชนชั้นสู ง
                  ้

           2.การเลือกส่ วนตลาด
                -ปัจจุบนบริ ษทเมอร์ เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จากัด
                       ั     ั
                                                   ่ ั่
           มีเครื อข่ายของโชว์รูมและศูนย์บริ การอยูทวประเทศซึ่ งประ
           กอบไปด้วยผูจาหน่ายรถยนต์เมอร์ เซเดส ‟ เบนซ์
                      ้
           อย่างเป็ นทางการรวมทั้งสิ้ น 36 แห่งทัวประเทศ
                                                 ่


4.4.3 การวางตาแหน่ งผลิตภัณฑ์ (Positioning)
        1.การวิเคราะห์ถึงคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์
คือเป็ นผลิตภัณฑ์ที่บ่งบอกถึงคุณลักษณะมีความเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะตน
        2.วิธีการกาหนดตาแหน่งผลิตภัณฑ์เมอร์ เซเดส-
เบนซ์ มีสไตล์หรู หรา บ่งบอกความเป็ นตัวตน ที่แท้จริ งของผูใช้
                                                          ้
มีฐานะทางสังคมที่ดี
Need Respect, Self-Esteem   23


Positioning Map
Need Respect, Self-Esteem   24


                          4.5 Marketing Strategy (4 Ps)
                          4P

                                 4.5.1 Product

                     คค
B ‟ Class The B-Class Sports Tourer


                                                                            Sports Tourer




C ‟ Class The C-Class



                                                          Saloon                          Coupe



E-Class




                  Saloon               Coupé                 Cabriolet
                      Estate




S-Class


                                                                               Saloon
Need Respect, Self-Esteem   25




SL- Class




                         Roadster




R – Class


                         Sports Tourer




CSL- Class SLS AMG




                                Coupé




CL- Class




                                Coupé




SLK- Class




                     Roadster
Need Respect, Self-Esteem      26


                                                    4.5.2 Price ค
                                                                             ประกาศใช้ต้ งแต่วนที่ 20
                                                                                         ั ั                      2555

                                                                             เครื่ องยนต์ กาลังเครื่ องยนต์
                                                                                                                      ราคา (บาท)
                                                                                ( )       (               )
The new generation C-Class
C 200 BlueEFFICIENCY                                       ประกอบในประเทศ      1,796          135/184                     2,149,000
C200 BlueEFFICIENCY with COMAND Online                     ประกอบในประเทศ      1,796          135/184                     2,179,000
C 200 BlueEFFICIENCY ELEGANCE                              ประกอบในประเทศ      1,796          135/184                     2,739,000
C 200 BlueEFFICIENCY ELEGANCE with COMAND Online           ประกอบในประเทศ      1,796          135/184                     2,769,000
C 200 BlueEFFICIENCY AVANTGARDE                            ประกอบในประเทศ      1,796          135/184                     2,929,000
C 200 BlueEFFICIENCY AVANTGARDE with COMAND Online         ประกอบในประเทศ      1,796          135/184                     2,959,000
C 250 CDI BlueEFFICIENCY AVANTGARDE                        ประกอบในประเทศ      2,143          150/204                     3,189,000
C250BlueEFFICIENCYAVANTGARDE                               ประกอบในประเทศ      1,796          150/204                     3,249,000
The E-Class
E 200 NGT BlueEFFICIENCY ELEGANCE                          ประกอบในประเทศ      1,796          120/163                     3,549,000
E 200 NGT BlueEFFICIENCY ELEGANCE with COMAND Online       ประกอบในประเทศ      1,796          120/163                     3,629,000
E 200 CGI BlueEFFICIENCY ELEGANCE                          ประกอบในประเทศ      1,796          135/184                     3,699,000
E 200 BlueEFFICIENCY ELEGANCE with COMAND Online & 7G-     ประกอบในประเทศ
TRONIC PLUS
                                                                               1,796          135/184                     3,799,000
E 250 CDI BlueEFFICIENCY ELEGANCE                          ประกอบในประเทศ      2,143          150/204                     4,099,000
E 250 CDI BlueEFFICIENCY ELEGANCE with COMAND Online       ประกอบในประเทศ      2,143          150/204                     4,179,000
E 250 BlueEFFICIENCY AVANTGARDE with COMAND Online         ประกอบในประเทศ      1,796          150/204                     4,099,000
E 300 AVANTGARDE Sports with COMAND Online                 ประกอบในประเทศ      2,996          161/219                     4,799,000
The new generation S-Class
S 300 Long Wheelbase                                       ประกอบในประเทศ      2,997          161/219                      7,199,000
S 300 Long Wheelbase with rear seat entertainment          ประกอบในประเทศ      2,997          161/219                      7,499,000
S 350 CDI BlueEFFICIENCY Long Wheelbase                    ประกอบในประเทศ      2,987          155/211                      7,999,000
S 500 BlueEFFICIENCY Long Wheelbase                        ประกอบในประเทศ      4,663          320/435                     11,199,000
Niche Models
C 250 BlueEFFICIENCY CoupéEdition 1                                 นาเข้า     1,796          150/204                     4,099,000
E 250 BlueEFFICIENCY AVANTGARDE Estate (7G-TRONIC
PLUS)
                                                                    นาเข้า     1,796          150/204                     4,769,000
Need Respect, Self-Esteem      27


E 250 BlueEFFICIENCY AVANTGARDE Cabriolet (7G-TRONIC
PLUS)
                                                                       นาเข้า              1,796   150/204                     4,799,000
E 250 BlueEFFICIENCY AVANTGARDE Coupé    Sports AMG (7G-
TRONIC PLUS)
                                                                       นาเข้า              1,796   150/204                     4,599,000
SLK 200 BlueEFFICIENCY Sports AMG Roadster                             นาเข้า              1,796   135/184                      4,299,000
SLK 350 BlueEFFICIENCY Sports AMG Roadster                             นาเข้า              3,498   225/306                      7,399,000
The new CLS 350 BlueEFFICIENCY                                         นาเข้า              3,498   225/306                      8,399,000
CL 500 BlueEFFICIENCY Coupé Generation)
                           (New                                        นาเข้า              4,663   320/435                     15,490,000
CL 500 BlueEFFICIENCY CoupéSports AMG (New Generation)                 นาเข้า              4,663   320/435                     16,290,000
SLS AMG                                                                นาเข้า              6,208   420/571                     24,999,000
R 300 CDI 4MATIC Family (New Generation)                               นาเข้า              2,987   140/190                      5,899,000
R 300 CDI 4MATIC Executive (New Generation)                            นาเข้า              2,987   140/190                      6,449,000
R 300 CDI 4MATIC Executive with Panoramic glass sliding sunroof
(New Generation)
                                                                       นาเข้า              2,987   140/190                     6,549,000
The new Vito 115 CDI Extra Long                                        นาเข้า              2,148   110/150                     2,820,000
The new Vito 115 CDI Extra Long (MY12)                                 นาเข้า              2,148   110/150                     2,880,000
The new Viano CDI 2.2 Compact                                          นาเข้า              2,148   110/150                     4,119,000


           *                                                       โ            5
                     ง
                                                     ง            Vito              i no                   ง2
               โ                   ง ง          ง        ง
Need Respect, Self-Esteem   28


                4.5.3 Place                       จ จ



        จ

                              3888 .
                                       ง ง                 ง             (02) 745 2222
                                   ง              2

                              99                       ง
                                       ง                                 (02) 930 1888
                                   ง             0900

                              487 .
                                       ง งโ                    ง         (02) 291 1212
                                   ง               2

                              1195 .              โ
                                       ง                           ญ     (02) 617 1212
                                   ง

                              18/42-43            8 .
                                                                         (02) 509 3545
                                       ง      ง            ง
                                                                         (02) 945 4555
                                   ง              2

                              2/9-10
                               .             -
    ง                                                                    (02) 880 7180-9
                                       ง ง                 ง
                                   ง

ง           โ                 2595 .                                     (02) 542 1269
Need Respect, Self-Esteem   29


                     จ

                               งง ง              ง         ง ง        ง
                           ง

                         59/527              .                2
                     โ         ง                      ง                     (02) 416 0100-8
                           ง              5



                         1114 .
                ง โ            ง             ง                    ง         (02) 322 5999
                           ง             25

                         62-74                   .                    ง
                                                                            (02) 226 0021
                               ง
(                                                                           (02) 622 3000
                           ง             2

                         128/10                  .ง       ง
                               ง ง ง ง                                      (02) 954 0200
(   ง   ง        )
                           ง             2

                         1024/9 .
                               ง ง                                          (02) 679 7473-8
(
                           ง              2

                         540/5,6,8 .                  55
            ง                  ง     ง                                      (02) 714 8888
                           ง
Self esteem
Self esteem
Self esteem
Self esteem
Self esteem
Self esteem
Self esteem
Self esteem
Self esteem

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie Self esteem

Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภคReference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภคMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนathapol anunthavorasakul
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพratchadaphun
 
174663 article text-493447-1-10-20190226
174663 article text-493447-1-10-20190226174663 article text-493447-1-10-20190226
174663 article text-493447-1-10-2019022629606
 
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ Sutasinee Phu-on
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5kanwan0429
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5kanwan0429
 
ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4paewwaew
 
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายrubtumproject.com
 
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1paewwaew
 
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมthnaporn999
 
สังคมไทย
สังคมไทยสังคมไทย
สังคมไทยsiriwan
 

Ähnlich wie Self esteem (20)

Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภคReference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
 
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
 
รายงาน กลุม 1
รายงาน กลุม 1รายงาน กลุม 1
รายงาน กลุม 1
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพ
 
174663 article text-493447-1-10-20190226
174663 article text-493447-1-10-20190226174663 article text-493447-1-10-20190226
174663 article text-493447-1-10-20190226
 
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4
 
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคม
 
สังคมไทย
สังคมไทยสังคมไทย
สังคมไทย
 
การจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียนการจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
 
หน่วยที่๔
หน่วยที่๔หน่วยที่๔
หน่วยที่๔
 
Managing oneself
Managing oneselfManaging oneself
Managing oneself
 

Self esteem

  • 1. MBS Mahasarakham Business School Need Respect, Self-Esteem เสนอ อาจารย์ วจนะ ภูผานี รายวิชา พฤติกรรมผู้บริโภค ( 0902111 ) ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2554
  • 2. Need Respect, Self-Esteem 2 Need Respect, Self-Esteem 3 1.ลักษณะทัวไปของแนวโน้ มของกลุ่มทีมีความต้ องการ Need Respect, Self-Esteem ่ ่ 3 2. ปัจจัยทีส่งผลต่ อการเปลียนแปลงและการเกิดขึนของแนวโน้ มนั้น ๆ ่ ่ ้ 4 2.1 External Influences 4 2.2 Internal Influences 8 3. Company Background 11 4. Business Analysis 13 4.1 Market Analysis 13 4.2 Competitors (คู่ แข่ งขัน) 14 4.3 Consumer Behavior (6 W 1H) 15 4.4 กลยุทธ์ STP บริษัท เมอร์ เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จากัด 21 4.5 Marketing Strategy (4 Ps) 24
  • 3. Need Respect, Self-Esteem 3 Need Respect, Self-Esteem Need Respect, Self-Esteem เป็ นความต้องการของมนุษย์ที่มีความต้องการเป็ นลาดับขั้น เป็ นไปตามลาดับขั้นของทฤษฎีมาสโลว์ Self-esteem ความตระหนักถึงคุณค่าตนเอง (Self-respect) ความเชื่อมันในความสามารถตนเอง(Self-efficacy)ความเชื่อว่า ตนเองมีคุณค่า ่ มีความหมาย มีศกดิ์ศรี เท่าเทียมผูอื่น มีสิทธิ มีโอกาสที่จะสาเร็ จ ได้รับสิ่ งที่มุ่งหวัง มีสุขได้ ั ้ เช่นเดียวกับผูอื่น ชีวิตมีค่า สมควรได้รับการดูแลปกป้ องให้ดี การได้รับการยอมรับจากคนอื่น ้ ความเชื่อว่า ตนเองสามารถ คิด เข้าใจ เรี ยนรู ้ ตัดสิ นใจในการแก้ปัญหการเผชิ ญหน้ากับความท้าทาย หรื ออุปสรรคต่างๆ ในชีวิตได้ ไว้วางใจตนเอง ว่ามีความสามารถ มีพลัง มีประสิ ทธิ ภาพ และพึ่งพาตนเองได้ 1.ลักษณะทัวไปของแนวโน้ มของกลุ่มทีมีความต้ องการ Need Respect, Self-Esteem ่ ่ เมื่อความต้องการได้รับความรักและการให้ความรักแก่ผอื่นเป็ นไปอย่างมีเหตุผล ู้ และทาให้บุคคลเกิดความพึงพอใจแล้วพลังผลักดันในขั้นที่ก็จะลดลงและมีความต้องการในขั้นต่อ ไปมาแทนที่ กล่าวคือมนุษย์ตองการที่จะได้รับความนับถือยกย่องออกเป็ น 2 ลักษณะ คือ ้ ลักษณะแรกเป็ นความต้องการนับถือตนเอง (self-respect) ส่ วนลักษณะที่เป็ นความต้องการได้รับการยกย่องนับถือจากผูอื่น (esteem from others) ้ 1.1 ความต้ องการนับถือตนเอง (self-respect) คือ ความต้องการมีอานาจ มีความเชื่อมันในตนเองมีความแข็งแรงมีความสามารถในตนเองมีผลสัมฤทธิ์ ไม่ตองพึ่งพาอาศัยผู ้ ่ ้ อื่น และมีความเป็ นอิสระ
  • 4. Need Respect, Self-Esteem 4 ทุกคนต้องการที่จะรู ้สึกว่าเขามีคุณค่าและมีความสามารถที่จะประสบความสาเร็ จในงานภาระกิจต่า งๆ และมีชีวตที่เด่นดัง ิ 1.2 ความต้ องการได้ รับการยกย่ องนับถือจากผู้อน (esteem from others) คือ ื่ ความต้องการมีเกียรติยศ การได้รับยกย่อง ได้รับการยอมรับ ได้รับความสนใจ มีสถานภาพ มีชื่อเสี ยงเป็ นที่กล่าวขานและเป็ นที่ชื่นชมยินดีมีความต้องการที่จะได้รับความยกย่องชมเชยในสิ่ งที่ เขากระทาซึ่งทาให้รู้สึกว่าตนเองมีคุณค่าว่าความสามารถของเขาได้รับการยอมรับจากผูอื่น ้ 2. ปัจจัยทีส่งผลต่ อการเปลียนแปลงและการเกิดขึนของแนวโน้ มนั้น ๆ ่ ่ ้ 2.1 External Influences 2.1.1 ฒนธรรม คือ ผลรวมที่เกิดจากการเรี ยนรู ้ ความเชื่ อ ค่านิยม ธรรมเนียม ศิลปะคุณธรรมกฎหมายความสามารถอุนิสยซึ่ งแต่ละตัวบุคคลจะมีบุคลิกพฤติกรรมแตกต่างกัน ั ่ ั ออกไปขึ้นอยูกบสภาพแวดล้อมใกล้ๆ ตัวของแต่ละบุคลนั้นๆด้วยซึ่ งพฤติกรรมของคนในสังคมใด ั สังคมหนึ่งโดยคนในสังคมนั้นยอมรับและเผยแพร่ กนต่อไปหน้าที่ของวัฒนธรรมวัฒนธรรมเป็ นสิ่ ง ที่กาหนดพฤติกรรมของมนุษย์ และวัฒนธรรมเป็ นสิ่ งควบคุมสังคมสร้างความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อย ให้แก่สังคมเพราะในวัฒนธรรมจะมีท้ งความศรัทธาความเชื่อค่านิยมบรรทัดฐานตลอดจนผลตอบ ั แทนในการปฏิบติลงโทษ ั 2.1.2 คนในกลุ่ม Need Respect, Self-Esteem เป็ นคนที่อยูในกลุ่มที่ตองการการยกย่องเชิดชูเป็ นที่ยอมรับความต้องการมีอานาจมีความเชื่อมันใน ่ ้ ่ ตนเองมีความแข็งแรงมีความสามารถในตนเองมีผลสัมฤทธิ์ ไม่ตองพึ่งพาอาศัยผูอื่นและมีความเป็ น ้ ้ อิสระ คนกลุ่มนี้จะอยูในกลุ่มชนชั้นระดับสู งค่อนข้างไปทางต่า- ระดับกลางค่อนข้างไปทางสู ง ่ กลุ่มสังคมวัฒนธรรมนี้คนในกลุ่มนี้มี ความต้องการมีเกียรติยศ การได้รับยกย่อง ได้รับการยอมรับ ได้รับความสนใจ มีสถานภาพ มีชื่อเสี ยงเป็ นที่กล่าวขาน และเป็ นที่ชื่นชมยินดี มีความต้องการที่จะได้รับความยกย่องชมเชยในสิ่ งที่เขากระทาซึ่ งทาให้รู้สึกว่าตนเองมีคุณค่าและค วาม สามารถของเขาได้รับการยอมรับจากผูอื่นดังนั้นคนในกลุ่มนี้จะยึดติดกับวัตถุ ของมียหอ ้ ่ี ้ ของแบรนด์เนม เป็ นที่ยอมรับของบุคคลในกลุ่มสังคมนั้นๆ มีรูปร่ างโดดเด่น เช่น นาฬิกาPatak chanel เบนซ์ เป็ นต้น ของพวกนี้จะบ่งบอกถึงความมีเกียรติยศ ความหรู มีระดับ,เบนซ์,กระเป๋ าChanal และอื่นๆ
