SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 51
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การพัฒนาระบบราชการ
          โดย

     อาวุธ วรรณวงศ์
   รองเลขาธิการ ก.พ.ร.
การพ ัฒนาระบบราชการไทย
(พ.ศ. 2551 – พ.ศ. 2555)
โลกแห่งการเปลียนแปลง
                         ่
             ในแบบ non-linear

                           Re-thinking

Re-thinking the future                   ิ
                                   คิดเชงยุทธศาสตร์
Re-imagine                         Strategic thinking
As the future catches you         การบริหารการเปลียนแปลง
                                                  ่
World out of balance              Change management
Information technology
Bio-technology (life sciences)
Nano-technology
                          Re-managing
The World is Flat
      The 10 World
       “Flatteners”
      •   The Fall of the Berlin Wall
      •   The New Age of Connectivity
      •   Workflow Software
      •   Uploading
      •   Outsourcing
      •   Offshoring
      •   Supply Chaining
      •   Insourcing
      •   In-forming
      •   Steroids
Governing forward:
                                     New Directions for Public
                                     Leadership




1. Networked government: Moving beyond silos
2. Flexible government: Revamping workforce systems
3. Choice-based government: Letting citizens choose
4. Multi-channel government: Improving access
5. Personalized government: Catering to individual needs
6. Outcomes-based government: Focusing on results
7. Participatory government: Getting citizens involved

  Deloitte, Governing forward: New Directions for Public Leadership, Global perspectives 2006.
    (http://www.deloitte.com/dtt/cda/doc/content/dtt_dr_goingforward_03092006.pdf. 2006).
Six Trends
                                       Transforming
                                       Government




Trend One: Changing the Rules
Trend Two: Using Performance Management
Trend Three: Providing Competition, Choice, and Incentives
Trend Four: Performing On Demand
Trend Five: Engaging Citizens
Trend Six: Using Networks and Partnerships

IBM Center for The Business of Government, Six Trends Transforming Government: Providing Cutting-edge
Knowledge to Government Leaders (http://www.businessofgovernment.org/pdfs/SixTrends.pdf 2006).
ั
วิสยท ัศน์ใหม่ของการพ ัฒนาระบบราชการไทย

                                                 ั
        คณะกรรมการพ ัฒนาระบบราชการ ได้กาหนดวิสยท ัศน์ใหม่
                             ่
   ของการพ ัฒนาระบบราชการ ในชวงระยะปี พ.ศ. 2551 - พ.ศ. 2555
   ไว้ด ังต่อไปนี้
                     ระบบราชการไทยมุงเน้น
                                    ่
                   ประโยชน์สขของประชาชนและ
                            ุ
               ร ักษาผลประโยชน์ของประเทศชาติ

                       มีขดสมรรถนะสูง
                          ี

              สามารถเรียนรู ้ ปร ับต ัวและตอบสนอง
                    ต่อการเปลียนแปลง
                                   ่

           โดยยึดมนในหล ักจริยธรรมและธรรมาภิบาล
                  ่ั
ระบบราชการไทยทีพงประสงค์จะต้องให้คณค่าความสาค ัญ
                ่ ึ                ุ
และยึดมนในปร ัชญา หล ักการ และแนวทาง ด ังต่อไปนี้
       ่ั

    ต ้องให ้ประชาชนเป็ น “ศูนย์กลาง” ในการทางาน รับฟั งความคิดเห็น และ
     ตอบสนองความต ้องการ ลดขันตอนและภาระในการติดต่อของประชาชน
                                   ้
                                 ิ             ิ
     แก ้ไขปั ญหาได ้อย่างมีประสทธิภาพและประสทธิผล เป็ นทีพงของ
                                                           ่ ึ่
     ประชาชนได ้
    ปรับเปลียนบทบาทของระบบราชการให ้เป็ นผู ้สนับสนุนและอานวยความ
             ่
                                 ้
     สะดวก ปรับขนาดกาลังคนและใชทรัพยากรอย่างเหมาะสม ไม่แทรกแซง
                                                      ิ
     และขยายตัวจนเป็ นภาระของประเทศ หรือกระทบต่อสทธิเสรีภาพขอ
     ประชาชน
    ประสานการทางานกับผู ้บริหารราชการแผ่นดินฝ่ ายการเมืองเพือให ้เกิด
                                                             ่
     ประโยชน์สงสุดต่อประเทศ สามารถให ้ความคิดเห็นหรือข ้อเสนอแนะเชง
              ู                                                        ิ
     นโยบายอย่างมีเหตุผล ตังมั่นในความถูกต ้อง เป็ นกลาง ปราศจากอคติ
                           ้
           ่    ้                             ี
     และอยูบนพืนฐานของหลักจรรยาบรรณวิชาชพ และไม่เข ้าไปแทรกแซง
                             ่ ึ่
     บทบาทและอานาจหน ้าทีซงกันและกัน
                                                                 ่
    มีความพร ้อมและทัศนคติในการทางานเป็ นเครือข่ายร่วมมือกับภาคสวน
             ั                        ื่
     อืนๆ ในสงคม และสามารถบูรณาการ เชอมโยงการทางานภายในระบบ
       ่
     ราชการในทุกระดับเข ้าด ้วยกัน
ปัญหา
                             ของระบบ                    การปฏิรปู    • ปรับรือโครงสร ้างการ
                                                                             ้

                              ราชการ                     ปี 2545        บริหารราชการแผ่นดิน

                                ไทย                                  • วางระบบบริหารสมัยใหม่

                                                                     • สร ้างวัฒนธรรมการ
                                                                               ิ
                                                                        ทางานเชงรุก




                                                                      การสร้างว ัฒนธรรม
            ้
  การปร ับรือโครงสร้าง          การวางระบบงานสม ัยใหม่                             ิ
                                                                       การทางานเชงรุก
• ปร ับเปลียนให้หน่วยงานใน
           ่                   • กาหนดยุทธศาสตร์/เปาหมาย
                                                   ้                • การให้บริการทาง
   ่
  สวนกลางมีขนาดเล็ กลง                                              อิเล็กทรอนิกส ์ (E-service)
                               • จ ัดทาคาร ับรองการปฏิบ ัติราชการ
                                                                    • ศูนย์บริการร่วม
• ปร ับปรุงโครงสร้าง และ
  พ ัฒนาระบบการบริหาร          • ติดตามประเมินผลเพือให้รางว ัล
                                                   ่                • เคาน์เตอร์บริการประชาชน
              ่
  ราชการในสวนภูมภาค และ
                    ิ           แรงจูงใจ                            • Call Center 1111
  ในต่างประเทศแบบบูรณา
                               • จ ัดระบบบริหารงานการคล ังภาคร ัฐ   • หน่วยบริการเคลือนที่
                                                                                     ่
  การ
                                ด้วยระบบอิเล็ กทรอนิกส ์ (GFMIS)    • สร้างจิตสานึกในการ
   ่
• สงเสริม/แปรสภาพ                                                   ให้บริการ
  กิจกรรม/ การดาเนินการ        • การพ ัฒนาคุณภาพการให้บริการ
  บางอย่างเปนองค์กร
            ็                             ่ ี ึ้
                                ประชาชนทีดขน ด้วยการลดขนตอนั้       • เปิ ดโอกาสให้ประชาชนมี
                                                                      ่
                                                                    สวนร่วม
  มหาชน/ SDU                    และระยะเวลาการปฏิบ ัติราชการ
                                                                                      ิ
                                                                    • มอบอานาจการต ัดสนใจ
การปฏิรประบบราชการ
          ู

การบริหารงานภาคร ัฐแนวใหม่      กระแสความเปนประชาธิปไตย
                                           ็
  New Public Management              Democratization
          (NPM)

 • เศรษฐศาสตร์นโอคลาสสค
                 ี       ิ      • ประชารัฐ
     • Market mechanism              • Participatory State
 • การจัดการสมัยใหม่            • ชุมชนนิยม
     • Managerialism                 • Communitarianism
     (Business-like approach)   • ประชาธิปไตยทางตรง
                                     • Direct Democracy
การปกครอง Government  Governance
                                            การบริหาร
                                             กิจการ
               ภาคประชาสงคมั                บ้านเมือง
                    Civil
                   Society




                     Citizens
                      พลเมือง

                   ความสมดุล
           Government/         Business
           Bureaucracy         Enterprise
ภาคร ัฐ                                     ภาคเอกชน
           รัฐบาล/ระบบราชการ       ธุรกิจ
การปฏิรปภาคร ัฐ (Public Sector Reform)
         ู
       การบริหารกิจการบ้านเมืองทีด ี
                                 ่
           (Good Governance)
การบริหารงานภาคร ัฐแนวใหม่      กระแสความเปนประชาธิปไตย
                                           ็
New Public Management (NPM)          Democratization

 • เศรษฐศาสตร์นโอคลาสสค
                  ี       ิ     • ประชารัฐ
     Market mechanism               Participatory State
 • การจัดการสมัยใหม่            • ชุมชนนิยม
     Modern management              Communitarianism
     (Business-like approach)   • ประชาธิปไตยทางตรง
                                    Direct Democracy
                                • นิตรัฐ
                                     ิ
                                       Rule of Law
หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ ้านเมืองทีด ี
                                            ่
•          ่
    การมีสวนร่วม (Participation)
•   ความโปร่งใส (Transparency)
•   การตอบสนอง (Responsiveness)
•   ภาระรับผิดชอบ (Accountability)
•        ิ            ิ
    ประสทธิภาพ ประสทธิผล (Efficiency & Effectiveness)
         ั        ิ
    – วิสยทัศน์เชงยุทธศาสตร์ (Strategic Vision)
    – ความคุ ้มค่า (Value for money)
•   คุณภาพ (Quality)
•   การกระจายอานาจ (Decentralization)
•   นิตธรรม (Rule of law)
       ิ
•   ความเสมอภาค/ความเทียงธรรม (Equity)
                            ่
•   การมุงเน ้นฉั นทามติ (Consensus oriented)
         ่
การบริหารกิจการบ้านเมืองทีด ี
                          ่


               ิ
Efficiency ประสทธิภาพ        Participation
Value-for-money                    ่
                             การมีสวนร่วมของประชาชน
ความคุมค่าของเงิน
       ้                     Transparency เปิ ดเผยโปร่งใส
                             Responsiveness ตอบสนอง
                    ิ
Effectiveness ประสทธิผล
                             Decentralization กระจายอานาจ
Quality คุณภาพ
Accountability for results
ภาระร ับผิดชอบ ต่อผลงาน      Rule of law นิตร ัฐ
                                            ิ
การบริหารราชการ (แบบเดิม) การบริหารกิจการบ้านเมือง (ทีด)
                                                      ่ ี
• ทุจริตคอร ัปชน ่ั           • ประหย ัด ประสทธิภาพิ
       ้
• เชาชาม เย็นชาม / ชา     ้     คุมค่าเงิน
                                  ้
• ไม่ตอบสนองความ                       ิ
                              • ประสทธิผล
  ต้องการของประชาชน           • คุณภาพ
• เจ้าขุนมูลนาย               • ภาระร ับผิดชอบ
    ่ั
• สงการตามสายการบ ังค ับ      • เปิ ดเผยโปร่งใส
  บ ัญชา                      • ประชาชนมีสวนร่วม ่
• ทางานแบบต่างคนต่างทา        • ตอบสนองความต้องการ
• ยึดกฎระเบียบเปนหล ัก
                    ็           ของประชาชน
  ขาดความยืดหยุน        ่       (ประชาชนเปนศูนย์กลาง)
                                             ็
• คุณพ่อผูรด ี / เปนนาย
            ้ ู้      ็       • กระจายอานาจ
  ประชาชน                     • นิตธรรม/นิตร ัฐ
                                     ิ         ิ
คุณธรรม จริยธรรม และ ธรรมาภิบาล




                                                            การปฏิบ ัติงาน (Operation)
                           คุณธรรม      ธรรมาภิบาล
  พฤติกรรม (Behavior)



                            (Moral)       (Good
                           จริยธรรม     Governance)
                           (Ethics)
                                       กลไก
                            ตนเอง     ควบคุม    โครงสร้าง
                                                  ระบบ
                                               กระบวนการ

               ี
ลดความสูญเสย ขจ ัดรูรวไหล ปองก ันการทุจริต ประพฤติ และ
                     ่ั    ้
           ่ ิ     ่     ิ           ิ
ดาเนินการทีมชอบ เพิมประสทธิภาพ ประสทธิผล ความคุมค่า
                                                  ้
                                ื่
       โปร่งใส ตอบสนอง สุจริต ซอตรง เทียงธรรม
                                       ่
ระบบราชการไทยทีพงประสงค์จะต้องให้คณค่าความสาค ัญ
                ่ ึ                ุ
และยึดมนในปร ัชญา หล ักการ และแนวทาง ด ังต่อไปนี้
       ่ั

    ต ้องให ้ประชาชนเป็ น “ศูนย์กลาง” ในการทางาน รับฟั งความคิดเห็น และ
     ตอบสนองความต ้องการ ลดขันตอนและภาระในการติดต่อของประชาชน
                                   ้
                                 ิ             ิ
     แก ้ไขปั ญหาได ้อย่างมีประสทธิภาพและประสทธิผล เป็ นทีพงของ
                                                           ่ ึ่
     ประชาชนได ้
    ปรับเปลียนบทบาทของระบบราชการให ้เป็ นผู ้สนับสนุนและอานวยความ
             ่
                                 ้
     สะดวก ปรับขนาดกาลังคนและใชทรัพยากรอย่างเหมาะสม ไม่แทรกแซง
                                                      ิ
     และขยายตัวจนเป็ นภาระของประเทศ หรือกระทบต่อสทธิเสรีภาพขอ
     ประชาชน
    ประสานการทางานกับผู ้บริหารราชการแผ่นดินฝ่ ายการเมืองเพือให ้เกิด
                                                             ่
     ประโยชน์สงสุดต่อประเทศ สามารถให ้ความคิดเห็นหรือข ้อเสนอแนะเชง
              ู                                                        ิ
     นโยบายอย่างมีเหตุผล ตังมั่นในความถูกต ้อง เป็ นกลาง ปราศจากอคติ
                           ้
           ่    ้                             ี
     และอยูบนพืนฐานของหลักจรรยาบรรณวิชาชพ และไม่เข ้าไปแทรกแซง
                             ่ ึ่
     บทบาทและอานาจหน ้าทีซงกันและกัน
                                                                 ่
    มีความพร ้อมและทัศนคติในการทางานเป็ นเครือข่ายร่วมมือกับภาคสวน
             ั                        ื่
     อืนๆ ในสงคม และสามารถบูรณาการ เชอมโยงการทางานภายในระบบ
       ่
     ราชการในทุกระดับเข ้าด ้วยกัน
ระบบราชการไทยทีพงประสงค์จะต้องให้คณค่าความสาค ัญ
                ่ ึ                ุ
และยึดมนในปร ัชญา หล ักการ และแนวทาง ด ังต่อไปนี้ (ต่อ)
       ่ั

