SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 199
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ส่วนที่ 1
                                                ความเป็นมา
           กระทรวงศึกษาธิการตระหนักและเห็นความสาคัญของการพัฒนาคนซึ่งเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่า ภายหลัง
จากที่ได้ตราพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542                 ขึ้นมาประกาศใช้ จึงมีการปฏิรูปการศึกษา
ในทศวรรษแรก ตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2542 เป็นต้นมา และเพื่อเป็นการพัฒนาคนให้ต่อเนื่องและสอดคล้องกับ
ยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง จึงกาหนดนโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552- 2561) ขึ้น โดยมี
วิสัยทัศน์ให้คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพภายในปี พ.ศ. 2561 จะต้องมีการปฏิรูปการศึกษาและการ
เรียนรู้อย่างเป็นระบบใน 3 ประเด็นหลักคือ การพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานการศึกษาและการเรียนรู้ของคนไทย
เพิ่มโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนใน
การบริหารและจัดการศึกษา สาหรับกรอบแนวทางในการปฏิรูป การศึกษาและการเรียนรู้อย่างเป็นระบบกาหนด
ไว้ 4 ประการ ได้แก่ การพัฒนาคนไทยยุคใหม่ การพัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่ การพัฒนาสถานศึกษาและ
แหล่ ง เรี ย นรู้ ยุ คใหม่ และ การพั ฒ นาคุ ณภาพการบริห ารจัดการใหม่ และเพื่อ เป็นการขับ เคลื่ อ นการปฏิรู ป
การศึกษาตามเจตนารมณ์ จึงได้ประกาศ “จุดเน้นคุณภาพผู้เรียน จุดเปลี่ยนการปฏิรูปการศึกษาไทย” เมื่อวันที่
22 ตุลาคม 2553 ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนเก่ง คนดี และมีความสุข เป็นคุณภาพเด็กไทยในอนาคต เป็นผู้
มีความสามารถ คิดเป็น ทาเป็น แก้ป๎ญหาได้ ก้าวไกลสู่สากล และมีความเป็นพลเมืองที่สมบูรณ์
           จุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน คือ คุณภาพในตัวผู้เรียนที่มีความครอบคลุมในด้านความสามารถและทักษะ
ตลอดจนคุณลักษณะที่จะช่วยเสริมให้ผู้เรียนมีคุณภาพ บรรลุตามเปูาหมายหลักสูตร ซึ่งจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน
กาหนดไว้ 2 ลักษณะ คือ
           1. ความสามารถและทักษะของผู้เรียน ประกอบด้วย
                       1) ความสามารถอ่านออก เขียนได้ (ป.1-3) อ่านคล่อง เขียนคล่อง (ป.4-6)
                       2) การคิดเลขเป็น (ป.1-3) การคิดเลขคล่อง (ป.4-6)
                       3) ทักษะการคิด (ป.1-ม.6)
                       4) ทักษะชีวิต (ป.1- ม.6)
                       5) การสื่อสาร (ป.1-ม.6)
                       6) การใช้เทคโนโลยี (ม.1-6)
           2. คุณลักษณะ : ลักษณะของผู้เรียนที่มีความเป็นพลเมือง รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต
มีวินัย ใฝุเรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ ซึ่งกาหนด
คุณลักษณะที่เน้นในแต่ละช่วงชั้น ได้แก่
                       1) ใฝุดี (ป.1-3)
                       2) ใฝุเรียนรู้ (ป.4-6)
                       3) อยู่อย่างพอเพียง(ม.1-3)
                       4) มุ่งมั่นในการทางานและการศึกษา (ม.4-6)
           สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงกาหนดยุทธศาสตร์ในการขับเคลื่อนหลักสูตร
การจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล โดยใช้ยุทธศาสตร์ 4 ยุทธศาสตร์ คือ
           ยุทธศาสตร์ที่ 1 เพิ่มความสามารถในการเรียนรู้
           ยุทธศาสตร์ที่ 2 กระตุ้น เร่งรัดการนาจุดเน้นสู่การปฏิบัติ
           ยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างความพร้อมแก่ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง และชุมชน
                                       ติดตาม ตรวจสอบฯ จุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน
2

       ยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างความเข้มแข็งในการกากับ ติดตามและการพัฒนาผู้เรียน
เป้าหมายการพัฒนา
       ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถและทักษะ มีคุณลักษณะตามจุดเน้นแต่ละช่วงวัย

ตัวชี้วัดความสาเร็จ
          1. ร้อยละของผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพตามจุดเน้น
          2. ระดับความสาเร็จของการนาจุดเน้นในการพัฒนาผู้เรียนสู่การปฏิบัติ
          3. ระดับความสาเร็จของสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ได้สาเร็จตามจุดเน้น
          4. ระดับความสาเร็จของเขตพื้นที่การศึกษาในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนได้ตามจุดเน้น

บทบาทของสถานศึกษาเพื่อการขับเคลื่อนจุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
     1. จัดทาฐานข้อมูลผู้เรียน โรงเรียนตามจุดเน้น
     2. ศึกษาบริบทใน/นอกโรงเรียนเพื่อจัดทาแหล่งเรียนรู้ (สถานที่/บุคคล)
     3. ปรับ/ออกแบบตารางเรียน จัดการเรียนการสอนให้เอื้อต่อการพัฒนาผู้เรียนตามจุดเน้น
     4. ให้ความสาคัญการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
     5. จัดทารายงานความก้าวหน้าของผู้เรียนตามจุดเน้น

ตัวชี้วัดภาพความสาเร็จระดับโรงเรียนของจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน

      ระยะที่ 1 เริ่มต้นค้นวิเคราะห์ (ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553)
                1) มีข้อมูลผู้เรียนรายบุคคล ครบถ้วน พร้อมใช้
                2) มีแผนพัฒนาผู้เรียนตามจุดเน้นที่ชัดเจน ปฏิบัติได้
                3) มีฐานข้อมูลแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียนเพียงพอ
                4) มีตารางเรียนที่ยืดหยุ่นตามจุดเน้น
                5) มีกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน โดยมีกิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียนไม่น้อย
       กว่าร้อยละ 30 ของเวลาเรียน
                6) มีเครื่องมือวัดและประเมินผลที่หลากหลาย ครอบคลุมตามจุดเน้น
      ระยะที่ 2 บ่มเพาะประสบการณ์ (ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554)
                1) ผู้เรียนได้สารวจ สืบค้นทาโครงงาน โครงการจากแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน
                2) ครูใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียนอย่างคุ้มค่า
                3) จัดบรรยากาศให้เอื้อต่อการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน
                4) ชุมชนเข้าใจ ร่วมมือ สนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้
                5) ครูพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้/สื่อ อย่างมีประสิทธิภาพ
                6) มีการนาผลการพัฒนาผู้เรียนตามจุดเน้นมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้



                                      ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน
3


      ระยะที่ 3 สานต่อองค์ความรู้ (ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554)
                   1) มีการนาผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้มาใช้ในการปรับปรุงกิจกรรมการพัฒนาผู้เรียน
                   2) มีผลการวิจัยและพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง
                   3) มีรายงานผลความก้าวหน้าในการพัฒนาผู้เรียน
                   4) มีการสร้างเครือข่าย/แลกเปลี่ยนเรียนรู้
      ระยะที่ 4 นาสู่วิถีคุณภาพ (ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555)
                   1) มีนวัตกรรมการบริหารเพื่อพัฒนาผู้เรียนตามจุดเน้น
                   2) มีนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ตามจุดเน้น
                   3) มีเครื่องมือวัด/ประเมินผลการพัฒนาผู้เรียนที่มีคุณภาพ
                   4) มีการเผยแพร่การวิจัยและผลการพัฒนาผู้เรียน
      ระยะที่ 5 มีวัฒนธรรมการเรียนรู้ใหม่ (ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555)
                   1) ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีความสุข มีความสามารถ ทักษะ และคุณลักษณะตามจุดเน้น
                   2) มีวัฒนธรรมการเรียนรู้ใหม่
                   3) ครูเป็นครูมืออาชีพ
                   4) โรงเรียนมีการจัดการความรู้
                   5) มีเครือข่ายร่วมพัฒนาที่เข้มแข็ง
                   6) สาธารณชนยอมรับ และมีความพึงพอใจ
          ดังนั้น สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2 จึงตระหนักต่อภารกิจในการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาและเพื่อตอบสนองนโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองของกระทรวงศึกษาธิการ จึง
ได้กาหนดแนวทางการนาจุดเน้นสู่การปฏิบัติในสถานศึกษาโดยการสร้างเครื่องมือติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผ ล
ครบทุกจุดเน้นและทุกชั้นปี ตามที่กาหนด เพื่อมุ่งหวังให้คุณครูผู้รับผิดชอบระดับชั้นเรียน ได้ศึกษาและนาไปใช้
พัฒ นาผู้ เรีย นในระดับ ชั้น เรี ย น สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ และเพื่อเป็น การขับเคลื่ อนการปฏิรูปการศึกษาใน
ทศวรรษที่สอง ให้เกิดคุณภาพตามตัวชี้วัดความสาเร็จในระยะต่างๆ ส่งผลต่อประชากรในวัยเรียนได้รับการ
พัฒนาตามจุดเน้นบรรลุตามเปูาหมายที่กาหนดไว้




                                      ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน
4


                                             ส่วนที่ 2
                                           การดาเนินงาน
         สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2 ส่งเสริม สนับสนุนและอานวยความสะดวก
ในการนาจุดเน้นสู่การปฏิบัติในสถานศึกษาอย่างต่อเนื่องในรูปแบบและวิธีการต่างๆ ได้แก่ กาหนดมาตรการ
การรับทราบการประกาศจุดเน้นจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้นาเอกสารความรู้และโปสเตอร์
จุดเน้นเผยแพร่ ทุกโรงเรียน ทุกห้องเรียน กาหนดแนวการพัฒนา การนิเทศจุดเน้นทั้งในระบบการนิเทศภายใน
โรงเรียนและภายนอก จัดพิมพ์และจัดทาแนวทาง การนาจุดเน้นสู่การปฏิบัติในสถานศึกษา ประชุมเชิง
ปฏิบัติการ การนิเทศทางไกล ฯลฯ และการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศจุดเน้นเป็นวิธีที่ใช้ในการ
ขับเคลื่อนการพัฒนาผู้เรียนตามจุดเน้นอย่างครบวงจร โดยดาเนินการจาแนกเป็นรายจุดเน้นตามลาดับ ดังนี้
แนวทางการนิเทศการพัฒนาการอ่าน การเขียน
สาระสาคัญ
         ทักษะการอ่าน การเขียน เป็นทักษะพื้นฐานที่สามารถวัดและประเมินได้อย่างเป็นรูปธรรม มีเครื่องมือ
วัดและเกณฑ์ประเมินความสามารถตามระดับคุณภาพ การอ่านออก เขียนได้ อ่านคล่อง เขียนคล่อง มีนิยามคา
สาคัญ ดังนี้
         อ่านออก หมายถึง ความสามารถรับรู้และเข้าใจความหมายของคา ประโยค ข้อความสั้นๆ ในสื่อต่างๆ
หรือในหนังสือได้ตามระดับชั้นของผู้เรียน
         อ่านคล่อง หมายถึง ความสามารถอ่านออกเสียงชัดเจน ถูกต้อง ตามหลักเกณฑ์ การอ่านในระยะเวลา
ที่เหมาะสมกับระดับชั้นของผู้เรียนและสามารถจับใจความสาคัญของเรื่องที่อ่านได้
         เขียนคล่อง หมายถึง ความสามารถเขียนคา ประโยค ข้อความ เรื่องราว ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ทางภาษา
ได้รวดเร็ว ในระยะเวลาที่เหมาะสมตามระดับชั้นของผู้เรียน

ขอบข่ายการประเมินทักษะการอ่านการเขียน
       ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
       1. อ่านคาพื้นฐาน 20 คา
       2. เลือกคาที่กาหนดให้เติมในช่องว่าง 3 เรื่อง 20 คา
       3. เขียนตามคาบอก 20 คา

       ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
       1. อ่านคาพื้นฐาน 20 คา
       2. แต่งประโยคจากคาที่กาหนดให้ 20 คา
       3. เขียนตามคาบอก 20 คา

       ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
       1. อ่านคาพื้นฐาน 20 คา
       2. เขียนเรื่องจากภาพโดยใช้คาที่กาหนดให้ 20 คา
       3. เขียนตามคาบอก 20 คา
                                     ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน
5

           ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
           1. อ่านกลอน 4 จานวน 2 บท
           2. สรุปใจความสาคัญจากกลอน 4
           3. เขียนย่อความจากเรื่องที่กาหนดให้

           ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
           1. อ่านกาพย์ยานี 11 จานวน 2 บท
           2. สรุปใจความสาคัญ/บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่าน กาพย์ยานี 11
           3. เขียนแสดงความรู้สึก / แสดงความคิดเห็น จากข้อความที่กาหนดให้

           ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
           1. อ่านกลอนสุภาพ 2 บท
           2. สรุปใจความสาคัญ/บอกข้อเท็จจริง จากกลอนสุภาพ
           3. เขียนเรียงความจากเรื่องที่กาหนดให้


แนวทางประเมินการอ่าน การเขียน

ชุดที่ 1
           1 การอ่านได้
           1.1 การอ่าน
                   1. ให้นักเรียนอ่านคาพื้นฐานที่กาหนดให้ 20 คา โดยอ่านในใจ 3-5 นาที
                   2. ให้นักเรียนอ่านออกเสียง คาละ 1 ครั้ง เรียงลาดับจากคาที่ 1-20 ตามลาดับ
                   3. ครูประเมินความสามารถในการอ่าน ตามแบบประเมิน โดยทาเครื่องหมาย  ในช่องคา
                      ที่นักเรียนอ่านได้ถูกต้อง หรือทาเครื่องหมาย  ในช่องคาที่นักเรียนอ่านผิด หรือไม่อ่าน
           1.2 เข้าใจความหมายของคา

                ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
                1. แบบประเมินการเข้าใจความหมายของคามี 3 ตอน ให้นักเรียนทาทีละตอนโดยนาคาที่
กาหนดให้เติมลงในช่องว่างให้ได้เรื่องราวที่สมบูรณ์
                2. ครู ต รวจผลงานนั ก เรี ย น โดยท าเครื่ อ งหมาย  ในช่ อ งค าที่ นั ก เรี ย นใช้ ค าได้ ถู ก ต้ อ ง
หรือทาเครื่องหมาย  ในช่องคาที่นักเรียนเขียนผิดหรือไม่เขียนในแบบประเมิน

                ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
                1. ให้นักเรียนนาคาที่กาหนดให้แต่งประโยคให้ได้ใจความสมบูรณ์
                2. ครูตรวจผลงานการเขียนประโยค โดยทาเครื่องหมาย  ในช่องคาที่นักเรียนใช้คาได้ถูกต้อง
หรือทาเครื่องหมาย  ในช่องคาที่นักเรียนเขียนผิดหรือไม่เขียนในแบบประเมิน


                                          ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน
6

                  ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
                  1. ให้นักเรียนนาคาที่กาหนดให้เขียนเรื่องให้สอดคล้องสัมพันธ์กับภาพ
                  2. ครูตรวจผลงานการเขียน เรื่องจากภาพ โดยทาเครื่องหมาย  ในช่องคาที่นักเรียนใช้คา
เขียนเรื่องได้สัมพันธ์กับภาพ หรือทาเครื่องหมาย  ในช่องคาที่นักเรียนเขียนเรื่องได้ไม่สัมพันธ์กับ ภาพหรือ
ไม่เขียนในแบบประเมิน
                  สรุปผลการอ่าน
                  1. พิจารณาเครื่องหมายในช่องอ่านออกและเข้าใจความหมายของคา หากเครื่องหมาย  ทั้ง
สองช่อง ให้ทาเครื่องหมาย ในช่องสรุป หากเครื่องหมาย  กับ  หรือ  กับ  ให้ทาเครื่องหมาย 
ในช่องสรุป
                  2. เกณฑ์การประเมิน
                           2.1 ระดับ 3 เขียนได้และเข้าใจความหมายของคา 16-20 คา
                           2.2 ระดับ 2 เขียนได้และเข้าใจความหมายของคา 12-15 คา
                           2.3 ระดับ 1 เขียนได้และเข้าใจความหมายของคา 11 คา ลงมา

       2. การเขียนได้
                 1. ครูแจกกระดาษเขียนคาตามคาบอกให้นักเรียนกรอกรายละเอียดให้ครบถ้วน
                 2. ครูบอกคาพื้นฐานทีละคาๆ ละ 2 ครั้ง แล้วให้นักเรียนเขียนทีละคา ใช้เวลาคาละ 1 นาที
                 3. ตรวจความถูกต้องในการเขียน ทาเครื่องหมาย ในช่องคาที่เขียนถูกและทาเครื่องหมาย 
ในช่องคาที่เขียนผิดหรือไม่เขียน โดยทาในแบบบันทึกผล
                 4. เกณฑ์การประเมิน
                         ระดับ 3 เขียนได้ถูกต้อง        16-20             คา
                         ระดับ 2 เขียนได้ถูกต้อง        12-15             คา
                         ระดับ 1 เขียนได้ถูกต้อง        11                คา ลงมา
                                     คาสาหรับการเขียนตามคาบอก
                                        ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 1.   เกเร           2.   มือ              3. ดึง              4.              ข้าว       5.   ชอบ
 6.   กลางวัน        7.   พริก             8. ความรู้          9.              ขนม       10.   สบาย
11.   ถนน           12.   อาหาร          13. สวัสดี           14.              คน        15.   สวน
16.   ผัก           17.   เดิน           18. เย็น             19.              สัตว์     20.   วันเสาร์

                                          ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
 1.   แผ่นดิน        2.   ถ้อยคา             3. ปลอดโปร่ง        4.            สร้อย      5.   ทราย
 6.   สนุกสนาน       7.   อร่อย              8. หมาก             9.            วิหค      10.   พืช
11.   พืช           12.   ลมโบก           13. ส่วนแบ่ง          14.            แข็งแรง   15.   เขินอาย
16.   เถาวัลย์      17.   อาทิตย์         18. ดวงจันทร์         19.            บรรทัด    20.   ภรรยา



                                      ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน
7

                                          ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
 1.   ตรากตรา       2.   เคว้งคว้าง          3. ต้นไทร           4.            ฉลาด       5.   ถล่ม
 6.   ขนุน          7.   คนพาล               8. ชานาญ            9.            บิณฑบาต   10.   คนดี
11.   ปุวย         12.   ลาพัง            13. เอ็นดู            14.            พระสงฆ์   15.   ประโยชน์
16.   อนุรักษ์     17.   สรรหา            18. บรรจง             19.            พิชซ่า    20.   ฟุตบอล

        3. การอ่านคล่อง
               3.1 ให้นักเรียนอ่านออกเสียง บทร้อยกรอง ตามแบบฉันทลักษณ์ 1 จบ โดยครูควรให้นักเรียน
อ่านในใจก่อน 2-3 นาที แล้วจึงอ่านออกเสียง (ป.4 กลอนสี่ ป.5 กาพย์ยานี 11 ป.6 กลอนสุภาพ)
               3.2 ให้นักเรียนเขียนสรุปใจความสาคัญของเรื่องที่อ่าน
               3.3 ครูประเมินผลงานตามเกณฑ์ระดับคุณภาพ ดังนี้
                       3.3.1 อ่านถูกต้องตามอักขรวิธี
                       ระดับ 3 หมายถึง          1. อ่านถูกต้องตามอักขรวิธีและฉันทลักษณ์
                                                2. อ่านคาครบถ้วน ไม่ตก ไม่เพิ่มคา
                                                3. เสียงดังเหมาะสม
                       ระดับ 2 หมายถึง          ปฏิบัติข้อ 1 แต่ไม่ปฏิบัติ ข้อ 2 และ / หรือ ข้อ 3
                       ระดับ 1 หมายถึง          ไม่ปฏิบัติข้อ 1 แต่ปฏิบัติข้อ 2 และ/หรือ ข้อ 3
                       3.3.2 สรุปใจความสาคัญ
                       ระดับ 3 หมายถึง          1. สรุปใจความสาคัญของเรื่องได้ชัดเจน ถูกต้อง
                                                2. ใช้ภาษาในการเขียนถูกต้อง สื่อความหมายได้ดี
                       ระดับ 2 หมายถึง          ปฏิบัติข้อ 1
                       ระดับ 1 หมายถึง          ปฏิบัติข้อ 1 หรือ ข้อ 2
                       3.3.3 มีมารยาทในการอ่าน
                       ระดับ 3 หมายถึง          1. ท่าทางในการอ่านสุภาพ
                                                2. กระตือรือร้นในการอ่าน
                                                3. มีสมาธิในการอ่าน
                       ระดับ 2 หมายถึง          ปฏิบัติ 2 ข้อ จาก 3 ข้อ
                       ระดับ 1 หมายถึง          ปฏิบัติ 1 ข้อ จาก 3 ข้อ
        4. การเขียนคล่อง
               4.1 ให้นักเรียนอ่านแล้วเขียนโดยจาแนก ดังนี้
                       4.1.1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ให้นักเรียนอ่านนิทานแล้วเขียนย่อความ
                       4.1.2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ให้นักเรียนอ่านข่าว แล้วเขียนแสดงความรู้สึก
และแสดงความคิดเห็น
                       4.1.3 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้นักเรียนเขียนเรียงความ ตามเรื่องที่กาหนดให้
ความยาวอย่างน้อย 15 บรรทัด




                                      ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน
8

4.2 ครูประเมินผลงานตามเกณฑ์ระดับคุณภาพ ดังนี้
       4.2.1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
                1) การเขียนย่อความ
         ระดับ 3 หมายถึง      1. การลาดับความเข้าใจง่าย
                              2. ใช้ถ้อยคาสั้นๆ ตรงไปตรงมาและรัดกุม
                              3. ใช้คาสามัญ เข้าใจง่าย
                              4. มีรูปแบบการย่อความ (ย่อเรื่อง ....ความว่า...)
                              5. เขียนเสร็จภายสนเวลาที่กาหนด
         ระดับ 2 หมายถึง      ปฏิบัติได้ 3-4 ข้อ
         ระดับ 1 หมายถึง      ปฏิบัติได้ 1-2 ข้อ
                2) มีมารยาทในการเขียน
          ระดับ 3 หมายถึง 1. เขียนตามข้อเท็จจริงทั้งหมด
                              2. ใช้ภาษาสุภาพ
                              3. เขียนด้วยลายมือที่สวยงาม อ่านง่าย
          ระดับ 2 หมายถึง ปฏิบัติ 2 ข้อ
          ระดับ 1 หมายถึง ปฏิบัติ 1 ข้อ

        4.2.2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
                 1) เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็น
           ระดับ 3 หมายถึง 1. เนื้อหาสาระสอดคล้องกับเรื่องที่กาหนด
                               2. มีชื่อเรื่อง
                               3. ใช้ภาษาถูกต้อง
                               4. มีองค์ประกอบการเขียนเรียงความถูกต้องครบถ้วน
                                   (มีคานา เนื้อเรื่อง สรุป)
                               5. เขียนเสร็จภายในเวลาที่กาหนด
                               6. ความยาวของเนื้อหาตามที่กาหนด
           ระดับ 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ 4-5 ข้อ
           ระดับ 1 หมายถึง ปฏิบัติได้ 1- 3 ข้อ
                 2) มีมารยาทในการเขียน
           ระดับ 3 หมายถึง 1. เขียนตามข้อเท็จจริงทั้งหมด
                               2. ใช้ภาษาสุภาพ
                               3. เขียนด้วยลายมือที่สวยงาม อ่านง่าย
           ระดับ 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ 2 ข้อ
           ระดับ 1 หมายถึง ปฏิบัติได้ 1 ข้อ




                      ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน
9

                        4.2.3 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
                                 1) การเขียนเรียงความ
                            ระดับ 3 หมายถึง 1. เนื้อหาสาระสอดคล้องกับเรื่องที่กาหนด
                                                2. มีชื่อเรื่อง
                                                3. ใช้ภาษาถูกต้อง
                                                4. มีองค์ประกอบการเขียนเรียงความถูกต้องครบถ้วน
                                                    (มีคานา เนื้อเรื่อง สรุป)
                                                5. เขียนเสร็จภายในเวลาที่กาหนด
                                                6. ความยาวของเนื้อหาตามที่กาหนด
                           ระดับ 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ 4-5 ข้อ
                           ระดับ 1 หมายถึง ปฏิบัติได้ 1-3 ข้อ
                                 2) มีมารยาทในการเขียน
                           ระดับ 3 หมายถึง 1. เขียนตามข้อเท็จจริงทั้งหมด
                                                2. ใช้ภาษาสุภาพ
                                                3. เขียนด้วยลายมือที่สวยงาม อ่านง่าย
                          ระดับ 2 หมายถึง       ปฏิบัติได้ 2 ข้อ
                          ระดับ 1 หมายถึง       ปฏิบัติได้ 1 ข้อ