  • 5. Need Respect, Self-Esteem 5 2.1.3 ลักษณะประชากร หมายถึง ลักษณะทางสถิติท่ีสาคัญและสามารถวัดได้ของประชาชน เช่นเพศ อายุ รายได้ อาชีพ การศึกษา ซึ่งในที่น้ ีรวมถึงฐานะทางสังคมถิ่นฐานอายุความจาเป็ นและความสนใจในสิ นค้าหลายชนิดแปรผัน ตามอายุซ่ ึ งคนที่มีความต้องการได้รับยกย่อง มีชื่อเสี ยง มีเกียรติยศ (self-esteem) คนที่ตองการเช่นนี้จะอยูในกลุ่มอายุ Generation X คนในกลุ่ม Generation X คือคนที่เกิดในช่วง ้ ่ ค.ศ.1965-1979 อายุระหว่าง32-46 ปี เป็ นกลุ่ม Gen X มีลกษณะพฤติกรรมชอบความเรี ยบง่ายและ ั ไม่เป็ นทางการ เพศ บทบาทหน้าที่ตามเพศ เป็ นส่ วนที่สาคัญของทุกวัฒนธรรมและมีความสาคัญในการแบ่งส่ วนตลาด ซึ่ งกลุ่มคนที่มีความต้องการ Need Respect, Self-Esteem การยกย่องนับถือ มีเกียรติ ทั้งเพศหญิง ชาย และกลุ่ม LBGT หรื อกลุ่มเลสเปี้ ยน ่ เมื่อความต้องการมาถึงในระดับที่วาด้วยการต้องการให้คนยกย่องนับถือ มีเกียรติยศ แต่ส่วนใหญ่จะเป็ นเพศชายมากกว่า 2.1.4 สถานภาพทางสั งคม รายได้ การศึกษา อาชีพ ตัวแปรทั้งสามนี้มีความสัมพันธ์กนมากั และเป็ นความสัมพันธ์ท่ีต่อเนื่อง เนื่องจากผูที่มีอาชีพดีเป็ นที่ยกย่อง มักจะมีรายดีสูง ้ ่ และการศึกษาสู งด้วย ซึ่ งคนที่มีความต้องการอยูในระดับ Need Respect, Self-Esteem จะเป็ นกลุ่มคนที่มีอาชีพดี รายได้ค่อนข้างดี การศึกษาสู ง ฐานะดี แต่ไม่อยูในขั้นชนชั้นระดับสู ง ่ จึงต้องการยกระดับชนชั้น ชื่ อสี ยง ด้วยการต้องการเลื่อนขั้น เพิ่มสิ่ งที่แสดงให้ถึงการมีเกียรติยศ ชื่อเสี ยง บารมี ต่างๆ ไม่วาจะเป็ นการใช้สินค้าแบรนด์เนม รถเบนซ์ที่บ่งบอกถึงความหรู นาฬิกา ่ Patek phillip เป็ นต้น 2.1.5 ชนชั้นทาง ชนชั้นทางสังคม ISC เป็ นการกาหนดโดยตั้งดัชนีคุณสมบัติของฐานะ 4 ่ ่ ตัวแปร คือ อาชีพ แหล่งของรายได้เขตที่อยูอาศัยและประเภทของที่อยูอาศัยแต่ตวแปรที่มี ั หนักมาก ที่สุดคือ “อาชีพ”เป็ นกลุ่มของชั้นได้เป็ น 4 กลุ่มดังนี้
  • 6. Need Respect, Self-Esteem 6 กลุ่มที่มีความต้องการอยูในขั้นNeed Respect, Self-Esteem มักจะอยูในชนชั้นระดับสู งค่อนข้างต่า และ ่ ่ ระดับกลางค่อนข้างไปทางสู ง สิ นค้าที่ชนชั้นนี้แสวงหาเพื่อตอบสนองความต้องการของตนเองคือ สิ นค้าที่มีความสามารถเสริ มฐานะทางสังคม และได้รับการยกย่องการยอมรับจากสังคม โดยจะไม่ให้ความ สาคัญกับปั จจัยด้านราคา กลุ่มชั้ นสู งระดับล่ าง (Lower Upper) ได้แก่ กลุ่มที่มีรายได้สูงที่สุดของสังคม กลุ่มนี้ สร้างฐานะความร่ ารวยจากความสามารถพิเศษของตนเองเช่น เป็ นประธานบริ ษท หรื อหัวหน้างานอาชีพต่างๆ ั ที่ประสบผลสาเร็ จ ได้รับการศึกษาสู ง ชอบช่วยเหลือสังคม ชอบซื้ อผลิตภัณฑ์ที่เป็ นสัญลักษณ์แสดงฐานะ เพื่อตนเอง และครอบครัว เช่นมีบานราคาแพง มีสระว่ายน้ าส่ วนตัว รถยนต์ราคาแพงเป็ นต้น และการซื้ อสิ น ้ ค้าจะไม่ถือเรื่ องเงินเป็ นสาคัญ สังคมกลุ่มนี้มีประมาณ 1.2 % กลุ่มชนชั้ นกลางระดับบน (Upper Middles) ได้แก่ กลุ่มที่มีรายได้ระดับสู งจากการประกอบอาชีพ อย่างแท้จริ ง เป็ นผูที่ได้รับตาแหน่งและมีเงินเดือนสู งเช่น นักบริ หาร ผูจดการบริ ษท และนักวิชาชี พชั้นสู ง ้ ้ั ั ่ ั ต่างๆ ฐานะทางสังคมขึ้นอยูกบอาชี พและรายได้ท่ีได้รับ ส่ วนมากจะเป็ น ผูที่มีการศึกษาดี แต่ไม่ได้จบจากสถาบันที่มีชื่อเสี ยง มีความต้องการอยากให้ลูกได้รับการศึกษาที่ดี ้ ชอบซื้ อผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพสู ง มีบานที่สวยงาม ชอบเข้าร่ วมกิจกรรมทางสังคม และมีชีวตความเป็ นอยูที่ดี ้ ิ ่ และมีความสุ ข สังคมกลุ่มนี้มีประมาณ12.5%
  • 7. Need Respect, Self-Esteem 7 2.1.6 กลุ่มอ้ างอิงกลุ่ม คือ บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปซึ่ งมีค่านิยม ิ ั ั บรรทัดฐานหรื อวิถีชีวตคล้ายคลึงกันบุคคลเหล่านี้มกมีความสัมพันธ์กนและความประพฤติของแต่ ละคนจะส่ งผลกระทบถึงกันและกัน กลุ่มอ้างอิงคือบุคคลหนึ่งหรื อกลุ่มคนอื่นใช้เปรี ยบเทียบหรื อมาตรฐานในการเกิดค่านิยม ทัศนคติ ชนิ ดทัวไปหรื อชนิ ดที่เฉพาะเจาะจงซึ่ งใช้เป็ นสิ่ งชี้นาความประพฤติ หรื อกล่าวอีกนัยหนึ่ง ่ กลุ่มอ้างอิง คือบุคคลหรื อกลุ่มคนซึ่ งมีอิทธิ พลสาคัญต่อพฤติกรรมชองบุคคลซึ่ งกลุ่มอ้างอิงของคน ในกลุ่มคนที่มีความต้องการทางด้าน Need Respect, Self-Esteem นี้ คือ กลุ่มคนระดับสู ง นักธุ รกิจชื่อดัง เศรษฐีเก่าแก่ ดาราฮอลลิวดู เหตุผลที่คนกลุ่มที่มีความต้องการทางด้าน Need Respect, Self-Esteem นี้ตองการเข้ากลุ่ม คือ ้ การนิยม/ยกย่ องตนเอง การเข้ากลุ่มทาให้ตวเองเป็ นบุคคลที่มีค่าและนอกจากจะเป็ นการเพิ่มสถานภาพของตนให้เ ั ป็ นที่นิยมของบุคคลภายนอกแล้ว ยังรู ้สึกว่าตนเองมีคุณค่าแม้ในหมู่สมาชิกด้วยกัน กลุ่มอ้างอิงที่สามารถเข้ามาทาการตลาดในในกลุ่มคนที่มีความต้องการทางด้าน Need Respect, Self-Esteemนี้ ได้ คือผ่านทางช่องทางที่สามารถเข้าถึงคนกลุ่มนี้ได้ ไม่วาจะเป็ น นิตยสาร ่ เมลล์ อินเตอร์เน็ต หนังสื อพิมพ์ catalog club Lounge สื่ อโทรทัศน์ ทางช่องทางต่างๆ ใช้ ความดึงดูดจากผู้มีชื่อเสี ยง เนื่องด้วยคนในกลุ่ม Need Respect, Self-Esteem นี้จะมีIdolเป็ นคนที่มีชื่อเสี ยง นักธุ รกิจชื่อดัง นักการเมือง ดารา การให้ การรับรอง ่ จากผูมีชื่อเยงระบุวาตนเองได้ใช้สินค้านั้นแล้วจึงสามารถรับประกันคุณภาพสิ นค้านั้นๆได้ ้ เช่น คลินิกเกี่ยวกับความสวยความงาม มีการแข่งขันที่สูง แต่เนื่ องด้วยทางวุฒิศกดิ์ทาการตลาดมาดี ั และได้นาดารา ผูมีส่วนร่ วมออกมารับประกัน ้ ่ และยอมรับว่ามีประสิ ทธิ ภาพเพราะว่าตนก็ผานการใช้มาแล้ว การเป็ นโฆษกประจาสิ นค้ าในช่ วงเวลาหนึ่ง ั วิธีน้ ีผมีชื่อเสี ยงทาหน้าที่เป็ นตัวแทนส่ งเสริ มการตลาดให้กบสิ นค้าหรื อบริ การเป็ นระยะเวลาหนึ่ง ู้