    มีขดความสามารถในการรับรู ้ เรียนรู ้ สามารถคาดการณ์ลวงหน ้า มีความ
        ี                                                 ่
     ยืดหยุนคล่องตัว รวดเร็ว สามารถคิดริเริมและสร ้างนวัตกรรม (agility)
           ่                                ่
     และการบริหารการเปลียนแปลงเพือขับเคลือนและปรับตัวได ้เหมาะสม
                          ่          ่         ่
     ทันต่อการเปลียนแปลงของสภาพแวดล ้อม
                  ่
    สร ้างระบบธรรมาภิบาลของตนเองทีดเพือให ้เกิดความโปร่งใสและความ
                                        ่ ี ่
        ื่                                    ่             ้
     เชอมั่นศรัทธา เปิ ดให ้ประชาชนเข ้ามามีสวนร่วม ลดการใชดุลพินจในการ
                                                                 ิ
           ิ                             ั
     ตัดสนใจ และมีความรับผิดชอบต่อสงคม ประพฤติปฏิบตให ้ถูกต ้องตาม
                                                        ั ิ
                                           ั
     กฎหมาย ไม่สร ้างปั ญหาหรือภาระแก่สงคมเสยเอง ี
                                                    ั
    มีความเป็ นเลิศในการปฏิบตงานและสร ้างคุณค่าต่อสงคม ในการทางาน
                              ั ิ
                  ิ                                     ั
     และการตัดสนใจ ทีถกต ้อง แน่นอน และทันกาล โดยอาศยเทคโนโลยี
                       ่ ู
                               ้
     สมัยใหม่เข ้ามาประยุกต์ใชในการทางาน มีเป้ าหมายในการทางานที่
       ั                              ั
     ชดเจนและสามารถตรวจสอบวัดผลสมฤทธิได ้   ์
    แสวงหา พัฒนาและธารงรักษาบุคลากรทีมความรู ้ความสามารถ ค่านิยม
                                            ่ ี
     และกระบวนทัศน์อนเหมาะสมและเอือต่อการทางานแนวใหม่ ตลอดจนทา
                         ั              ้
                  ้        ่ ั ์
     ให ้บุคลากรตังมั่นอยูในศกดิศรีและจรรยา สามารถแยกแยะผลประโยชน์
      ่
     สวนตนจากหน ้าทีทางการงาน ไม่แสวงหาประโยชน์ให ้แก่ตนเองหรือผู ้อืน
                       ่                                             ่
     ในทางมิชอบ
ยุทธศาสตร์การพ ัฒนาระบบราชการไทย
  (พ.ศ. 2551- พ.ศ. 2555)

         ประเด็น                             ประเด็น
      ยุทธศาสตร์ท ี่ 1                    ยุทธศาสตร์ท ี่ 2
   ยกระดับการให ้บริการและ               ปรับรูปแบบการทางาน
   การทางานเพือตอบสนอง
                ่                      ให ้มีลกษณะเชิงบูรณาการ
                                              ั
 ความคาดหวังและความต ้องการ           เกิดการแสวงหาความร่วมมือ
ของประชาชนทีมความสลับซบซ ้อน
            ่ ี                      และสร ้างเครือข่ายกับฝ่ ายต่าง ๆ
  หลากหลาย และเปลียนแปลง
                     ่                   รวมทังเปิ ดให ้ประชาชน
                                                ้
       ไปอย่างรวดเร็ว                                  ่
                                             เข ้ามามีสวนร่วม




         ประเด็น                             ประเด็น
      ยุทธศาสตร์ท ี่ 4                    ยุทธศาสตร์ท ี่ 3
สร ้างระบบการกากับดูแลตนเองทีด ี
                               ่           ่ ่
                                         มุงสูการเป็ นองค์การ
      เกิดความโปร่งใส มั่นใจ              ทีมขดสมรรถนะสูง
                                            ่ ี ี
      และสามารถตรวจสอบได ้               บุคลากรมีความพร ้อม
 รวมทังทาให ้บุคลากรปฏิบตงาน
         ้                 ั ิ       และความสามารถ ในการเรียนรู ้
 อย่างมีจตสานึกความรับผิดชอบ
           ิ                             คิดริเริม เปลียนแปลง
                                                 ่     ่
       ต่อตนเอง ต่อประชาชน            และปรับตัวได ้อย่างเหมาะสม
        และต่อสังคมโดยรวม                ต่อสถานการณ์ตาง ๆ่
ประเด็นยุทธศาสตร์และกลยุทธ์
  ในการพ ัฒนาระบบราชการไทย
ประเด็นยุทธศาสตร์ท ี่ 1 ยกระด ับการให้บริการและ                                                                  ี        ิ
                                                                  ประเด็นยุทธศาสตร์ท ี่ 2 ปร ับรูปแบบการทางานให้มล ักษณะเชง
การทางานเพือตอบสนองความคาดหว ังและความต้องการของ
               ่                                                  บูรณาการ เกิดการแสวงหาความร่วมมือ และสร้างเครือข่ายก ับ
           ่ ี             ้
ประชาชนทีมความสล ับซบซอน หลากหลาย และเปลียนแปลง ่                  ่            ้ั                         ่
                                                                  ฝายต่าง ๆ รวมทงเปิ ดให้ประชาชนเข้ามามีสวนร่วม
ไปอย่างรวดเร็ว
                                                                  2.1 วางระบบการบริหารงานแบบบูรณาการภายในระบบราชการ
       ่
1.1 สงเสริมให ้หน่วยงานภาครัฐปรับปรุงการให ้บริการประชาชนให ้มี         ่
                                                                  2.2 สงเสริม ผลักดันให ้ให ้เกิดความร่วมมือกันระหว่างหน่วยงานกลางต่างๆ
    ความหลากหลาย ได ้รับการบริการทีสะดวก รวดเร็ว และสามารถ
                                      ่                                                                             ่
                                                                      เพืออานวยความสะดวกในการดาเนินการของสวนราชการต่าง ๆ
                                                                          ่
    ปรับตัวให ้ทันต่อเหตุการณ์ เพือตอบสนองความต ้องการของ
                                  ่                               2.3 จัดระบบบริหารราชการให ้เอือต่อการทางานร่วมกันเป็ นเครือข่ายกับ
                                                                                                  ้
    ประชาชน                                                                                                                  ่
                                                                      ภาคเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน องค์กรชุมชน และภาคสวนต่าง ๆ ใน
     ่
1.2 สงเสริมสนับสนุนให ้มีกลไกการรับฟั งความคิดเห็นของประชาชน                                           ่
                                                                      ลักษณะเป็ นภาคี/พันธมิตร/หุ ้นสวนในการจัดบริการสาธารณะ
    และสามารถเข ้าถึงข ้อมูลข่าวสารและบริการของทางราชการได ้                                         ่
                                                                  2.4 สนับสนุนให ้ประชาชนเข ้ามามีสวนร่วมในการบริหารราชการ
    โดยสะดวก เป็ นธรรม และตรงตามความต ้องการ

ประเด็นยุทธศาสตร์ท ี่ 4: สร้างระบบการกาก ับดูแลตนเองทีด ี
                                                      ่                                       ่ ่
                                                                   ประเด็นยุทธศาสตร์ท ี่ 3: มุงสูการเปนองค์การทีมขดสมรรถนะสูง
                                                                                                      ็          ่ ี ี
เกิดความโปร่งใส มนใจ และสามารถตรวจสอบได้ รวมทงทาให้
                  ่ั                               ั้              บุคลากรมีความพร้อม และความสามารถ ในการเรียนรู ้
บุคลากรปฏิบ ัติงานอย่างมีจตสานึกความร ับผิดชอบต่อตนเอง
                          ิ                                        คิดริเริม เปลียนแปลง และปร ับต ัวได้อย่างเหมาะสมต่อ
                                                                           ่     ่
                       ั
ต่อประชาชน และต่อสงคมโดยรวม                                        สถานการณ์ตาง ๆ  ่
                                                                  3.1 จัดให ้มีการวางยุทธศาสตร์การบริหารประเทศในระยะยาว (Scenario
4.1 เสริมสร ้างระบบคุณธรรม จริยธรรม ปรับกระบวนทัศน์ หล่อหลอม
                                                                      Planning) เพือคาดการณ์ปัจจัยต่าง ๆ ทีอาจเกิดขึนในอนาคตและ
                                                                                      ่                       ่       ้
    วัฒนธรรมใหม่ ให ้เกิดขึนในหน่วยงานภาครัฐ
                           ้
                                                                      ผลกระทบต่อการบริหารกิจการบ ้านเมือง และกาหนดเป้ าหมายทีพง   ่ ึ
                         ิ
4.2 ปรับปรุงระบบการตัดสนใจและกากับตรวจสอบในการบริหาร
                                                                                                                            ั
                                                                      ประสงค์และต ้องการบรรลุผลไว ้ วัดความก ้าวหน ้า และผลสมฤทธิ์
    ราชการแผ่นดิน
                                                                                                                  ั้
                                                                      เพือประโยชน์ในการวางแผนพัฒนาระยะสน-ปานกลาง ตลอดจนการ
                                                                         ่
      ่
4.3 สงเสริมให ้หน่วยงานในภาครัฐมีการดาเนินการทีมความรับผิดชอบ
                                               ่ ี
                                                                      เตรียมการวางระบบบริหารงานและบุคลากรภาครัฐในอนาคต
         ั
    ต่อสงคม และชุมชน
                                                                  3.2 ปรับปรุงบทบาท ภารกิจ และโครงสร ้างของภาครัฐ ให ้มีขนาดที่
4.4 การสร ้างดุลยภาพระหว่างฝ่ ายการเมืองและราชการประจา
                                                                      เหมาะสม (Rightsizing) เกิดความคุ ้มค่าและรองรับกับสภาพแวดล ้อม
                                                                                    ิ      ่ ี               ั ้
                                                                      ในการปฏิบัตงานทีมความหลากหลายซบซอนมากขึน          ้
                                                                  3.3 เสริมสร ้างให ้หน่วยงานภาครัฐมีความตืนตัว ตอบสนอง และไวต่อการ
                                                                                                           ่
                                                                      เปลียนแปลง มีการบริหารจัดการทียดหยุน คล่องตัว สามารถปรับตัว
                                                                           ่                           ่ ื      ่
                                                                      และมีความคิดริเริม ทันต่อสถานการณ์และความท ้าทายต่าง ๆ ได ้
                                                                                         ่
                                                                  3.4 ปรับปรุงขีดสมรรถนะของทรัพยากรบุคคลภาครัฐ ให ้สามารถเพิม   ่
                                                                      ผลิตภาพ และพัฒนาขีดความสามารถให ้มีความเป็ นมืออาชพ     ี
การนายุทธศาสตร์การพ ัฒนาระบบราชการไทย
                 ่
            ไปสูการปฏิบ ัติ

การสร ้างระบบย่อย (Sub-systems) ในระบบราชการ โดยดาเนินการ
ทบทวนบทบาทภารกิจ สอบทานพันธกิจ อานาจหน ้าที่ โครงสร ้าง
                                    ั
ระบบงาน อัตรากาลัง ทรัพยากร และผลสมฤทธิ์ เพือออกแบบใหม่
                                            ่
และนาเสนอพิมพ์เขียวต่อคณะรัฐมนตรีภายใน 6 เดือน

   • ต ้องยอมรับความแตกต่างหลากหลาย ไม่พยายามดึงให ้เข ้ามาอยูในระเบียบ
                                                              ่
      แบบแผนเดียวกันทังหมด
                      ้
   • ไม่ตงสมมติฐานว่าหน่วยงานราชการจะต ้องเป็ นผู ้ดาเนินการทุกอย่างเอง
         ั้
      หรือพยายามปรับปรุงให ้ระบบราชการมีขดสมรรถนะสูงในภารกิจงานทีไม่
                                         ี                       ่
      ควรดาเนินการเองอีกต่อไปแล ้ว
       ้
   • ใชยุทธวิธดาเนินการแบบคูขนานทังในแง่ของการขับเคลือนยุทธศาสตร์ให ้
              ี             ่     ้                  ่
      เคลือนตัวไปพร ้อมกันทังหมด และการเลือกเน ้นบางจุดมาดาเนินการพัฒนา
          ่                 ้
      ให ้บังเกิดผลก่อน
แนวทางการวิเคราะห์เพือวางพิมพ์เขียวเพือการเปลียนแปลง
                     ่                ่       ่

             1. ภารกิจ/งานนันยังจาเป็ นต ้องปฏิบตอยูหรือไม่ ?
                            ้                   ั ิ ่
                            ไม่ใช่
                                                             ยกเลิก
       ใช่
             2. ภารกิจ/งานนันมีหน่วยงานใดปฏิบตอยูแล ้วหรือไม่?
                            ้                ั ิ ่

                         ไม่ใช่
                                                   3. ภารกิจ/งานนันเป็ นภารกิจหลักใช่หรือไม่ ?
                                                                  ้
       ใช่
    ยกเลิก/รวม/โอนงาน                                   ไม่ใช่
                                                                      วิเคราะห์ความเป็ นไปได ้ในการแปรสภาพ/จ ้างเหมา
                                           ใช่

               4. ภารกิจ/งานนันสามารถมอบอานาจหรือกระจายอานาจไปให ้ราชการส่วนภูมภาค
                              ้                                                ิ
               หรือองค์กรปกครองส่วนท ้องถินดาเนินการได ้หรือไม่ ?
                                          ่
                       ไม่ได ้
                                           5.     ภารกิจ/งานนันสามารถดาเนินการโดยจัดตังเป็ น
                                                              ้                       ้
        ได ้                               หน่วยงานของรัฐรูปแบบอืนได ้หรือไม่?
                                                                 ่
             โอนถ่าย                                      ไม่ได ้
                                                                                6.    ภารกิจ/งานนันจาเป็ นต ้องดาเนินการ
                                                                                                  ้
                                            ได ้                                โดยภาครัฐทังหมดหรือไม่ ?
                                                                                           ้

                  จัดตังเป็ นหน่วยงานของรัฐรูปแบบอืน
                       ้                           ่                                ไม่ใช่
                                                                                               วิเคราะห์ความเป็ นไปได ้ในการจ ้างเหมา
                                                                          ใช่
                        7.    ภารกิจ/งานนันมีการทบทวนอานาจหน ้าที่ การจัดโครงสร ้าง
                                          ้
                        ระบบงาน และการใช ้ทรัพยากรทีเหมาะสมหรือไม่ ?
                                                    ่

                                                                      วางแผนพัฒนาองค์การ
                                     ใช่               ไม่ใช่

                                  จบการวิเคราะห์
10 โครงการสาคัญเพือรองรับยุทธศาสตร์ ด้านต่ าง ๆ
                  ่