แนวทางการพัฒนาการคิดเลข
           1. สาระสาคัญ
           ครูผู้สอน สามารถพัฒนาการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ
เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้ คิดเลขเป็น คิดเลขคล่อง ตามจุดเน้นคุณภาพผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น
           2. จุดประสงค์
                    2.1 ครูคณิตศาสตร์สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนคิดเลขเป็นในระดับชั้น ป. 1-3
และ คิดเลขคล่องในระดับชั้น ป. 4-6
                    2.2 เพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียนด้านการคิดเลขเป็นในระดับชั้น ป. 1-3 และ คิดเลขคล่อง
ในระดับชั้น ป. 4-6
           3. เป้าหมาย
                    3.1 ครูผู้สอนคณิตศาสตร์ในระดับชั้น ป. 1-3 ทุกคน ได้รับการพัฒนาเรื่องการจัดการเรียนรู้
ให้ผู้เรียนคิดเลขเป็นและครูผู้สอนคณิตศาสตร์ในระดับชั้น ป. 4-6 ทุกคน ได้รับการพัฒนาเรื่องการจัดการเรียนรู้
ให้ผู้เรียนคิดเลขคล่อง
                    3.2 ผู้เรียนชั้น ป.1-6 ทุกคน ได้รับการตรวจสอบคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นในแต่ละระดับชั้น
           4. กิจกรรมการพัฒนา
                    4.1 ครู
                        1) ประชุมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับจุดเน้นคุณภาพผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น
                        2) ครูสร้างนวัตกรรม
                        3) ครูทดลองและใช้นวัตกรรม
                    4.3 เก็บข้อมูลตามจุดเน้นโดยการประเมินแนวทางการจัดการเรียนรู้ของครูตามจุดเน้น
                    4.4 ตรวจสอบคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นในแต่ละระดับชั้น
                                       ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน
10

        5. สื่อการพัฒนา
                   5.1 แนวทางการนาจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียนสู่การปฏิบัติ
                   5.2 Road Map จุดเน้น สู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
                   5.3 แบบประเมินแนวทางการจัดการเรียนรู้ของครูตามจุดเน้นเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
                   5.4 แบบประเมินนักเรียนตามจุดเน้นเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
        6. ขั้นตอนสาหรับครูผู้สอนในการใช้เครื่องมือวัดและประเมินผลตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
เรื่อง การ คิดเลขเป็น และการคิดเลขคล่อง
                   6.1 การวัดและประเมินคุณภาพตามจุดเน้น
                   6.2 ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เนื้อหาจากชั้นเรียนก่อนนาเครื่องมือวัดและประเมินผลตามจุดเน้น
การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เรื่อง การคิดเลขเป็น และการคิดเลขคล่อง มาใช้ตามระดับ
                   6.3 อธิบายชี้แจง และทาความเข้าใจเกี่ยวกับการทาแบบทดสอบ และ เกณฑ์การให้คะแนน /
ข้อกาหนดต่างๆของแบบทดสอบให้ผู้เรียนทราบ
                   6.4 เตรียมแบบทดสอบและอุปกรณ์ให้พร้อม
                   6.5 จัดบรรยากาศให้เหมาะสม เอื้อต่อการเรียนรู้ และทาแบบทดสอบ
                   6.6 ตรวจคาตอบตามเกณฑ์ ตามเฉลยของแบบทดสอบ
                   6.7 อธิบายแนวทางการหาคาตอบ เพื่อให้ผู้เรียนได้แก้ไขคาตอบ วิธีทาที่ผิดด้วยตนเอง
หรือร่วมกับผู้เรียนหาวิธีคิดในข้อที่ตอบผิด

        7. การบันทึกผลการประเมิน
           ขอให้บันทึกข้อมูลลงในแบบที่กาหนดให้ ดังนี้

         ป.1    ใช้แบบประเมิน     2/1                                ป.4         ใช้แบบประเมิน   2/4
         ป.2    ใช้แบบประเมิน     2/2                                ป.5         ใช้แบบประเมิน   2/5
         ป.3    ใช้แบบประเมิน     2/3                                ป.6         ใช้แบบประเมิน   2/6


แนวทางการพัฒนาทักษะการคิด
               การจั ดการศึกษาตามแนวการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ มีเปูาหมายสูงสุดคือ
การพัฒนาคุณภาพของนักเรียนให้เต็มศักยภาพ โดยมุ่งเน้นให้นักเรียนมีความสามารถทางความคิด สามารถ
แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รู้จักวิเคราะห์ ค้นหาสาเหตุและแนวทางการแก้ป๎ญหา ใฝุรู้ อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติ
มีคุณธรรม จริยธรรม โดยมุ่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่โรงเรียนเป็นลาดับแรก การจะเกิดการเปลี่ยนแปลงที่
โรงเรียนได้นั้น องค์ประกอบสาคัญคือ ครูผู้สอนต้องเปลี่ยนแปลงแนวคิดและการจัดกระบวนการเรียนการสอน
โดยเปลี่ยนพฤติกรรมจากการบอกความรู้ให้นักเรียน มาเป็นการจัดการเรียนการสอนให้นักเรียนรู้จักคิด รู้จัก
แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การปรับปรุงการเรียนการสอนในห้องเรียนจึงนับได้ว่าเป็นหัวใจสาคัญของการปฏิรูป
การศึกษาอย่ างแท้จ ริ ง ผนวกกับ การส่ งเสริมและสนับสนุน ให้ เกิดการประกันคุณภาพขึ้นในชั้นเรียน เป็น
กระบวนการที่จะช่วยเหลือให้ครูผู้สอนหรือผู้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน ได้ปรับปรุงงานของตนเองให้
มีคุณภาพและประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น


                                        ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน
11

ทักษะการคิดสู่การพัฒนาผู้เรียน ตามจุดเน้น
          ทักษะการคิดสู่การพัฒนาผู้เรียน ให้สอดคล้องตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ได้ใช้กรอบด้านกระบวนการที่ใช้ในการคิด ซึ่งได้แก่ ความสามารถในทักษะการคิด ขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วยทักษะการคิด
ที่ใช้ในการสื่อสาร และทักษะการคิดที่เป็นแกน และความสามารถในทักษะการคิดขั้นสูง ประกอบด้วย ทักษะการคิด
ซับซ้อน ทักษะพัฒนาลักษณะการคิด ทักษะกระบวนการคิด โดยมีทักษะการคิดเป็นกรอบในการพัฒนา ดังนี้
1. ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน
        1.1 ทักษะการคิดที่ใช้ในการสื่อสาร
                ทักษะการฟ๎ง ทักษะการพูด             ทักษะการอ่าน ทักษะการเขียน
        1.2 ทักษะการคิดที่เป็นแกน
                ทักษะการสังเกต                                 ทักษะการสารวจ
                ทักษะการสารวจค้นหา                             ทักษะการตั้งคาถาม
                ทักษะการระบุ                                   ทักษะการรวบรวมข้อมูล
                ทักษะการเปรียบเทียบ                            ทักษะการคัดแยก
                ทักษะการจัดกลุ่ม                               ทักษะการจาแนกประเภท
                ทักษะการเรียงลาดับ                             ทักษะการแปลความ
                ทักษะการตีความ                                 ทักษะการเชื่อมโยง
                ทักษะการสรุปย่อ                                ทักษะการสรุปอ้างอิง
                ทักษะการให้เหตุผล                              ทักษะการนาความรู้ไปใช้
2. ทักษะการคิดขั้นสูง
        2.1 ทักษะการคิดซับซ้อน
                ทักษะการให้ความกระจ่าง                         ทักษะการสรุปลงความเห็น
                ทักษะการให้คาจากัดความ                         ทักษะการวิเคราะห์
                ทักษะการสังเคราะห์                             ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้
                ทักษะการจัดระเบียบ                             ทักษะการสร้างความรู้
                ทักษะการจัดโครงสร้าง                           ทักษะการปรับโครงสร้าง
                ทักษะการหาแบบแผน                               ทักษะการพยากรณ์
                ทักษะการหาความเชื่อพื้นฐาน                     ทักษะการตั้งสมมติฐาน
                ทักษะการพิสูจน์ความจริง                        ทักษะการทดสอบสมมติฐาน
                ทักษะการตั้งเกณฑ์                              ทักษะการประเมิน
        2.2 ทักษะพัฒนาลักษณะการคิด
                ทักษะการคิดคล่อง                               ทักษะการคิดหลากหลาย
                ทักษะการคิดละเอียด                             ทักษะการคิดชัดเจน
                ทักษะการคิดอย่างมีเหตุผล                       ทักษะการคิดถูกทาง
                ทักษะการคิดกว้าง                               ทักษะการคิดไกล
                ทักษะการคิดลึกซึ้ง


                                       ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน
12

       2.3 ทักษะกระบวนการคิด
               ทักษะกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณทักษะกระบวนการคิดตัดสินใจทักษะกระบวนการคิด
               แก้ป๎ญหาทักษะกระบวนการวิจัย ทักษะกระบวนการคิดสร้างสรรค์

การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดตามจุดเน้น
          แนวทางการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดผู้เรียนตามจุดเน้น การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง(2552-2561) ของกระทรวงศึกษาธิการ มีแนวทางการจัดการ
เรียนรู้ตามระดับชั้น ดังนี้
   ระดับชั้น     ทักษะการคิดตามจุดเน้น              ความหมาย                กระบวนการนาไปพัฒนาผู้เรียน

ชั้น              1. ทักษะการสังเกต           ทักษะการสังเกต หมายถึง                    1. กาหนดสิ่งหรือเรื่องที่จะสารวจ
ประถมศึกษา                                     การรับรู้และรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ        2. แสวงหาวิธีการในการรวบรวมข้อมูล
ปีที่ 1                                       สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง     เพื่อให้ได้ข้อเท็จจริงและความคิดเห็น
                                              ห้า เพื่อให้ได้รายละเอียดเกี่ยวกับสิ่ง    เกี่ยวกับสิ่งนั้น
                                              นั้น ๆ ซึ่งเป็นข้อมูลเชิงประจักษ์ที่ไม่   3. รวบรวมข้อเท็จจริงและความคิดเห็น
                                              มีการใช้ประสบการณ์และความ                 เกี่ยวกับสิ่งที่สารวจ
                                              คิดเห็นของผู้สังเกตในการเสนอข้อมูล        4. นาเสนอข้อเท็จจริงและความ
                                              ข้อมูลจากการสังเกตมีทั้งข้อมูลเชิง        คิดเห็นที่ได้จากการสารวจ
                                              คุณภาพและข้อมูลเชิงปริมาณ
                  2. ทักษะการจัดกลุ่ม         ทักษะการจัดกลุ่ม หมายถึง การนา     1. สังเกตความเหมือน ความต่าง และ
                                              สิ่งต่างๆ ที่มีสมบัติเหมือนกันตาม  ภาพรวมของสิ่งต่างๆที่จะจัดกลุ่ม
                                              เกณฑ์มาจัดเป็นกลุ่มโดยแต่ละกลุ่มมี 2. รวมกลุ่มเดียวกัน ซึ่งแต่ละกลุ่มมี
                                              เกณฑ์ต่างกัน                       เกณฑ์ต่างกันไป
                                                                                 3. จาแนกหรือแยกสิ่งต่างๆเข้ากลุ่มตาม
                                                                                 เกณฑ์ที่กาหนด
                                                                                 4. อธิบายผลการจัดกลุ่มพร้อมทั้งเกณฑ์
                                                                                 ที่ใช้
ชั้น          1. ทักษะการเปรียบเทียบ          1. ทักษะการเปรียบเทียบ หมายถึง 1. กาหนดมิติที่จะเปรียบเทียบ 2 สิ่ง คือ
ประถมศึกษา    2. ทักษะการจาแนกประเภท          การจาแนกระบุสิ่งของหรือเหตุการณ์ ความเหมือนและความต่าง
ปีที่ 2                                       ต่างๆ ในสิ่งที่เหมือนกันและสิ่งที่ 2. นาของอย่างน้อย 2 สิ่งที่จะ
                                              ต่างกัน                            เปรียบเทียบมาจัดให้อยู่บนฐานเดียวกัน
                                                                                 ตามเกณฑ์ที่กาหนด
                                                                                 3. บอกความเหมือนหรือความต่างของ
                                                                                 สิ่งที่ต้องการเปรียบเทียบกัน
                                              2. ทักษะการจาแนกประเภท             1. สังเกตสิ่งที่สนใจจะจาแนกประเภท
                                              หมายถึง การนาสิ่งต่างๆมาแยกเป็น 2. สังเกตภาพรวม สังเกตสิ่งที่เหมือนกัน
                                              กลุ่มตามเกณฑ์ที่ได้รับการยอมรับทาง สิ่งที่ต่างกัน
                                              วิชาการหรือยอมรับโดยทั่วไป         3. กาหนดเกณฑ์ที่ได้รับการยอมรับทาง
                                                                                 วิชาการหรือยอมรับโดยทั่วไปในการแยก
                                                                                 สิ่งต่างๆ ออกจากกัน