  • 8. Need Respect, Self-Esteem 8 การใช้ผเู้ ชี่ยวชาญ ความเชี่ยวชาญได้มาจากบุคคลนั้นมีอาชีพผ่านการอบรมหรื อมีประสบการณ์ในการใช้หรื อเกี่ยว ข้องกับสิ นค้าบางชนิด จึงทาให้สามารถโน้มน้าวผูบริ โภคให้เกิดความเชื่ อถือได้ ้ 2.2 Internal Influences 2.2.1 คือกระบวนการซึ่ งแต่ละคนคัดสรร จัดระเบียบ และตีความ สิ่ งที่มากระตุนเพื่อให้เกิดภาพในสมองที่มีความหมายและสอดคล้องกันเกี่ยวกับโลกที่บุคคลนั้น ้ สามารถสัมผัสได้ หรื อเป็ นส่ วนหนึ่งของการกระบวนการประมวลผลข้องมูลของสมองซึ่ งเริ่ ม จากการ สัมผัสและตามด้วยความใส่ ใจ และการตีความหมาย Need Respect, Self-Esteem มีวธีการรับรู้ ิ และเรี ยนรู้ในลักษณะเป็ นไปตามทฤษฏีของ แนวคิดของAlbert Bandura ซึ่ งเป็ นที่นิยมอย่างกว้างขวาง โดยเจ้าของแนวความคิดเห็นว่า การเลียนแบบของเด็กนั้น ่ ่ เกิดจากการสังเกตตัวแบบที่มีอยูรอบๆตัว ไม่วาจะเป็ นพ่อแม่ พี่นอง ครู เพื่อน รายการโทรทัศน์ ้ หรื อหนังสื อการ์ ตูน ซึ่ งเรี ยกว่าเป็ นการเรี ยนรู ้จากการสังเกตการณ์ ซึ่งเป็ นวิธีสาคัญใน การเรี ยนรู้พฤติกรรมทางสังคม 2.2.2 การเรี ยนรู้ คนในกลุ่ม Need Respect, Self-Esteem มีวธีการรับรู้เป็ นไปตามทฤษฏีที่ ิ กล่าวมาข้างต้น โดยมีวธีการเรี ยนรู ้ที่สอดคล้องกับแนวคิดของ Albert Bandura ซึ่ งคนกลุ่มนี้จะมี ิ ่ การเรี ยนรู ้สิ่งต่างๆ การใช้ชีวิต วิถีชีวต และเรี ยนรู ้จากประสบการณ์ของตนเองที่ผานมา ิ 2.2.3 ความจาเป็ น มีความจาเป็ นที่ตองการให้คนยอมรั ยกย่อง เชิดชูในสิ่ งที่ตน สามารถสร้าง ้ ขึ้นมาเองได้ดวยมือ ้ 2.2.4 ค จ คนในกลุ่มนี้จะแสวงหาสิ นค้า แบรนด์ ที่หายากด้วยตนเอง มากกว่าจากจดจาที่มาจากพรี เซ็นเตอร์ โฆษณา ซึ่ งสิ นค้า แบรนด์ จะบ่งบอกถึงความมีตวตน ั มีเอกลักษณ์ในตัวเอง
  • 9. Need Respect, Self-Esteem 9 2.2.5 จ จ คือสภาวะที่ถูกกระตุนภายในแต่ละคนซึ่งนาไปสู่ พฤติกรรมที่มีจุดมุ่งหมาย ้ หรื อเป็ นเหตุผลของพฤติกรรมแต่ละครั้งคนในกลุ่มนี้ เป็ นไปตามทฤษฏีตามลาดับขั้นความต้องการ ของมาสโลว์ เป็ นความต้องการของมนุษย์ในองค์การเป็ นเรื่ องที่ผบริ หารต้องเอาใจใส่ ู้ เพราะพฤติกรรมในการทางานของพนักงาน 2.2.6 บุคลิกภาพ คนที่มี self-esteem จะต้องมีความสมดุลของความต้องการผลสาเร็ จ หรื ออานาจ และความรู ้จกคุณค่า ความมีเกียรติ และความซื่อสัตย์ ซึ่งอาจจะหมายถึง จิตใต้สานึก ั และพฤติกรรมนันเอง จิตใต้สานึกของคนที่มี self-esteem จะต้องรู ้จกบาป บุญคุณโทษ รู ้สิ่งใดดี ่ ั สิ่ งใดไม่ดี ความสื่ อสัตย์ ความมีเกียรติ ส่ วนพฤติกรรมของ self-esteem มีความสามารถที่จะคิด แก้ปัญหา เชื่ อมันในความคิด และความสามารถ ของตัวเอง ่ 2.2.7 วิถีชีวต ิ วิถีชีวต ิ Self-Esteem สู ง Self-Esteem ต่า น่ารัก ภูมิใจ เปิ ดเผย กล้าหาญ ไม่น่ารัก ไม่มีคนรักเลย ตนไร้คุณค่า การมองตน ซื่อสัตย์ ไม่ภาคภูมิใจ หนักแน่น มันคง อ่อนโยน รับฟัง ่ อารมณ์ หงุดหงิด ขี้โกรธ รุ นแรง สงสัยคาชม ใจกว้าง ทาร้ายคนอื่น ยอมให้คนอื่นเอาเปรี ยบ การเคารพสิ ทธิของตนเอง ให้เกียรติ ปกป้ องสิ ทธิ ไม่กล้าตัดสิ นใจ ปรับตัวเร็ ว ไม่เครี ยด การปรับตัว กังวล ปรับตัวยาก การเรี ยนรู ้แย่ มองปั ญหาเป็ นสิ่ งท้าทาย ยอมรับ ยุติธรรม ใจกว้าง ร่ วมมือ ั ้ ความสัมพันธ์กบผูอื่น อ้อมค้อม กังวล ขี้อิจฉา ใจแคบ จริ งใจ ซื่ อสัตย์ กลัวถูกปฏิเสธ ดิ้นรน อวดร่ าอวดรวย ความกลัวถูกปฏิเสธ ไม่กลัวถูกปฏิเสธ หาความรักแบบแปลกๆ
  • 10. Need Respect, Self-Esteem 10 สุ ข มันคง มีพลัง หน้าผ่อนคลาย ่ เครี ยด กัวล เศร้าสร้อย หลังงุม ไหล่ห่อ ้ บุคลิกภายนอก แจ่มใส มีชีวตชีวา สง่างาม ไหล่ต้ ง ิ ั คอตก เสี ยงเบาและไม่ชดเจน หงุดหงิด วิตก ั เสี ยงหนักแน่น ชัดถ้อยชัดคา วิธีคิด พฤติกรรม ทาสิ่ งไร้คุณค่า วงจรที่ไม่สิ้นสุ ด คิดและทา สิ่ งดีๆ อย่างต่อเนื่ อง ทาตนเองให้ตกต่าอย่างต่อเนื่ อง เช่นการยอมให้เอาเปรี ยบ เศร้าใจ ท้อแท้ สิ้ นหวัง หมดกาลังใจ มีความสุ ข สุ ขภาพจิตดี มีกาลังใจ ปั่ นป่ วนทางอารมณ์ สุ ขภาพจิตเสื่ อม ปัญหาสุ ขภาพจิต มันใจ ภาคภูมิใจ พึงพอใจตนเอง ่ มองตนเองไร้ความสามารถ ทาร้ายผูอื่น ้ พอใจในงาน มักฆ่าตัวตาย
  • 11. Need Respect, Self-Esteem 11 ตัวอย่างบริ ษัท ที่ทาการตลาดกับกลุม Need Respect, Self-Esteem ่ 3. Company Background Company Background เป็ นบริ ษทในเครื อของบริ ษท เมอร์เซเดส-เบนซ์ เอจี แห่งประเทศเยอรมนี ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 ั ั มกราคม 1998 บริ ษทเป็ นผูประกอบและจัดจาหน่ายรถยนต์เมอร์ เซเดส-เบนซ์ ทั้งที่เป็ นรถยนต์ ั ้ นังส่ วนบุคคลและรถเพื่อการพาณิ ชย์ บริ ษทได้ดาเนิ นธุ รกิจการตลาดทั้งรถยนต์นาเข้าและประกอบ ่ ั ขึ้นภายในประเทศแบบหลากหลายรุ่ น ได้แก่รถยนต์เมอร์ เซเดส-เบนซ์ในตระกูลต่าง ๆ อาทิ B- C-, E-, S-Class หรื อรถยนต์เฉพาะกลุ่ม เช่น M-Class, R-Class, SLK-Class และ CLS-Class เป็ นต้น ในส่ วนที่เป็ นรถเพื่อการพาณิ ชย์ ได้แก่ รถตูแวนและรถอเนกประสงค์ต่าง ๆ อาทิ Vito, Viano และ ้ Sprinter โดยผ่านเครื อข่ายผูจาหน่ายรถอย่างเป็ นทางการรวมทั้งสิ้ น 38 แห่งทัวประเทศ ้ ่ นอกจากนี้ยงให้บริ การสิ นเชื่ อรถยนต์แบบครบวงจรอีกด้วย ั ปัจจุบนนี้บริ ษท เมอร์ เซเดส-เบนซ์ ยังคงครองความเป็ นหนึ่งในด้านนวัตกรรมยานยนต์ ั ั ั ั ั และเป็ นบริ ษทรถยนต์ช้ นนาของโลกที่ได้ดาเนินกลยุทธ์ในการสร้างความแข็งแกร่ งให้กบองค์กร เพื่อรองรับการให้บริ การลูกค้าอย่างครอบคลุมทัวประเทศ นอกจากนี้ทางบริ ษทยังเน้นย้ าในด้าน ่ ั การพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์อย่างต่อเนื่องมาเป็ นระยะเวลาที่ยาวนานภายใต้สิ่งที่ยดถือมาตลอด ึ ่ คือ การผลิตรถยนต์เพื่อตอบสนองทุกความต้องการของผูบริ โภคโดยยืนอยูบนพื้นฐานของ ้ การสร้างยานยนต์ที่หลากหลายและนาเสนอผลิตภัณฑ์ใหม่ๆผ่านนวัตกรรมการผลิตชั้นเยียมและ ่ เทคโนโลยีที่ทนสมัย ั วิสัยทัศน์ ในความพยายามที่จะเป็ นผูผลิตรถยนต์ที่ประสบความสาเร็ จสู งสุ ดกับการรวบรวมการ ้ บริ การสาหรับลูกค้าอย่างมีประสิ ทธิ ภาพนั้น เราสร้างพื้นฐานสาคัญไว้ดงนี้ ั