     ตอบสนอง ท ันต่อการ
                                                • โครงการปร ับปรุงการให้บริการประชาชน
        เปลียนแปลง
            ่
 ยกระดับการให ้บริการและการทางาน เพือ
                                    ่           • โครงการพ ัฒนาระบบการบริหารงานจ ังหว ัดและกลุมจ ังหว ัดแบบบูรณาการ
                                                                                              ่
 ตอบสนองความคาดหวังและความต ้องการ                                      ั                          ่
                                                • โครงการจ ัดระบบความสมพ ันธ์ระหว่างราชการบริหารสวนกลาง
   ของประชาชนทีมความสลับซบซอน
                     ่ ี     ั ้                   ่    ิ         ่
                                                  สวนภูมภาค และสวนท้องถิน ่
หลากหลายและเปลียนแปลงไปอย่างรวดเร็ว
                   ่


            ่
         มีสวนร่วม                                        ่           ่
                                                • โครงการสงเสริมการมีสวนร่วมของประชาชนในการบริหารกิจการบ้านเมือง
   ปรับรูปแบบการทางานให ้มีลักษณะเชง     ิ                  ื่
                                                • โครงการสอสารเพือการเปลียนแปลงตามแผนยุทธศาสตร์การพ ัฒนาระบบ
                                                                 ่        ่
บูรณาการ เกิดการแสวงหาความร่วมมือและ              ราชการไทย
สร ้างเครือข่ายกับฝ่ ายต่าง ๆ รวมทังเปิ ดให ้
                                   ้
                             ่
          ประชาชนเข ้ามามีสวนร่วม



                 เก่ง                           • โครงการพ ัฒนาคุณภาพการบริหารจ ัดการภาคร ัฐเพือเสริมสร้างความ
                                                  เปนเลิศในการปฏิบ ัติราชการ
                                                    ็
                                                                                                     ่
    ่ ่
  มุงสูการเป็ นองค์การทีมขดสมรรถนะสูง
                             ่ ี ี
บุคลากรมีความพร ้อมและความสามารถ ใน             • โครงการวางระบบการบริหารการเรียนรูโดยอาศยสออิเล็กทรอนิกส ์
                                                                                        ้      ั ื่
การเรียนรู ้ คิดริเริม เปลียนแปลง และปรับตัว
                     ่     ่                    • โครงการปร ับกาล ังคนภาคร ัฐเพือรองร ับโลกาภิว ัตน์
                                                                                ่
  ได ้อย่างเหมาะสมต่อสถานการณ์ตาง ๆ  ่



                   ดี
 สร ้างระบบการกากับดูแลตนเองทีด ี เกิด
                                 ่                                ่                                    ่
                                                • โครงการปร ับเปลียนกระบวนท ัศน์ ค่านิยม ว ัฒนธรรม และสงเสริม
ความโปร่งใส มั่นใจ และสามารถตรวจสอบ               จริยธรรมในระบบราชการไทย
ได ้ รวมทังทาให ้บุคลากรปฏิบัตงานอย่างมี
          ้                   ิ                 • โครงการพ ัฒนาระบบการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ
 จิตสานึกความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อ
                        ั
      ประชาชน และต่อสงคมโดยรวม
ปัจจัยเงือนไขแห่ งความสาเร็จในการ
         ่
พัฒนาระบบราชการไทย

1. การสร้างความเปนเจ้าของในการบริหารการเปลียนแปลง
                 ็                         ่
      ต ้องมีก ารเสริม สร า งภาวะผู ้น าของผู ้บริห ารระดั บ สูง ในแต่ ล ะหน่ ว ยงานให ้มีค วามสนใจและ
                           ้
        สนับสนุนในเรืองการบริหารการเปลียนแปลงอย่างจริงจัง รวมถึงการกาหนดให ้มีผู ้บริหารระดับสูง
                     ่                 ่
        เพื่อทาหน ้าทีแ ละรั บผิด ชอบผลักดันการบริหารการเปลียนแปลงเป็ นการเฉพาะและปฏิบัตงาน
                      ่                                     ่                           ิ
                             ่
        อย่างเต็มเวลาในแต่ละสวนราชการ
      กาหนดให ้แต่ล ะหน่ วยงานต ้องมีการวางเป้ าหมายทีพง ประสงค์ใ นการพั ฒนาระบบบริหารงาน
                                                       ่ ึ
        รวมทังดาเนินการกาหนดให ้แต่ละหน่วยงานต ้องมีการวางเป้ าหมายทีพงประสงค์ในการพัฒนา
             ้                                                       ่ ึ
        ระบบบริหารงาน รวมทั งดาเนินการจั ดทาแผนปฏิบัตการของงานให ้มีค วามชัดเจนและสามารถ
                            ้                        ิ
              ่
        นาไปสูการเปลียนแปลงได ้อย่างแท ้จริง
                     ่
      ยกระดั บ ความส าคั ญ และเสริม สร ้างขีด ความเข ้มแข็ ง ของกลุ่ม พั ฒ นาระบบบริหาร ให ้สามารถ
        รั บ ผิด ชอบในการขั บ เคลื่อ นแผนปฏิบั ต ก ารเกีย วกับ การพั ฒ นาระบบบริห ารราชการของแต่ล ะ
                                                 ิ      ่
                 ่
        กระทรวงสูการปฏิบัตได ้อย่างบรรลุผล
                          ิ
      ต ้องมีการจั ด สรรงบประมาณเพื่อลงทุนในการพั ฒนาองค์การและทรั พยากรบุคคลให ้แก่แต่ล ะ
        หน่วยงานอย่างเหมาะสมและเพียงพอ
ปัจจ ัยเงือนไขแห่งความสาเร็จในการ
          ่
พ ัฒนาระบบราชการไทย (ต่อ)

2. การร่วมเปนเจ้าภาพในการพ ัฒนาระบบราชการ
            ็

      ่
    สงเสริมให ้หน่วยงานของรัฐพัฒนาขีดความสามารถในการปฏิบัตราชการ ให ้สามารถเทียบเคียง
                                                           ิ
                                                      ิ
     กับ ภาคเอกชน หรือ หน่ ว ยงานในภาครั ฐ ที่ม ป ระส ท ธิภ าพสูง กว่า หรือ องค์ก รที่เ ป็ นผู ้น าที่เ ป็ น
                                                ี
          ึ                       ิ                                   ้
     กรณีศกษา เพือเป็ นพั นธมิตรเชงยุทธศาสตร์ ร่วมกับ ก.พ.ร. และนามาใชเป็ นต ้นแบบเพือการ
                 ่                                                                   ่
     เทียบเคียง (Benchmarking)          และเป็ นศูนย์ถ่ายทอดองค์ความรู ้ ในเรืองต่าง ๆ เกียวกับการ
                                                                              ่           ่
     พัฒนาระบบราชการให ้แก่หน่วยงานอืน ๆ ต่อไป
                                     ่
      ่                          ่ื
    สงเสริมให ้มีกลไกประสานและเชอมโยงการทางานของหน่ วยงานกลางเข ้าด ้วยกัน เพือให ้การ
                                                                               ่
     ขับ เคลื่อนนโยบายและยุท ธศาสตร์ก ารพั ฒนาระบบราชการเป็ นไปในทิศ ทางเดียวกัน อย่า งมี
     เอกภาพ
                                                ้    ่ ่
    แสวงหาความร่วมมือจากภาคธุรกิจเอกชนให ้มากขึน เพือชวยแลกเปลียน ถ่ายทอดประสบการณ์
                                                                ่
     ความรู ้ หรือเทคโนโลยีบางอย่างให ้แก่ข ้าราชการและหน่วยงานของรัฐ ในฐานะบรรษั ทพลเมือง
                                         ึ่                  ั
     ทีด ี (Good Corporate Citizenship) ซงมีความรับผิดชอบต่อสงคม
       ่
                         ึ
    ร่วมมือกับสถาบันการศกษาและองค์กรการพัฒนาระหว่างประเทศเพือสร ้าง “ศูนย์นวัตกรรมเพือ
                                                             ่                        ่
                                  ึ                   ึ
     การพัฒนาระบบราชการไทย” ในการศกษาวิจัย สร ้างกรณีศกษาต ้นแบบ และแสวงหานวัตกรรม
                    ่            ้
     และความคิดริเริมใหม่มาปรับใชกับการพัฒนาระบบราชการของไทย รวมทังเปิ ดให ้ประชาชนและ
                                                                  ้
     ข ้าราชการได ้แสดงความคิดเห็น แนะนาการปรับปรุงการทางานของราชการ
การนาร่ องข้ อริเริ่มในการพัฒนาระบบราชการ
ร่ วมกับหน่ วยงานต่ างๆ

  1. การจ ัดทาแผนปฏิบ ัติการของกระทรวง

  ส า นั ก ง า น ก . พ . ร . ก า ลั ง ด า เ นิ น ง า น ร่ ว ม กั บ ก ร ะ ท ร ว ง ส า ธ า ร ณ สุ ข ร ว ม ทั ้ ง
  กระทรวงการคลัง กระทรวงพลังงาน และกระทรวงอุตสาหกรรม ในการนาร่องเพือจัดทา
                                                                   ่
  แผนปฏิบัต การในการพั ฒนาระบบราชการของกระทรวงเป็ นการเฉพาะ เพื่อถ่ายทอด
            ิ
  ประเด็นยุทธศาสตร์เกียวกับการปรับปรุงระบบการบริหารงานหรือการเสริมสร ้างธรรมาภิ
                      ่
                  ิ                         ่
  บาล ตามแผนปฏิบัตราชการ ๔ ปี ของกระทรวงไปสูการปฏิบัตให ้บัง เกิดผลอย่างเป็ น
                                                     ิ
  รูปธรรม มีลักษณะเฉพาะของตนเองมากขึน เกิดความสัมพันธ์เชอมโยงและบูรณาการ
                                    ้                   ี่
  ร่ ว มกั น ภายในกระทรวง และสอดรั บ กั บ แผนการบริห ารราชการแผ่ น ดิน และแผน
  ยุทธศาสตร์การพั ฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2551 - พ.ศ. 2555) อันจะทาให ้การ
  บริห ารการเปลี่ ย นแปลงของกระทรวงด าเนิ น ไปอย่ า งเป็ นระบบและสามารถวั ด
     ั
  ผลสมฤทธิได ้
          ์
การนาร่ องข้ อริเริ่มในการพัฒนาระบบราชการ
ร่ วมกับหน่ วยงานต่ างๆ (ต่ อ)

  2. การจ ัดทาคาร ับรองและประเมินผลการปฏิบ ัติราชการระหว่างกระทรวง
      ่                      ั
  และสวนราชการระด ับกรมในสงก ัด

  ส านั กงาน ก.พ.ร. ได ร่ ว มกั บ กระทรวงการคลั ง กระทรวงพลั ง งาน และกระทรวง
                       ้
  อุตสาหกรรม ในการนาร่องการจั ดทาคารับรองและประเมินผลการปฏิบัตราชการรูปแบบ
                                                              ิ
  ใหม่ โดยโอนถ่ายให ้สานั กงานปลัดกระทรวงในฐานะเป็ นศูนย์อานวยการ (Nerve Center)
  มีอ ส ระในการท าหน า ที่เ ป็ นผู ้จั ด ท ากรอบและรายละเอีย ดการประเมิน ผล รวมทั ง เป็ น
      ิ              ้                                                            ้
  ผู ้รับผิดชอบดาเนินการเจรจาเพือจัดทาคารับรองการปฏิบัตราชการและติดตามประเมินผล
                                ่                      ิ
                ่                  ั
  ความสาเร็จของสวนราชการระดับกรมในสงกัดได ้ด ้วยตนเอง ภายใต ้กรอบที่ ก.พ.ร. วาง
                  ึ่
  หลั ก การไว ้ ซ ง คณะรั ฐ มนตรีไ ด ้มีม ติรั บ ทราบการด าเนิน งานเพื่อ การด าเนิน การน าร่อ ง
  ดั ง กล่า วแล ้ว เมื่อ วั น ที่ 11 มีน าคม 2551 ทั ง นี้ การปรั บ ปรุ ง ดั ง กล่า วจะช ่ว ยท าให ้การ
                                                     ้
             ิ
  บริหารงานเชงยุทธศาสตร์และถ่ายทอดยุทธศาสตร์ภายในกระทรวง รวมทังการกาหนด
                                                              ้
  ตัวชวัดและค่าเป้ าหมาย มีความยืดหยุ่นคล่องตัวและตรงตามวิสัยทัศน์ ศักยภาพและขีด
      ี้
  สมรรถนะของกระทรวงมากขึน
                        ้
การนาร่ องข้ อริเริ่มในการพัฒนาระบบราชการ
ร่ วมกับหน่ วยงานต่ างๆ (ต่ อ)
   3. ระบบบริหารยุทธศาสตร์องค์การภาคร ัฐสูระบบอิเล็กทรอนิกส ์
                                          ่
    ส านั ก งาน ก.พ.ร.ได พั ฒ นาระบบบริห ารยุ ท ธศาสตร์ อ งค์ก ารภาครั ฐ สู่ ร ะบบอิเ ล็ ก ทรอนิ ก ส ์
                         ้
    (Government Strategic Management System: GSMS) ตามมติคณะรัฐมนตรีเมือวันที่ 20
                                                                       ่
    ธั น วาคม 2548 ซ ึ่ง อยู่ ร ะหว่ า งการด าเนิ น งานน าร่ อ งในเรื่ อ งการท่ อ งเที่ย วของกลุ่ ม จั ง หวั ด
    ภาคเหนือ 1.1 (เชยงใหม่ เชยงราย ลาพูน ลาปาง พะเยา แพร่ น่ าน แม่ฮ่องสอน) กลุ่มจังหวัด
                    ี        ี
    ภาคใต ้ 8.3 (ภู เ ก็ ต พั งงา กระบี่ ) และ กลุ่ ม จั ง หวั ด ภาคกลาง 3.1 (นนทบุ รี ปทุ ม ธานี
    พระนครศรีอ ยุธ ยา อ่างทอง) โดยได ้มีก ารจั ด ทาแผนที่ยุท ธศาสตร์ด ้านการท่อ งเทีย ว ร่ว มกับ
                                                                                    ่
    กระทรวงการท่อ งเที่ย วและกีฬ า รวมทั ง ด าเนิน การออกแบบและทดสอบระบบการท างานบน
                                         ้
                    ึ่               ่                        ิ
    ฐานข ้อมูลจริง ซงโปรแกรมดังกล่าวชวยทาให ้กระบวนการบริหารเชงยุทธศาสตร์เป็ นไปอย่างครบ
    วงจรตังแต่การวางยุทธศาสตร์ การจั ดทาโครงการและงบประมาณ ไปจนถึงการตรวจสอบและ
          ้
    ประเมินผล รวมทังยังสามารถเชอมต่อเข ้ากับระบบการบริหารการการเงินการคลังภาครัฐสู่ระบบ
                   ้           ื่
    อิเล็กทรอนิกส ์ (Government Fiscal Management Information System: GFMIS) ทาให ้
    สามารถรายงานผลทางการเงินและผลการด าเนินงานแก่ผู ้บริหารได ้ในแบบออนไลน์เรียลไทม์
    ทังนี้ ระบบดั งกล่าวยังได ้ออกแบบให ้สามารถรองรั บ ต่อการบริหารงานจั งหวัด และกลุ่ม จั งหวัด
      ้
    แบบบูรณาการ โดยเฉพาะการจัดสรรงบประมาณโดยตรงให ้แก่จังหวัดและกลุมจังหวัด
                                                                   ่
การนาร่ องข้ อริเริ่มในการพัฒนาระบบราชการ
ร่ วมกับหน่ วยงานต่ างๆ (ต่ อ)

