SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 34
โปรแกรมย่อยและฟั งก์ชันมาตรฐาน
ฟั งก์ชันในภาษา C
สำหรับเนื้อหำในบทนี้จะกล่ำวถึงฟังก์ชันในภำษำ C โดยจะ
ประกอบไปด้วยเนื้อหำหลัก ๆ คือ เรื่องที่หนึ่ง ฟังก์ชัน
มำตรฐำน เป็นฟังก์ชันที่บริษัทที่ผลิตภำษำ C ได้เขียนขึ้นและ
เก็บไว้ใน header file ภำษำ C คือเก็บไว้ในแฟ้ มที่มี
นำมสกุล *.h ต่ำง ๆ ส่วนเรื่องที่สอง เป็นฟังก์ชันที่เขียนขึ้น
หรือเรียกอีกอย่ำงว่ำโปรแกรมย่อย ที่ผู้เขียนโปรแกรมเขียน
ขึ้นมำใช้งำนอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งตำมควำมต้องกำรของงำน
นั้นๆ โดยรำยละเอียดของแต่ละฟังก์ชันมีดังต่อไปนี้
ฟั งก์ชันมาตรฐาน (standard functions)
เป็นฟังก์ชันที่บริษัทที่ผลิตภำษำ C ได้เขียนขึ้นและเก็บไว้
ใน header file ภำษำ C คือเก็บไว้ในแฟ้ มที่มี
นำมสกุล *.h ต่ำง ๆ เมื่อต้องกำรใช้ฟังก์ชันใด จะต้องรู้ว่ำ
ฟังก์ชันนั้นอยู่ใน header file ใดจำกนั้นจึงค่อยใช้
คำสั่ง #include<header file.h> เข้ำมำในส่วนตอนต้น
ของโปรแกรม จึงจะสำมำรถใช้ฟังก์ชันที่ต้องกำรได้ ซึ่งฟังก์ชัน
มำตรฐำนเป็นฟังก์ชันที่บริษัทผู้ผลิต C compiler เขียนขึ้น
เพื่อให้ผู้ใช้นำไปช่วยในกำรเขียนโปรแกรมทำให้กำรเขียน
โปรแกรมสะดวกและง่ำยขึ้น บำงครั้งเรำอำจจะเรียกฟังก์ชัน
มำตรฐำนว่ำ ”ไลบรำรีฟังก์ชัน” (library functions)
ฟั งก์ชันทางคณิตศาสตร์ (mathematic functions)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้สำหรับกำรคำนวณทำงคณิตศำสตร์ และก่อนที่
จะใช้ฟังก์ชันประเภทนี้ จะต้องใช้
คำสั่ง #include <math.h> แทรกอยู่ตอนต้นของ
โปรแกรม และตัวแปรที่จะใช้ฟังก์ชันประเภทนี้จะต้องมี
ชนิด (type) เป็น double เนื่องจำกผลลัพธ์ที่ได้จำกฟังก์ชัน
ประเภทนี้จะได้ค่ำส่งกลับของข้อมูลเป็น double เช่นกัน
ฟั งก์ชันทางคณิตศาสตร์ที่ควรทราบ มีดังนี้
acos(x) asin(x) atan(x)
sin(x) cos(x) tan(x)
sqrt(x) exp(x) pow(x,y)
log(x) log10(x) ceil(x)
floor(x) fabs(x)
1) ฟั งก์ชัน acos(x)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้คำนวณหำค่ำ arc cosine ของ x โดย
ที่ x เป็นค่ำมุมในหน่วยเรเดียน (radian)
รูปแบบ acos(x);
2) ฟั งก์ชัน asin(x)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้คำนวณหำค่ำ arc sine ของ x โดย
ที่ x เป็นค่ำมุมในหน่วยเรเดียน
รูปแบบ asin(x);
3) ฟั งก์ชัน atan(x)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้คำนวณหำค่ำ arc tan ของ x โดย
ที่ x เป็นค่ำมุมในหน่วยเรเดียน
รูปแบบ atan(x);
4) ฟั งก์ชัน sin(x)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้คำนวณหำค่ำ sine ของ x โดยที่ x เป็น
ค่ำมุมในหน่วยเรเดียน
รูปแบบ sin(x);
5) ฟั งก์ชัน cos(x)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้คำนวณหำค่ำ cosine ของ x โดย
ที่ x เป็นค่ำมุมในหน่วย
เรเดียน
รูปแบบ cos(x);
6) ฟั งก์ชัน tan(x)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้คำนวณหำค่ำ tan ของ x โดยที่ x เป็น
ค่ำมุมในหน่วยเรเดียน
โปรแกรมตัวอย่างที่ 7.1 แสดงการใช้งานฟังก์ชัน acos(x), asin(x),
atan(x), sin(x), cos(x) และ tan(x)
/* math1.c */
#include<stdio.h> /* บรรทัดที่ 1 */
#include<math.h> /* บรรทัดที่ 2 */
#include<conio.h> /* บรรทัดที่ 3 */
void main(void) /* บรรทัดที่ 4 */
{ /* บรรทัดที่ 5 */
double r, pi = 3.141592654; /* บรรทัดที่ 6 */
r = pi/180; /* บรรทัดที่ 7 */
clrscr(); /* บรรทัดที่ 8 */
printf("%fn",asin(r)); /* บรรทัดที่ 9 */
printf("%fn",acos(r)); /* บรรทัดที่ 10 */
printf("%fn",atan(r)); /* บรรทัดที่ 11 */
printf("%fn",sin(r)); /* บรรทัดที่ 12 */
printf("%fn",cos(r)); /* บรรทัดที่ 13 */
printf("%fn",tan(r)); /* บรรทัดที่ 14 */
printf("nPress any key back to program ..."); /* บรรทัดที่ 15 */
getch(); /* บรรทัดที่ 16 */
} /* บรรทัดที่ 17 */
ผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรม
คาอธิบายโปรแกรม
จำกโปรแกรมตัวอย่ำงที่ 7.1 สำมำรถอธิบำยกำรทำงำนของโปรแกรมที่สำคัญ ๆ ได้ดังนี้
บรรทัดที่ 9 คำสั่ง printf("%fn",asin(r)); ฟังก์ชันคำนวณหำค่ำ arc sin ของตัว
แปร r โดย r เป็นมุมในหน่วยเรเดียน และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกจอภำพ
บรรทัดที่ 10 คำสั่ง printf("%fn",acos(r)); ฟังก์ชันคำนวณหำค่ำ arc
cosine ของตัวแปร r โดย r เป็นมุมในหน่วยเรเดียน และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกจอภำพ
บรรทัดที่ 11 คำสั่ง printf("%fn",atan(r)); ฟังก์ชันคำนวณหำค่ำ arc tan ของ
ตัวแปร r โดย r เป็นมุมในหน่วยเรเดียน และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกจอภำพ
บรรทัดที่ 12 คำสั่ง printf("%fn",sin(r)); ฟังก์ชันคำนวณหำค่ำ sine ของตัว
แปร r โดย r เป็นมุมในหน่วยเรเดียน และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกจอภำพ
บรรทัดที่ 13 คำสั่ง printf("%fn",cos(r)); ฟังก์ชันคำนวณหำค่ำ cosine ของ
ตัวแปร r โดย r เป็นมุมในหน่วยเรเดียน และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกจอภำพ
บรรทัดที่ 14 คำสั่ง printf("%fn",tan(r)); ฟังก์ชันคำนวณหำค่ำ tan ของตัว
แปร r โดย r เป็นมุมในหน่วยเรเดียน และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกจอภำพ
บรรทัดที่ 15 และ 16 พิมพ์ข้อควำมให้กดคีย์ใด ๆ เพื่อกลับสู่โปรแกรม และหยุดรอรับค่ำ
ใดๆ เช่น กด enter จะกลับเข้ำสู่โปรแกรม
7) ฟั งก์ชัน sqrt(x)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้หำค่ำรำกที่ 2 (square root) ของค่ำคงที่หรือตัวแปร x โดย
ที่ x จะต้องเป็นค่ำคงที่ชนิดตัวเลขหรือตัวแปรที่มีค่ำไม่ติดลบ
รูปแบบ sqrt(x);
8) ฟั งก์ชัน exp(x)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้หำค่ำ ex โดยที่ x เป็นค่ำคงที่หรือตัวแปรที่จะใช้เป็นค่ำยกกำลัง
ของ e โดยที่ e มีค่ำประมำณ 2.718282
รูปแบบ exp(x);
9) ฟั งก์ชัน pow(x,y)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้หำค่ำ xy
โดยที
x เป็นค่ำคงที่หรือตัวแปรที่ใช้เป็นตัวฐำนซึ่งจะต้องมีค่ำมำกกว่ำศูนย์
y เป็นค่ำคงที่หรือตัวแปรที่ใช้เป็นค่ำยกกำลัง
รูปแบบ pow(x, y);