  • 12. Need Respect, Self-Esteem 12 สร้างกระบวนการที่ให้ประโยชน์และเกิดประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ดจัดกิจกรรมเพื่อการฝึ กฝนพนักงาน อย่างต่อเนื่ อง ทีต้งสานักงาน บริ ษท เมอร์ เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จากัด ่ ั ั ชั้น 19 อาคารรัจนาการ 183 ถ. สาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุ งเทพฯ 10120 โทร : +66 (0) 2614-8888 แฟ๊ กซ์ : +66 (0) 2676-6234Contact MBTh@daimler.com ทุนจดทะเบีนยน::1,200,000,000.- บาท จานวนพนักงาน :: 270 คน ประธานบริหาร :: ศ.ดร. อเล็กซานเดอร์ เพาฟเลอร์ ประวัติความเป็ นมา เมอร์เซเดส-เบนซ์เป็ นหนึ่งในรถยนต์ที่เก่าแก่และมีชื่อเสี ยงที่สุดในแวดวงอุตสาหกรรมยานยนต์ และเป็ นรถยนต์ที่รู้จกกันในประเทศไทยมานานกว่า 100 ปี ั ่ ั โดยเริ่ มเป็ นที่รู้จกครั้งแรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหว ั เมื่อมีการนาเข้ารถเมอร์เซเดส-เบนซ์คนแรกเข้ามาในประเทศไทยเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2447 ั และเมอร์ เซเดส-เบนซ์ได้กลายเป็ นรถยนต์พระที่นงคันแรกในประวัติศาสตร์ไทยด้วย ั่ ตั้งแต่น้ นเป็ นต้นมาจึงมีการนาเข้ารถเมอร์ เซเดส- ั เบนซ์มากขึ้นและเป็ นพาหนะที่แพร่ หลายในหมู่พระราชวงศ์ เจ้านายชั้นสู ง และคหบดี เมอร์ เซเดส- เบนซ์ในฐานะยนตรกรรมที่มีความหรู หราและมีรูปลักษณ์ที่โดดเด่นได้กลายเป็ นที่หลงใหลของผู ้ ใช้รถยนต์จานวนมาก นับได้วาเป็ นสัญลักษณ์แห่งเกียรติยศที่บ่งบอกถึงสถานะของ ่ ผูขบขี่ได้เป็ นอย่างดี ในฐานะของการเป็ นผูนาที่มีความน่าเชื่อถือ และมีความน่าไว้วางใจ ้ั ้ ต่อมาความนิยมในการใช้รถเมอร์ เซเดส-เบนซ์ได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ วในสังคมไทย ส่ งผลให้มีการแต่งตั้ง บริ ษท ธนบุรีพานิช จากัด เป็ นผูจดจาหน่ายและให้บริ การรถยนต์เมอร์ เซเดส- ั ้ั เบนซ์ ทั้งรถยนต์นงส่ วนบุคคลและรถเพื่อการพาณิ ชย์อย่างเป็ นทางการในปี พ.ศ. 2500 ในยุคแรก ๆ ั่ ของการนาเข้ารถเมอร์เซเดส-เบนซ์ทางบริ ษทจะเน้นไปที่การนาเข้ารถบรรทุกสาหรับใช้ในกิจการ ั ทหารหรื อการขนส่ ง ต่อมาจึงมีการขยายฐานการนาเข้ารถยนต์นงส่ วนบุคคล ในไม่ชาสัญลักษณ์ ั่ ้ ดาวสามแฉกจึงเป็ นที่ประทับใจแก่คนไทยเรื่ อยมา ด้วยชื่อเสี ยงและคุณภาพของรถเมอร์ เซเดส- เบนซ์
  • 13. Need Respect, Self-Esteem 13 ด้วยการเล็งเห็นถึงความสาคัญของตลาดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กอปร กับต้องการขยายตลาดและผลิตภัณฑ์ให้หลากหลายมากยิงขึ้น รวมถึงยกระดับการบริ การ ่ หลังการขายแก่ลูกค้าแบบครบวงจรตามมาตรฐานบริ ษทแม่ในเมืองสตุดการ์ ท ประเทศเยอรมนี ั ๊ บริ ษท เมอร์เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จากัด จึงได้ถูกก่อตั้งขึ้นในปี 2541 ั เพื่อรองรับการขยายตัวทางตลาดอย่างรวดเร็ ว ปัจจุบน บริ ษทมีพนักงานทั้งสิ้ น 270 คน ั ั และทุกคนได้ยดมันในปณิ ธานเดียวกันในการรักษาความเป็ นหนึ่งในการผลิตรถยนต์หรู ึ ่ เพื่อความเป็ นเลิศและการสร้างสรรค์รถยนต์ที่มีคุณภาพยอดเยียมที่สุดบนความปลอดภัยสู งสุ ด ่ พร้อมรู ปลักษณ์การออกแบบที่มีความเฉพาะตัว ไม่เหมือนใคร และการบริ การที่ประกันความ มันใจด้วยรางวัลแห่งคุณภาพจานวนมาก ่ 4. Business Analysis 4.1 Market Analysis เมอร์เซเดส-เบนซ์รุกตลาดไตรมาส 4 ประกาศเดินหน้าทุก เซ็กเม้นต์ ด้วยข้อแสนอ และบริ การทาง การเงินสุ ดพิเศษฉลอง 125 ปี พร้อมออกมาตรการเข้มปกป้ องสิ ทธิ์ และผลประโยชน์ผบริ โภคกรุ งเทพฯ ‟ บริ ษท เมอร์ เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จากัด ู้ ั เผยกลยุทธ์เชิงรุ กขับเคลื่อนตลาด ในไตรมาสสุ ดท้ายของปี 2011 คัดรถดีไซน์หรู ทุกเซ็กเม้นต์ พร้อมมอบข้อเสนอสุ ดพิเศษแก่ลูกค้าปิ ดท้ายปี แบบเขย่าวงการ ขณะเดียวกันได้ออกมาตรการ เข้มงวด ปกป้ องสิ ทธิ์ และผลประโยชน์ของผูบริ โภค ้ พร้อมตั้งเป้ าครองแชมป์ ส่ วนแบ่งตลาด รถหรู ต่อเนื่องเป็ นปี ที่ 11 ดร. อเล็กซานเดอร์ เพาฟเลอร์ ประธานบริ หาร บริ ษท เมอร์เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) ั จากัด กล่าวว่า “ยอดการจาหน่ายรถยนต์เมอร์ เซเดส-เบนซ์ 7 เดือนแรก มีอตราการเติบโต 5% ั ่ เมื่อเปรี ยบเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ที่ผานมาคือที่ 2,710 คัน โดยแบ่งเป็ นรถยนต์ C-Class เซ็กเม้นต์ ซึ่ งเป็ นรุ่ นที่ได้รับความนิยมมากที่ 1,023 คันมีอตราการเติบโตที่ 7% ั และมีสัดส่ วนการตลาดถึง 49% ตามด้วยรถยนต์ E-Class เซ็กเม้นต์ซ่ ึ งเป็ นรุ่ นที่ได้ มียอดจาหน่ายสู งสุ ดที่ 1,452 คัน มีอตราการเติบโตที่ 2% และมีสัดส่ วนการตลาดถึง 57 % ั และสาหรับรถยนต์ S-Class เซ็กเม้นต์ ซึ่งเป็ นรถธงมีอตราการเติบโตที่ 3% ั และมีสัดส่ วนการตลาดถึง 49% และรถยนต์เฉพาะกลุ่มอีก 31 คันโดยการเติบโตนี้สะท้อน ให้เห็นถึงความสาเร็ จของแบรนด์ เมอร์เซเดส-