 4. การเสริมสร้างขีดสมรรถนะสาน ักบริหารยุทธศาสตร์กลุมจ ังหว ัด
                                                    ่

 ส านั ก งาน ก.พ.ร. ได ้ร่ว มกับกระทรวงมหาดไทย ในการเตรีย มการและเสริม สร ้างขีด
 สมรรถนะของส านั ก บริห ารยุท ธศาสตร์ก ลุ่ม จั ง หวั ด โดยมีก ารน าร่ อ งในกลุ่ม จั ง หวั ด
 ภาคเหนือ ตอนบน (เช ย งใหม่ ล าพูน ล าปาง แม่ฮอ งสอน) ก่อ นจะขยายผลไปสู่ก ลุ่ม
                    ี                         ่
                                                     ึ่
 จั ง หวั ด อืน ให ้ครบทุก กลุ่ม จั ง หวั ด ต่อ ไป ซ ง มีข อบเขตการด าเนิน งานที่ส าคั ญ ได ้แก่
              ่
     ึ
 การศกษาวิเคราะห์เพือวางรูปแบบการบริหารการพัฒนากลุมจังหวัดและจังหวัด รวมถึง
                    ่                             ่
 การออกแบบโครงสร ้าง บทบาท หน ้าที่ และระบบงานของสานั กบริหารยุทธศาสตร์กลุม
                                                                          ่
 จังหวัด ตลอดจนการจัดความสัมพันธ์เชอมโยงกับหน่วยงานในสวนกลางและหน่วยงาน
                                   ื่                 ่
                                   ่
 ในระดับจังหวัด รวมถึงองค์กรปกครองสวนท ้องถิน นอกจากนี้ยังได ้มีการถ่ายทอดความรู ้
                                            ่
 ความเข ้าใจเกียวกับการบริหารงานกลุ่มจั งหวัด /จั งหวั ดแบบบูรณาการ ให ้แก่ผู ้บริหาร
               ่
                  ่                                                  ั
 และบุคลากรของภาคสวนต่างๆ ทีเกียวข ้องทังภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสงคม
                            ่ ่         ้
การนาร่ องข้ อริเริ่มในการพัฒนาระบบราชการ
ร่ วมกับหน่ วยงานต่ างๆ (ต่ อ)

    5. การพ ัฒนาคุณภาพการบริหารจ ัดการภาคร ัฐ

    ส านั ก งาน ก.พ.ร. ได ้ร่ ว มกั บ กระทรวงพลั ง งานและจั ง หวั ด นครราชส ีม า ในการพั ฒ นา
    องค์ก ารสู่ค วามเป็ นเลิศ ตามเกณฑ์คุณ ภาพการบริห ารจั ด การภาครั ฐ โดยมีก ารวิเ คราะห์
    ครอบคลุ ม องค์ป ระกอบทั ้ง 7 ด า นได แ ก่ การน าองค์ก าร การวางยุ ท ธศาสตร์ การให ้
                                   ้     ้
    ความส าคั ญ ต่ อ ลู ก ค ้าผู ้รั บ บริก ารและผู ้มีส่ ว นได ส่ ว นเส ีย ข ้อมู ล สารสนเทศและความรู ้
                                                                ้
                                                                ้
    ทรัพยากรบุคคล กระบวนงาน และผลลัพธ์ของการดาเนินงาน เพือนาไปใชในการวางแผน
                                                         ่
    ปรับปรุงองค์การอย่างต่อเนือง ในสวนของกระทรวงพลังงานนั นได ้มีการเสริมสร ้างศักยภาพ
                              ่     ่                     ้
                            ่
    และความพร ้อมในการมุ่งสูความมีขดสมรรถนะสูง เน ้นการพั ฒนาพลังงานควบคู่ไปกับการ
                                   ี
              ิ่
    อนุรักษ์ สงแวดล ้อม การทางานเพือประชาชน สร ้างวัฒนธรรมองค์การทีมความมุ่งมั่นตังใจ
                                   ่                               ่ ี            ้
           ิ
    ทางานเชงรุก พัฒนาบุคลากรให ้มีขดความสามารถในการควบคุมและกากับดูแลกิจการด ้าน
                                   ี
                                                        ่                  ี
    พลังงาน การบริหารงานด ้วยระบบทีมคุณภาพและทันสมัย ในสวนของจังหวัดนครราชสมา
                                   ่ ี
                                                                            ิ
    นั นมุงเน ้นให ้ทุกหน่วยงานในจังหวัดมองภาพแบบองค์รวม เน ้นการบริหารงานเชงบูรณาการ
       ้ ่
                                   ิ                                        ิ
    สามารถตอบสนองต่อเป้ าประสงค์เ ชงยุทธศาสตร์ข องจั งหวัด ได ้อย่างมีป ระส ทธิผล และ
                                                 ิ
    ปรับปรุงการปฏิบัตราชการให ้เป็ นไปอย่างมีประสทธิภาพ
                     ิ
การนาร่ องข้ อริเริ่มในการพัฒนาระบบราชการ
ร่ วมกับหน่ วยงานต่ างๆ (ต่ อ)
                            ่
    6. การบริหารราชการแบบมีสวนร่วม
    ส านั ก งาน ก.พ.ร.ร่ ว มกั บ ส่ว นราชการและเครือ ข่า ยภาคประชาชน ในการผลั ก ดั น ระบบการบริห าร
    ราชการแบบมีส่วนร่วมและทาให ้การมีส่วนร่วมของประชาชนกลายเป็ นวัฒ นธรรมและค่านิยมในการ
                                                                                         ิ
    ทางานของระบบราชการ โดยมุ่งเน ้นในการเสริมสร ้างทักษะ ความรู ้ความเข ้าใจ และทัศนคติเชงบวก
    ให ้แก่ทกฝ่ ายทีเกียวข ้อง กล่าวคือ
            ุ       ่ ่

         ภาคราชการ ได ้มีก ารนาร่อ งใน ๓ หน่ ว ยงานได ้แก่ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงพั ฒ นา
          สงคมและความมั่นคงของมนุษย์ และกรมประชาสัมพันธ์ เพือพัฒนารูปแบบการมีสวนร่วมในการ
           ั                                                ่                 ่
                                                                 ่
          กาหนดนโยบายสาธารณะและการเปิ ดโอกาสให ้ประชาชนเข ้ามามีสวนร่วมในการบริหารงานของ
                                               ่                             ่
          ทางราชการ และใน 75 จังหวัด เพือเปิ ดชองทางให ้ประชาชนได ้เข ้ามามีสวนร่วมอย่างเป็ นระบบ
                                        ่
          ในการให ้ข ้อเสนอแนะเกียวกับการปรับปรุงและยกระดับคุณภาพการให ้บริการ
                                 ่
                          ่                                               ่
         ภาคประชาชน ได ้สงเสริมให ้มีการรวมกลุมจัดตังเป็ นเครือข่ายการมีสวนร่วมของประชาชนใน
                                               ่     ้
          การพั ฒ นาระบบราชการใน 4 ภูม ภ าคได ้แก่ภ าคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง
                                       ิ
                                                                     ่                          ิ
          และภาคใต ้ รวมทังการสร ้างความรู ้ความเข ้าใจเกียวกับการมีสวนร่วมของประชาชนให ้แก่สมาชก
                          ้                               ่
          เครือข่ายและผู ้ทีเกียวข ้อง โดยอาศัย เทคนิค วิธการเพื่อให ้ประชาชนได ้เข ้ามาร่วมรั บ รู ้ แสดง
                            ่ ่                           ี
          ความคิด เห็ น และสามารถตรวจสอบคุ ณ ภาพการให ้บริก ารและผลการปฏิบั ต ง านของส่ ว น
                                                                              ิ
          ราชการได ้อย่างเป็ นระบบ (People’s Audit)
ยุทธศาสตร์การท่องเทียว ่
                                 กลุมจ ังหว ัด
                                    ่                                                        (กลุมจ ังหว ัดภาคตะว ันออก )
                                                                                                 ่
                 Value Chains
                                                                                                        พัฒนาศักยภาพ                  การควบคุม                 พัฒนาระบบ
                      พัฒนา                                                       พัฒนา                  ผู ้ประกอบการ
                                                  พัฒนา                                                                             มาตรฐานอยูใน
                                                                                                                                               ่                ิ
                                                                                                                                                               สทธิประโยชน์
                                                                            ด ้านการตลาดและ              ท่องเทียวและ
                                                                                                                   ่
                  แหล่งท่องเทียว
                              ่                ระบบคมนาคม                                                                            เกณฑ์ Eco-               ให ้เกิดการลงทุน
                                                                                     ั
                                                                               ประชาสมพันธ์              อุตสาหกรรม                  Destination              จากต่างประเทศ
                                                                                                             ใกล ้เคียง
กระทรวง/กรม




                                                                                  โครงการส่งเสริม                                         โครงการปร ับปรุงและ
                      โครงการปร ับปรุง            โครงการสร้างเพิม
                                                                 ่             และสน ับสนุนการพ ัฒนา                                   พ ัฒนาศูนย์ร ับแจ้งเหตุและ   โครงการส่งเสริมการลงทุน
                      ระบบนิเวศชายฝั่ง         ช่องทางจราจรทางหลวง           แหล่งท่องเทียวเชิงสุขภาพ
                                                                                         ่                                                ให้บริการน ักท่องเทียว
                                                                                                                                                              ่        ภาคธุรกิจท่องเทียว
                                                                                                                                                                                       ่
                     (กระทรวงทร ัพยากร                ่      ่ ิ
                                               เพือเชือมโยงสูอนโดจีน
                                                  ่                           (กระทรววงการท่องเทียว่                                    (กระทรวงการท่องเทียว    ่            (BOI)
                         ธรรมชาติ                (กระทรวงคมนาคม)                      และกีฬา)                                                  และกีฬา)
                            ่
                       และสิงแวดล้อม)
 กลุมจ ังหว ัด




                                                                                                                  โครงการพ ัฒนา                โครงการพ ัฒนาระบบ
                                                                                                                    บุคลากรและ                ความปลอดภ ัยและการให้
                                                                                                                   ผูประกอบการ
                                                                                                                     ้                           บริการประชาชน
                                                                                                                 ด้านการท่องเทียว
                                                                                                                               ่                 เมือมีเหตุฉุกเฉิน
                                                                                                                                                    ่
    ่
จ ังหว ัด




                        โครงการท่องเทียว่                                                                                                 โครงการฝึ กอบรม
                                                                            โครงการจ ัดงานประเพณี           โครงการยุวม ัคคุเทศก์
                        เกษตรเชิงอนุร ักษ์                                                                                               อาสาสม ัครดานาเพือ
                                                                                                                                                         ้ ่
                                                                                   ประจาปี                      (จ.จ ันทบุร)
                                                                                                                           ี
                           (จ.ชลบุร)
                                   ี                                                                                                     ช่วยเหลือผูประสบภ ัย
                                                                                                                                                    ้
                                                                                  (จ.ตราด)
                                                                                                                                              (จ.ชลบุร)ี
ท้องถิน




                          โครงการปร ับปรุง
      ่




                      ท ัศนียภาพเพือส่งเสริม
                                    ่                  โครงการก่อสร้าง
                      การท่องเทียวและร ักษา
                                ่                    ท่าเทียบเรือขนาดเล็ก
                                  ่
                       คุณภาพสิงแวดล้อม
 เอกชน




                                 โครงการสร้าง
                            แหล่งท่องเทียวทางเลือก
                                        ่
                                  (Spa, Zoo)
Knowledge Management

     Intelligence   Human, judgemental

                    Contextual, tacit
 Knowledge          Transfer needs learning



 Information
                      Codifiable, explicit
                      Easily transferable
   Data
การ จ ัดการความรูในองค์กร
                   ้
  7. การเรียนรู ้                                                          ี้
                                                                1. การบ่งชความรู ้
  (Learning)
                                                                  (Knowledge
                                                                    Identification)
 6. การแบ่งปัน
แลกเปลียนความรู ้
       ่
 (Knowledge
   Sharing)
                                 4.                   1.
                              ถ่ายทอด             สารวจความรู ้
 5. การเข้าถึง
    ความรู ้
 (Knowledge
   Access)                                KM
                                  3.                   2.
 4. การประมวลและ
  กลนกรองความรู ้
     ่ั
                              จ ัดเก็บ              รวบรวม
    (Knowledge
 Codification and             ั
                             สงเคราะห์              พ ัฒนา
   Refinement)

                     3. การจ ัดความรูให้เปนระบบ
                                     ้    ็             2. การสร้างและแสวงหาความรู ้
                    (Knowledge Organization)             (Knowledge Creation and
                                                               Acquisition)
แผนการบริหารราชการ
แผ่นดิน (พ.ศ. 2548-2551)




                     แผนปฏิบ ัติราชการ 4 ปี




                                         แผนปฏิบ ัติราชการประจาปี




  ผลล ัพธ์                 ผลล ัพธ์           ผลผลิต กิจกรรม
  สุดท้าย                                     ทร ัพยากร
Strategy Formulation
                    แผนการบริหารราชการแผ่ นดิน (2548-2551)

                           แผนปฏิบัตราชการ 4 ปี
                                    ิ
                       S               Vision
                       W           Strategic Issue
                       O               Goal
                                      (KPI / target)

Strategic Control
                       T             Strategies
                                                        Strategy Implementation


                                                              Action Plan
                             Strategic
                            Management                 Risk Assessment & Management
                              Process
                                                         Structure      Process/IT
                                                                 Alignment
                                                         Rule &              People/
                                                        Regulation           Culture
                                                           Blueprint for Change
การวางยุทธศาสตร์                การนายุทธศาสตร์ไปปฏิบต ิ
                                                                ั
        Strategy Formulation              Strategy Implementation
แผนการบริหารราชการแผ่นดิน 4 ปี                 แผนปฏิบตราชการรายปี
                                                      ั ิ

          แผนปฏิบตราชการ 4 ปี
                 ั ิ
                                               Action Plan
   S
   W                 วิสัยทัศน์
                                                              ี่
                                            การวิเคราะห์ความเสยง
   O             ประเด็นยุทธศาสตร์          (Risk)
   T                 เปาประสงค์
                       ้
                   (ตัวชี้วดและเปาหมาย)
                           ั     ้            Structure    Process
                      กลยุทธ์                 โครงสร้ าง   กระบวนการ

                                                  IT        People
               ิ
       การคิดเชงยุทธศาสตร์                    เทคโนโลยี       คน
       (Strategic Thinking)
                                          การปร ับแต่ง (Alignment)
การวางยุทธศาสตร์ (Strategy Formulation)

 Vision    .............................................................................
 Strategic
 Themes      Detroit of Asia      King & Queen
                                  of Fruit
                                                       Entertainment
                                                       Complex             ………
 (Issues)
 Values
                  Strategy Map (logic model)          Corporate Scorecard                Action Plan
Perspectives
                                   Objectives           Measurement   Targets       Initiatives   Budget
    Run the
    Business
     ประสิทธิผล
    Serve the
    Customer
     คุณภาพ
     Manage
    resources
    ประสิทธิภาพ
      Build
     Capacity
    พัฒนาองค์กร
                                                Business Unit Scorecard
                                                                           Team / Individual Scorecard
เปาหมายผลิตภั ณฑ์มวลรวมของกลุ่มจั งหวั ด ในปี 2551
 ้
   ล้านบาท
   1,400,000
                                                                        150,000 - 200,000 1.1-1.2 ล้ านล้ าน
   1,200,000

   1,000,000                                       250,000 - 300,000
                                                                       growth with strategy
                                                                          (2548-2551)          100%++
    800,000                    150,000 - 200,000
                                                      natural growth
    600,000      557,033                                (2548-51)
                             Add. GPP 2544-47 (Est)                                           557,033
    400,000

    200,000

          0
                 2543p (อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 7.8%)                            2548-51 (Goals)

- เพิมขึ้นอย่ างน้อย 1 เท่าตัวจากฐาน GPP ปี 2543 (หรือเพิมขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 10-12 ต่อปี )
     ่                                                   ่
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ

เทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราเทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารรา
guest4439f1
 
恐怖份子的家園
恐怖份子的家園恐怖份子的家園
恐怖份子的家園
honan4108
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลงการบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
Radanat Chiachai
 
บริหารราชการไทย 6
บริหารราชการไทย 6บริหารราชการไทย 6
บริหารราชการไทย 6
Saiiew
 
บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4
Saiiew
 
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิชเปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
แผนงาน นสธ.
 