โปรแกรมตัวอย่างที่ 7.2 แสดงการใช้งานฟังก์ชัน sqrt(x),
exp(x) และ pow(x, y)
/* math2.c */
#include<stdio.h> /* บรรทัดที่ 1 */
#include<math.h> /* บรรทัดที่ 2 */
#include<conio.h> /* บรรทัดที่ 3 */
void main(void) /* บรรทัดที่ 4 */
{ /* บรรทัดที่ 5 */
double x = 2.5, y = 7.0, z = 21.5; /* บรรทัดที่ 6 */
clrscr( ); /* บรรทัดที่ 7 */
printf("%.4fn",pow(x,y)); /* บรรทัดที่ 8 */
printf("%.4fn",sqrt(z)); /* บรรทัดที่ 9 */
printf("%.4fn",exp(y)); /* บรรทัดที่ 10 */
printf("nPress any key back to program ..."); /* บรรทัดที่ 11 */
getch(); /* บรรทัดที่ 12 */
} /* บรรทัดที่ 13 */
คาอธิบายโปรแกรม
จำกโปรแกรมตัวอย่ำงที่ 7.2 สำมำรถอธิบำยกำรทำงำนของโปรแกรมที่
สำคัญ ๆ ได้ดังนี้
บรรทัดที่ 8 คำสั่ง printf("%.4fn",pow(x,y)); ฟังก์ชันคำนวณหำ
ค่ำ xy โดยที่ x เป็นค่ำคงที่หรือตัวแปรที่ใช้ตัวฐำนซึ่งจะต้องมีค่ำมำกกว่ำ
ศูนย์ และ y เป็นค่ำคงที่หรือตัวแปรที่ใช้เป็นค่ำยกกำลัง และแสดงผลที่ได้
ออกจอภำพ
บรรทัดที่ 9 คำสั่ง printf("%.4fn",sqrt(z)); ฟังก์ชันคำนวณหำค่ำ
รำกที่สอง (square root) ของค่ำคงที่หรือตัวแปร z โดยที่ z จะต้องเป็น
ค่ำคงที่ชนิดตัวเลขหรือตัวแปรที่มีค่ำไม่ติดลบ และแสดงผลที่ได้ออกจอภำพ
บรรทัดที่ 10 คำสั่ง printf("%.4fn",exp(y)); ฟังก์ชันคำนวณหำ
ค่ำ ey โดยที่ y เป็นค่ำคงที่หรือตัวแปรที่จะใช้เป็นค่ำยกกำลังของ e โดย
ที่ e มีค่ำประมำณ 2.718282 และแสดงผลที่ได้ออกจอภำพ
บรรทัดที่ 11 และ 12 พิมพ์ข้อควำมให้กดคีย์ใด ๆ เพื่อกลับสู่โปรแกรม และ
หยุดรอรับค่ำใด ๆ เช่น กด enter จะกลับเข้ำสู่โปรแกรม
10) ฟั งก์ชัน log(x)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้หำค่ำ log ฐำน n (natural logarithm) ของค่ำคงที่
หรือตัวแปร x โดยที่ x เป็นค่ำคงที่หรือตัวแปรที่มีค่ำเป็นลบไม่ได้
รูปแบบ log(x);
11) ฟั งก์ชัน log10(x)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้หำค่ำ log ฐำน 10 ของค่ำคงที่หรือตัวแปร x โดย
ที่ x เป็นค่ำคงที่หรือตัวแปรที่มีค่ำเป็นลบไม่ได้
รูปแบบ log10(x);
โปรแกรมตัวอย่างที่ 7.3 แสดงการใช้งานฟังก์ชัน log(x) และ log10(x)
/* math3.c */
#include<stdio.h> /* บรรทัด
ที่ 1 */
#include<math.h> /* บรรทัด
ที่ 2 */
#include<conio.h> /* บรรทัด
ที่ 3 */
void main(void) /* บรรทัด
ที่ 4 */
{ /* บรรทัดที่ 5 */
double m = 10.0, n = 3.0; /* บรรทัดที่ 6 */
clrscr( ); /* บรรทัดที่ 7 */
printf("%.4fn",log(n)); /* บรรทัดที่ 8 */
printf("%.4fn",log10(m)); /* บรรทัดที่ 9 */
printf("nPress any key back to program ..."); /* บรรทัดที่ 10 */
getch(); /* บรรทัดที่ 11 */
} /* บรรทัดที่ 12 */
ผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรม
โปรแกรมย่อย Procedure และฟั งก์ชัน (Function)
วัตถุประสงค์ของการสร้างโปรแกรมย่อย
1. เป็นส่วนโปรแกรมที่ใช้ซ้ำกันในหลำย ๆ แห่ง และจะแยก
ออกมำทำเป็นโปรแกรมย่อย
2. เป็นคำที่สร้ำงขึ้นใหม่ เพื่อเก็บไว้ใช้ต่อไป
3. เมื่อต้องกำรเขียนโปรแกรมเป็น Module จุดประสงค์ของ
กำรเขียนโปรแกรมเป็น Module ก็เพื่อตรวจหำที่ผิดได้ง่ำย
ดังนั้น โปรแกรมย่อยหนึ่ง ๆ ก็คือ Module ๆ หนึ่ง
4. เพื่อสนองควำมต้องกำรของกำรเขียนโปรแกรมจำกบนลงล่ำง
การสร้างและการใช้งานโปรแกรมย่อย
โปรแกรมย่อย (Procedure) เป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรม มีหน้ำที่
เฉพำะในแต่ละตัว โดยแยกกำรทำงำน
ออกจำกโปรแกรมหลักอย่ำงอิสระ กำรแยกโปรแกรมออกเป็นส่วนย่อยๆ
นี้มีข้อดีคือ
ลดควำมซ้ำซ้อนในกำรเขียนโปรแกรมในส่วนที่ทำงำนอย่ำงเดียวกัน ถ้ำนำ
โปรแกรมส่วนที่ต้องใช้ซ้ำๆ มำทำเป็นโปรแกรมย่อยจะทำให้โปรแกรมมี
ขนำดเล็กลง
ช่วยให้ทำควำมเข้ำใจโปรแกรมได้ง่ำย เพรำะมีกำรแบ่งเป็นส่วนย่อยๆ
ทำให้สำมำรถแก้ไขและเพิ่มเติมกำรทำงำนของโปรแกรมได้ง่ำยขึ้น
ช่วยให้นำโปรแกรมที่สร้ำงไปใช้งำนในโปรแกรมอื่นได้ถ้ำในโปรแกรมนั้น
ต้องกำรฟังก์ชันในกำรทำงำนที่เหมือนกัน
โปรแกรมย่อยที่ใช้งานอยู่ใน VB.NET มีอยู่ 2 ประเภทคือ
* โปรแกรมย่อย Sub มำจำกคำว่ำ Subroutine – ซับรูทีน เป็น
โปรแกรมย่อยที่เมื่อทำงำนอย่ำงหนึ่งเสร็จแล้วจะไม่มีกำรส่งผลกำรท ำงำน
กลับไปยังโปรแกรมที่เรียกใช้งำนซับรูทีนนี้
* โปรแกรมย่อย Function เป็นโปรแกรมย่อยที่เมื่อท ำงำนเสร็จแล้วจะ
คืนผลลัพธ์ที่ได้จำกกำรทำงำนกลับไปยังโปรแกรมที่เรียกใช้งำนฟังก์ชันนี้
ในบำงครั้งโปรแกรมหลักจะมีกำรส่งข้อมูลไปทำงำนในโปรแกรมย่อยด้วย
โดยข้อมูลนั้นจะเก็บอยู่ในตัวแปรพิเศษที่เรียกว่ำ “พำรำมิเตอร์”
(Parameter)
โปรแกรมย่อยชนิด Sub
Sub เป็นโปรแกรมที่เขียนขึ้นมำเพื่อกำรทำงำนอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง โดยที่ไม่มีกำรรับ
พำรำมิเตอร์หรืออำจจะมีกำรรับพำรำมิเตอร์มำทำงำนก็ได้ แต่ไม่มีกำรส่งผลกำรทำงำน
กลับไปยังโปรแกรมที่เรียกซับรูทีนนี้ใช้งำน มีรูปแบบกำรเขียน Sub ดังนี้
1. ออกแบบหน้ำตำแอพพลิเคชัน และตั้งชื่อคอนโทรลต่ำงๆ ดังนี้
ตัวอย่ำงกำรใช้งำน Subroutine : ตัวอย่ำงนี้จะสร้ำงแอพพลิเคชันแบบระบบ
ลงทะเบียนซึ่งจะมีกำรใช้งำน Subroutine ที่เรำเขียนขึ้นมำ
2. ดับเบิลคลิกที่ฟอร์มเพื่อเขียนโค้ดใน Even Load โดยจะเริ่มแนะนำ
ให้ผู้ใช้งำนทรำบวิธีกำรทำงำนโดยจะเรียก Sub ที่ชื่อว่ำ InformUser
3. ให้หน้ำต่ำงโค้ดของ Sub InformUser โดยเขียนต่อท้ำยไปได้
เลย
4. ดับเบิลคลิกที่ปุ่ม ลงทะเบียน แล้วเขียนโค้ดเพื่อตรวจสอบควำมครวถ้วน
ถูกต้องของข้อมูลที่ป้ อนเข้ำไป ถ้ำเรียบร้อยถือว่ำลงทะเบียนได้ แต่ถ้ำไม่เรียน
ร้อยแจ้งให่ผู้ใช้ทรำบ
5 . สำหรับ Sub CheckPassword นั้นมีหลักกำรตรวจสอบควำม
ถูกต้องอยู่ 3 ข้อ ดังรำยละเอียดที่แสดดงในโค้ดต่อไปนี้
6 . ดับเบิลคลิกปุ่ม เคลียร์ แล้วเขียนโค้ดเพื่อเคลียร์ค่ำข้อมูลใน TexBox ต่ำงๆ
ดังนี้
7 . กดปุ่ม F5 เพื่อทดสอบกำรทำงำนของแอพพลิเคชัน ได้ผลดังนี้
โปรแกรมย่อยชนิด Function
Function เป็นโปรแกรมย่อยที่เขียนขึ้นมำเพื่อกำรทำงำนอย่ำงใดอย่ำง
หนึ่ง โดยที่ไม่มีกำรรับพำรำมิเตอร์หรืออำจจะมีกำรรับพำรำมิเตอร์มำทำงำน
ก็ได้ เมื่อทำงำนเสร็จแล้วจะมีกำรส่งผลกำรทำงำนกลับมำยังโปรแกรมที่เรียก
ฟังก์ชันนั้นใช้งำน มีรูปในกำรเขียนฟังก์ชัน ดังนี้
ตัวอย่ำงกำรใช้งำน Function : ตัวอย่ำงนี้จะสร้ำงแอพพลิเคชันที่คำนวณ