  • 14. Need Respect, Self-Esteem 14 เบนซ์อีกครั้งหนึ่งภายใต้ความเชื่อมันต่อแบรนด์ ดาวสามแฉกในด้านความสมบูรณ์แบบ ่ (Perfection) ความงดงามน่าหลงใหล (Fascination) และความรับผิดชอบ (Responsibility) ภายใต้สโลแกน “The best or nothing.” เมอร์เซเดส-เบนซ์ยงคงรักษาตาแหน่งของการเติบโตสู งสุ ดในตลาดรถยนต์หรู ั นอกจากการนาเสนอรถยนต์ที่ตรงตามความต้องการของลูกค้าแล้ว การให้ความสาคัญกับการ บริ การหลังการขาย การอบรมพนักงานขาย ช่างเทคนิคที่ได้รับการอบรมอย่างมืออาชีพ ที่ปรึ กษาการขาย ทั้งนี้เพื่อเป็ นการรักษามาตรฐานการบริ การอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้สิ่งที่เมอร์ เซเดส- เบนซ์ให้ความสาคัญมาโดยตลอด คือ “คุณภาพ” ซึ่งบริ ษทฯ ั ถือเป็ นความมุ่งมันร่ วมกันในความเป็ นเลิศ คุณภาพคือมรดกที่ส่งต่อกันมายาวนานกว่า ่ 125 ปี วันนี้ เราสานต่อวัฒนธรรมองค์กร เพื่อยกระดับความเป็ นเลิศด้านการบริ การภายใต้โปรแกรม “สัญลักษณ์แห่งความโดดเด่น” (The Marque of Distinction) มร.สเตฟาน เมอบิอุส รองประธานบริ หารฝ่ ายขายและการตลาด บริ ษท เมอร์ เซเดส-เบนซ์ ั (ประเทศไทย) จากัด กล่าวเสริ มว่า “สาหรับไตรมาส 4 เราทาตลาดเชิงรุ กด้วยการส่ ง เมอร์เซเดส-เบนซ์รุ่นใหม่ล่าสุ ดทุกเซ็กเม้นต์ถึง 9 รุ่ นด้วยกัน ที่โดดเด่นคือ ทุกรุ่ นได้รับการคัดสรรอย่างดีที่สุด และสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ในทุกไลฟ์ สไตล์ พร้อมด้วยการประกาศ ราคารถใหม่ถึง 7 รุ่ นด้วยกันโดยมีไฮไลท์พิเศษใน 2 รุ่ นคือรุ่ น C 200 BlueEFFICIENCY ซึ่ งมาพร้อมกับความสมรรถนะและความแรงเต็มพิกดที่เหนือกว่าคู่แข่งถึง 184 แรงม้า ั ด้วยสนนราคาเพียง 2,149,000 บาทเท่านั้น และอีกหนึ่งรุ่ นแห่งความประหยัดพลังงานคือ E 200 NGT Elegance BlueEFFICIENCY ด้วยสนนราคา 3,549,000 บาท ซึ่งถือเป็ นราคาสุ ดพิเศษ “best price ever” ซึ่ งราคารถใหม่ที่ประกาศในวันนี้เริ่ มใช้ต้ งแต่วนที่ 8 กันยายน 2554 เป็ นต้นไป ั ั 4.2 Competitors (คู่ แข่ งขัน) ตลาดรถหรู น้ น เบนซ์ก็ยงเป็ นผูนาด้วยยอดขาย 2,574 คัน โตขึ้น 15.6% ั ั ้ ตามมาด้วย บีเอ็มดับบลิว 1,769 คัน โตขึ้น 25% และวอลโว่ 923 คัน โตขึ้น 50.8% โดย ศ.ดร.อเล็กซานเดอร์ เพาฟเลอร์ ประธานบริ หาร บริ ษท เมอร์ เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) ั จากัด บอกว่า “เรายังคงเป็ นผูนาตลาดรถหรู ในประเทศไทย โดยมีรุ่น C-Class, E-Class ้ และ S-Class เป็ นกาลังสาคัญ”
  • 15. Need Respect, Self-Esteem 15 อนึ่ง ในตลาดโลกรถยนต์เมอร์เซเดส-เบนซ์ รุ่ น The new generation C-Class และ S-Class ถือว่าเป็ นตัวแปรสาคัญที่ทาให้ยอดขายในครึ่ งปี แรกของปี นี้เพิ่มขึ้น โดยนับตั้งแต่เปิ ดตัว C-Class โฉมใหม่ในตลาดโลกจนถึงครึ่ งปี แรกของปี นี้ สามารถรักษาตาแหน่งผูนาในเซกเมนต์เดียวกันด้วยยอดขายที่เพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 11.4 ้ ส่ วนเดือนมิถุนายนเพิมขึ้นร้อยละ 18.7 ในขณะที่ S-Class ่ ก็ประสบความสาเร็ จเช่นเดียวกันด้วยยอดขายที่เพิ่มขึ้นในเดือนมิถุนายนและครึ่ งปี แรกของ ปี 2011 ที่สูงถึง 35,956 คัน หรื อคิดเป็ นร้อยละ 18.1 4.3 Consumer Behavior (6 W 1H) 4.3.1 Who Who is in the target market? ใครอยูในตลาดกลุ่มเป้ าหมาย ่ ลักษณะกลุ่มเปาหมาย Occupants ทางด้ าน ้ 1) ประชากร เพศ หญิง ชาย อายุ 32-46 ปี อาชีพ ผูบริ หารระดับสู ง, ้ ผูมีตาแหน่งสู ง เช่น คณบดี อธิ การบดี ้ นายพล นักธุ รกิจ การศึกษา การศึกษาสู ง ปริ ญญาตรี ปริ ญญาโท ปริ ญญาเอก ศาสนา ทุกศาสนา 2) ภูมิศาสตร์ จัดแบ่งตามจานวนประชากร เน้นเมืองหลวงของแต่ละประเทศมักมีประ ชากรที่หนาแน่น มีอยู่ 36 แห่ งทัวประเทศ ่ 3) จิตวิทยา แบ่งตามชนชั้น เพราะMercedes-Benz นี้มีราคาสู ง มีภาพลักษณ์ที่ดี ่ วางภาพลักษณ์ของผลิตภัณฑ์อยูที่คนมีฐานะมี เกียรติ นักการตลาดเลยเจาะเฉพาะลูกค้าที่ ่ อยูในชนชั้นสู ง และระดับกลางค่อน ข้างสู งเท่านั้น
  • 16. Need Respect, Self-Esteem 16 4) พฤติกรรม เป็ นการแบ่งส่ วนของพฤติกรรมการซื้ อของผูบริ ้ โภค เลือกซื้ อตามโอกาส เช่น วันเกิดของเจ้านายจึงซื้ อให้เป็ นของขวัญ เป็ นต้น ซื้ อตามสถานภาพการใช้ สาหรับผูที่มีความต้องการทางด้าน ้ Need Respect, Self-Esteem ต้องการบ่งบอกถึงฐานะ ความเป็ นอยู่ ระดับชนชั้น เพื่อสื่ อออกมาทางสิ่ งของที่มีระดับ อย่างเช่นเมอร์เซเดส-เบนซ์ ผูบริ โภครับสื่ อ ้ จากกลุ่มอ้างอิงผูที่มีชื่อเสี ยงทางด้านนักธุ รกิจชื่ อ ้ ดัง เศรษฐี นักร้องดาราฮอลี่วด ู กลยุทธ์ ทเี่ กียวข้ อง ใช้ กลยุทธ์ ทางด้ านการตลาด(4P’s) ประกอบไปด้ วย ่ Product เป็ นผลิตภัณฑ์ ที่ดูหรู ดูดี เป็ นที่บ่งบอกถึงความเป็ นไลสไตล์ มีระดับ มีคุณสภาพสู ง Price ราคาสู ง และไม่ค่อยมีการลดราคา Place ั ่ บริ ษทใหญ่อยูที่เยอรมณี แต่มีการกระจาย สาขามายังประเทศต่างๆ หนึ่งในนั้น มีประเทศไทยด้วย Promotion มีการโฆษณาผ่านทางช่องทางต่างๆ ที่ผบริ โภครับสื่ อได้ เช่น หน้าหลักของเว็บ ู้ นิติยสาร Email 4.3.2 What What does the cosumer buy? ผูบริ โภคซื้ ออะไร ้ สิ่ งที่ผบริ โภคต้องการจากผลิตภัณฑ์ก็คือ บ่งบอกถึงความมีสไตล์ ู้ กลยุทธ์ ทางการตลาดที่เกียวข้ อง ่ กลยุทธ์ ทางด้ านผลิตภัณฑ์ ........ 1. ผลิตภัณฑ์ หลัก มีรูปลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ที่สวยหรู มีหลายลักษณะหลายแบบ ซึ่งตรงตามความต้องการของลูกค้า มีหลายรุ่ น ั หลายแบบเพิ่อเพิ่มช่องทางในการเลือกให้กบตัวผูบริ โภค ้
  • 17. Need Respect, Self-Esteem 17 2. รู ปลักษณ์ ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ การบรรจุภณฑ์ ั ตราสิ นค้ า รู ปแบบ มีการพัฒนารู ปแบบเพิมขึ้นเรื่ อยๆ ่ เพื่อให้ตรงกับความตรงการของผูบริ โภค ้ และเพิ่มช่องทางในการเลือกของผูบริ โภคอีกด้วย ้ บริการ มีช่องทางการบริ การที่หลากหลาย การสั่งซื้ อผ่านเว็ปไซต์ และการไปเลือกซื้ อที่ร้านเอง คุณภาพ คุณภาพดีเยียม มีการรับประกันคุณภาพ 1 ปี ่ ลักษณะนวัตกรรม มีการพัฒนานวัตกรรม ขึ้นเรื่ อยๆ ทั้งในเรื่ องของอุปกรณ์ คุณภาพของอะไหล่ ระบบการทางานของรถ 3. ศักยภาพผลิตภัณฑ์ ความแตกต่ างทางการแข่ งขัน (Competitive Differentiation) สิ่ งที่อยูเ่ หนือของคู่แข่งขันคือการคิดค้นระบบเครื่ อง ยนต์ อะไหล่ช้ นดี มีประสิ ทธิภาพสู ง สร้างความประทับใจ ั ั ้ ั ให้กบผูซ้ื อ และสร้างชื่อเสี ยงให้กบแบรนด์ได้อย่างรวดเร็ ว 4.3.3 Why Why does the consumer buy? ทาไมผูบริ โภคจึงซื้ อ ้ วัตถุประสงค์ในการซื้ อ (Objectives) ผูบริ โภคซื้ อสิ นค้าเพื่อ ้ สนองความต้องการของเขาด้านร่ างกายและด้านจิตวิทยา ปัจจัยทีมีอทธิพลต่ อพฤติกรรมการซื้อ คือ ่ ิ 1. ปัจจัยภายในหรือปัจจัยทางจิตวิทยา รู ปลักษณ์ที่เหนื อกว่าการวางตาแหน่งผลิตภัณฑ์ที่ดีกว่า คู่แข่งทาให้เป็ นแรงจูงใจ ของผูบริ โภค ้ ขับแล้วรู้สึกสบาย มันคง ปลอด ดูดีหรู หรา มีสไตล์ ่ มีระดับ ได้รับยกย่องจากกลุ่มสังคม