Govern
GovernGovern
Govern
mean
 
Thai Bureaucracy
Thai BureaucracyThai Bureaucracy
Thai Bureaucracy
Saiiew
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
Chatnakrop Sukhonthawat
 
Hpo content2
Hpo content2Hpo content2
Hpo content2
i_cavalry
 
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทยแนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
Oppo Optioniez
 

Ähnlich wie ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ (20)

เทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราเทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารรา
 
恐怖份子的家園
恐怖份子的家園恐怖份子的家園
恐怖份子的家園
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลงการบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
 
บริหารราชการไทย 6
บริหารราชการไทย 6บริหารราชการไทย 6
บริหารราชการไทย 6
 
บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4
 
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิชเปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
 
ปัจจัยภายในองค์กรกับการเปลี่ยนแปลง
ปัจจัยภายในองค์กรกับการเปลี่ยนแปลงปัจจัยภายในองค์กรกับการเปลี่ยนแปลง
ปัจจัยภายในองค์กรกับการเปลี่ยนแปลง
 
Govern
GovernGovern
Govern
 
Govern
GovernGovern
Govern
 
งานสำคัญ
งานสำคัญงานสำคัญ
งานสำคัญ
 
Thai Bureaucracy
Thai BureaucracyThai Bureaucracy
Thai Bureaucracy
 
Thai Bureaucracy
Thai BureaucracyThai Bureaucracy
Thai Bureaucracy
 
หลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาลหลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาล
 
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
 
Hpo content2
Hpo content2Hpo content2
Hpo content2
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
Ntu2554
Ntu2554Ntu2554
Ntu2554
 
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทยแนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
 
Tic 1
Tic  1Tic  1
Tic 1
 

Mehr von Link Standalone

อบตศพอเพียง เสรี
อบตศพอเพียง เสรีอบตศพอเพียง เสรี
อบตศพอเพียง เสรี
Link Standalone
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
Link Standalone
 
เศรษฐกิจกับความมั่นคงแห่งชาติ
เศรษฐกิจกับความมั่นคงแห่งชาติเศรษฐกิจกับความมั่นคงแห่งชาติ
เศรษฐกิจกับความมั่นคงแห่งชาติ
Link Standalone
 
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
Link Standalone
 
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
Link Standalone
 
ตลาดทุนและการบริหารเงินลงทุน Handout
ตลาดทุนและการบริหารเงินลงทุน Handoutตลาดทุนและการบริหารเงินลงทุน Handout
ตลาดทุนและการบริหารเงินลงทุน Handout
Link Standalone
 
2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ
2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ
2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ
Link Standalone
 

Mehr von Link Standalone (9)

อบตศพอเพียง เสรี
อบตศพอเพียง เสรีอบตศพอเพียง เสรี
อบตศพอเพียง เสรี
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
 
เศรษฐกิจกับความมั่นคงแห่งชาติ
เศรษฐกิจกับความมั่นคงแห่งชาติเศรษฐกิจกับความมั่นคงแห่งชาติ
เศรษฐกิจกับความมั่นคงแห่งชาติ
 
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
 
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
 
ตลาดทุนและการบริหารเงินลงทุน Handout
ตลาดทุนและการบริหารเงินลงทุน Handoutตลาดทุนและการบริหารเงินลงทุน Handout
ตลาดทุนและการบริหารเงินลงทุน Handout
 
Rta income dist-5 jul
Rta income dist-5 julRta income dist-5 jul
Rta income dist-5 jul
 
Industry11
Industry11Industry11
Industry11
 
2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ
2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ
2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ
 

ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ

  • 1. การพัฒนาระบบราชการ โดย อาวุธ วรรณวงศ์ รองเลขาธิการ ก.พ.ร.
  • 3. โลกแห่งการเปลียนแปลง ่ ในแบบ non-linear Re-thinking Re-thinking the future ิ คิดเชงยุทธศาสตร์ Re-imagine Strategic thinking As the future catches you การบริหารการเปลียนแปลง ่ World out of balance Change management Information technology Bio-technology (life sciences) Nano-technology Re-managing
  • 4. The World is Flat The 10 World “Flatteners” • The Fall of the Berlin Wall • The New Age of Connectivity • Workflow Software • Uploading • Outsourcing • Offshoring • Supply Chaining • Insourcing • In-forming • Steroids
  • 5. Governing forward: New Directions for Public Leadership 1. Networked government: Moving beyond silos 2. Flexible government: Revamping workforce systems 3. Choice-based government: Letting citizens choose 4. Multi-channel government: Improving access 5. Personalized government: Catering to individual needs 6. Outcomes-based government: Focusing on results 7. Participatory government: Getting citizens involved Deloitte, Governing forward: New Directions for Public Leadership, Global perspectives 2006. (http://www.deloitte.com/dtt/cda/doc/content/dtt_dr_goingforward_03092006.pdf. 2006).
  • 6. Six Trends Transforming Government Trend One: Changing the Rules Trend Two: Using Performance Management Trend Three: Providing Competition, Choice, and Incentives Trend Four: Performing On Demand Trend Five: Engaging Citizens Trend Six: Using Networks and Partnerships IBM Center for The Business of Government, Six Trends Transforming Government: Providing Cutting-edge Knowledge to Government Leaders (http://www.businessofgovernment.org/pdfs/SixTrends.pdf 2006).
  • 7. ั วิสยท ัศน์ใหม่ของการพ ัฒนาระบบราชการไทย ั คณะกรรมการพ ัฒนาระบบราชการ ได้กาหนดวิสยท ัศน์ใหม่ ่ ของการพ ัฒนาระบบราชการ ในชวงระยะปี พ.ศ. 2551 - พ.ศ. 2555 ไว้ด ังต่อไปนี้ ระบบราชการไทยมุงเน้น ่ ประโยชน์สขของประชาชนและ ุ ร ักษาผลประโยชน์ของประเทศชาติ มีขดสมรรถนะสูง ี สามารถเรียนรู ้ ปร ับต ัวและตอบสนอง ต่อการเปลียนแปลง ่ โดยยึดมนในหล ักจริยธรรมและธรรมาภิบาล ่ั
  • 8. ระบบราชการไทยทีพงประสงค์จะต้องให้คณค่าความสาค ัญ ่ ึ ุ และยึดมนในปร ัชญา หล ักการ และแนวทาง ด ังต่อไปนี้ ่ั  ต ้องให ้ประชาชนเป็ น “ศูนย์กลาง” ในการทางาน รับฟั งความคิดเห็น และ ตอบสนองความต ้องการ ลดขันตอนและภาระในการติดต่อของประชาชน ้ ิ ิ แก ้ไขปั ญหาได ้อย่างมีประสทธิภาพและประสทธิผล เป็ นทีพงของ ่ ึ่ ประชาชนได ้  ปรับเปลียนบทบาทของระบบราชการให ้เป็ นผู ้สนับสนุนและอานวยความ ่ ้ สะดวก ปรับขนาดกาลังคนและใชทรัพยากรอย่างเหมาะสม ไม่แทรกแซง ิ และขยายตัวจนเป็ นภาระของประเทศ หรือกระทบต่อสทธิเสรีภาพขอ ประชาชน  ประสานการทางานกับผู ้บริหารราชการแผ่นดินฝ่ ายการเมืองเพือให ้เกิด ่ ประโยชน์สงสุดต่อประเทศ สามารถให ้ความคิดเห็นหรือข ้อเสนอแนะเชง ู ิ นโยบายอย่างมีเหตุผล ตังมั่นในความถูกต ้อง เป็ นกลาง ปราศจากอคติ ้ ่ ้ ี และอยูบนพืนฐานของหลักจรรยาบรรณวิชาชพ และไม่เข ้าไปแทรกแซง ่ ึ่ บทบาทและอานาจหน ้าทีซงกันและกัน ่  มีความพร ้อมและทัศนคติในการทางานเป็ นเครือข่ายร่วมมือกับภาคสวน ั ื่ อืนๆ ในสงคม และสามารถบูรณาการ เชอมโยงการทางานภายในระบบ ่ ราชการในทุกระดับเข ้าด ้วยกัน
  • 9. ปัญหา ของระบบ การปฏิรปู • ปรับรือโครงสร ้างการ ้ ราชการ ปี 2545 บริหารราชการแผ่นดิน ไทย • วางระบบบริหารสมัยใหม่ • สร ้างวัฒนธรรมการ ิ ทางานเชงรุก การสร้างว ัฒนธรรม ้ การปร ับรือโครงสร้าง การวางระบบงานสม ัยใหม่ ิ การทางานเชงรุก • ปร ับเปลียนให้หน่วยงานใน ่ • กาหนดยุทธศาสตร์/เปาหมาย ้ • การให้บริการทาง ่ สวนกลางมีขนาดเล็ กลง อิเล็กทรอนิกส ์ (E-service) • จ ัดทาคาร ับรองการปฏิบ ัติราชการ • ศูนย์บริการร่วม • ปร ับปรุงโครงสร้าง และ พ ัฒนาระบบการบริหาร • ติดตามประเมินผลเพือให้รางว ัล ่ • เคาน์เตอร์บริการประชาชน ่ ราชการในสวนภูมภาค และ ิ แรงจูงใจ • Call Center 1111 ในต่างประเทศแบบบูรณา • จ ัดระบบบริหารงานการคล ังภาคร ัฐ • หน่วยบริการเคลือนที่ ่ การ ด้วยระบบอิเล็ กทรอนิกส ์ (GFMIS) • สร้างจิตสานึกในการ ่ • สงเสริม/แปรสภาพ ให้บริการ กิจกรรม/ การดาเนินการ • การพ ัฒนาคุณภาพการให้บริการ บางอย่างเปนองค์กร ็ ่ ี ึ้ ประชาชนทีดขน ด้วยการลดขนตอนั้ • เปิ ดโอกาสให้ประชาชนมี ่ สวนร่วม มหาชน/ SDU และระยะเวลาการปฏิบ ัติราชการ ิ • มอบอานาจการต ัดสนใจ
  • 10. การปฏิรประบบราชการ ู การบริหารงานภาคร ัฐแนวใหม่ กระแสความเปนประชาธิปไตย ็ New Public Management Democratization (NPM) • เศรษฐศาสตร์นโอคลาสสค ี ิ • ประชารัฐ • Market mechanism • Participatory State • การจัดการสมัยใหม่ • ชุมชนนิยม • Managerialism • Communitarianism (Business-like approach) • ประชาธิปไตยทางตรง • Direct Democracy
  • 11. การปกครอง Government  Governance การบริหาร กิจการ ภาคประชาสงคมั บ้านเมือง Civil Society Citizens พลเมือง ความสมดุล Government/ Business Bureaucracy Enterprise ภาคร ัฐ ภาคเอกชน รัฐบาล/ระบบราชการ ธุรกิจ
  • 12. การปฏิรปภาคร ัฐ (Public Sector Reform) ู การบริหารกิจการบ้านเมืองทีด ี ่ (Good Governance) การบริหารงานภาคร ัฐแนวใหม่ กระแสความเปนประชาธิปไตย ็ New Public Management (NPM) Democratization • เศรษฐศาสตร์นโอคลาสสค ี ิ • ประชารัฐ Market mechanism Participatory State • การจัดการสมัยใหม่ • ชุมชนนิยม Modern management Communitarianism (Business-like approach) • ประชาธิปไตยทางตรง Direct Democracy • นิตรัฐ ิ Rule of Law
  • 13. หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ ้านเมืองทีด ี ่ • ่ การมีสวนร่วม (Participation) • ความโปร่งใส (Transparency) • การตอบสนอง (Responsiveness) • ภาระรับผิดชอบ (Accountability) • ิ ิ ประสทธิภาพ ประสทธิผล (Efficiency & Effectiveness) ั ิ – วิสยทัศน์เชงยุทธศาสตร์ (Strategic Vision) – ความคุ ้มค่า (Value for money) • คุณภาพ (Quality) • การกระจายอานาจ (Decentralization) • นิตธรรม (Rule of law) ิ • ความเสมอภาค/ความเทียงธรรม (Equity) ่ • การมุงเน ้นฉั นทามติ (Consensus oriented) ่
  • 14. การบริหารกิจการบ้านเมืองทีด ี ่ ิ Efficiency ประสทธิภาพ Participation Value-for-money ่ การมีสวนร่วมของประชาชน ความคุมค่าของเงิน ้ Transparency เปิ ดเผยโปร่งใส Responsiveness ตอบสนอง ิ Effectiveness ประสทธิผล Decentralization กระจายอานาจ Quality คุณภาพ Accountability for results ภาระร ับผิดชอบ ต่อผลงาน Rule of law นิตร ัฐ ิ
  • 15. การบริหารราชการ (แบบเดิม) การบริหารกิจการบ้านเมือง (ทีด) ่ ี • ทุจริตคอร ัปชน ่ั • ประหย ัด ประสทธิภาพิ ้ • เชาชาม เย็นชาม / ชา ้ คุมค่าเงิน ้ • ไม่ตอบสนองความ ิ • ประสทธิผล ต้องการของประชาชน • คุณภาพ • เจ้าขุนมูลนาย • ภาระร ับผิดชอบ ่ั • สงการตามสายการบ ังค ับ • เปิ ดเผยโปร่งใส บ ัญชา • ประชาชนมีสวนร่วม ่ • ทางานแบบต่างคนต่างทา • ตอบสนองความต้องการ • ยึดกฎระเบียบเปนหล ัก ็ ของประชาชน ขาดความยืดหยุน ่ (ประชาชนเปนศูนย์กลาง) ็ • คุณพ่อผูรด ี / เปนนาย ้ ู้ ็ • กระจายอานาจ ประชาชน • นิตธรรม/นิตร ัฐ ิ ิ
  • 16. คุณธรรม จริยธรรม และ ธรรมาภิบาล การปฏิบ ัติงาน (Operation) คุณธรรม ธรรมาภิบาล พฤติกรรม (Behavior) (Moral) (Good จริยธรรม Governance) (Ethics) กลไก ตนเอง ควบคุม โครงสร้าง ระบบ กระบวนการ ี ลดความสูญเสย ขจ ัดรูรวไหล ปองก ันการทุจริต ประพฤติ และ ่ั ้ ่ ิ ่ ิ ิ ดาเนินการทีมชอบ เพิมประสทธิภาพ ประสทธิผล ความคุมค่า ้ ื่ โปร่งใส ตอบสนอง สุจริต ซอตรง เทียงธรรม ่
  • 17. ระบบราชการไทยทีพงประสงค์จะต้องให้คณค่าความสาค ัญ ่ ึ ุ และยึดมนในปร ัชญา หล ักการ และแนวทาง ด ังต่อไปนี้ ่ั  ต ้องให ้ประชาชนเป็ น “ศูนย์กลาง” ในการทางาน รับฟั งความคิดเห็น และ ตอบสนองความต ้องการ ลดขันตอนและภาระในการติดต่อของประชาชน ้ ิ ิ แก ้ไขปั ญหาได ้อย่างมีประสทธิภาพและประสทธิผล เป็ นทีพงของ ่ ึ่ ประชาชนได ้  ปรับเปลียนบทบาทของระบบราชการให ้เป็ นผู ้สนับสนุนและอานวยความ ่ ้ สะดวก ปรับขนาดกาลังคนและใชทรัพยากรอย่างเหมาะสม ไม่แทรกแซง ิ และขยายตัวจนเป็ นภาระของประเทศ หรือกระทบต่อสทธิเสรีภาพขอ ประชาชน  ประสานการทางานกับผู ้บริหารราชการแผ่นดินฝ่ ายการเมืองเพือให ้เกิด ่ ประโยชน์สงสุดต่อประเทศ สามารถให ้ความคิดเห็นหรือข ้อเสนอแนะเชง ู ิ นโยบายอย่างมีเหตุผล ตังมั่นในความถูกต ้อง เป็ นกลาง ปราศจากอคติ ้ ่ ้ ี และอยูบนพืนฐานของหลักจรรยาบรรณวิชาชพ และไม่เข ้าไปแทรกแซง ่ ึ่ บทบาทและอานาจหน ้าทีซงกันและกัน ่  มีความพร ้อมและทัศนคติในการทางานเป็ นเครือข่ายร่วมมือกับภาคสวน ั ื่ อืนๆ ในสงคม และสามารถบูรณาการ เชอมโยงการทางานภายในระบบ ่ ราชการในทุกระดับเข ้าด ้วยกัน
  • 18. ระบบราชการไทยทีพงประสงค์จะต้องให้คณค่าความสาค ัญ ่ ึ ุ และยึดมนในปร ัชญา หล ักการ และแนวทาง ด ังต่อไปนี้ (ต่อ) ่ั  มีขดความสามารถในการรับรู ้ เรียนรู ้ สามารถคาดการณ์ลวงหน ้า มีความ ี ่ ยืดหยุนคล่องตัว รวดเร็ว สามารถคิดริเริมและสร ้างนวัตกรรม (agility) ่ ่ และการบริหารการเปลียนแปลงเพือขับเคลือนและปรับตัวได ้เหมาะสม ่ ่ ่ ทันต่อการเปลียนแปลงของสภาพแวดล ้อม ่  สร ้างระบบธรรมาภิบาลของตนเองทีดเพือให ้เกิดความโปร่งใสและความ ่ ี ่ ื่ ่ ้ เชอมั่นศรัทธา เปิ ดให ้ประชาชนเข ้ามามีสวนร่วม ลดการใชดุลพินจในการ ิ ิ ั ตัดสนใจ และมีความรับผิดชอบต่อสงคม ประพฤติปฏิบตให ้ถูกต ้องตาม ั ิ ั กฎหมาย ไม่สร ้างปั ญหาหรือภาระแก่สงคมเสยเอง ี ั  มีความเป็ นเลิศในการปฏิบตงานและสร ้างคุณค่าต่อสงคม ในการทางาน ั ิ ิ ั และการตัดสนใจ ทีถกต ้อง แน่นอน และทันกาล โดยอาศยเทคโนโลยี ่ ู ้ สมัยใหม่เข ้ามาประยุกต์ใชในการทางาน มีเป้ าหมายในการทางานที่ ั ั ชดเจนและสามารถตรวจสอบวัดผลสมฤทธิได ้ ์  แสวงหา พัฒนาและธารงรักษาบุคลากรทีมความรู ้ความสามารถ ค่านิยม ่ ี และกระบวนทัศน์อนเหมาะสมและเอือต่อการทางานแนวใหม่ ตลอดจนทา ั ้ ้ ่ ั ์ ให ้บุคลากรตังมั่นอยูในศกดิศรีและจรรยา สามารถแยกแยะผลประโยชน์ ่ สวนตนจากหน ้าทีทางการงาน ไม่แสวงหาประโยชน์ให ้แก่ตนเองหรือผู ้อืน ่ ่ ในทางมิชอบ
  • 19. ยุทธศาสตร์การพ ัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2551- พ.ศ. 2555) ประเด็น ประเด็น ยุทธศาสตร์ท ี่ 1 ยุทธศาสตร์ท ี่ 2 ยกระดับการให ้บริการและ ปรับรูปแบบการทางาน การทางานเพือตอบสนอง ่ ให ้มีลกษณะเชิงบูรณาการ ั ความคาดหวังและความต ้องการ เกิดการแสวงหาความร่วมมือ ของประชาชนทีมความสลับซบซ ้อน ่ ี และสร ้างเครือข่ายกับฝ่ ายต่าง ๆ หลากหลาย และเปลียนแปลง ่ รวมทังเปิ ดให ้ประชาชน ้ ไปอย่างรวดเร็ว ่ เข ้ามามีสวนร่วม ประเด็น ประเด็น ยุทธศาสตร์ท ี่ 4 ยุทธศาสตร์ท ี่ 3 สร ้างระบบการกากับดูแลตนเองทีด ี ่ ่ ่ มุงสูการเป็ นองค์การ เกิดความโปร่งใส มั่นใจ ทีมขดสมรรถนะสูง ่ ี ี และสามารถตรวจสอบได ้ บุคลากรมีความพร ้อม รวมทังทาให ้บุคลากรปฏิบตงาน ้ ั ิ และความสามารถ ในการเรียนรู ้ อย่างมีจตสานึกความรับผิดชอบ ิ คิดริเริม เปลียนแปลง ่ ่ ต่อตนเอง ต่อประชาชน และปรับตัวได ้อย่างเหมาะสม และต่อสังคมโดยรวม ต่อสถานการณ์ตาง ๆ่