ผลตอบแทนจำกกำรฝำกเงินซึ่งผู้ใช้จะต้องกรอกเงินต้น อัตรำดอกเบี้ย และจำนวนปีที่
ฝำก
1. ออกแบบหน้ำตำแอพพลิเคชัน
และตั้งชื่อคอนโทรลต่ำงๆ ดังนี้
2. ดับเบิลคลิกที่ปุ่ม คานวณ เพื่อคานวณผลตอบแทนซึ่งจะมีการเรีกฟังก์ชัน CheckInput
เพื่อตรวจสอบว่าข้อมูลที่กรอกเข้ามาเหมาะสมหรือไม่ ถ้าเหมาะสมจานามาคานวณโดยเรียกใช้
ClacSaving
3. สำหรับฟังก์ชัน CheckInput จำทำหน้ำที่ตรวจสอบว่ำ ข้อมูลที่ผู้ใช้งำนกรอกมำ
เหมำะสมหรือไม่โดยต้องเป็นตัวเลขที่มำกกว่ำ 0 ทุกตัว และถ้ำเป็น ดอกเบี้ยให้มีค่ำ
ระหว่ำง 0 ถึง 100 โดยฟังก์ชันนี้จะรีเทิร์นค่ำเป็น True หรือ False
4. สำหรับฟังก์ชัน CalaSaving จจะทำหน้ำที่คำนวณผลตอบแทนเงินฝำก โดยจะ
คำนวณให้เห็นในระยะเวลำตั้งแต่ปีที่ 1 ถึงปีที่กำหนดไว้ นั้นยอดเงินฝำกเป็นเท่ำใด
5. . ดับเบิลคลิกปุ่ม เคลียร์ แล้วเขียนโค้ดเพื่อเคลียร์ค่ำข้อมูลใน
TexBox ต่ำงๆ ดังนี้
6. ทดสอบกำรทำงำนของแอพพลิเคชัน ได้ผลดังนี้
ฟังก์ชันมาตรฐาน (Standard Function)
ฟังก์ชันมำตรฐำน คือ ฟังก์ชันที่ผู้ใช้สำมำรถเรียกใช้งำนจำกไลบรำรี่ของ
ภำษำซีได้ทันที เช่น ฟังก์ชันทำงคณิตศำสตร์ ฟังก์ชันเกี่ยวกับสตริง
ฟังก์ชันเกี่ยวกับกำรเปรียบเทียบ ฟังก์ชันเกี่ยวกับกำรแสดงผล และ
ฟังก์ชันเกี่ยวกับวันเวลำ เป็นต้น โดยจะเรียกไลบรำรี่ผ่ำน
คำสั่ง #include แล้วตำมด้วยชื่อของไลบรำรี่นั้น ๆ ในส่วน
ของ header directive ซึ่งมีรำยละเอียดดังนี้
ไลบรำรี่ (library) stdio.h เกี่ยวกับกำรแสดงผลทำงจอภำพ มีฟังก์ชันที่ใช้
ดังนี้
- ฟังก์ชัน printf() ใช้ในกำรแสดงผลข้อมูล
- ฟังก์ชัน Scanf() ใช้ในกำรรับข้อมูล
ไลบรำรี่ (library) conio.h เกี่ยวกับกำรแสดงผลทำงจอภำพ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้
- ฟังก์ชัน getchar() ใช้ในกำรรับข้อมูล 1 อักขระ โดยกำรกด Enter
- ฟังก์ชัน getche() ใช้ในกำรรับข้อมูล 1 อักขระ โดยไม่ต้องกด Enter
- ฟังก์ชัน getch() ใช้ในกำรรับข้อมูล 1 อักขระไม่ปรำกฏให้เห็นในกำรรับข้อมูล
- ฟังก์ชัน putchar() ใช้ในกำรรับข้อมูล 1 อักขระออกทำงจอภำพ
- ฟังก์ชัน clrscr() ใช้ในกำรลบจอภำพ
ไลบรำรี่ (library) string.h เกี่ยวกับข้อควำม มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้
- ฟังก์ชัน strlen() ใช้ในกำรนับควำมยำวของอักขระที่รับเข้ำมำ
- ฟังก์ชัน strcpy() ใช้ในกำรทำสำเนำข้อควำมจำกข้อควำมหนึ่ง
ไปยังอีกข้อควำมหนึ่ง
- ฟังก์ชัน strcmp () ใช้ในกำรเปรียบเทียบข้อควำม 2 ข้อควำม
- ฟังก์ชัน strcal() ใช้ในกำรเชื่อมตั้งแต่ 2 ข้อควำมเข้ำด้วยกัน
ไลบรำรี่ (library)marth.h เกี่ยวกับทำงคณิตศำสตร์ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้
- ฟังก์ชัน sqrt() ใช้ในกำรหำรำก (root) ที่สองของเลขจำนวนเต็ม
- ฟังก์ชัน exp(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หำค่ำ ex (Exponential)
- ฟังก์ชัน pow(x,y) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หำค่ำ xy
- ฟังก์ชัน sin(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หำค่ำ sine ของ x
- ฟังก์ชัน cos(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หำค่ำ cosine ของ x
- ฟังก์ชัน tan(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หำค่ำ tan ของ x
- ฟังก์ชัน log(n) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หำค่ำ log ฐำน n
- ฟังก์ชัน log10(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หำค่ำ log ฐำน 10
- ฟังก์ชัน ceil(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หำค่ำปัดเศษทศนิยมของตัวแปร x
- ฟังก์ชัน floor(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หำค่ำตัดเศษทศนิยมทิ้งของตัว
แปร x
- ฟังก์ชัน fabs(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หำค่ำสมบูรณ์ (absolute
value) x
ไลบรำรี่ (library) ctype.h เกี่ยวกับตัวอักษร มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้
- ฟังก์ชัน isalnum(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่ำข้อมูลที่อยู่
ในตัวแปรมีค่ำเป็น ตัวอักษรหรือตัวเลข
- ฟังก์ชัน isalpha(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่ำข้อมูลที่อยู่
ในตัวแปรมีค่ำเป็นตัวอักษรหรือไม่
- ฟังก์ชัน isdigit(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่ำข้อมูลที่อยู่
ในตัวแปรเป็นตัวเลข 0 ถึง 9 หรือไม่
- ฟังก์ชัน islower(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่ำข้อมูลที่อยู่
ในตัวแปรเป็นตัวเล็กหรือไม่
- ฟังก์ชัน isupper(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่ำข้อมูลที่อยู่
ในตัวแปรเป็นตัวใหญ่หรือไม่
- ฟังก์ชัน tolowre(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในกำรเปลี่ยนตัวอักษร
ตัวใหญ่ให้เป็นตัวเล็ก
- ฟังก์ชัน toupper(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในกำรเปลี่ยนตัวอักษร
ตัวเล็กให้เป็นตัวใหญ่
ไลบรำรี่ (library) stdlib.h เกี่ยวกับกำรแปลงค่ำ string มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้
- ฟังก์ชัน atoi(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในกำรแปลงค่ำ ข้อควำม
(string) เป็นตัวเลขจำนวนเต็ม (integer)
- ฟังก์ชัน atof(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในกำรแปลงค่ำ ข้อควำม
(string) เป็นตัวเลขจำนวนทศนิยม( flot)
- ฟังก์ชัน atol(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในกำรแปลงค่ำ ข้อควำม (string) เป็น
ตัวเลขจำนวนเต็ม (integer) ชนิด long integer
ไลบรำรี่ (library) dos.h เกี่ยวกับกำรติดต่อระบบปฏิบัติกำร มี
ฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้
- ฟังก์ชัน gettime() เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในกำรติดต่อเวลำ
ของระบบปฏิบัติกำร
- ฟังก์ชัน getdate() เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในกำรติดต่อวันที่
ของระบบปฏิบัติกำร
ซึ่งฟังก์ชันมำตรฐำนยังมีอีกเป็นจำนวนมำก ผู้ศึกษำสำมำรถลอง
ศึกษำได้จำกกำรใช้ Help เพื่อเป็นแนวทำงในกำรเขียนและพัฒนำ
โปรแกรมด้วยภำษำซีขั้นสูงต่อไปในภำยหลังได้
อ้างอิง
ที่มำ
: http://www.tice.ac.th/division/website_c/a
bout/page8.htm
https://nemo2475.wordpress.com/jiooj-j-k/