  • 18. Need Respect, Self-Esteem 18 2. ปัจจัยทางสั งคม และวัฒนธรรม คนในกลุ่มสังคมระดับสู งมักมีการแข่ง หรื อโชว์ในสิ่ งที่ตนมี และถ้าสิ่ งนั้นมีชื่อเสี ยง ราคาแพง ้ จะเป็ นที่ยอมรับจากสังคม 3. ปัจจัยเฉพาะบุคคล เป็ นความชอบเฉพาะบุคคล ซื้ อมาเพื่อให้บุคคลอื่นทราบ ถึงสถานะของตน ชอบแล้วซื้ อเลย เพราะคนกลุ่มนี้ เป็ นคนในกลุ่มระดับสู ง ฐานะดี กลยุทธ์ ทางการตลาดที่เกียวข้ อง ่ กลยุทธ์ที่ใช้มากคือ 1. กลยุทธ์ ด้านผลิตภัณฑ์ (Product Strategies) 1. ผลิตภัณฑ์ หลัก มีรูปลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ที่สวยหรู มีหลายลักษณะ หลายแบบ ซึ่ งตรงตามความต้องการของลูกค้า มีหลายรุ่ น ั หลายแบบเพิ่อเพิ่มช่องทางในการเลือกให้กบตัวผูบริ โภค ้ 2. รู ปลักษณ์ ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ การบรรจุภณฑ์ ั ตราสิ นค้า รู ปแบบ มีการพัฒนารู ปแบบเพิ่มขึ้นเรื่ อยๆ เพื่อให้ตรงกับ ความตรงการของผูบริ โภค และเพิมช่องทางในการเลือก ้ ่ ของผูบริ โภคอีกด้วย ้ บริการ มีช่องทางการบริ การการไปเลือกซื้ อที่ร้านเองหรื อมีสาย ด่วน ออนไลน์ ตลอด24 ช.ม คุณภาพ คุณภาพดีเยียม มีการรับประกันคุณภาพ 1 ปี ่ ลักษณะนวัตกรรม
  • 19. Need Respect, Self-Esteem 19 มีการพัฒนานวัตกรรม ขึ้นเรื่ อยๆ ในเรื่ องของการดีไซน์รถ เรื่ องระบบของเครื่ องยนต์ 3. ศักยภาพผลิตภัณฑ์ ความแตกต่ างทางการแข่ งขัน (Competitive Differentiation) สิ่ งที่อยูเ่ หนือของคู่แข่งขันคือระบบเครื่ องยนต์ที่ดี มีประสิ ทธิภาพสู ง มีระดับในสังคมสู ง ั สร้างชื่อเสี ยงให้กบแบรนด์ได้อย่างรวดเร็ ว 2. กลยุทธ์ การส่ งเสริมการตลาด (Promotion Strategies) ประกอบด้วยกลยุทธ์การโฆษณา การขายโดยใช้พนักงานขาย การส่ งเสริ มการขาย การให้ข่าวสาร ประชาสัมพันธ์ 4.3.4Who Who participates in the buying? ใครมีส่วนร่ วมในการตัดสิ นใจซื้อ บทบาทของกลุ่มต่างๆ (Organizations) มีอิทธิพลในการตัดสิ น ใจซึ่งประกอบด้วย ตัวอย่างการตัดสิ นใจซื้ อรถเบนซ์ของในครั้งงนี้ 1. ผู้ริเริ่ม นักบริ หาร (อยากได้รถสักคันที่ดูหรู หรามีระดับให้บ่งบอกสถานะของตน) 2. ผู้มีอทธิพล ิ จึงรวบรวมข้อมูลทั้งหมด เพื่อหาข้อแตกต่างของรถแต่ละ ยีหอที่มีระดับหรู หรา และให้เพื่อนที่มีความถนันทางด้านรถ ่ ้ เป็ นผูช่วยเลือก ้ 3. ผู้ตัดสิ นใจซื้อ เพื่อน นักบริ หาร 4. ผู้ซื้อ นักบริ หาร 5. ผู้ใช้ นักบริ หาร
  • 20. Need Respect, Self-Esteem 20 4.3.5 When When does the consumer buy? ผู้บริโภคซื้อเมื่อใด โอกาสในการซื้ อ (Occasions) ช่วงเวลาที่ประสบความสาเร็ จ หาเลือกรถในระดับสู งในการบ่งบอกถึงสถานะของตัวเอง ส่ วนใหญ่มกจะซื้ อเมื่อมีความพร้อมด้านเงิน และเมื่อเป็ นที่ ั ต้องการซึ่งลักษณะพฤติกรรม และความต้องการของแต่ละ คนก็จะแตกต่างกันออกไป 4.3.6 Where Where does the consumer buy? ผู้บริโภคซื้อทีไหน่ ผูบริ โภคสามารถเลือกซื้ อได้ตามสาขาต่างๆ หรื อ จะเป็ นการติดต่อ ้ สายด่วนออนไลน์ แต่กลุ่มคนกลุ่มนี้มกจะไปซื้ อที่ บริ ษทสาขา ั ั ั ั ่ ที่ตนสะดวก ส่ วนบริ ษทใหญ่ต้ งอยูที่ เยอรมณี และมีบริ ษทย่อยๆ ั ่ ั่ อยูทวประเทศ 4.3.7 How How does the consumer buy? ผู้บริโภคซื้ออย่ างไร ขั้นตอนในการตัดสิ นใจซื้ อ (Operations) ประกอบด้วย 1. การรับรู้ ปัญหา 2. การค้ นหาข้ อมูล ค้นหาจากแหล่งข้อมูลข้างต้น เว็บไซต์ จากผูเ้ ชี่ยวชาญและสายด่วนออนไลน์ 24 ช.ม 3. การประเมินผลทางการเลือก ดูจากคุณลักษณะ คุณภาพ ภาพลักษณ์ เปรี ยบเทียบดูตามความพึงพอใจ 4. ตัดสิ นใจซื้อ ตัดสิ นใจซื้ อจากการดูการเปรี ยบเทียบประเมิน ทางเลือกในข้างต้น
  • 21. Need Respect, Self-Esteem 21 5. ความรู้ สึกหลังการซื้อ พึงพอใจกับการบริ การก่อนและหลัง การขายของที่ได้ได้มีคุณภาพ มีคุณค่าทางใจ และแสดงความ มันคงในชีวต สามารถเก็บไว้เป็ นมรดกต่อรุ่ นสู่ รุ่นได้อีกด้วย ่ ิ 4.4 กลยุทธ์ STP บริษัท เมอร์ เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จากัด 4.4.1 การแบ่งส่ วนตลาด (Segmentation) 1. ระดับการแบ่งส่ วนตลาดบริ ษทเมอร์ เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) ั จากัดเป็ นบริ ษทที่สร้างผลิตภัณฑ์มุ่งตลาดเป้ าหมายระดับชนชั้น ั สู ง, ผูบริ หาร ้ 2. หลักเกณฑ์ในการแบ่งตลาดผูบริ โภค ้ 2.1ตามหลักประชากรศาสตร์ มีการแบ่งส่ วนตลาดของผลิต ่ ภัณฑ์ระดับชั้นของสังคมอยูในระดับสู ง รายได้ต่อเดือน ตั้งแต่ -70,000บาทขึ้ นไป แบ่งตามเขตภูมิประเทศ คือ -ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ประเทศไทย) 2.2การแบ่งส่ วนตลาดตามพฤติกรรมทัศนคติและความต้ องการ -ประโยชน์ที่ได้รับจากสิ นค้าคือ ความมีระดับและได้รับการยกย่องจากผูอื่นความนับถือ ้ -ลักษณะการซื้ อการใช้คือจะซื้ อเมื่อมีความพร้อมทาง ด้านปัจจัยทางการเงินและความต้องการเป็ นที่ยอมรับในสังคมชน ชั้นตน - ทัศนคติต่อผลิตภัณฑ์ คือ ผูบริ โภคจะมีทศนคติที่ดีต่อ ้ ั ผลิตภัณฑ์เมอร์เซเดส-เบนซ์ 4.4.2 การเลือกตลาดเปาหมาย (Target Market Selection) ้ 1. การประเมินส่ วนตลาด -