  • 20. ประเด็นยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ ในการพ ัฒนาระบบราชการไทย ประเด็นยุทธศาสตร์ท ี่ 1 ยกระด ับการให้บริการและ ี ิ ประเด็นยุทธศาสตร์ท ี่ 2 ปร ับรูปแบบการทางานให้มล ักษณะเชง การทางานเพือตอบสนองความคาดหว ังและความต้องการของ ่ บูรณาการ เกิดการแสวงหาความร่วมมือ และสร้างเครือข่ายก ับ ่ ี ้ ประชาชนทีมความสล ับซบซอน หลากหลาย และเปลียนแปลง ่ ่ ้ั ่ ฝายต่าง ๆ รวมทงเปิ ดให้ประชาชนเข้ามามีสวนร่วม ไปอย่างรวดเร็ว 2.1 วางระบบการบริหารงานแบบบูรณาการภายในระบบราชการ ่ 1.1 สงเสริมให ้หน่วยงานภาครัฐปรับปรุงการให ้บริการประชาชนให ้มี ่ 2.2 สงเสริม ผลักดันให ้ให ้เกิดความร่วมมือกันระหว่างหน่วยงานกลางต่างๆ ความหลากหลาย ได ้รับการบริการทีสะดวก รวดเร็ว และสามารถ ่ ่ เพืออานวยความสะดวกในการดาเนินการของสวนราชการต่าง ๆ ่ ปรับตัวให ้ทันต่อเหตุการณ์ เพือตอบสนองความต ้องการของ ่ 2.3 จัดระบบบริหารราชการให ้เอือต่อการทางานร่วมกันเป็ นเครือข่ายกับ ้ ประชาชน ่ ภาคเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน องค์กรชุมชน และภาคสวนต่าง ๆ ใน ่ 1.2 สงเสริมสนับสนุนให ้มีกลไกการรับฟั งความคิดเห็นของประชาชน ่ ลักษณะเป็ นภาคี/พันธมิตร/หุ ้นสวนในการจัดบริการสาธารณะ และสามารถเข ้าถึงข ้อมูลข่าวสารและบริการของทางราชการได ้ ่ 2.4 สนับสนุนให ้ประชาชนเข ้ามามีสวนร่วมในการบริหารราชการ โดยสะดวก เป็ นธรรม และตรงตามความต ้องการ ประเด็นยุทธศาสตร์ท ี่ 4: สร้างระบบการกาก ับดูแลตนเองทีด ี ่ ่ ่ ประเด็นยุทธศาสตร์ท ี่ 3: มุงสูการเปนองค์การทีมขดสมรรถนะสูง ็ ่ ี ี เกิดความโปร่งใส มนใจ และสามารถตรวจสอบได้ รวมทงทาให้ ่ั ั้ บุคลากรมีความพร้อม และความสามารถ ในการเรียนรู ้ บุคลากรปฏิบ ัติงานอย่างมีจตสานึกความร ับผิดชอบต่อตนเอง ิ คิดริเริม เปลียนแปลง และปร ับต ัวได้อย่างเหมาะสมต่อ ่ ่ ั ต่อประชาชน และต่อสงคมโดยรวม สถานการณ์ตาง ๆ ่ 3.1 จัดให ้มีการวางยุทธศาสตร์การบริหารประเทศในระยะยาว (Scenario 4.1 เสริมสร ้างระบบคุณธรรม จริยธรรม ปรับกระบวนทัศน์ หล่อหลอม Planning) เพือคาดการณ์ปัจจัยต่าง ๆ ทีอาจเกิดขึนในอนาคตและ ่ ่ ้ วัฒนธรรมใหม่ ให ้เกิดขึนในหน่วยงานภาครัฐ ้ ผลกระทบต่อการบริหารกิจการบ ้านเมือง และกาหนดเป้ าหมายทีพง ่ ึ ิ 4.2 ปรับปรุงระบบการตัดสนใจและกากับตรวจสอบในการบริหาร ั ประสงค์และต ้องการบรรลุผลไว ้ วัดความก ้าวหน ้า และผลสมฤทธิ์ ราชการแผ่นดิน ั้ เพือประโยชน์ในการวางแผนพัฒนาระยะสน-ปานกลาง ตลอดจนการ ่ ่ 4.3 สงเสริมให ้หน่วยงานในภาครัฐมีการดาเนินการทีมความรับผิดชอบ ่ ี เตรียมการวางระบบบริหารงานและบุคลากรภาครัฐในอนาคต ั ต่อสงคม และชุมชน 3.2 ปรับปรุงบทบาท ภารกิจ และโครงสร ้างของภาครัฐ ให ้มีขนาดที่ 4.4 การสร ้างดุลยภาพระหว่างฝ่ ายการเมืองและราชการประจา เหมาะสม (Rightsizing) เกิดความคุ ้มค่าและรองรับกับสภาพแวดล ้อม ิ ่ ี ั ้ ในการปฏิบัตงานทีมความหลากหลายซบซอนมากขึน ้ 3.3 เสริมสร ้างให ้หน่วยงานภาครัฐมีความตืนตัว ตอบสนอง และไวต่อการ ่ เปลียนแปลง มีการบริหารจัดการทียดหยุน คล่องตัว สามารถปรับตัว ่ ่ ื ่ และมีความคิดริเริม ทันต่อสถานการณ์และความท ้าทายต่าง ๆ ได ้ ่ 3.4 ปรับปรุงขีดสมรรถนะของทรัพยากรบุคคลภาครัฐ ให ้สามารถเพิม ่ ผลิตภาพ และพัฒนาขีดความสามารถให ้มีความเป็ นมืออาชพ ี
  • 21. การนายุทธศาสตร์การพ ัฒนาระบบราชการไทย ่ ไปสูการปฏิบ ัติ การสร ้างระบบย่อย (Sub-systems) ในระบบราชการ โดยดาเนินการ ทบทวนบทบาทภารกิจ สอบทานพันธกิจ อานาจหน ้าที่ โครงสร ้าง ั ระบบงาน อัตรากาลัง ทรัพยากร และผลสมฤทธิ์ เพือออกแบบใหม่ ่ และนาเสนอพิมพ์เขียวต่อคณะรัฐมนตรีภายใน 6 เดือน • ต ้องยอมรับความแตกต่างหลากหลาย ไม่พยายามดึงให ้เข ้ามาอยูในระเบียบ ่ แบบแผนเดียวกันทังหมด ้ • ไม่ตงสมมติฐานว่าหน่วยงานราชการจะต ้องเป็ นผู ้ดาเนินการทุกอย่างเอง ั้ หรือพยายามปรับปรุงให ้ระบบราชการมีขดสมรรถนะสูงในภารกิจงานทีไม่ ี ่ ควรดาเนินการเองอีกต่อไปแล ้ว ้ • ใชยุทธวิธดาเนินการแบบคูขนานทังในแง่ของการขับเคลือนยุทธศาสตร์ให ้ ี ่ ้ ่ เคลือนตัวไปพร ้อมกันทังหมด และการเลือกเน ้นบางจุดมาดาเนินการพัฒนา ่ ้ ให ้บังเกิดผลก่อน
  • 22. แนวทางการวิเคราะห์เพือวางพิมพ์เขียวเพือการเปลียนแปลง ่ ่ ่ 1. ภารกิจ/งานนันยังจาเป็ นต ้องปฏิบตอยูหรือไม่ ? ้ ั ิ ่ ไม่ใช่ ยกเลิก ใช่ 2. ภารกิจ/งานนันมีหน่วยงานใดปฏิบตอยูแล ้วหรือไม่? ้ ั ิ ่ ไม่ใช่ 3. ภารกิจ/งานนันเป็ นภารกิจหลักใช่หรือไม่ ? ้ ใช่ ยกเลิก/รวม/โอนงาน ไม่ใช่ วิเคราะห์ความเป็ นไปได ้ในการแปรสภาพ/จ ้างเหมา ใช่ 4. ภารกิจ/งานนันสามารถมอบอานาจหรือกระจายอานาจไปให ้ราชการส่วนภูมภาค ้ ิ หรือองค์กรปกครองส่วนท ้องถินดาเนินการได ้หรือไม่ ? ่ ไม่ได ้ 5. ภารกิจ/งานนันสามารถดาเนินการโดยจัดตังเป็ น ้ ้ ได ้ หน่วยงานของรัฐรูปแบบอืนได ้หรือไม่? ่ โอนถ่าย ไม่ได ้ 6. ภารกิจ/งานนันจาเป็ นต ้องดาเนินการ ้ ได ้ โดยภาครัฐทังหมดหรือไม่ ? ้ จัดตังเป็ นหน่วยงานของรัฐรูปแบบอืน ้ ่ ไม่ใช่ วิเคราะห์ความเป็ นไปได ้ในการจ ้างเหมา ใช่ 7. ภารกิจ/งานนันมีการทบทวนอานาจหน ้าที่ การจัดโครงสร ้าง ้ ระบบงาน และการใช ้ทรัพยากรทีเหมาะสมหรือไม่ ? ่ วางแผนพัฒนาองค์การ ใช่ ไม่ใช่ จบการวิเคราะห์
  • 23. 10 โครงการสาคัญเพือรองรับยุทธศาสตร์ ด้านต่ าง ๆ ่ ตอบสนอง ท ันต่อการ • โครงการปร ับปรุงการให้บริการประชาชน เปลียนแปลง ่ ยกระดับการให ้บริการและการทางาน เพือ ่ • โครงการพ ัฒนาระบบการบริหารงานจ ังหว ัดและกลุมจ ังหว ัดแบบบูรณาการ ่ ตอบสนองความคาดหวังและความต ้องการ ั ่ • โครงการจ ัดระบบความสมพ ันธ์ระหว่างราชการบริหารสวนกลาง ของประชาชนทีมความสลับซบซอน ่ ี ั ้ ่ ิ ่ สวนภูมภาค และสวนท้องถิน ่ หลากหลายและเปลียนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ่ ่ มีสวนร่วม ่ ่ • โครงการสงเสริมการมีสวนร่วมของประชาชนในการบริหารกิจการบ้านเมือง ปรับรูปแบบการทางานให ้มีลักษณะเชง ิ ื่ • โครงการสอสารเพือการเปลียนแปลงตามแผนยุทธศาสตร์การพ ัฒนาระบบ ่ ่ บูรณาการ เกิดการแสวงหาความร่วมมือและ ราชการไทย สร ้างเครือข่ายกับฝ่ ายต่าง ๆ รวมทังเปิ ดให ้ ้ ่ ประชาชนเข ้ามามีสวนร่วม เก่ง • โครงการพ ัฒนาคุณภาพการบริหารจ ัดการภาคร ัฐเพือเสริมสร้างความ เปนเลิศในการปฏิบ ัติราชการ ็ ่ ่ ่ มุงสูการเป็ นองค์การทีมขดสมรรถนะสูง ่ ี ี บุคลากรมีความพร ้อมและความสามารถ ใน • โครงการวางระบบการบริหารการเรียนรูโดยอาศยสออิเล็กทรอนิกส ์ ้ ั ื่ การเรียนรู ้ คิดริเริม เปลียนแปลง และปรับตัว ่ ่ • โครงการปร ับกาล ังคนภาคร ัฐเพือรองร ับโลกาภิว ัตน์ ่ ได ้อย่างเหมาะสมต่อสถานการณ์ตาง ๆ ่ ดี สร ้างระบบการกากับดูแลตนเองทีด ี เกิด ่ ่ ่ • โครงการปร ับเปลียนกระบวนท ัศน์ ค่านิยม ว ัฒนธรรม และสงเสริม ความโปร่งใส มั่นใจ และสามารถตรวจสอบ จริยธรรมในระบบราชการไทย ได ้ รวมทังทาให ้บุคลากรปฏิบัตงานอย่างมี ้ ิ • โครงการพ ัฒนาระบบการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ จิตสานึกความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อ ั ประชาชน และต่อสงคมโดยรวม
  • 24. ปัจจัยเงือนไขแห่ งความสาเร็จในการ ่ พัฒนาระบบราชการไทย 1. การสร้างความเปนเจ้าของในการบริหารการเปลียนแปลง ็ ่  ต ้องมีก ารเสริม สร า งภาวะผู ้น าของผู ้บริห ารระดั บ สูง ในแต่ ล ะหน่ ว ยงานให ้มีค วามสนใจและ ้ สนับสนุนในเรืองการบริหารการเปลียนแปลงอย่างจริงจัง รวมถึงการกาหนดให ้มีผู ้บริหารระดับสูง ่ ่ เพื่อทาหน ้าทีแ ละรั บผิด ชอบผลักดันการบริหารการเปลียนแปลงเป็ นการเฉพาะและปฏิบัตงาน ่ ่ ิ ่ อย่างเต็มเวลาในแต่ละสวนราชการ  กาหนดให ้แต่ล ะหน่ วยงานต ้องมีการวางเป้ าหมายทีพง ประสงค์ใ นการพั ฒนาระบบบริหารงาน ่ ึ รวมทังดาเนินการกาหนดให ้แต่ละหน่วยงานต ้องมีการวางเป้ าหมายทีพงประสงค์ในการพัฒนา ้ ่ ึ ระบบบริหารงาน รวมทั งดาเนินการจั ดทาแผนปฏิบัตการของงานให ้มีค วามชัดเจนและสามารถ ้ ิ ่ นาไปสูการเปลียนแปลงได ้อย่างแท ้จริง ่  ยกระดั บ ความส าคั ญ และเสริม สร ้างขีด ความเข ้มแข็ ง ของกลุ่ม พั ฒ นาระบบบริหาร ให ้สามารถ รั บ ผิด ชอบในการขั บ เคลื่อ นแผนปฏิบั ต ก ารเกีย วกับ การพั ฒ นาระบบบริห ารราชการของแต่ล ะ ิ ่ ่ กระทรวงสูการปฏิบัตได ้อย่างบรรลุผล ิ  ต ้องมีการจั ด สรรงบประมาณเพื่อลงทุนในการพั ฒนาองค์การและทรั พยากรบุคคลให ้แก่แต่ล ะ หน่วยงานอย่างเหมาะสมและเพียงพอ
  • 25. ปัจจ ัยเงือนไขแห่งความสาเร็จในการ ่ พ ัฒนาระบบราชการไทย (ต่อ) 2. การร่วมเปนเจ้าภาพในการพ ัฒนาระบบราชการ ็ ่  สงเสริมให ้หน่วยงานของรัฐพัฒนาขีดความสามารถในการปฏิบัตราชการ ให ้สามารถเทียบเคียง ิ ิ กับ ภาคเอกชน หรือ หน่ ว ยงานในภาครั ฐ ที่ม ป ระส ท ธิภ าพสูง กว่า หรือ องค์ก รที่เ ป็ นผู ้น าที่เ ป็ น ี ึ ิ ้ กรณีศกษา เพือเป็ นพั นธมิตรเชงยุทธศาสตร์ ร่วมกับ ก.พ.ร. และนามาใชเป็ นต ้นแบบเพือการ ่ ่ เทียบเคียง (Benchmarking) และเป็ นศูนย์ถ่ายทอดองค์ความรู ้ ในเรืองต่าง ๆ เกียวกับการ ่ ่ พัฒนาระบบราชการให ้แก่หน่วยงานอืน ๆ ต่อไป ่ ่ ่ื  สงเสริมให ้มีกลไกประสานและเชอมโยงการทางานของหน่ วยงานกลางเข ้าด ้วยกัน เพือให ้การ ่ ขับ เคลื่อนนโยบายและยุท ธศาสตร์ก ารพั ฒนาระบบราชการเป็ นไปในทิศ ทางเดียวกัน อย่า งมี เอกภาพ ้ ่ ่  แสวงหาความร่วมมือจากภาคธุรกิจเอกชนให ้มากขึน เพือชวยแลกเปลียน ถ่ายทอดประสบการณ์ ่ ความรู ้ หรือเทคโนโลยีบางอย่างให ้แก่ข ้าราชการและหน่วยงานของรัฐ ในฐานะบรรษั ทพลเมือง ึ่ ั ทีด ี (Good Corporate Citizenship) ซงมีความรับผิดชอบต่อสงคม ่ ึ  ร่วมมือกับสถาบันการศกษาและองค์กรการพัฒนาระหว่างประเทศเพือสร ้าง “ศูนย์นวัตกรรมเพือ ่ ่ ึ ึ การพัฒนาระบบราชการไทย” ในการศกษาวิจัย สร ้างกรณีศกษาต ้นแบบ และแสวงหานวัตกรรม ่ ้ และความคิดริเริมใหม่มาปรับใชกับการพัฒนาระบบราชการของไทย รวมทังเปิ ดให ้ประชาชนและ ้ ข ้าราชการได ้แสดงความคิดเห็น แนะนาการปรับปรุงการทางานของราชการ
  • 26. การนาร่ องข้ อริเริ่มในการพัฒนาระบบราชการ ร่ วมกับหน่ วยงานต่ างๆ 1. การจ ัดทาแผนปฏิบ ัติการของกระทรวง ส า นั ก ง า น ก . พ . ร . ก า ลั ง ด า เ นิ น ง า น ร่ ว ม กั บ ก ร ะ ท ร ว ง ส า ธ า ร ณ สุ ข ร ว ม ทั ้ ง กระทรวงการคลัง กระทรวงพลังงาน และกระทรวงอุตสาหกรรม ในการนาร่องเพือจัดทา ่ แผนปฏิบัต การในการพั ฒนาระบบราชการของกระทรวงเป็ นการเฉพาะ เพื่อถ่ายทอด ิ ประเด็นยุทธศาสตร์เกียวกับการปรับปรุงระบบการบริหารงานหรือการเสริมสร ้างธรรมาภิ ่ ิ ่ บาล ตามแผนปฏิบัตราชการ ๔ ปี ของกระทรวงไปสูการปฏิบัตให ้บัง เกิดผลอย่างเป็ น ิ รูปธรรม มีลักษณะเฉพาะของตนเองมากขึน เกิดความสัมพันธ์เชอมโยงและบูรณาการ ้ ี่ ร่ ว มกั น ภายในกระทรวง และสอดรั บ กั บ แผนการบริห ารราชการแผ่ น ดิน และแผน ยุทธศาสตร์การพั ฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2551 - พ.ศ. 2555) อันจะทาให ้การ บริห ารการเปลี่ ย นแปลงของกระทรวงด าเนิ น ไปอย่ า งเป็ นระบบและสามารถวั ด ั ผลสมฤทธิได ้ ์