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

59170259 ผลคุณี
59170259 ผลคุณี59170259 ผลคุณี
59170259 ผลคุณีBeam Suna
 
4.ฟังก์ชันในภาษาซี
4.ฟังก์ชันในภาษาซี4.ฟังก์ชันในภาษาซี
4.ฟังก์ชันในภาษาซีmansuang1978
 
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลีบทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลีNattawut Kathaisong
 
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซีบทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซีNattawut Kathaisong
 
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน Kanchana Theugcharoon
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 5/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 5/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 5/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 5/7Know Mastikate
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานWasin Kunnaphan
 
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1Little Tukta Lita
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานPrapatsorn Keawnoun
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานWasin Kunnaphan
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6Ploy StopDark
 

Was ist angesagt? (19)

งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10
 
59170259 ผลคุณี
59170259 ผลคุณี59170259 ผลคุณี
59170259 ผลคุณี
 
4.ฟังก์ชันในภาษาซี
4.ฟังก์ชันในภาษาซี4.ฟังก์ชันในภาษาซี
4.ฟังก์ชันในภาษาซี
 
3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ
 
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลีบทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
 
งานทำ Blog บทที่ 13
งานทำ Blog บทที่ 13งานทำ Blog บทที่ 13
งานทำ Blog บทที่ 13
 
งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10
 
งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10
 
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซีบทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันโปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน
 
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 5/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 5/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 5/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 5/7
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
Interactive C Robot with AX-11 Board
Interactive C Robot with AX-11 BoardInteractive C Robot with AX-11 Board
Interactive C Robot with AX-11 Board
 
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6
 

Andere mochten auch

Resume of David A. Lytle 2015
Resume of David A. Lytle 2015Resume of David A. Lytle 2015
Resume of David A. Lytle 2015David Lytle
 
jolon_amst402_thesis_workdoc
jolon_amst402_thesis_workdocjolon_amst402_thesis_workdoc
jolon_amst402_thesis_workdocLawrence Jolon
 
Graff Innovation Best Practices v1
Graff Innovation Best Practices v1Graff Innovation Best Practices v1
Graff Innovation Best Practices v1Chris Graff
 
Creative Use of Widgets for Content Management
Creative Use of Widgets for Content ManagementCreative Use of Widgets for Content Management
Creative Use of Widgets for Content ManagementJessica C. Gardner
 
Confronting Data Manipulation
Confronting Data ManipulationConfronting Data Manipulation
Confronting Data Manipulationwmiller824
 
Millennial Students
Millennial StudentsMillennial Students
Millennial Studentswmiller824
 
Eisenbruch et al_Lady in Red
Eisenbruch et al_Lady in RedEisenbruch et al_Lady in Red
Eisenbruch et al_Lady in RedEllise Fallon
 
Counter-Pressures and Assessment
Counter-Pressures and AssessmentCounter-Pressures and Assessment
Counter-Pressures and Assessmentwmiller824
 
Make Poverty History
Make Poverty HistoryMake Poverty History
Make Poverty HistoryAaron Lum
 
Increasing Student Interest and Response Rates
Increasing Student Interest and Response RatesIncreasing Student Interest and Response Rates
Increasing Student Interest and Response Rateswmiller824
 
Игрушка на ёлку
Игрушка на ёлкуИгрушка на ёлку
Игрушка на ёлкуOlga Grigoriuk
 
KRAZZA CV WORLD FORMAT
KRAZZA CV WORLD FORMATKRAZZA CV WORLD FORMAT
KRAZZA CV WORLD FORMATkrazza Layachi
 
Final Year Project - Stephen Reidy
Final Year Project - Stephen ReidyFinal Year Project - Stephen Reidy
Final Year Project - Stephen ReidyStephen Reidy
 