                                        ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน
13

 ระดับชั้น    ทักษะการคิดตามจุดเน้น                      ความหมาย                  กระบวนการนาไปพัฒนาผู้เรียน

                                                                                 4. แยกสิ่งต่างๆ ออกจากกันตามเกณฑ์
                                                                                 5. จัดกลุ่มสิ่งที่มีลักษณะเหมือนกันไว้
                                                                                 ด้วยกัน
                                                                                 6. อธิบายผลการจาแนกประเภทอย่างมี
                                                                                 หลักเกณฑ์
ชั้น         1. ทักษะการรวบรวมข้อมูล         1. ทักษะการรวบรวมข้อมูล             1. กาหนดจุดประสงค์ของการเก็บข้อมูล
ประถมศึกษา   2. ทักษะการเชื่อมโยง            หมายถึง การใช้วิธีการต่างๆ ในการ 2. หาวิธีการในการเก็บข้อมูลที่เหมาะสม
ปีที่ 3                                      เก็บข้อมูลที่ต้องการรู้             กับจุดประสงค์
                                                                                 3. ใช้วิธีการที่กาหนดในการรวบรวม
                                                                                 ข้อมูล
                                                                                 4. นาเสนอข้อมูลที่รวบรวมได้
                                             2. ทักษะการเชื่อมโยง หมายถึง        1. พิจารณาข้อมูลต่างๆ
                                             การบอกความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล 2. เลือกข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกันมา
                                             อย่างมีความหมาย                     สัมพันธ์กันให้มีความหมาย โดยอาศัย
                                                                                 ความรู้ประสบการณ์เดิมและแสวงหา
                                                                                 ความรู้และข้อมูลใหม่
                                                                                 3. อธิบายความสัมพันธ์และความหมาย
                                                                                 ของข้อมูลที่นามาเชื่อมโยงกัน
ชั้น         1. ทักษะการตั้งคาถาม             1. ทักษะการตั้งคาถาม หมายถึง       1. อ่านหรือฟ๎งอย่างตั้งใจ
ประถมศึกษา   2. ทักษะการให้เหตุผล            การพูดหรือการเขียนสิ่งที่สงสัย หรือ 2. ขีดเส้นใต้คาหรือข้อความหรือจด
ปีที่ 4                                      สิ่งที่ต้องการรู้                   ประเด็นที่สงสัยต้องการทราบคาตอบ
                                                                                 3. เลือกคาที่ใช้แทนสิ่งที่สงสัย เช่น ใคร
                                                                                 อะไร ที่ไหน อย่างไร ทาไม
                                                                                 4. พูดหรือเขียนเป็นประโยคคาถาม
                                             2. ทักษะการให้เหตุผล หมายถึง        1. รับรู้และรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ
                                             การอธิบายเหตุการณ์หรือการกระทา เหตุการณ์ หรือ การกระทาต่างๆ
                                             ต่างๆโดยเชื่อมโยงให้เห็นถึงสาเหตุ   ที่ต้องการอธิบายให้เหตุผล
                                             และผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์หรือการ 2. ค้นหาสาเหตุของเหตุการณ์หรือการ
                                             กระทานั้นๆ                          กระทาทีเ่ กิดขึ้นโดยอาศัยหลักตรรกะ/การ
                                                                                 ยอมรับของสังคม / ข้อมูลหลักฐาน
                                                                                 สนับสนุน / การทดสอบตรวจสอบ/
                                                                                 เหตุผลเชิงประจักษ์
                                                                                 3. อธิบายให้เห็นความสอดคล้องของเหตุ
                                                                                 และผลในเหตุการณ์หรือการกระทานั้นๆ
ชั้น         1. ทักษะการตีความ               1. ทักษะการตีความ หมายถึง การ 1. ศึกษาข้อมูล/ข้อความ/เรื่องที่ต้องการ
ประถมศึกษา   2. ทักษะการแปลความ              บอกความหมายหรือความสัมพันธ์         ตีความให้เข้าใจ
ปีที่ 5                                      ของข้อมูลหรือสาระที่แฝงอยู่ไม่      2. หาความหมายของข้อความที่ไม่ได้
                                             ปรากฏให้เห็นอย่างชัดเจน โดยการ      บอกไว้ โดย
                                             เชื่อมโยงกับบริบทความรู้/                  2.1 เชื่อมโยงข้อมูล/ข้อความที่มี
                                             ประสบการณ์เดิมหรือข้อมูลอื่นๆ       กับข้อมูลอื่นๆ ทั้งที่มีอยู่และที่เป็น
                                                                                 ความรู้หรือประสบการณ์เดิม
                                                                                        2.2 เชื่อมโยงข้อมูลอย่างมีเหตุผล
                                       ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน
14


  ระดับชั้น    ทักษะการคิดตามจุดเน้น                     ความหมาย                กระบวนการนาไปพัฒนาผู้เรียน

                                                                                 3. ระบุความหมายที่แฝงอยู่โดยอธิบาย
                                                                                 เหตุผลประกอบ
ชั้น                                         2. ทักษะการแปลความ หมายถึง          1. ทาความเข้าใจในสาระและ
ประถมศึกษา                                   การเรียบเรียงและถ่ายทอดข้อมูลใน     ความหมายของ สิ่งที่จะแปลความ
ปีที่ 5                                      รูปแบบ/วิธีการใหม่ที่แตกต่างไปจาก   2. หากลวิธีนาเสนอสาระและความหมาย
                                             เดิมแต่ยังคงสาระเดิม                นั้น ในรูปแบบ/วิธีการใหม่แต่ยังให้คง
                                                                                 สาระ และความหมายเดิม
                                                                                 3. เรียบเรียงและถ่ายทอดสาระและ
                                                                                 ความหมายนั้นตามกลวิธีที่กาหนด
ชั้น          1. ทักษะการสรุปอ้างอิง          1. ทักษะการสรุปอ้างอิงหมายถึง      1. สังเกตสิ่งต่างๆ / ปรากฏการณ์ต่างๆ
ประถมศึกษา    2. ทักษะการนาความรู้ไปใช้      การนาความรู้หรือประสบการณ์เดิม      2 . อธิบาย / สรุปสิ่งที่สังเกตตามข้อมูล
ปีที่ 6                                      มาใช้ในการสรุปลงความเห็นเกี่ยวกับ   เชิงประจักษ์
                                             ข้อมูล                              3. ขยายข้อมูลจากสิ่งที่สังเกตได้ออกไป
                                                                                 โดยการอ้างอิงจากความรู้หรือ
                                                                                 ประสบการณ์เดิม
                                                                                 4. สรุปความคิดเห็นจากการอ้างอิง
                                             2. ทักษะการนาความรู้ไปใช้           1. ทบทวนความรู้ที่มี
                                             หมายถึง การนาความรู้ที่เกิดจาก      2. มองเห็นความเหมือนกันของ
                                             ความเข้าใจไปใช้เพื่อให้เกิดความ     สถานการณ์ใหม่กับสถานการณ์เดิมที่
                                             ชานาญ                               เคยเรียนรู้มา
                                                                                 3. นาความรู้ที่มีไปใช้ในสถานการณ์ใหม่
                                                                                 ที่ใกล้เคียงกับที่ได้เคยเรียนรู้แล้ว
ชั้น          1. ทักษะการการวิเคราะห์   1. ทักษะการวิเคราะห์ หมายถึง             1. ศึกษาข้อมูล
มัธยมศึกษา    2. ทักษะการประเมิน        การจาแนกแยกแยะสิ่งใดสิ่งหนึ่ง /          2 . ตั้งวัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ปีที่ 1       3. ทักษะการสรุปลงความเห็น เรื่องใดเรื่องหนึ่งเพื่อค้นหา            3. กาหนดเกณฑ์ในการจาแนกแยกแยะ
                                        องค์ประกอบและความสัมพันธ์                ข้อมูล
                                        ระหว่างองค์ประกอบเหล่านั้น เพื่อ         4. แยกแยะข้อมูลตามเกณฑ์ที่กาหนด
                                        ช่วยให้เกิดความเข้าใจในเรื่องนั้น        เพื่อให้เห็นองค์ประกอบของสิ่งที่
                                                                                 วิเคราะห์
                                                                                 5. หาความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบ
                                                                                 ต่างๆ และความสัมพันธ์ของข้อมูลในแต่
                                                                                 ละองค์ประกอบ
                                                                                 6. นาเสนอผลการวิเคราะห์
                                                                                 7. นาผลการวิเคราะห์มาสรุปตอบ
                                                                                 คาถามตามวัตถุประสงค์
                                             2. ทักษะการประเมิน หมายถึง การ      1. นาประเด็น/หัวข้อที่จะใช้ในการ
                                             ตัดสินคุณค่า หรือ คุณภาพของสิ่งใด   ประเมินมากาหนดระดับคุณภาพหรือ
                                             สิ่งหนึ่งโดยการนาผลจากการวัดไป      คุณค่าที่ยอมรับได้
                                             เทียบกับระดับคุณภาพที่กาหนด         2. นาผลที่ได้จากการวัดมาเทียบกับ
                                                                                 ระดับคุณภาพ
                                                                                 3. ระบุระดับคุณภาพของสิ่งนั้น
                                       ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน
15

  ระดับชั้น    ทักษะการคิดตามจุดเน้น                       ความหมาย                    กระบวนการนาไปพัฒนาผู้เรียน

ชั้น                                           3. ทักษะการสรุปลงความเห็น           1. ศึกษาข้อมูลทั้งหมด
มัธยมศึกษา                                     หมายถึง การให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับ  2. จัดกระทากับข้อมูลด้วยวิธีการต่างๆ
ปีที่ 1                                        ข้อมูล/เรื่องที่ศึกษา โดยการเชื่องโยง
                                                                                   ตามความเหมาะสมและสรุปสาระสาคัญ
                                               และอ้างอิงจากความรู้หรือ            ของข้อมูลเรื่องที่ศึกษา
                                               ประสบการณ์เดิม หรือจากข้อมูลอื่นๆ   3. ให้ความเห็นที่เกินไปจากข้อมูลที่มีอยู่
                                               รวมทั้งเหตุผล                       โดยอาศัยการเชื่อมโยง การใช้เหตุผล
                                                                                   และการอ้างอิงจากความรู้ หรือ
                                                                                   ประสบการณ์เดิมหรือจากข้อมูลอื่นๆ
                                                                                   4. อธิบายความคิดเห็นโดยให้เหตุผล
                                                                                   ประกอบ
ชั้น          1. ทักษะการการสังเคราะห์         1. ทักษะการสังเคราะห์ หมายถึง       1. กาหนดวัตถุประสงค์ของสิ่งใหม่ที่
มัธยมศึกษา    2. ทักษะการประยุกต์ใช้           การนาความรู้ที่ผ่านการวิเคราะห์มา ต้องการสร้าง
ปีที่ 2       ความรู้                          ผสมผสานสร้างสิ่งใหม่ที่มีลักษณะต่าง 2. ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
                                               จากเดิม                             3. เลือกข้อมูลที่สอดคล้องกับ
                                                                                   วัตถุประสงค์
                                                                                   4. นาข้อมูลมาทากรอบแนวคิดสาหรับ
                                                                                   สร้างสิ่งใหม่
                                                                                   5. สร้างสิ่งใหม่ตามวัตถุประสงค์โดย
                                                                                   อาศัยแนวคิดที่กาหนด รวมกับข้อมูล
                                                                                   อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
                                                                                   5. ใช้ความรู้ในสถานการณ์ใหม่
                                               2. ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้
                                               หมายถึง การนาความรู้ที่มีไปใช้ใน
                                               สถานการณ์ใหม่ที่มีลักษณะแตกต่าง
                                               ไปจากเดิม
ชั้น          1. ทักษะการคิดอย่างมี            1. ทักษะกระบวนการคิดอย่างมี         1. ระบุประเด็นป๎ญหา หรือ ประเด็นใน
มัธยมศึกษา       วิจารณญาณ                     วิจารณญาณ หมายถึง กระบวนการ การคิด
ปีที่ 3       2. ทักษะกระบวนการคิด             คิดเพื่อให้ได้ความคิดที่รอบคอบ      2. ประมวลข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากการคิด
                 สร้างสรรค์                    สาเหตุที่จะเชื่อหรือจะทาโดยผ่านการ ทางกว้าง คิดทางลึกซึ้ง คิดอย่างละเอียด
                                               พิจารณาป๎จจัยรอบด้านอย่าง           และคิดในระยะไกล
                                               กว้างไกล ลึกซึ้งและผ่านการพิจารณา 3. วิเคราะห์ข้อมูล
                                               กลั่นกรองไตร่ตรอง ทั้งทางด้านคุณ - 4. พิจารณาทางเลือก โดยพิจารณา
                                               โทษและคุณค่าที่แท้จริงของสิ่งนั้น   ข้อมูลโดยใช้เหตุผลและระบุทางเลือก
                                               มาแล้ว                              ที่หลากหลาย
                                                                                   5. ลงความเห็น/ตัดสินใจ/ทาลายอนาคต
                                                                                   โดยประเมินทางเลือกและใช้เหตุผลคิด
                                                                                   คุณค่า
                                               2. ทักษะกระบวนการคิดสร้างสรรค์ 1. ระดมพลังความคิด
                                               หมายถึง ความคิดที่แปลกใหม่ที่จะ 2. สร้างสรรค์ชิ้นงาน
                                               นาไปสู่สิ่งต่างๆ ผลผลิตใหม่ๆทาง     3. นาเสนอวิพากษ์วิจารณ์
                                               เทคโนโลยี และความสามารถในการ 4. ประเมินผลงานของตนเอง
                                               ประดิษฐ์คดค้นสิ่งแปลกใหม่
                                                           ิ                       5. เผยแพร่ผลงาน
                                         ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน
16