  • 22. Need Respect, Self-Esteem 22 ขนาดและความเจริ ญเติบโตของตลาดเป้ าหมายคือทางบริ ษท ั ได้มีการคาดคะเนว่าผลิตภัณฑ์เมอร์ เซเดส-เบนซ์ จะเติบโตเป็ นอย่างมากในตลาดแถบเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ (ประเทศไทย) จะสามารถสร้างยอดขายจากกลุ่มผูบริ โภค ้ กลุ่มผูบริ หารและระดับชนชั้นสู ง ้ 2.การเลือกส่ วนตลาด -ปัจจุบนบริ ษทเมอร์ เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จากัด ั ั ่ ั่ มีเครื อข่ายของโชว์รูมและศูนย์บริ การอยูทวประเทศซึ่ งประ กอบไปด้วยผูจาหน่ายรถยนต์เมอร์ เซเดส ‟ เบนซ์ ้ อย่างเป็ นทางการรวมทั้งสิ้ น 36 แห่งทัวประเทศ ่ 4.4.3 การวางตาแหน่ งผลิตภัณฑ์ (Positioning) 1.การวิเคราะห์ถึงคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ คือเป็ นผลิตภัณฑ์ที่บ่งบอกถึงคุณลักษณะมีความเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะตน 2.วิธีการกาหนดตาแหน่งผลิตภัณฑ์เมอร์ เซเดส- เบนซ์ มีสไตล์หรู หรา บ่งบอกความเป็ นตัวตน ที่แท้จริ งของผูใช้ ้ มีฐานะทางสังคมที่ดี
  • 23. Need Respect, Self-Esteem 23 Positioning Map
  • 24. Need Respect, Self-Esteem 24 4.5 Marketing Strategy (4 Ps) 4P 4.5.1 Product คค B ‟ Class The B-Class Sports Tourer Sports Tourer C ‟ Class The C-Class Saloon Coupe E-Class Saloon Coupé Cabriolet Estate S-Class Saloon
  • 25. Need Respect, Self-Esteem 25 SL- Class Roadster R – Class Sports Tourer CSL- Class SLS AMG Coupé CL- Class Coupé SLK- Class Roadster
  • 26. Need Respect, Self-Esteem 26 4.5.2 Price ค ประกาศใช้ต้ งแต่วนที่ 20 ั ั 2555 เครื่ องยนต์ กาลังเครื่ องยนต์ ราคา (บาท) ( ) ( ) The new generation C-Class C 200 BlueEFFICIENCY ประกอบในประเทศ 1,796 135/184 2,149,000 C200 BlueEFFICIENCY with COMAND Online ประกอบในประเทศ 1,796 135/184 2,179,000 C 200 BlueEFFICIENCY ELEGANCE ประกอบในประเทศ 1,796 135/184 2,739,000 C 200 BlueEFFICIENCY ELEGANCE with COMAND Online ประกอบในประเทศ 1,796 135/184 2,769,000 C 200 BlueEFFICIENCY AVANTGARDE ประกอบในประเทศ 1,796 135/184 2,929,000 C 200 BlueEFFICIENCY AVANTGARDE with COMAND Online ประกอบในประเทศ 1,796 135/184 2,959,000 C 250 CDI BlueEFFICIENCY AVANTGARDE ประกอบในประเทศ 2,143 150/204 3,189,000 C250BlueEFFICIENCYAVANTGARDE ประกอบในประเทศ 1,796 150/204 3,249,000 The E-Class E 200 NGT BlueEFFICIENCY ELEGANCE ประกอบในประเทศ 1,796 120/163 3,549,000 E 200 NGT BlueEFFICIENCY ELEGANCE with COMAND Online ประกอบในประเทศ 1,796 120/163 3,629,000 E 200 CGI BlueEFFICIENCY ELEGANCE ประกอบในประเทศ 1,796 135/184 3,699,000 E 200 BlueEFFICIENCY ELEGANCE with COMAND Online & 7G- ประกอบในประเทศ TRONIC PLUS 1,796 135/184 3,799,000 E 250 CDI BlueEFFICIENCY ELEGANCE ประกอบในประเทศ 2,143 150/204 4,099,000 E 250 CDI BlueEFFICIENCY ELEGANCE with COMAND Online ประกอบในประเทศ 2,143 150/204 4,179,000 E 250 BlueEFFICIENCY AVANTGARDE with COMAND Online ประกอบในประเทศ 1,796 150/204 4,099,000 E 300 AVANTGARDE Sports with COMAND Online ประกอบในประเทศ 2,996 161/219 4,799,000 The new generation S-Class S 300 Long Wheelbase ประกอบในประเทศ 2,997 161/219 7,199,000 S 300 Long Wheelbase with rear seat entertainment ประกอบในประเทศ 2,997 161/219 7,499,000 S 350 CDI BlueEFFICIENCY Long Wheelbase ประกอบในประเทศ 2,987 155/211 7,999,000 S 500 BlueEFFICIENCY Long Wheelbase ประกอบในประเทศ 4,663 320/435 11,199,000 Niche Models C 250 BlueEFFICIENCY CoupéEdition 1 นาเข้า 1,796 150/204 4,099,000 E 250 BlueEFFICIENCY AVANTGARDE Estate (7G-TRONIC PLUS) นาเข้า 1,796 150/204 4,769,000
  • 27. Need Respect, Self-Esteem 27 E 250 BlueEFFICIENCY AVANTGARDE Cabriolet (7G-TRONIC PLUS) นาเข้า 1,796 150/204 4,799,000 E 250 BlueEFFICIENCY AVANTGARDE Coupé Sports AMG (7G- TRONIC PLUS) นาเข้า 1,796 150/204 4,599,000 SLK 200 BlueEFFICIENCY Sports AMG Roadster นาเข้า 1,796 135/184 4,299,000 SLK 350 BlueEFFICIENCY Sports AMG Roadster นาเข้า 3,498 225/306 7,399,000 The new CLS 350 BlueEFFICIENCY นาเข้า 3,498 225/306 8,399,000 CL 500 BlueEFFICIENCY Coupé Generation) (New นาเข้า 4,663 320/435 15,490,000 CL 500 BlueEFFICIENCY CoupéSports AMG (New Generation) นาเข้า 4,663 320/435 16,290,000 SLS AMG นาเข้า 6,208 420/571 24,999,000 R 300 CDI 4MATIC Family (New Generation) นาเข้า 2,987 140/190 5,899,000 R 300 CDI 4MATIC Executive (New Generation) นาเข้า 2,987 140/190 6,449,000 R 300 CDI 4MATIC Executive with Panoramic glass sliding sunroof (New Generation) นาเข้า 2,987 140/190 6,549,000 The new Vito 115 CDI Extra Long นาเข้า 2,148 110/150 2,820,000 The new Vito 115 CDI Extra Long (MY12) นาเข้า 2,148 110/150 2,880,000 The new Viano CDI 2.2 Compact นาเข้า 2,148 110/150 4,119,000 * โ 5 ง ง Vito i no ง2 โ ง ง ง ง
  • 28. Need Respect, Self-Esteem 28 4.5.3 Place จ จ จ 3888 . ง ง ง (02) 745 2222 ง 2 99 ง ง (02) 930 1888 ง 0900 487 . ง งโ ง (02) 291 1212 ง 2 1195 . โ ง ญ (02) 617 1212 ง 18/42-43 8 . (02) 509 3545 ง ง ง (02) 945 4555 ง 2 2/9-10 . - ง (02) 880 7180-9 ง ง ง ง ง โ 2595 . (02) 542 1269
  • 29. Need Respect, Self-Esteem 29 จ งง ง ง ง ง ง ง 59/527 . 2 โ ง ง (02) 416 0100-8 ง 5 1114 . ง โ ง ง ง (02) 322 5999 ง 25 62-74 . ง (02) 226 0021 ง ( (02) 622 3000 ง 2 128/10 .ง ง ง ง ง ง (02) 954 0200 ( ง ง ) ง 2 1024/9 . ง ง (02) 679 7473-8 ( ง 2 540/5,6,8 . 55 ง ง ง (02) 714 8888 ง