Recruiting and Retaining Millennials
Recruiting and Retaining MillennialsRecruiting and Retaining Millennials
Recruiting and Retaining Millennialswmiller824
 

Andere mochten auch (20)

jayram
jayramjayram
jayram
 
Resume of David A. Lytle 2015
Resume of David A. Lytle 2015Resume of David A. Lytle 2015
Resume of David A. Lytle 2015
 
jolon_amst402_thesis_workdoc
jolon_amst402_thesis_workdocjolon_amst402_thesis_workdoc
jolon_amst402_thesis_workdoc
 
Money101 pt
Money101 ptMoney101 pt
Money101 pt
 
Graff Innovation Best Practices v1
Graff Innovation Best Practices v1Graff Innovation Best Practices v1
Graff Innovation Best Practices v1
 
Creative Use of Widgets for Content Management
Creative Use of Widgets for Content ManagementCreative Use of Widgets for Content Management
Creative Use of Widgets for Content Management
 
Confronting Data Manipulation
Confronting Data ManipulationConfronting Data Manipulation
Confronting Data Manipulation
 
Millennial Students
Millennial StudentsMillennial Students
Millennial Students
 
Madhumita Nag -CV 1
Madhumita Nag -CV 1Madhumita Nag -CV 1
Madhumita Nag -CV 1
 
Eisenbruch et al_Lady in Red
Eisenbruch et al_Lady in RedEisenbruch et al_Lady in Red
Eisenbruch et al_Lady in Red
 
Counter-Pressures and Assessment
Counter-Pressures and AssessmentCounter-Pressures and Assessment
Counter-Pressures and Assessment
 
Make Poverty History
Make Poverty HistoryMake Poverty History
Make Poverty History
 
vijay resume
vijay resumevijay resume
vijay resume
 
TriVista - BlogPost - Production Bottlenecks
TriVista - BlogPost - Production BottlenecksTriVista - BlogPost - Production Bottlenecks
TriVista - BlogPost - Production Bottlenecks
 
Increasing Student Interest and Response Rates
Increasing Student Interest and Response RatesIncreasing Student Interest and Response Rates
Increasing Student Interest and Response Rates
 
Игрушка на ёлку
Игрушка на ёлкуИгрушка на ёлку
Игрушка на ёлку
 
KRAZZA CV WORLD FORMAT
KRAZZA CV WORLD FORMATKRAZZA CV WORLD FORMAT
KRAZZA CV WORLD FORMAT
 
Final Year Project - Stephen Reidy
Final Year Project - Stephen ReidyFinal Year Project - Stephen Reidy
Final Year Project - Stephen Reidy
 
CPF.pdf
CPF.pdfCPF.pdf
CPF.pdf
 
Recruiting and Retaining Millennials
Recruiting and Retaining MillennialsRecruiting and Retaining Millennials
Recruiting and Retaining Millennials
 

Ähnlich wie โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานchanamanee Tiya
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซีmansuang1978
 
บทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอมบทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอมIce Ice
 
ฟังก์ชันในภาษา
ฟังก์ชันในภาษาฟังก์ชันในภาษา
ฟังก์ชันในภาษาSedthawoot Pitapo
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาSaranporn Rungrueang
 
โครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซีโครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซีPatipat04
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีNattapon
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1hamctr
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาAeew Autaporn
 
Algorithm flow chart
Algorithm flow chartAlgorithm flow chart
Algorithm flow chartbbgunner47
 

Ähnlich wie โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1 (20)

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี
 
Presenter1234567
Presenter1234567Presenter1234567
Presenter1234567
 
บทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอมบทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอม
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
ฟังก์ชันในภาษา
ฟังก์ชันในภาษาฟังก์ชันในภาษา
ฟังก์ชันในภาษา
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน
 
Presenter
PresenterPresenter
Presenter
 
โครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซีโครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซี
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
 
3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 
Algorithm flow chart
Algorithm flow chartAlgorithm flow chart
Algorithm flow chart
 