ตัวอย่างการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิด ทักษะการสรุปอ้างอิง และทักษะการนาความรู้ไปใช้

                                            แผนการจัดการเรียนรู้
รหัสวิชา                          กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย                   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ชื่อหน่วยการเรียนรู้ พาคิดพาเขียน                               เวลา 12 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง บทร้อยกรองสอนคิด                                       เวลา 2 ชั่วโมง
สอนวันที่     เดือน

สาระที่ 1 การอ่าน
มาตรฐาน ท 1.1 :         ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดไปใช้ตัดสินใจแก้ป๎ญหาและ
                        สร้างวิสัยทัศน์ในการดาเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชี้วัด
  ท1.1 ป 6/4 แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
   ท1.1 ป 6/5 อธิบายการนาความรู้และความคิด จากเรื่องที่อ่านไปตัดสินใจแก้ป๎ญหาในการดาเนินชีวิต

สาระที่ 2 การเขียน
มาตรฐาน ท 2.1 :              ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียน
                             เรื่องราวในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงาน
                             การศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
ท2.1 ป 6/2 เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ถูกต้องชัดเจน และเหมาะสม
สาระที่ 3 การฟัง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท4.1 สามารถเลือกดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิดและ
                    ความรู้สึกในโอกาสต่างๆอย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
 ท 4.1 ป 6/2 ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผล จากเรื่องที่ฟ๎งและดู
สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง
                    ของภาษาและรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติชองชาติ
ท 4.1 ป 6/6 วิเคราะห์และเปรียบเทียบสานวนที่เป็นคาพังเพย และสุภาษิต
จุดประสงค์การเรียนรู้
            1. เขียนสรุปใจความสาคัญตามลาดับเหตุการณ์ของเรื่องได้ถูกต้อง
            2. แสดงความคิดเห็นจากการอ่านโดยการตอบคาถามได้ถูกต้อง
            3. วิจารณ์ตัวละครและวิเคราะห์ความสาคัญของเรื่องได้ถูกต้อง
            4. บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านนิทานได้ถูกต้อง
สาระสาคัญ
            การอ่านบทนิทานและบทร้อยกรองจะต้อง สรุปใจความสาคัญของเรื่องที่อ่าน จับใจความสาคัญให้ได้ว่า
เรื่องนี้มีใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไร ทาอย่างไร และการกระทานั้น ๆ เกิดผลอย่างไร และได้ข้อคิดต่าง ๆ
ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่าน

                                       ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่Apirak Potpipit
 
การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตร คำรูปภ...
การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตร คำรูปภ...การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตร คำรูปภ...
การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตร คำรูปภ...Mjjeje Mint
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4Itt Bandhudhara
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6Thanawut Rattanadon
 
จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการจิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการRukvicha Jitsumrawy
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3สุภาพร สิทธิการ
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1Kruthai Kidsdee
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวkrupornpana55
 
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นครูเย็นจิตร บุญศรี
 
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการรายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3Khunnawang Khunnawang
 
แผนการสอนเรื่องสัตว์บก
แผนการสอนเรื่องสัตว์บกแผนการสอนเรื่องสัตว์บก
แผนการสอนเรื่องสัตว์บกkrusupap
 
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้Bhayubhong
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกNoppadon Khongchana
 
ส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนอนุพงษ์ ทิพโรจน์
 

Was ist angesagt? (20)

มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตร คำรูปภ...
การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตร คำรูปภ...การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตร คำรูปภ...
การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตร คำรูปภ...
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการจิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการ
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการรายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
 
แบบประเม น
แบบประเม นแบบประเม น
แบบประเม น
 
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียงแผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
 
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
 
แผนการสอนเรื่องสัตว์บก
แผนการสอนเรื่องสัตว์บกแผนการสอนเรื่องสัตว์บก
แผนการสอนเรื่องสัตว์บก
 
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือก
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
ส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 

Ähnlich wie เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น

หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑rampasri
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางguest6e231b
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางkruthai40
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาSophinyaDara
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4dechathon
 

Ähnlich wie เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น (20)

Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
B2
B2B2
B2
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
วิชาการ
วิชาการวิชาการ
วิชาการ
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
 
World class
World classWorld class
World class
 
Compare 4451
Compare 4451Compare 4451
Compare 4451
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
 
บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
 

Mehr von Lathika Phapchai

Mehr von Lathika Phapchai (8)

Multipoint mouse
Multipoint mouseMultipoint mouse
Multipoint mouse
 
การใช้ Multipoint mouse
การใช้ Multipoint mouseการใช้ Multipoint mouse
การใช้ Multipoint mouse
 