  • 27. การนาร่ องข้ อริเริ่มในการพัฒนาระบบราชการ ร่ วมกับหน่ วยงานต่ างๆ (ต่ อ) 2. การจ ัดทาคาร ับรองและประเมินผลการปฏิบ ัติราชการระหว่างกระทรวง ่ ั และสวนราชการระด ับกรมในสงก ัด ส านั กงาน ก.พ.ร. ได ร่ ว มกั บ กระทรวงการคลั ง กระทรวงพลั ง งาน และกระทรวง ้ อุตสาหกรรม ในการนาร่องการจั ดทาคารับรองและประเมินผลการปฏิบัตราชการรูปแบบ ิ ใหม่ โดยโอนถ่ายให ้สานั กงานปลัดกระทรวงในฐานะเป็ นศูนย์อานวยการ (Nerve Center) มีอ ส ระในการท าหน า ที่เ ป็ นผู ้จั ด ท ากรอบและรายละเอีย ดการประเมิน ผล รวมทั ง เป็ น ิ ้ ้ ผู ้รับผิดชอบดาเนินการเจรจาเพือจัดทาคารับรองการปฏิบัตราชการและติดตามประเมินผล ่ ิ ่ ั ความสาเร็จของสวนราชการระดับกรมในสงกัดได ้ด ้วยตนเอง ภายใต ้กรอบที่ ก.พ.ร. วาง ึ่ หลั ก การไว ้ ซ ง คณะรั ฐ มนตรีไ ด ้มีม ติรั บ ทราบการด าเนิน งานเพื่อ การด าเนิน การน าร่อ ง ดั ง กล่า วแล ้ว เมื่อ วั น ที่ 11 มีน าคม 2551 ทั ง นี้ การปรั บ ปรุ ง ดั ง กล่า วจะช ่ว ยท าให ้การ ้ ิ บริหารงานเชงยุทธศาสตร์และถ่ายทอดยุทธศาสตร์ภายในกระทรวง รวมทังการกาหนด ้ ตัวชวัดและค่าเป้ าหมาย มีความยืดหยุ่นคล่องตัวและตรงตามวิสัยทัศน์ ศักยภาพและขีด ี้ สมรรถนะของกระทรวงมากขึน ้
  • 28. การนาร่ องข้ อริเริ่มในการพัฒนาระบบราชการ ร่ วมกับหน่ วยงานต่ างๆ (ต่ อ) 3. ระบบบริหารยุทธศาสตร์องค์การภาคร ัฐสูระบบอิเล็กทรอนิกส ์ ่ ส านั ก งาน ก.พ.ร.ได พั ฒ นาระบบบริห ารยุ ท ธศาสตร์ อ งค์ก ารภาครั ฐ สู่ ร ะบบอิเ ล็ ก ทรอนิ ก ส ์ ้ (Government Strategic Management System: GSMS) ตามมติคณะรัฐมนตรีเมือวันที่ 20 ่ ธั น วาคม 2548 ซ ึ่ง อยู่ ร ะหว่ า งการด าเนิ น งานน าร่ อ งในเรื่ อ งการท่ อ งเที่ย วของกลุ่ ม จั ง หวั ด ภาคเหนือ 1.1 (เชยงใหม่ เชยงราย ลาพูน ลาปาง พะเยา แพร่ น่ าน แม่ฮ่องสอน) กลุ่มจังหวัด ี ี ภาคใต ้ 8.3 (ภู เ ก็ ต พั งงา กระบี่ ) และ กลุ่ ม จั ง หวั ด ภาคกลาง 3.1 (นนทบุ รี ปทุ ม ธานี พระนครศรีอ ยุธ ยา อ่างทอง) โดยได ้มีก ารจั ด ทาแผนที่ยุท ธศาสตร์ด ้านการท่อ งเทีย ว ร่ว มกับ ่ กระทรวงการท่อ งเที่ย วและกีฬ า รวมทั ง ด าเนิน การออกแบบและทดสอบระบบการท างานบน ้ ึ่ ่ ิ ฐานข ้อมูลจริง ซงโปรแกรมดังกล่าวชวยทาให ้กระบวนการบริหารเชงยุทธศาสตร์เป็ นไปอย่างครบ วงจรตังแต่การวางยุทธศาสตร์ การจั ดทาโครงการและงบประมาณ ไปจนถึงการตรวจสอบและ ้ ประเมินผล รวมทังยังสามารถเชอมต่อเข ้ากับระบบการบริหารการการเงินการคลังภาครัฐสู่ระบบ ้ ื่ อิเล็กทรอนิกส ์ (Government Fiscal Management Information System: GFMIS) ทาให ้ สามารถรายงานผลทางการเงินและผลการด าเนินงานแก่ผู ้บริหารได ้ในแบบออนไลน์เรียลไทม์ ทังนี้ ระบบดั งกล่าวยังได ้ออกแบบให ้สามารถรองรั บ ต่อการบริหารงานจั งหวัด และกลุ่ม จั งหวัด ้ แบบบูรณาการ โดยเฉพาะการจัดสรรงบประมาณโดยตรงให ้แก่จังหวัดและกลุมจังหวัด ่
  • 29. การนาร่ องข้ อริเริ่มในการพัฒนาระบบราชการ ร่ วมกับหน่ วยงานต่ างๆ (ต่ อ) 4. การเสริมสร้างขีดสมรรถนะสาน ักบริหารยุทธศาสตร์กลุมจ ังหว ัด ่ ส านั ก งาน ก.พ.ร. ได ้ร่ว มกับกระทรวงมหาดไทย ในการเตรีย มการและเสริม สร ้างขีด สมรรถนะของส านั ก บริห ารยุท ธศาสตร์ก ลุ่ม จั ง หวั ด โดยมีก ารน าร่ อ งในกลุ่ม จั ง หวั ด ภาคเหนือ ตอนบน (เช ย งใหม่ ล าพูน ล าปาง แม่ฮอ งสอน) ก่อ นจะขยายผลไปสู่ก ลุ่ม ี ่ ึ่ จั ง หวั ด อืน ให ้ครบทุก กลุ่ม จั ง หวั ด ต่อ ไป ซ ง มีข อบเขตการด าเนิน งานที่ส าคั ญ ได ้แก่ ่ ึ การศกษาวิเคราะห์เพือวางรูปแบบการบริหารการพัฒนากลุมจังหวัดและจังหวัด รวมถึง ่ ่ การออกแบบโครงสร ้าง บทบาท หน ้าที่ และระบบงานของสานั กบริหารยุทธศาสตร์กลุม ่ จังหวัด ตลอดจนการจัดความสัมพันธ์เชอมโยงกับหน่วยงานในสวนกลางและหน่วยงาน ื่ ่ ่ ในระดับจังหวัด รวมถึงองค์กรปกครองสวนท ้องถิน นอกจากนี้ยังได ้มีการถ่ายทอดความรู ้ ่ ความเข ้าใจเกียวกับการบริหารงานกลุ่มจั งหวัด /จั งหวั ดแบบบูรณาการ ให ้แก่ผู ้บริหาร ่ ่ ั และบุคลากรของภาคสวนต่างๆ ทีเกียวข ้องทังภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสงคม ่ ่ ้
  • 30. การนาร่ องข้ อริเริ่มในการพัฒนาระบบราชการ ร่ วมกับหน่ วยงานต่ างๆ (ต่ อ) 5. การพ ัฒนาคุณภาพการบริหารจ ัดการภาคร ัฐ ส านั ก งาน ก.พ.ร. ได ้ร่ ว มกั บ กระทรวงพลั ง งานและจั ง หวั ด นครราชส ีม า ในการพั ฒ นา องค์ก ารสู่ค วามเป็ นเลิศ ตามเกณฑ์คุณ ภาพการบริห ารจั ด การภาครั ฐ โดยมีก ารวิเ คราะห์ ครอบคลุ ม องค์ป ระกอบทั ้ง 7 ด า นได แ ก่ การน าองค์ก าร การวางยุ ท ธศาสตร์ การให ้ ้ ้ ความส าคั ญ ต่ อ ลู ก ค ้าผู ้รั บ บริก ารและผู ้มีส่ ว นได ส่ ว นเส ีย ข ้อมู ล สารสนเทศและความรู ้ ้ ้ ทรัพยากรบุคคล กระบวนงาน และผลลัพธ์ของการดาเนินงาน เพือนาไปใชในการวางแผน ่ ปรับปรุงองค์การอย่างต่อเนือง ในสวนของกระทรวงพลังงานนั นได ้มีการเสริมสร ้างศักยภาพ ่ ่ ้ ่ และความพร ้อมในการมุ่งสูความมีขดสมรรถนะสูง เน ้นการพั ฒนาพลังงานควบคู่ไปกับการ ี ิ่ อนุรักษ์ สงแวดล ้อม การทางานเพือประชาชน สร ้างวัฒนธรรมองค์การทีมความมุ่งมั่นตังใจ ่ ่ ี ้ ิ ทางานเชงรุก พัฒนาบุคลากรให ้มีขดความสามารถในการควบคุมและกากับดูแลกิจการด ้าน ี ่ ี พลังงาน การบริหารงานด ้วยระบบทีมคุณภาพและทันสมัย ในสวนของจังหวัดนครราชสมา ่ ี ิ นั นมุงเน ้นให ้ทุกหน่วยงานในจังหวัดมองภาพแบบองค์รวม เน ้นการบริหารงานเชงบูรณาการ ้ ่ ิ ิ สามารถตอบสนองต่อเป้ าประสงค์เ ชงยุทธศาสตร์ข องจั งหวัด ได ้อย่างมีป ระส ทธิผล และ ิ ปรับปรุงการปฏิบัตราชการให ้เป็ นไปอย่างมีประสทธิภาพ ิ
  • 31. การนาร่ องข้ อริเริ่มในการพัฒนาระบบราชการ ร่ วมกับหน่ วยงานต่ างๆ (ต่ อ) ่ 6. การบริหารราชการแบบมีสวนร่วม ส านั ก งาน ก.พ.ร.ร่ ว มกั บ ส่ว นราชการและเครือ ข่า ยภาคประชาชน ในการผลั ก ดั น ระบบการบริห าร ราชการแบบมีส่วนร่วมและทาให ้การมีส่วนร่วมของประชาชนกลายเป็ นวัฒ นธรรมและค่านิยมในการ ิ ทางานของระบบราชการ โดยมุ่งเน ้นในการเสริมสร ้างทักษะ ความรู ้ความเข ้าใจ และทัศนคติเชงบวก ให ้แก่ทกฝ่ ายทีเกียวข ้อง กล่าวคือ ุ ่ ่  ภาคราชการ ได ้มีก ารนาร่อ งใน ๓ หน่ ว ยงานได ้แก่ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงพั ฒ นา สงคมและความมั่นคงของมนุษย์ และกรมประชาสัมพันธ์ เพือพัฒนารูปแบบการมีสวนร่วมในการ ั ่ ่ ่ กาหนดนโยบายสาธารณะและการเปิ ดโอกาสให ้ประชาชนเข ้ามามีสวนร่วมในการบริหารงานของ ่ ่ ทางราชการ และใน 75 จังหวัด เพือเปิ ดชองทางให ้ประชาชนได ้เข ้ามามีสวนร่วมอย่างเป็ นระบบ ่ ในการให ้ข ้อเสนอแนะเกียวกับการปรับปรุงและยกระดับคุณภาพการให ้บริการ ่ ่ ่  ภาคประชาชน ได ้สงเสริมให ้มีการรวมกลุมจัดตังเป็ นเครือข่ายการมีสวนร่วมของประชาชนใน ่ ้ การพั ฒ นาระบบราชการใน 4 ภูม ภ าคได ้แก่ภ าคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ิ ่ ิ และภาคใต ้ รวมทังการสร ้างความรู ้ความเข ้าใจเกียวกับการมีสวนร่วมของประชาชนให ้แก่สมาชก ้ ่ เครือข่ายและผู ้ทีเกียวข ้อง โดยอาศัย เทคนิค วิธการเพื่อให ้ประชาชนได ้เข ้ามาร่วมรั บ รู ้ แสดง ่ ่ ี ความคิด เห็ น และสามารถตรวจสอบคุ ณ ภาพการให ้บริก ารและผลการปฏิบั ต ง านของส่ ว น ิ ราชการได ้อย่างเป็ นระบบ (People’s Audit)
  • 32. ยุทธศาสตร์การท่องเทียว ่ กลุมจ ังหว ัด ่ (กลุมจ ังหว ัดภาคตะว ันออก ) ่ Value Chains พัฒนาศักยภาพ การควบคุม พัฒนาระบบ พัฒนา พัฒนา ผู ้ประกอบการ พัฒนา มาตรฐานอยูใน ่ ิ สทธิประโยชน์ ด ้านการตลาดและ ท่องเทียวและ ่ แหล่งท่องเทียว ่ ระบบคมนาคม เกณฑ์ Eco- ให ้เกิดการลงทุน ั ประชาสมพันธ์ อุตสาหกรรม Destination จากต่างประเทศ ใกล ้เคียง กระทรวง/กรม โครงการส่งเสริม โครงการปร ับปรุงและ โครงการปร ับปรุง โครงการสร้างเพิม ่ และสน ับสนุนการพ ัฒนา พ ัฒนาศูนย์ร ับแจ้งเหตุและ โครงการส่งเสริมการลงทุน ระบบนิเวศชายฝั่ง ช่องทางจราจรทางหลวง แหล่งท่องเทียวเชิงสุขภาพ ่ ให้บริการน ักท่องเทียว ่ ภาคธุรกิจท่องเทียว ่ (กระทรวงทร ัพยากร ่ ่ ิ เพือเชือมโยงสูอนโดจีน ่ (กระทรววงการท่องเทียว่ (กระทรวงการท่องเทียว ่ (BOI) ธรรมชาติ (กระทรวงคมนาคม) และกีฬา) และกีฬา) ่ และสิงแวดล้อม) กลุมจ ังหว ัด โครงการพ ัฒนา โครงการพ ัฒนาระบบ บุคลากรและ ความปลอดภ ัยและการให้ ผูประกอบการ ้ บริการประชาชน ด้านการท่องเทียว ่ เมือมีเหตุฉุกเฉิน ่ ่ จ ังหว ัด โครงการท่องเทียว่ โครงการฝึ กอบรม โครงการจ ัดงานประเพณี โครงการยุวม ัคคุเทศก์ เกษตรเชิงอนุร ักษ์ อาสาสม ัครดานาเพือ ้ ่ ประจาปี (จ.จ ันทบุร) ี (จ.ชลบุร) ี ช่วยเหลือผูประสบภ ัย ้ (จ.ตราด) (จ.ชลบุร)ี ท้องถิน โครงการปร ับปรุง ่ ท ัศนียภาพเพือส่งเสริม ่ โครงการก่อสร้าง การท่องเทียวและร ักษา ่ ท่าเทียบเรือขนาดเล็ก ่ คุณภาพสิงแวดล้อม เอกชน โครงการสร้าง แหล่งท่องเทียวทางเลือก ่ (Spa, Zoo)
  • 33. Knowledge Management Intelligence Human, judgemental Contextual, tacit Knowledge Transfer needs learning Information Codifiable, explicit Easily transferable Data
  • 34. การ จ ัดการความรูในองค์กร ้ 7. การเรียนรู ้ ี้ 1. การบ่งชความรู ้ (Learning) (Knowledge Identification) 6. การแบ่งปัน แลกเปลียนความรู ้ ่ (Knowledge Sharing) 4. 1. ถ่ายทอด สารวจความรู ้ 5. การเข้าถึง ความรู ้ (Knowledge Access) KM 3. 2. 4. การประมวลและ กลนกรองความรู ้ ่ั จ ัดเก็บ รวบรวม (Knowledge Codification and ั สงเคราะห์ พ ัฒนา Refinement) 3. การจ ัดความรูให้เปนระบบ ้ ็ 2. การสร้างและแสวงหาความรู ้ (Knowledge Organization) (Knowledge Creation and Acquisition)
  • 35. แผนการบริหารราชการ แผ่นดิน (พ.ศ. 2548-2551) แผนปฏิบ ัติราชการ 4 ปี แผนปฏิบ ัติราชการประจาปี ผลล ัพธ์ ผลล ัพธ์ ผลผลิต กิจกรรม สุดท้าย ทร ัพยากร
  • 36. Strategy Formulation แผนการบริหารราชการแผ่ นดิน (2548-2551) แผนปฏิบัตราชการ 4 ปี ิ S Vision W Strategic Issue O Goal (KPI / target) Strategic Control T Strategies Strategy Implementation Action Plan Strategic Management Risk Assessment & Management Process Structure Process/IT Alignment Rule & People/ Regulation Culture Blueprint for Change
  • 37. การวางยุทธศาสตร์ การนายุทธศาสตร์ไปปฏิบต ิ ั Strategy Formulation Strategy Implementation แผนการบริหารราชการแผ่นดิน 4 ปี แผนปฏิบตราชการรายปี ั ิ แผนปฏิบตราชการ 4 ปี ั ิ Action Plan S W วิสัยทัศน์ ี่ การวิเคราะห์ความเสยง O ประเด็นยุทธศาสตร์ (Risk) T เปาประสงค์ ้ (ตัวชี้วดและเปาหมาย) ั ้ Structure Process กลยุทธ์ โครงสร้ าง กระบวนการ IT People ิ การคิดเชงยุทธศาสตร์ เทคโนโลยี คน (Strategic Thinking) การปร ับแต่ง (Alignment)
  • 38. การวางยุทธศาสตร์ (Strategy Formulation) Vision ............................................................................. Strategic Themes Detroit of Asia King & Queen of Fruit Entertainment Complex ……… (Issues) Values Strategy Map (logic model) Corporate Scorecard Action Plan Perspectives Objectives Measurement Targets Initiatives Budget Run the Business ประสิทธิผล Serve the Customer คุณภาพ Manage resources ประสิทธิภาพ Build Capacity พัฒนาองค์กร Business Unit Scorecard Team / Individual Scorecard
  • 39. เปาหมายผลิตภั ณฑ์มวลรวมของกลุ่มจั งหวั ด ในปี 2551 ้ ล้านบาท 1,400,000 150,000 - 200,000 1.1-1.2 ล้ านล้ าน 1,200,000 1,000,000 250,000 - 300,000 growth with strategy (2548-2551) 100%++ 800,000 150,000 - 200,000 natural growth 600,000 557,033 (2548-51) Add. GPP 2544-47 (Est) 557,033 400,000 200,000 0 2543p (อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 7.8%) 2548-51 (Goals) - เพิมขึ้นอย่ างน้อย 1 เท่าตัวจากฐาน GPP ปี 2543 (หรือเพิมขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 10-12 ต่อปี ) ่ ่