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1

  • 2. ฟั งก์ชันในภาษา C สำหรับเนื้อหำในบทนี้จะกล่ำวถึงฟังก์ชันในภำษำ C โดยจะ ประกอบไปด้วยเนื้อหำหลัก ๆ คือ เรื่องที่หนึ่ง ฟังก์ชัน มำตรฐำน เป็นฟังก์ชันที่บริษัทที่ผลิตภำษำ C ได้เขียนขึ้นและ เก็บไว้ใน header file ภำษำ C คือเก็บไว้ในแฟ้ มที่มี นำมสกุล *.h ต่ำง ๆ ส่วนเรื่องที่สอง เป็นฟังก์ชันที่เขียนขึ้น หรือเรียกอีกอย่ำงว่ำโปรแกรมย่อย ที่ผู้เขียนโปรแกรมเขียน ขึ้นมำใช้งำนอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งตำมควำมต้องกำรของงำน นั้นๆ โดยรำยละเอียดของแต่ละฟังก์ชันมีดังต่อไปนี้
  • 3. ฟั งก์ชันมาตรฐาน (standard functions) เป็นฟังก์ชันที่บริษัทที่ผลิตภำษำ C ได้เขียนขึ้นและเก็บไว้ ใน header file ภำษำ C คือเก็บไว้ในแฟ้ มที่มี นำมสกุล *.h ต่ำง ๆ เมื่อต้องกำรใช้ฟังก์ชันใด จะต้องรู้ว่ำ ฟังก์ชันนั้นอยู่ใน header file ใดจำกนั้นจึงค่อยใช้ คำสั่ง #include<header file.h> เข้ำมำในส่วนตอนต้น ของโปรแกรม จึงจะสำมำรถใช้ฟังก์ชันที่ต้องกำรได้ ซึ่งฟังก์ชัน มำตรฐำนเป็นฟังก์ชันที่บริษัทผู้ผลิต C compiler เขียนขึ้น เพื่อให้ผู้ใช้นำไปช่วยในกำรเขียนโปรแกรมทำให้กำรเขียน โปรแกรมสะดวกและง่ำยขึ้น บำงครั้งเรำอำจจะเรียกฟังก์ชัน มำตรฐำนว่ำ ”ไลบรำรีฟังก์ชัน” (library functions)
  • 4. ฟั งก์ชันทางคณิตศาสตร์ (mathematic functions) เป็นฟังก์ชันที่ใช้สำหรับกำรคำนวณทำงคณิตศำสตร์ และก่อนที่ จะใช้ฟังก์ชันประเภทนี้ จะต้องใช้ คำสั่ง #include <math.h> แทรกอยู่ตอนต้นของ โปรแกรม และตัวแปรที่จะใช้ฟังก์ชันประเภทนี้จะต้องมี ชนิด (type) เป็น double เนื่องจำกผลลัพธ์ที่ได้จำกฟังก์ชัน ประเภทนี้จะได้ค่ำส่งกลับของข้อมูลเป็น double เช่นกัน ฟั งก์ชันทางคณิตศาสตร์ที่ควรทราบ มีดังนี้ acos(x) asin(x) atan(x) sin(x) cos(x) tan(x) sqrt(x) exp(x) pow(x,y) log(x) log10(x) ceil(x) floor(x) fabs(x)
  • 5. 1) ฟั งก์ชัน acos(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คำนวณหำค่ำ arc cosine ของ x โดย ที่ x เป็นค่ำมุมในหน่วยเรเดียน (radian) รูปแบบ acos(x); 2) ฟั งก์ชัน asin(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คำนวณหำค่ำ arc sine ของ x โดย ที่ x เป็นค่ำมุมในหน่วยเรเดียน รูปแบบ asin(x); 3) ฟั งก์ชัน atan(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คำนวณหำค่ำ arc tan ของ x โดย ที่ x เป็นค่ำมุมในหน่วยเรเดียน รูปแบบ atan(x);
  • 6. 4) ฟั งก์ชัน sin(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คำนวณหำค่ำ sine ของ x โดยที่ x เป็น ค่ำมุมในหน่วยเรเดียน รูปแบบ sin(x); 5) ฟั งก์ชัน cos(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คำนวณหำค่ำ cosine ของ x โดย ที่ x เป็นค่ำมุมในหน่วย เรเดียน รูปแบบ cos(x); 6) ฟั งก์ชัน tan(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คำนวณหำค่ำ tan ของ x โดยที่ x เป็น ค่ำมุมในหน่วยเรเดียน
  • 7. โปรแกรมตัวอย่างที่ 7.1 แสดงการใช้งานฟังก์ชัน acos(x), asin(x), atan(x), sin(x), cos(x) และ tan(x) /* math1.c */ #include<stdio.h> /* บรรทัดที่ 1 */ #include<math.h> /* บรรทัดที่ 2 */ #include<conio.h> /* บรรทัดที่ 3 */ void main(void) /* บรรทัดที่ 4 */ { /* บรรทัดที่ 5 */ double r, pi = 3.141592654; /* บรรทัดที่ 6 */ r = pi/180; /* บรรทัดที่ 7 */ clrscr(); /* บรรทัดที่ 8 */ printf("%fn",asin(r)); /* บรรทัดที่ 9 */ printf("%fn",acos(r)); /* บรรทัดที่ 10 */ printf("%fn",atan(r)); /* บรรทัดที่ 11 */ printf("%fn",sin(r)); /* บรรทัดที่ 12 */ printf("%fn",cos(r)); /* บรรทัดที่ 13 */ printf("%fn",tan(r)); /* บรรทัดที่ 14 */ printf("nPress any key back to program ..."); /* บรรทัดที่ 15 */ getch(); /* บรรทัดที่ 16 */ } /* บรรทัดที่ 17 */
  • 9. คาอธิบายโปรแกรม จำกโปรแกรมตัวอย่ำงที่ 7.1 สำมำรถอธิบำยกำรทำงำนของโปรแกรมที่สำคัญ ๆ ได้ดังนี้ บรรทัดที่ 9 คำสั่ง printf("%fn",asin(r)); ฟังก์ชันคำนวณหำค่ำ arc sin ของตัว แปร r โดย r เป็นมุมในหน่วยเรเดียน และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกจอภำพ บรรทัดที่ 10 คำสั่ง printf("%fn",acos(r)); ฟังก์ชันคำนวณหำค่ำ arc cosine ของตัวแปร r โดย r เป็นมุมในหน่วยเรเดียน และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกจอภำพ บรรทัดที่ 11 คำสั่ง printf("%fn",atan(r)); ฟังก์ชันคำนวณหำค่ำ arc tan ของ ตัวแปร r โดย r เป็นมุมในหน่วยเรเดียน และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกจอภำพ บรรทัดที่ 12 คำสั่ง printf("%fn",sin(r)); ฟังก์ชันคำนวณหำค่ำ sine ของตัว แปร r โดย r เป็นมุมในหน่วยเรเดียน และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกจอภำพ บรรทัดที่ 13 คำสั่ง printf("%fn",cos(r)); ฟังก์ชันคำนวณหำค่ำ cosine ของ ตัวแปร r โดย r เป็นมุมในหน่วยเรเดียน และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกจอภำพ บรรทัดที่ 14 คำสั่ง printf("%fn",tan(r)); ฟังก์ชันคำนวณหำค่ำ tan ของตัว แปร r โดย r เป็นมุมในหน่วยเรเดียน และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกจอภำพ บรรทัดที่ 15 และ 16 พิมพ์ข้อควำมให้กดคีย์ใด ๆ เพื่อกลับสู่โปรแกรม และหยุดรอรับค่ำ ใดๆ เช่น กด enter จะกลับเข้ำสู่โปรแกรม
  • 10. 7) ฟั งก์ชัน sqrt(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หำค่ำรำกที่ 2 (square root) ของค่ำคงที่หรือตัวแปร x โดย ที่ x จะต้องเป็นค่ำคงที่ชนิดตัวเลขหรือตัวแปรที่มีค่ำไม่ติดลบ รูปแบบ sqrt(x); 8) ฟั งก์ชัน exp(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หำค่ำ ex โดยที่ x เป็นค่ำคงที่หรือตัวแปรที่จะใช้เป็นค่ำยกกำลัง ของ e โดยที่ e มีค่ำประมำณ 2.718282 รูปแบบ exp(x); 9) ฟั งก์ชัน pow(x,y) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หำค่ำ xy โดยที x เป็นค่ำคงที่หรือตัวแปรที่ใช้เป็นตัวฐำนซึ่งจะต้องมีค่ำมำกกว่ำศูนย์ y เป็นค่ำคงที่หรือตัวแปรที่ใช้เป็นค่ำยกกำลัง รูปแบบ pow(x, y);
  • 11. โปรแกรมตัวอย่างที่ 7.2 แสดงการใช้งานฟังก์ชัน sqrt(x), exp(x) และ pow(x, y) /* math2.c */ #include<stdio.h> /* บรรทัดที่ 1 */ #include<math.h> /* บรรทัดที่ 2 */ #include<conio.h> /* บรรทัดที่ 3 */ void main(void) /* บรรทัดที่ 4 */ { /* บรรทัดที่ 5 */ double x = 2.5, y = 7.0, z = 21.5; /* บรรทัดที่ 6 */ clrscr( ); /* บรรทัดที่ 7 */ printf("%.4fn",pow(x,y)); /* บรรทัดที่ 8 */ printf("%.4fn",sqrt(z)); /* บรรทัดที่ 9 */ printf("%.4fn",exp(y)); /* บรรทัดที่ 10 */ printf("nPress any key back to program ..."); /* บรรทัดที่ 11 */ getch(); /* บรรทัดที่ 12 */ } /* บรรทัดที่ 13 */
  • 12. คาอธิบายโปรแกรม จำกโปรแกรมตัวอย่ำงที่ 7.2 สำมำรถอธิบำยกำรทำงำนของโปรแกรมที่ สำคัญ ๆ ได้ดังนี้ บรรทัดที่ 8 คำสั่ง printf("%.4fn",pow(x,y)); ฟังก์ชันคำนวณหำ ค่ำ xy โดยที่ x เป็นค่ำคงที่หรือตัวแปรที่ใช้ตัวฐำนซึ่งจะต้องมีค่ำมำกกว่ำ ศูนย์ และ y เป็นค่ำคงที่หรือตัวแปรที่ใช้เป็นค่ำยกกำลัง และแสดงผลที่ได้ ออกจอภำพ บรรทัดที่ 9 คำสั่ง printf("%.4fn",sqrt(z)); ฟังก์ชันคำนวณหำค่ำ รำกที่สอง (square root) ของค่ำคงที่หรือตัวแปร z โดยที่ z จะต้องเป็น ค่ำคงที่ชนิดตัวเลขหรือตัวแปรที่มีค่ำไม่ติดลบ และแสดงผลที่ได้ออกจอภำพ บรรทัดที่ 10 คำสั่ง printf("%.4fn",exp(y)); ฟังก์ชันคำนวณหำ ค่ำ ey โดยที่ y เป็นค่ำคงที่หรือตัวแปรที่จะใช้เป็นค่ำยกกำลังของ e โดย ที่ e มีค่ำประมำณ 2.718282 และแสดงผลที่ได้ออกจอภำพ บรรทัดที่ 11 และ 12 พิมพ์ข้อควำมให้กดคีย์ใด ๆ เพื่อกลับสู่โปรแกรม และ หยุดรอรับค่ำใด ๆ เช่น กด enter จะกลับเข้ำสู่โปรแกรม
  • 13. 10) ฟั งก์ชัน log(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หำค่ำ log ฐำน n (natural logarithm) ของค่ำคงที่ หรือตัวแปร x โดยที่ x เป็นค่ำคงที่หรือตัวแปรที่มีค่ำเป็นลบไม่ได้ รูปแบบ log(x); 11) ฟั งก์ชัน log10(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หำค่ำ log ฐำน 10 ของค่ำคงที่หรือตัวแปร x โดย ที่ x เป็นค่ำคงที่หรือตัวแปรที่มีค่ำเป็นลบไม่ได้ รูปแบบ log10(x);
  • 14. โปรแกรมตัวอย่างที่ 7.3 แสดงการใช้งานฟังก์ชัน log(x) และ log10(x) /* math3.c */ #include<stdio.h> /* บรรทัด ที่ 1 */ #include<math.h> /* บรรทัด ที่ 2 */ #include<conio.h> /* บรรทัด ที่ 3 */ void main(void) /* บรรทัด ที่ 4 */ { /* บรรทัดที่ 5 */ double m = 10.0, n = 3.0; /* บรรทัดที่ 6 */ clrscr( ); /* บรรทัดที่ 7 */ printf("%.4fn",log(n)); /* บรรทัดที่ 8 */ printf("%.4fn",log10(m)); /* บรรทัดที่ 9 */ printf("nPress any key back to program ..."); /* บรรทัดที่ 10 */ getch(); /* บรรทัดที่ 11 */ } /* บรรทัดที่ 12 */
  • 16. โปรแกรมย่อย Procedure และฟั งก์ชัน (Function) วัตถุประสงค์ของการสร้างโปรแกรมย่อย 1. เป็นส่วนโปรแกรมที่ใช้ซ้ำกันในหลำย ๆ แห่ง และจะแยก ออกมำทำเป็นโปรแกรมย่อย 2. เป็นคำที่สร้ำงขึ้นใหม่ เพื่อเก็บไว้ใช้ต่อไป 3. เมื่อต้องกำรเขียนโปรแกรมเป็น Module จุดประสงค์ของ กำรเขียนโปรแกรมเป็น Module ก็เพื่อตรวจหำที่ผิดได้ง่ำย ดังนั้น โปรแกรมย่อยหนึ่ง ๆ ก็คือ Module ๆ หนึ่ง 4. เพื่อสนองควำมต้องกำรของกำรเขียนโปรแกรมจำกบนลงล่ำง
  • 17. การสร้างและการใช้งานโปรแกรมย่อย โปรแกรมย่อย (Procedure) เป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรม มีหน้ำที่ เฉพำะในแต่ละตัว โดยแยกกำรทำงำน ออกจำกโปรแกรมหลักอย่ำงอิสระ กำรแยกโปรแกรมออกเป็นส่วนย่อยๆ นี้มีข้อดีคือ ลดควำมซ้ำซ้อนในกำรเขียนโปรแกรมในส่วนที่ทำงำนอย่ำงเดียวกัน ถ้ำนำ โปรแกรมส่วนที่ต้องใช้ซ้ำๆ มำทำเป็นโปรแกรมย่อยจะทำให้โปรแกรมมี ขนำดเล็กลง ช่วยให้ทำควำมเข้ำใจโปรแกรมได้ง่ำย เพรำะมีกำรแบ่งเป็นส่วนย่อยๆ ทำให้สำมำรถแก้ไขและเพิ่มเติมกำรทำงำนของโปรแกรมได้ง่ำยขึ้น ช่วยให้นำโปรแกรมที่สร้ำงไปใช้งำนในโปรแกรมอื่นได้ถ้ำในโปรแกรมนั้น ต้องกำรฟังก์ชันในกำรทำงำนที่เหมือนกัน
  • 18. โปรแกรมย่อยที่ใช้งานอยู่ใน VB.NET มีอยู่ 2 ประเภทคือ * โปรแกรมย่อย Sub มำจำกคำว่ำ Subroutine – ซับรูทีน เป็น โปรแกรมย่อยที่เมื่อทำงำนอย่ำงหนึ่งเสร็จแล้วจะไม่มีกำรส่งผลกำรท ำงำน กลับไปยังโปรแกรมที่เรียกใช้งำนซับรูทีนนี้ * โปรแกรมย่อย Function เป็นโปรแกรมย่อยที่เมื่อท ำงำนเสร็จแล้วจะ คืนผลลัพธ์ที่ได้จำกกำรทำงำนกลับไปยังโปรแกรมที่เรียกใช้งำนฟังก์ชันนี้ ในบำงครั้งโปรแกรมหลักจะมีกำรส่งข้อมูลไปทำงำนในโปรแกรมย่อยด้วย โดยข้อมูลนั้นจะเก็บอยู่ในตัวแปรพิเศษที่เรียกว่ำ “พำรำมิเตอร์” (Parameter)
  • 19. โปรแกรมย่อยชนิด Sub Sub เป็นโปรแกรมที่เขียนขึ้นมำเพื่อกำรทำงำนอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง โดยที่ไม่มีกำรรับ พำรำมิเตอร์หรืออำจจะมีกำรรับพำรำมิเตอร์มำทำงำนก็ได้ แต่ไม่มีกำรส่งผลกำรทำงำน กลับไปยังโปรแกรมที่เรียกซับรูทีนนี้ใช้งำน มีรูปแบบกำรเขียน Sub ดังนี้ 1. ออกแบบหน้ำตำแอพพลิเคชัน และตั้งชื่อคอนโทรลต่ำงๆ ดังนี้ ตัวอย่ำงกำรใช้งำน Subroutine : ตัวอย่ำงนี้จะสร้ำงแอพพลิเคชันแบบระบบ ลงทะเบียนซึ่งจะมีกำรใช้งำน Subroutine ที่เรำเขียนขึ้นมำ
  • 20. 2. ดับเบิลคลิกที่ฟอร์มเพื่อเขียนโค้ดใน Even Load โดยจะเริ่มแนะนำ ให้ผู้ใช้งำนทรำบวิธีกำรทำงำนโดยจะเรียก Sub ที่ชื่อว่ำ InformUser 3. ให้หน้ำต่ำงโค้ดของ Sub InformUser โดยเขียนต่อท้ำยไปได้ เลย
  • 21. 4. ดับเบิลคลิกที่ปุ่ม ลงทะเบียน แล้วเขียนโค้ดเพื่อตรวจสอบควำมครวถ้วน ถูกต้องของข้อมูลที่ป้ อนเข้ำไป ถ้ำเรียบร้อยถือว่ำลงทะเบียนได้ แต่ถ้ำไม่เรียน ร้อยแจ้งให่ผู้ใช้ทรำบ 5 . สำหรับ Sub CheckPassword นั้นมีหลักกำรตรวจสอบควำม ถูกต้องอยู่ 3 ข้อ ดังรำยละเอียดที่แสดดงในโค้ดต่อไปนี้
  • 22. 6 . ดับเบิลคลิกปุ่ม เคลียร์ แล้วเขียนโค้ดเพื่อเคลียร์ค่ำข้อมูลใน TexBox ต่ำงๆ ดังนี้
  • 23. 7 . กดปุ่ม F5 เพื่อทดสอบกำรทำงำนของแอพพลิเคชัน ได้ผลดังนี้
  • 24. โปรแกรมย่อยชนิด Function Function เป็นโปรแกรมย่อยที่เขียนขึ้นมำเพื่อกำรทำงำนอย่ำงใดอย่ำง หนึ่ง โดยที่ไม่มีกำรรับพำรำมิเตอร์หรืออำจจะมีกำรรับพำรำมิเตอร์มำทำงำน ก็ได้ เมื่อทำงำนเสร็จแล้วจะมีกำรส่งผลกำรทำงำนกลับมำยังโปรแกรมที่เรียก ฟังก์ชันนั้นใช้งำน มีรูปในกำรเขียนฟังก์ชัน ดังนี้ ตัวอย่ำงกำรใช้งำน Function : ตัวอย่ำงนี้จะสร้ำงแอพพลิเคชันที่คำนวณ ผลตอบแทนจำกกำรฝำกเงินซึ่งผู้ใช้จะต้องกรอกเงินต้น อัตรำดอกเบี้ย และจำนวนปีที่ ฝำก 1. ออกแบบหน้ำตำแอพพลิเคชัน และตั้งชื่อคอนโทรลต่ำงๆ ดังนี้
  • 25. 2. ดับเบิลคลิกที่ปุ่ม คานวณ เพื่อคานวณผลตอบแทนซึ่งจะมีการเรีกฟังก์ชัน CheckInput เพื่อตรวจสอบว่าข้อมูลที่กรอกเข้ามาเหมาะสมหรือไม่ ถ้าเหมาะสมจานามาคานวณโดยเรียกใช้ ClacSaving
  • 26. 3. สำหรับฟังก์ชัน CheckInput จำทำหน้ำที่ตรวจสอบว่ำ ข้อมูลที่ผู้ใช้งำนกรอกมำ เหมำะสมหรือไม่โดยต้องเป็นตัวเลขที่มำกกว่ำ 0 ทุกตัว และถ้ำเป็น ดอกเบี้ยให้มีค่ำ ระหว่ำง 0 ถึง 100 โดยฟังก์ชันนี้จะรีเทิร์นค่ำเป็น True หรือ False 4. สำหรับฟังก์ชัน CalaSaving จจะทำหน้ำที่คำนวณผลตอบแทนเงินฝำก โดยจะ คำนวณให้เห็นในระยะเวลำตั้งแต่ปีที่ 1 ถึงปีที่กำหนดไว้ นั้นยอดเงินฝำกเป็นเท่ำใด
  • 27. 5. . ดับเบิลคลิกปุ่ม เคลียร์ แล้วเขียนโค้ดเพื่อเคลียร์ค่ำข้อมูลใน TexBox ต่ำงๆ ดังนี้
  • 29. ฟังก์ชันมาตรฐาน (Standard Function) ฟังก์ชันมำตรฐำน คือ ฟังก์ชันที่ผู้ใช้สำมำรถเรียกใช้งำนจำกไลบรำรี่ของ ภำษำซีได้ทันที เช่น ฟังก์ชันทำงคณิตศำสตร์ ฟังก์ชันเกี่ยวกับสตริง ฟังก์ชันเกี่ยวกับกำรเปรียบเทียบ ฟังก์ชันเกี่ยวกับกำรแสดงผล และ ฟังก์ชันเกี่ยวกับวันเวลำ เป็นต้น โดยจะเรียกไลบรำรี่ผ่ำน คำสั่ง #include แล้วตำมด้วยชื่อของไลบรำรี่นั้น ๆ ในส่วน ของ header directive ซึ่งมีรำยละเอียดดังนี้ ไลบรำรี่ (library) stdio.h เกี่ยวกับกำรแสดงผลทำงจอภำพ มีฟังก์ชันที่ใช้ ดังนี้ - ฟังก์ชัน printf() ใช้ในกำรแสดงผลข้อมูล - ฟังก์ชัน Scanf() ใช้ในกำรรับข้อมูล
  • 30. ไลบรำรี่ (library) conio.h เกี่ยวกับกำรแสดงผลทำงจอภำพ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้ - ฟังก์ชัน getchar() ใช้ในกำรรับข้อมูล 1 อักขระ โดยกำรกด Enter - ฟังก์ชัน getche() ใช้ในกำรรับข้อมูล 1 อักขระ โดยไม่ต้องกด Enter - ฟังก์ชัน getch() ใช้ในกำรรับข้อมูล 1 อักขระไม่ปรำกฏให้เห็นในกำรรับข้อมูล - ฟังก์ชัน putchar() ใช้ในกำรรับข้อมูล 1 อักขระออกทำงจอภำพ - ฟังก์ชัน clrscr() ใช้ในกำรลบจอภำพ ไลบรำรี่ (library) string.h เกี่ยวกับข้อควำม มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้ - ฟังก์ชัน strlen() ใช้ในกำรนับควำมยำวของอักขระที่รับเข้ำมำ - ฟังก์ชัน strcpy() ใช้ในกำรทำสำเนำข้อควำมจำกข้อควำมหนึ่ง ไปยังอีกข้อควำมหนึ่ง - ฟังก์ชัน strcmp () ใช้ในกำรเปรียบเทียบข้อควำม 2 ข้อควำม - ฟังก์ชัน strcal() ใช้ในกำรเชื่อมตั้งแต่ 2 ข้อควำมเข้ำด้วยกัน
  • 31. ไลบรำรี่ (library)marth.h เกี่ยวกับทำงคณิตศำสตร์ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้ - ฟังก์ชัน sqrt() ใช้ในกำรหำรำก (root) ที่สองของเลขจำนวนเต็ม - ฟังก์ชัน exp(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หำค่ำ ex (Exponential) - ฟังก์ชัน pow(x,y) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หำค่ำ xy - ฟังก์ชัน sin(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หำค่ำ sine ของ x - ฟังก์ชัน cos(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หำค่ำ cosine ของ x - ฟังก์ชัน tan(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หำค่ำ tan ของ x - ฟังก์ชัน log(n) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หำค่ำ log ฐำน n - ฟังก์ชัน log10(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หำค่ำ log ฐำน 10 - ฟังก์ชัน ceil(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หำค่ำปัดเศษทศนิยมของตัวแปร x - ฟังก์ชัน floor(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หำค่ำตัดเศษทศนิยมทิ้งของตัว แปร x - ฟังก์ชัน fabs(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หำค่ำสมบูรณ์ (absolute value) x
  • 32. ไลบรำรี่ (library) ctype.h เกี่ยวกับตัวอักษร มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้ - ฟังก์ชัน isalnum(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่ำข้อมูลที่อยู่ ในตัวแปรมีค่ำเป็น ตัวอักษรหรือตัวเลข - ฟังก์ชัน isalpha(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่ำข้อมูลที่อยู่ ในตัวแปรมีค่ำเป็นตัวอักษรหรือไม่ - ฟังก์ชัน isdigit(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่ำข้อมูลที่อยู่ ในตัวแปรเป็นตัวเลข 0 ถึง 9 หรือไม่ - ฟังก์ชัน islower(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่ำข้อมูลที่อยู่ ในตัวแปรเป็นตัวเล็กหรือไม่ - ฟังก์ชัน isupper(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่ำข้อมูลที่อยู่ ในตัวแปรเป็นตัวใหญ่หรือไม่ - ฟังก์ชัน tolowre(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในกำรเปลี่ยนตัวอักษร ตัวใหญ่ให้เป็นตัวเล็ก - ฟังก์ชัน toupper(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในกำรเปลี่ยนตัวอักษร ตัวเล็กให้เป็นตัวใหญ่
  • 33. ไลบรำรี่ (library) stdlib.h เกี่ยวกับกำรแปลงค่ำ string มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้ - ฟังก์ชัน atoi(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในกำรแปลงค่ำ ข้อควำม (string) เป็นตัวเลขจำนวนเต็ม (integer) - ฟังก์ชัน atof(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในกำรแปลงค่ำ ข้อควำม (string) เป็นตัวเลขจำนวนทศนิยม( flot) - ฟังก์ชัน atol(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในกำรแปลงค่ำ ข้อควำม (string) เป็น ตัวเลขจำนวนเต็ม (integer) ชนิด long integer ไลบรำรี่ (library) dos.h เกี่ยวกับกำรติดต่อระบบปฏิบัติกำร มี ฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้ - ฟังก์ชัน gettime() เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในกำรติดต่อเวลำ ของระบบปฏิบัติกำร - ฟังก์ชัน getdate() เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในกำรติดต่อวันที่ ของระบบปฏิบัติกำร ซึ่งฟังก์ชันมำตรฐำนยังมีอีกเป็นจำนวนมำก ผู้ศึกษำสำมำรถลอง ศึกษำได้จำกกำรใช้ Help เพื่อเป็นแนวทำงในกำรเขียนและพัฒนำ โปรแกรมด้วยภำษำซีขั้นสูงต่อไปในภำยหลังได้