แบบกรอกข้อมูล
แบบกรอกข้อมูลแบบกรอกข้อมูล
แบบกรอกข้อมูล
 
Multipoint lathiga
Multipoint lathigaMultipoint lathiga
Multipoint lathiga
 
Multipoint 27
Multipoint 27Multipoint 27
Multipoint 27
 
Multipoint 11
Multipoint 11Multipoint 11
Multipoint 11
 
การสร้างBlog
การสร้างBlogการสร้างBlog
การสร้างBlog
 
โวหาร19 กพ
โวหาร19 กพโวหาร19 กพ
โวหาร19 กพ
 

เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น

  • 1. ส่วนที่ 1 ความเป็นมา กระทรวงศึกษาธิการตระหนักและเห็นความสาคัญของการพัฒนาคนซึ่งเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่า ภายหลัง จากที่ได้ตราพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ขึ้นมาประกาศใช้ จึงมีการปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษแรก ตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2542 เป็นต้นมา และเพื่อเป็นการพัฒนาคนให้ต่อเนื่องและสอดคล้องกับ ยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง จึงกาหนดนโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552- 2561) ขึ้น โดยมี วิสัยทัศน์ให้คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพภายในปี พ.ศ. 2561 จะต้องมีการปฏิรูปการศึกษาและการ เรียนรู้อย่างเป็นระบบใน 3 ประเด็นหลักคือ การพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานการศึกษาและการเรียนรู้ของคนไทย เพิ่มโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนใน การบริหารและจัดการศึกษา สาหรับกรอบแนวทางในการปฏิรูป การศึกษาและการเรียนรู้อย่างเป็นระบบกาหนด ไว้ 4 ประการ ได้แก่ การพัฒนาคนไทยยุคใหม่ การพัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่ การพัฒนาสถานศึกษาและ แหล่ ง เรี ย นรู้ ยุ คใหม่ และ การพั ฒ นาคุ ณภาพการบริห ารจัดการใหม่ และเพื่อ เป็นการขับ เคลื่ อ นการปฏิรู ป การศึกษาตามเจตนารมณ์ จึงได้ประกาศ “จุดเน้นคุณภาพผู้เรียน จุดเปลี่ยนการปฏิรูปการศึกษาไทย” เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2553 ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนเก่ง คนดี และมีความสุข เป็นคุณภาพเด็กไทยในอนาคต เป็นผู้ มีความสามารถ คิดเป็น ทาเป็น แก้ป๎ญหาได้ ก้าวไกลสู่สากล และมีความเป็นพลเมืองที่สมบูรณ์ จุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน คือ คุณภาพในตัวผู้เรียนที่มีความครอบคลุมในด้านความสามารถและทักษะ ตลอดจนคุณลักษณะที่จะช่วยเสริมให้ผู้เรียนมีคุณภาพ บรรลุตามเปูาหมายหลักสูตร ซึ่งจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน กาหนดไว้ 2 ลักษณะ คือ 1. ความสามารถและทักษะของผู้เรียน ประกอบด้วย 1) ความสามารถอ่านออก เขียนได้ (ป.1-3) อ่านคล่อง เขียนคล่อง (ป.4-6) 2) การคิดเลขเป็น (ป.1-3) การคิดเลขคล่อง (ป.4-6) 3) ทักษะการคิด (ป.1-ม.6) 4) ทักษะชีวิต (ป.1- ม.6) 5) การสื่อสาร (ป.1-ม.6) 6) การใช้เทคโนโลยี (ม.1-6) 2. คุณลักษณะ : ลักษณะของผู้เรียนที่มีความเป็นพลเมือง รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝุเรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ ซึ่งกาหนด คุณลักษณะที่เน้นในแต่ละช่วงชั้น ได้แก่ 1) ใฝุดี (ป.1-3) 2) ใฝุเรียนรู้ (ป.4-6) 3) อยู่อย่างพอเพียง(ม.1-3) 4) มุ่งมั่นในการทางานและการศึกษา (ม.4-6) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงกาหนดยุทธศาสตร์ในการขับเคลื่อนหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล โดยใช้ยุทธศาสตร์ 4 ยุทธศาสตร์ คือ ยุทธศาสตร์ที่ 1 เพิ่มความสามารถในการเรียนรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 2 กระตุ้น เร่งรัดการนาจุดเน้นสู่การปฏิบัติ ยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างความพร้อมแก่ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง และชุมชน ติดตาม ตรวจสอบฯ จุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน
  • 2. 2 ยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างความเข้มแข็งในการกากับ ติดตามและการพัฒนาผู้เรียน เป้าหมายการพัฒนา ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถและทักษะ มีคุณลักษณะตามจุดเน้นแต่ละช่วงวัย ตัวชี้วัดความสาเร็จ 1. ร้อยละของผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพตามจุดเน้น 2. ระดับความสาเร็จของการนาจุดเน้นในการพัฒนาผู้เรียนสู่การปฏิบัติ 3. ระดับความสาเร็จของสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ได้สาเร็จตามจุดเน้น 4. ระดับความสาเร็จของเขตพื้นที่การศึกษาในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนได้ตามจุดเน้น บทบาทของสถานศึกษาเพื่อการขับเคลื่อนจุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 1. จัดทาฐานข้อมูลผู้เรียน โรงเรียนตามจุดเน้น 2. ศึกษาบริบทใน/นอกโรงเรียนเพื่อจัดทาแหล่งเรียนรู้ (สถานที่/บุคคล) 3. ปรับ/ออกแบบตารางเรียน จัดการเรียนการสอนให้เอื้อต่อการพัฒนาผู้เรียนตามจุดเน้น 4. ให้ความสาคัญการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 5. จัดทารายงานความก้าวหน้าของผู้เรียนตามจุดเน้น ตัวชี้วัดภาพความสาเร็จระดับโรงเรียนของจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ระยะที่ 1 เริ่มต้นค้นวิเคราะห์ (ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553) 1) มีข้อมูลผู้เรียนรายบุคคล ครบถ้วน พร้อมใช้ 2) มีแผนพัฒนาผู้เรียนตามจุดเน้นที่ชัดเจน ปฏิบัติได้ 3) มีฐานข้อมูลแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียนเพียงพอ 4) มีตารางเรียนที่ยืดหยุ่นตามจุดเน้น 5) มีกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน โดยมีกิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียนไม่น้อย กว่าร้อยละ 30 ของเวลาเรียน 6) มีเครื่องมือวัดและประเมินผลที่หลากหลาย ครอบคลุมตามจุดเน้น ระยะที่ 2 บ่มเพาะประสบการณ์ (ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554) 1) ผู้เรียนได้สารวจ สืบค้นทาโครงงาน โครงการจากแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน 2) ครูใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียนอย่างคุ้มค่า 3) จัดบรรยากาศให้เอื้อต่อการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน 4) ชุมชนเข้าใจ ร่วมมือ สนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้ 5) ครูพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้/สื่อ อย่างมีประสิทธิภาพ 6) มีการนาผลการพัฒนาผู้เรียนตามจุดเน้นมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน
  • 3. 3 ระยะที่ 3 สานต่อองค์ความรู้ (ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554) 1) มีการนาผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้มาใช้ในการปรับปรุงกิจกรรมการพัฒนาผู้เรียน 2) มีผลการวิจัยและพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง 3) มีรายงานผลความก้าวหน้าในการพัฒนาผู้เรียน 4) มีการสร้างเครือข่าย/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระยะที่ 4 นาสู่วิถีคุณภาพ (ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555) 1) มีนวัตกรรมการบริหารเพื่อพัฒนาผู้เรียนตามจุดเน้น 2) มีนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ตามจุดเน้น 3) มีเครื่องมือวัด/ประเมินผลการพัฒนาผู้เรียนที่มีคุณภาพ 4) มีการเผยแพร่การวิจัยและผลการพัฒนาผู้เรียน ระยะที่ 5 มีวัฒนธรรมการเรียนรู้ใหม่ (ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555) 1) ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีความสุข มีความสามารถ ทักษะ และคุณลักษณะตามจุดเน้น 2) มีวัฒนธรรมการเรียนรู้ใหม่ 3) ครูเป็นครูมืออาชีพ 4) โรงเรียนมีการจัดการความรู้ 5) มีเครือข่ายร่วมพัฒนาที่เข้มแข็ง 6) สาธารณชนยอมรับ และมีความพึงพอใจ ดังนั้น สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2 จึงตระหนักต่อภารกิจในการพัฒนา คุณภาพการศึกษาและเพื่อตอบสนองนโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองของกระทรวงศึกษาธิการ จึง ได้กาหนดแนวทางการนาจุดเน้นสู่การปฏิบัติในสถานศึกษาโดยการสร้างเครื่องมือติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผ ล ครบทุกจุดเน้นและทุกชั้นปี ตามที่กาหนด เพื่อมุ่งหวังให้คุณครูผู้รับผิดชอบระดับชั้นเรียน ได้ศึกษาและนาไปใช้ พัฒ นาผู้ เรีย นในระดับ ชั้น เรี ย น สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ และเพื่อเป็น การขับเคลื่ อนการปฏิรูปการศึกษาใน ทศวรรษที่สอง ให้เกิดคุณภาพตามตัวชี้วัดความสาเร็จในระยะต่างๆ ส่งผลต่อประชากรในวัยเรียนได้รับการ พัฒนาตามจุดเน้นบรรลุตามเปูาหมายที่กาหนดไว้ ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน
  • 4. 4 ส่วนที่ 2 การดาเนินงาน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2 ส่งเสริม สนับสนุนและอานวยความสะดวก ในการนาจุดเน้นสู่การปฏิบัติในสถานศึกษาอย่างต่อเนื่องในรูปแบบและวิธีการต่างๆ ได้แก่ กาหนดมาตรการ การรับทราบการประกาศจุดเน้นจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้นาเอกสารความรู้และโปสเตอร์ จุดเน้นเผยแพร่ ทุกโรงเรียน ทุกห้องเรียน กาหนดแนวการพัฒนา การนิเทศจุดเน้นทั้งในระบบการนิเทศภายใน โรงเรียนและภายนอก จัดพิมพ์และจัดทาแนวทาง การนาจุดเน้นสู่การปฏิบัติในสถานศึกษา ประชุมเชิง ปฏิบัติการ การนิเทศทางไกล ฯลฯ และการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศจุดเน้นเป็นวิธีที่ใช้ในการ ขับเคลื่อนการพัฒนาผู้เรียนตามจุดเน้นอย่างครบวงจร โดยดาเนินการจาแนกเป็นรายจุดเน้นตามลาดับ ดังนี้ แนวทางการนิเทศการพัฒนาการอ่าน การเขียน สาระสาคัญ ทักษะการอ่าน การเขียน เป็นทักษะพื้นฐานที่สามารถวัดและประเมินได้อย่างเป็นรูปธรรม มีเครื่องมือ วัดและเกณฑ์ประเมินความสามารถตามระดับคุณภาพ การอ่านออก เขียนได้ อ่านคล่อง เขียนคล่อง มีนิยามคา สาคัญ ดังนี้ อ่านออก หมายถึง ความสามารถรับรู้และเข้าใจความหมายของคา ประโยค ข้อความสั้นๆ ในสื่อต่างๆ หรือในหนังสือได้ตามระดับชั้นของผู้เรียน อ่านคล่อง หมายถึง ความสามารถอ่านออกเสียงชัดเจน ถูกต้อง ตามหลักเกณฑ์ การอ่านในระยะเวลา ที่เหมาะสมกับระดับชั้นของผู้เรียนและสามารถจับใจความสาคัญของเรื่องที่อ่านได้ เขียนคล่อง หมายถึง ความสามารถเขียนคา ประโยค ข้อความ เรื่องราว ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ทางภาษา ได้รวดเร็ว ในระยะเวลาที่เหมาะสมตามระดับชั้นของผู้เรียน ขอบข่ายการประเมินทักษะการอ่านการเขียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 1. อ่านคาพื้นฐาน 20 คา 2. เลือกคาที่กาหนดให้เติมในช่องว่าง 3 เรื่อง 20 คา 3. เขียนตามคาบอก 20 คา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 1. อ่านคาพื้นฐาน 20 คา 2. แต่งประโยคจากคาที่กาหนดให้ 20 คา 3. เขียนตามคาบอก 20 คา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 1. อ่านคาพื้นฐาน 20 คา 2. เขียนเรื่องจากภาพโดยใช้คาที่กาหนดให้ 20 คา 3. เขียนตามคาบอก 20 คา ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน
  • 5. 5 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 1. อ่านกลอน 4 จานวน 2 บท 2. สรุปใจความสาคัญจากกลอน 4 3. เขียนย่อความจากเรื่องที่กาหนดให้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 1. อ่านกาพย์ยานี 11 จานวน 2 บท 2. สรุปใจความสาคัญ/บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่าน กาพย์ยานี 11 3. เขียนแสดงความรู้สึก / แสดงความคิดเห็น จากข้อความที่กาหนดให้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 1. อ่านกลอนสุภาพ 2 บท 2. สรุปใจความสาคัญ/บอกข้อเท็จจริง จากกลอนสุภาพ 3. เขียนเรียงความจากเรื่องที่กาหนดให้ แนวทางประเมินการอ่าน การเขียน ชุดที่ 1 1 การอ่านได้ 1.1 การอ่าน 1. ให้นักเรียนอ่านคาพื้นฐานที่กาหนดให้ 20 คา โดยอ่านในใจ 3-5 นาที 2. ให้นักเรียนอ่านออกเสียง คาละ 1 ครั้ง เรียงลาดับจากคาที่ 1-20 ตามลาดับ 3. ครูประเมินความสามารถในการอ่าน ตามแบบประเมิน โดยทาเครื่องหมาย  ในช่องคา ที่นักเรียนอ่านได้ถูกต้อง หรือทาเครื่องหมาย  ในช่องคาที่นักเรียนอ่านผิด หรือไม่อ่าน 1.2 เข้าใจความหมายของคา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 1. แบบประเมินการเข้าใจความหมายของคามี 3 ตอน ให้นักเรียนทาทีละตอนโดยนาคาที่ กาหนดให้เติมลงในช่องว่างให้ได้เรื่องราวที่สมบูรณ์ 2. ครู ต รวจผลงานนั ก เรี ย น โดยท าเครื่ อ งหมาย  ในช่ อ งค าที่ นั ก เรี ย นใช้ ค าได้ ถู ก ต้ อ ง หรือทาเครื่องหมาย  ในช่องคาที่นักเรียนเขียนผิดหรือไม่เขียนในแบบประเมิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 1. ให้นักเรียนนาคาที่กาหนดให้แต่งประโยคให้ได้ใจความสมบูรณ์ 2. ครูตรวจผลงานการเขียนประโยค โดยทาเครื่องหมาย  ในช่องคาที่นักเรียนใช้คาได้ถูกต้อง หรือทาเครื่องหมาย  ในช่องคาที่นักเรียนเขียนผิดหรือไม่เขียนในแบบประเมิน ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน
  • 6. 6 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 1. ให้นักเรียนนาคาที่กาหนดให้เขียนเรื่องให้สอดคล้องสัมพันธ์กับภาพ 2. ครูตรวจผลงานการเขียน เรื่องจากภาพ โดยทาเครื่องหมาย  ในช่องคาที่นักเรียนใช้คา เขียนเรื่องได้สัมพันธ์กับภาพ หรือทาเครื่องหมาย  ในช่องคาที่นักเรียนเขียนเรื่องได้ไม่สัมพันธ์กับ ภาพหรือ ไม่เขียนในแบบประเมิน สรุปผลการอ่าน 1. พิจารณาเครื่องหมายในช่องอ่านออกและเข้าใจความหมายของคา หากเครื่องหมาย  ทั้ง สองช่อง ให้ทาเครื่องหมาย ในช่องสรุป หากเครื่องหมาย  กับ  หรือ  กับ  ให้ทาเครื่องหมาย  ในช่องสรุป 2. เกณฑ์การประเมิน 2.1 ระดับ 3 เขียนได้และเข้าใจความหมายของคา 16-20 คา 2.2 ระดับ 2 เขียนได้และเข้าใจความหมายของคา 12-15 คา 2.3 ระดับ 1 เขียนได้และเข้าใจความหมายของคา 11 คา ลงมา 2. การเขียนได้ 1. ครูแจกกระดาษเขียนคาตามคาบอกให้นักเรียนกรอกรายละเอียดให้ครบถ้วน 2. ครูบอกคาพื้นฐานทีละคาๆ ละ 2 ครั้ง แล้วให้นักเรียนเขียนทีละคา ใช้เวลาคาละ 1 นาที 3. ตรวจความถูกต้องในการเขียน ทาเครื่องหมาย ในช่องคาที่เขียนถูกและทาเครื่องหมาย  ในช่องคาที่เขียนผิดหรือไม่เขียน โดยทาในแบบบันทึกผล 4. เกณฑ์การประเมิน ระดับ 3 เขียนได้ถูกต้อง 16-20 คา ระดับ 2 เขียนได้ถูกต้อง 12-15 คา ระดับ 1 เขียนได้ถูกต้อง 11 คา ลงมา คาสาหรับการเขียนตามคาบอก ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 1. เกเร 2. มือ 3. ดึง 4. ข้าว 5. ชอบ 6. กลางวัน 7. พริก 8. ความรู้ 9. ขนม 10. สบาย 11. ถนน 12. อาหาร 13. สวัสดี 14. คน 15. สวน 16. ผัก 17. เดิน 18. เย็น 19. สัตว์ 20. วันเสาร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 1. แผ่นดิน 2. ถ้อยคา 3. ปลอดโปร่ง 4. สร้อย 5. ทราย 6. สนุกสนาน 7. อร่อย 8. หมาก 9. วิหค 10. พืช 11. พืช 12. ลมโบก 13. ส่วนแบ่ง 14. แข็งแรง 15. เขินอาย 16. เถาวัลย์ 17. อาทิตย์ 18. ดวงจันทร์ 19. บรรทัด 20. ภรรยา ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน
  • 7. 7 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 1. ตรากตรา 2. เคว้งคว้าง 3. ต้นไทร 4. ฉลาด 5. ถล่ม 6. ขนุน 7. คนพาล 8. ชานาญ 9. บิณฑบาต 10. คนดี 11. ปุวย 12. ลาพัง 13. เอ็นดู 14. พระสงฆ์ 15. ประโยชน์ 16. อนุรักษ์ 17. สรรหา 18. บรรจง 19. พิชซ่า 20. ฟุตบอล 3. การอ่านคล่อง 3.1 ให้นักเรียนอ่านออกเสียง บทร้อยกรอง ตามแบบฉันทลักษณ์ 1 จบ โดยครูควรให้นักเรียน อ่านในใจก่อน 2-3 นาที แล้วจึงอ่านออกเสียง (ป.4 กลอนสี่ ป.5 กาพย์ยานี 11 ป.6 กลอนสุภาพ) 3.2 ให้นักเรียนเขียนสรุปใจความสาคัญของเรื่องที่อ่าน 3.3 ครูประเมินผลงานตามเกณฑ์ระดับคุณภาพ ดังนี้ 3.3.1 อ่านถูกต้องตามอักขรวิธี ระดับ 3 หมายถึง 1. อ่านถูกต้องตามอักขรวิธีและฉันทลักษณ์ 2. อ่านคาครบถ้วน ไม่ตก ไม่เพิ่มคา 3. เสียงดังเหมาะสม ระดับ 2 หมายถึง ปฏิบัติข้อ 1 แต่ไม่ปฏิบัติ ข้อ 2 และ / หรือ ข้อ 3 ระดับ 1 หมายถึง ไม่ปฏิบัติข้อ 1 แต่ปฏิบัติข้อ 2 และ/หรือ ข้อ 3 3.3.2 สรุปใจความสาคัญ ระดับ 3 หมายถึง 1. สรุปใจความสาคัญของเรื่องได้ชัดเจน ถูกต้อง 2. ใช้ภาษาในการเขียนถูกต้อง สื่อความหมายได้ดี ระดับ 2 หมายถึง ปฏิบัติข้อ 1 ระดับ 1 หมายถึง ปฏิบัติข้อ 1 หรือ ข้อ 2 3.3.3 มีมารยาทในการอ่าน ระดับ 3 หมายถึง 1. ท่าทางในการอ่านสุภาพ 2. กระตือรือร้นในการอ่าน 3. มีสมาธิในการอ่าน ระดับ 2 หมายถึง ปฏิบัติ 2 ข้อ จาก 3 ข้อ ระดับ 1 หมายถึง ปฏิบัติ 1 ข้อ จาก 3 ข้อ 4. การเขียนคล่อง 4.1 ให้นักเรียนอ่านแล้วเขียนโดยจาแนก ดังนี้ 4.1.1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ให้นักเรียนอ่านนิทานแล้วเขียนย่อความ 4.1.2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ให้นักเรียนอ่านข่าว แล้วเขียนแสดงความรู้สึก และแสดงความคิดเห็น 4.1.3 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้นักเรียนเขียนเรียงความ ตามเรื่องที่กาหนดให้ ความยาวอย่างน้อย 15 บรรทัด ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน
  • 8. 8 4.2 ครูประเมินผลงานตามเกณฑ์ระดับคุณภาพ ดังนี้ 4.2.1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 1) การเขียนย่อความ ระดับ 3 หมายถึง 1. การลาดับความเข้าใจง่าย 2. ใช้ถ้อยคาสั้นๆ ตรงไปตรงมาและรัดกุม 3. ใช้คาสามัญ เข้าใจง่าย 4. มีรูปแบบการย่อความ (ย่อเรื่อง ....ความว่า...) 5. เขียนเสร็จภายสนเวลาที่กาหนด ระดับ 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ 3-4 ข้อ ระดับ 1 หมายถึง ปฏิบัติได้ 1-2 ข้อ 2) มีมารยาทในการเขียน ระดับ 3 หมายถึง 1. เขียนตามข้อเท็จจริงทั้งหมด 2. ใช้ภาษาสุภาพ 3. เขียนด้วยลายมือที่สวยงาม อ่านง่าย ระดับ 2 หมายถึง ปฏิบัติ 2 ข้อ ระดับ 1 หมายถึง ปฏิบัติ 1 ข้อ 4.2.2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 1) เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็น ระดับ 3 หมายถึง 1. เนื้อหาสาระสอดคล้องกับเรื่องที่กาหนด 2. มีชื่อเรื่อง 3. ใช้ภาษาถูกต้อง 4. มีองค์ประกอบการเขียนเรียงความถูกต้องครบถ้วน (มีคานา เนื้อเรื่อง สรุป) 5. เขียนเสร็จภายในเวลาที่กาหนด 6. ความยาวของเนื้อหาตามที่กาหนด ระดับ 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ 4-5 ข้อ ระดับ 1 หมายถึง ปฏิบัติได้ 1- 3 ข้อ 2) มีมารยาทในการเขียน ระดับ 3 หมายถึง 1. เขียนตามข้อเท็จจริงทั้งหมด 2. ใช้ภาษาสุภาพ 3. เขียนด้วยลายมือที่สวยงาม อ่านง่าย ระดับ 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ 2 ข้อ ระดับ 1 หมายถึง ปฏิบัติได้ 1 ข้อ ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน
  • 9. 9 4.2.3 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 1) การเขียนเรียงความ ระดับ 3 หมายถึง 1. เนื้อหาสาระสอดคล้องกับเรื่องที่กาหนด 2. มีชื่อเรื่อง 3. ใช้ภาษาถูกต้อง 4. มีองค์ประกอบการเขียนเรียงความถูกต้องครบถ้วน (มีคานา เนื้อเรื่อง สรุป) 5. เขียนเสร็จภายในเวลาที่กาหนด 6. ความยาวของเนื้อหาตามที่กาหนด ระดับ 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ 4-5 ข้อ ระดับ 1 หมายถึง ปฏิบัติได้ 1-3 ข้อ 2) มีมารยาทในการเขียน ระดับ 3 หมายถึง 1. เขียนตามข้อเท็จจริงทั้งหมด 2. ใช้ภาษาสุภาพ 3. เขียนด้วยลายมือที่สวยงาม อ่านง่าย ระดับ 2 หมายถึง ปฏิบัติได้ 2 ข้อ ระดับ 1 หมายถึง ปฏิบัติได้ 1 ข้อ แนวทางการพัฒนาการคิดเลข 1. สาระสาคัญ ครูผู้สอน สามารถพัฒนาการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้ คิดเลขเป็น คิดเลขคล่อง ตามจุดเน้นคุณภาพผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น 2. จุดประสงค์ 2.1 ครูคณิตศาสตร์สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนคิดเลขเป็นในระดับชั้น ป. 1-3 และ คิดเลขคล่องในระดับชั้น ป. 4-6 2.2 เพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียนด้านการคิดเลขเป็นในระดับชั้น ป. 1-3 และ คิดเลขคล่อง ในระดับชั้น ป. 4-6 3. เป้าหมาย 3.1 ครูผู้สอนคณิตศาสตร์ในระดับชั้น ป. 1-3 ทุกคน ได้รับการพัฒนาเรื่องการจัดการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนคิดเลขเป็นและครูผู้สอนคณิตศาสตร์ในระดับชั้น ป. 4-6 ทุกคน ได้รับการพัฒนาเรื่องการจัดการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนคิดเลขคล่อง 3.2 ผู้เรียนชั้น ป.1-6 ทุกคน ได้รับการตรวจสอบคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นในแต่ละระดับชั้น 4. กิจกรรมการพัฒนา 4.1 ครู 1) ประชุมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับจุดเน้นคุณภาพผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น 2) ครูสร้างนวัตกรรม 3) ครูทดลองและใช้นวัตกรรม 4.3 เก็บข้อมูลตามจุดเน้นโดยการประเมินแนวทางการจัดการเรียนรู้ของครูตามจุดเน้น 4.4 ตรวจสอบคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นในแต่ละระดับชั้น ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน
  • 10. 10 5. สื่อการพัฒนา 5.1 แนวทางการนาจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียนสู่การปฏิบัติ 5.2 Road Map จุดเน้น สู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 5.3 แบบประเมินแนวทางการจัดการเรียนรู้ของครูตามจุดเน้นเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 5.4 แบบประเมินนักเรียนตามจุดเน้นเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 6. ขั้นตอนสาหรับครูผู้สอนในการใช้เครื่องมือวัดและประเมินผลตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เรื่อง การ คิดเลขเป็น และการคิดเลขคล่อง 6.1 การวัดและประเมินคุณภาพตามจุดเน้น 6.2 ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เนื้อหาจากชั้นเรียนก่อนนาเครื่องมือวัดและประเมินผลตามจุดเน้น การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เรื่อง การคิดเลขเป็น และการคิดเลขคล่อง มาใช้ตามระดับ 6.3 อธิบายชี้แจง และทาความเข้าใจเกี่ยวกับการทาแบบทดสอบ และ เกณฑ์การให้คะแนน / ข้อกาหนดต่างๆของแบบทดสอบให้ผู้เรียนทราบ 6.4 เตรียมแบบทดสอบและอุปกรณ์ให้พร้อม 6.5 จัดบรรยากาศให้เหมาะสม เอื้อต่อการเรียนรู้ และทาแบบทดสอบ 6.6 ตรวจคาตอบตามเกณฑ์ ตามเฉลยของแบบทดสอบ 6.7 อธิบายแนวทางการหาคาตอบ เพื่อให้ผู้เรียนได้แก้ไขคาตอบ วิธีทาที่ผิดด้วยตนเอง หรือร่วมกับผู้เรียนหาวิธีคิดในข้อที่ตอบผิด 7. การบันทึกผลการประเมิน ขอให้บันทึกข้อมูลลงในแบบที่กาหนดให้ ดังนี้ ป.1 ใช้แบบประเมิน 2/1 ป.4 ใช้แบบประเมิน 2/4 ป.2 ใช้แบบประเมิน 2/2 ป.5 ใช้แบบประเมิน 2/5 ป.3 ใช้แบบประเมิน 2/3 ป.6 ใช้แบบประเมิน 2/6 แนวทางการพัฒนาทักษะการคิด การจั ดการศึกษาตามแนวการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ มีเปูาหมายสูงสุดคือ การพัฒนาคุณภาพของนักเรียนให้เต็มศักยภาพ โดยมุ่งเน้นให้นักเรียนมีความสามารถทางความคิด สามารถ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รู้จักวิเคราะห์ ค้นหาสาเหตุและแนวทางการแก้ป๎ญหา ใฝุรู้ อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติ มีคุณธรรม จริยธรรม โดยมุ่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่โรงเรียนเป็นลาดับแรก การจะเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ โรงเรียนได้นั้น องค์ประกอบสาคัญคือ ครูผู้สอนต้องเปลี่ยนแปลงแนวคิดและการจัดกระบวนการเรียนการสอน โดยเปลี่ยนพฤติกรรมจากการบอกความรู้ให้นักเรียน มาเป็นการจัดการเรียนการสอนให้นักเรียนรู้จักคิด รู้จัก แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การปรับปรุงการเรียนการสอนในห้องเรียนจึงนับได้ว่าเป็นหัวใจสาคัญของการปฏิรูป การศึกษาอย่ างแท้จ ริ ง ผนวกกับ การส่ งเสริมและสนับสนุน ให้ เกิดการประกันคุณภาพขึ้นในชั้นเรียน เป็น กระบวนการที่จะช่วยเหลือให้ครูผู้สอนหรือผู้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน ได้ปรับปรุงงานของตนเองให้ มีคุณภาพและประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน
  • 11. 11 ทักษะการคิดสู่การพัฒนาผู้เรียน ตามจุดเน้น ทักษะการคิดสู่การพัฒนาผู้เรียน ให้สอดคล้องตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้ใช้กรอบด้านกระบวนการที่ใช้ในการคิด ซึ่งได้แก่ ความสามารถในทักษะการคิด ขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วยทักษะการคิด ที่ใช้ในการสื่อสาร และทักษะการคิดที่เป็นแกน และความสามารถในทักษะการคิดขั้นสูง ประกอบด้วย ทักษะการคิด ซับซ้อน ทักษะพัฒนาลักษณะการคิด ทักษะกระบวนการคิด โดยมีทักษะการคิดเป็นกรอบในการพัฒนา ดังนี้ 1. ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน 1.1 ทักษะการคิดที่ใช้ในการสื่อสาร ทักษะการฟ๎ง ทักษะการพูด ทักษะการอ่าน ทักษะการเขียน 1.2 ทักษะการคิดที่เป็นแกน ทักษะการสังเกต ทักษะการสารวจ ทักษะการสารวจค้นหา ทักษะการตั้งคาถาม ทักษะการระบุ ทักษะการรวบรวมข้อมูล ทักษะการเปรียบเทียบ ทักษะการคัดแยก ทักษะการจัดกลุ่ม ทักษะการจาแนกประเภท ทักษะการเรียงลาดับ ทักษะการแปลความ ทักษะการตีความ ทักษะการเชื่อมโยง ทักษะการสรุปย่อ ทักษะการสรุปอ้างอิง ทักษะการให้เหตุผล ทักษะการนาความรู้ไปใช้ 2. ทักษะการคิดขั้นสูง 2.1 ทักษะการคิดซับซ้อน ทักษะการให้ความกระจ่าง ทักษะการสรุปลงความเห็น ทักษะการให้คาจากัดความ ทักษะการวิเคราะห์ ทักษะการสังเคราะห์ ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะการจัดระเบียบ ทักษะการสร้างความรู้ ทักษะการจัดโครงสร้าง ทักษะการปรับโครงสร้าง ทักษะการหาแบบแผน ทักษะการพยากรณ์ ทักษะการหาความเชื่อพื้นฐาน ทักษะการตั้งสมมติฐาน ทักษะการพิสูจน์ความจริง ทักษะการทดสอบสมมติฐาน ทักษะการตั้งเกณฑ์ ทักษะการประเมิน 2.2 ทักษะพัฒนาลักษณะการคิด ทักษะการคิดคล่อง ทักษะการคิดหลากหลาย ทักษะการคิดละเอียด ทักษะการคิดชัดเจน ทักษะการคิดอย่างมีเหตุผล ทักษะการคิดถูกทาง ทักษะการคิดกว้าง ทักษะการคิดไกล ทักษะการคิดลึกซึ้ง ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน
  • 12. 12 2.3 ทักษะกระบวนการคิด ทักษะกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณทักษะกระบวนการคิดตัดสินใจทักษะกระบวนการคิด แก้ป๎ญหาทักษะกระบวนการวิจัย ทักษะกระบวนการคิดสร้างสรรค์ การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดตามจุดเน้น แนวทางการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดผู้เรียนตามจุดเน้น การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง(2552-2561) ของกระทรวงศึกษาธิการ มีแนวทางการจัดการ เรียนรู้ตามระดับชั้น ดังนี้ ระดับชั้น ทักษะการคิดตามจุดเน้น ความหมาย กระบวนการนาไปพัฒนาผู้เรียน ชั้น 1. ทักษะการสังเกต ทักษะการสังเกต หมายถึง 1. กาหนดสิ่งหรือเรื่องที่จะสารวจ ประถมศึกษา การรับรู้และรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ 2. แสวงหาวิธีการในการรวบรวมข้อมูล ปีที่ 1 สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง เพื่อให้ได้ข้อเท็จจริงและความคิดเห็น ห้า เพื่อให้ได้รายละเอียดเกี่ยวกับสิ่ง เกี่ยวกับสิ่งนั้น นั้น ๆ ซึ่งเป็นข้อมูลเชิงประจักษ์ที่ไม่ 3. รวบรวมข้อเท็จจริงและความคิดเห็น มีการใช้ประสบการณ์และความ เกี่ยวกับสิ่งที่สารวจ คิดเห็นของผู้สังเกตในการเสนอข้อมูล 4. นาเสนอข้อเท็จจริงและความ ข้อมูลจากการสังเกตมีทั้งข้อมูลเชิง คิดเห็นที่ได้จากการสารวจ คุณภาพและข้อมูลเชิงปริมาณ 2. ทักษะการจัดกลุ่ม ทักษะการจัดกลุ่ม หมายถึง การนา 1. สังเกตความเหมือน ความต่าง และ สิ่งต่างๆ ที่มีสมบัติเหมือนกันตาม ภาพรวมของสิ่งต่างๆที่จะจัดกลุ่ม เกณฑ์มาจัดเป็นกลุ่มโดยแต่ละกลุ่มมี 2. รวมกลุ่มเดียวกัน ซึ่งแต่ละกลุ่มมี เกณฑ์ต่างกัน เกณฑ์ต่างกันไป 3. จาแนกหรือแยกสิ่งต่างๆเข้ากลุ่มตาม เกณฑ์ที่กาหนด 4. อธิบายผลการจัดกลุ่มพร้อมทั้งเกณฑ์ ที่ใช้ ชั้น 1. ทักษะการเปรียบเทียบ 1. ทักษะการเปรียบเทียบ หมายถึง 1. กาหนดมิติที่จะเปรียบเทียบ 2 สิ่ง คือ ประถมศึกษา 2. ทักษะการจาแนกประเภท การจาแนกระบุสิ่งของหรือเหตุการณ์ ความเหมือนและความต่าง ปีที่ 2 ต่างๆ ในสิ่งที่เหมือนกันและสิ่งที่ 2. นาของอย่างน้อย 2 สิ่งที่จะ ต่างกัน เปรียบเทียบมาจัดให้อยู่บนฐานเดียวกัน ตามเกณฑ์ที่กาหนด 3. บอกความเหมือนหรือความต่างของ สิ่งที่ต้องการเปรียบเทียบกัน 2. ทักษะการจาแนกประเภท 1. สังเกตสิ่งที่สนใจจะจาแนกประเภท หมายถึง การนาสิ่งต่างๆมาแยกเป็น 2. สังเกตภาพรวม สังเกตสิ่งที่เหมือนกัน กลุ่มตามเกณฑ์ที่ได้รับการยอมรับทาง สิ่งที่ต่างกัน วิชาการหรือยอมรับโดยทั่วไป 3. กาหนดเกณฑ์ที่ได้รับการยอมรับทาง วิชาการหรือยอมรับโดยทั่วไปในการแยก สิ่งต่างๆ ออกจากกัน ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน
  • 13. 13 ระดับชั้น ทักษะการคิดตามจุดเน้น ความหมาย กระบวนการนาไปพัฒนาผู้เรียน 4. แยกสิ่งต่างๆ ออกจากกันตามเกณฑ์ 5. จัดกลุ่มสิ่งที่มีลักษณะเหมือนกันไว้ ด้วยกัน 6. อธิบายผลการจาแนกประเภทอย่างมี หลักเกณฑ์ ชั้น 1. ทักษะการรวบรวมข้อมูล 1. ทักษะการรวบรวมข้อมูล 1. กาหนดจุดประสงค์ของการเก็บข้อมูล ประถมศึกษา 2. ทักษะการเชื่อมโยง หมายถึง การใช้วิธีการต่างๆ ในการ 2. หาวิธีการในการเก็บข้อมูลที่เหมาะสม ปีที่ 3 เก็บข้อมูลที่ต้องการรู้ กับจุดประสงค์ 3. ใช้วิธีการที่กาหนดในการรวบรวม ข้อมูล 4. นาเสนอข้อมูลที่รวบรวมได้ 2. ทักษะการเชื่อมโยง หมายถึง 1. พิจารณาข้อมูลต่างๆ การบอกความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล 2. เลือกข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกันมา อย่างมีความหมาย สัมพันธ์กันให้มีความหมาย โดยอาศัย ความรู้ประสบการณ์เดิมและแสวงหา ความรู้และข้อมูลใหม่ 3. อธิบายความสัมพันธ์และความหมาย ของข้อมูลที่นามาเชื่อมโยงกัน ชั้น 1. ทักษะการตั้งคาถาม 1. ทักษะการตั้งคาถาม หมายถึง 1. อ่านหรือฟ๎งอย่างตั้งใจ ประถมศึกษา 2. ทักษะการให้เหตุผล การพูดหรือการเขียนสิ่งที่สงสัย หรือ 2. ขีดเส้นใต้คาหรือข้อความหรือจด ปีที่ 4 สิ่งที่ต้องการรู้ ประเด็นที่สงสัยต้องการทราบคาตอบ 3. เลือกคาที่ใช้แทนสิ่งที่สงสัย เช่น ใคร อะไร ที่ไหน อย่างไร ทาไม 4. พูดหรือเขียนเป็นประโยคคาถาม 2. ทักษะการให้เหตุผล หมายถึง 1. รับรู้และรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ การอธิบายเหตุการณ์หรือการกระทา เหตุการณ์ หรือ การกระทาต่างๆ ต่างๆโดยเชื่อมโยงให้เห็นถึงสาเหตุ ที่ต้องการอธิบายให้เหตุผล และผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์หรือการ 2. ค้นหาสาเหตุของเหตุการณ์หรือการ กระทานั้นๆ กระทาทีเ่ กิดขึ้นโดยอาศัยหลักตรรกะ/การ ยอมรับของสังคม / ข้อมูลหลักฐาน สนับสนุน / การทดสอบตรวจสอบ/ เหตุผลเชิงประจักษ์ 3. อธิบายให้เห็นความสอดคล้องของเหตุ และผลในเหตุการณ์หรือการกระทานั้นๆ ชั้น 1. ทักษะการตีความ 1. ทักษะการตีความ หมายถึง การ 1. ศึกษาข้อมูล/ข้อความ/เรื่องที่ต้องการ ประถมศึกษา 2. ทักษะการแปลความ บอกความหมายหรือความสัมพันธ์ ตีความให้เข้าใจ ปีที่ 5 ของข้อมูลหรือสาระที่แฝงอยู่ไม่ 2. หาความหมายของข้อความที่ไม่ได้ ปรากฏให้เห็นอย่างชัดเจน โดยการ บอกไว้ โดย เชื่อมโยงกับบริบทความรู้/ 2.1 เชื่อมโยงข้อมูล/ข้อความที่มี ประสบการณ์เดิมหรือข้อมูลอื่นๆ กับข้อมูลอื่นๆ ทั้งที่มีอยู่และที่เป็น ความรู้หรือประสบการณ์เดิม 2.2 เชื่อมโยงข้อมูลอย่างมีเหตุผล ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน
  • 14. 14 ระดับชั้น ทักษะการคิดตามจุดเน้น ความหมาย กระบวนการนาไปพัฒนาผู้เรียน 3. ระบุความหมายที่แฝงอยู่โดยอธิบาย เหตุผลประกอบ ชั้น 2. ทักษะการแปลความ หมายถึง 1. ทาความเข้าใจในสาระและ ประถมศึกษา การเรียบเรียงและถ่ายทอดข้อมูลใน ความหมายของ สิ่งที่จะแปลความ ปีที่ 5 รูปแบบ/วิธีการใหม่ที่แตกต่างไปจาก 2. หากลวิธีนาเสนอสาระและความหมาย เดิมแต่ยังคงสาระเดิม นั้น ในรูปแบบ/วิธีการใหม่แต่ยังให้คง สาระ และความหมายเดิม 3. เรียบเรียงและถ่ายทอดสาระและ ความหมายนั้นตามกลวิธีที่กาหนด ชั้น 1. ทักษะการสรุปอ้างอิง 1. ทักษะการสรุปอ้างอิงหมายถึง 1. สังเกตสิ่งต่างๆ / ปรากฏการณ์ต่างๆ ประถมศึกษา 2. ทักษะการนาความรู้ไปใช้ การนาความรู้หรือประสบการณ์เดิม 2 . อธิบาย / สรุปสิ่งที่สังเกตตามข้อมูล ปีที่ 6 มาใช้ในการสรุปลงความเห็นเกี่ยวกับ เชิงประจักษ์ ข้อมูล 3. ขยายข้อมูลจากสิ่งที่สังเกตได้ออกไป โดยการอ้างอิงจากความรู้หรือ ประสบการณ์เดิม 4. สรุปความคิดเห็นจากการอ้างอิง 2. ทักษะการนาความรู้ไปใช้ 1. ทบทวนความรู้ที่มี หมายถึง การนาความรู้ที่เกิดจาก 2. มองเห็นความเหมือนกันของ ความเข้าใจไปใช้เพื่อให้เกิดความ สถานการณ์ใหม่กับสถานการณ์เดิมที่ ชานาญ เคยเรียนรู้มา 3. นาความรู้ที่มีไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ ที่ใกล้เคียงกับที่ได้เคยเรียนรู้แล้ว ชั้น 1. ทักษะการการวิเคราะห์ 1. ทักษะการวิเคราะห์ หมายถึง 1. ศึกษาข้อมูล มัธยมศึกษา 2. ทักษะการประเมิน การจาแนกแยกแยะสิ่งใดสิ่งหนึ่ง / 2 . ตั้งวัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์ข้อมูล ปีที่ 1 3. ทักษะการสรุปลงความเห็น เรื่องใดเรื่องหนึ่งเพื่อค้นหา 3. กาหนดเกณฑ์ในการจาแนกแยกแยะ องค์ประกอบและความสัมพันธ์ ข้อมูล ระหว่างองค์ประกอบเหล่านั้น เพื่อ 4. แยกแยะข้อมูลตามเกณฑ์ที่กาหนด ช่วยให้เกิดความเข้าใจในเรื่องนั้น เพื่อให้เห็นองค์ประกอบของสิ่งที่ วิเคราะห์ 5. หาความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบ ต่างๆ และความสัมพันธ์ของข้อมูลในแต่ ละองค์ประกอบ 6. นาเสนอผลการวิเคราะห์ 7. นาผลการวิเคราะห์มาสรุปตอบ คาถามตามวัตถุประสงค์ 2. ทักษะการประเมิน หมายถึง การ 1. นาประเด็น/หัวข้อที่จะใช้ในการ ตัดสินคุณค่า หรือ คุณภาพของสิ่งใด ประเมินมากาหนดระดับคุณภาพหรือ สิ่งหนึ่งโดยการนาผลจากการวัดไป คุณค่าที่ยอมรับได้ เทียบกับระดับคุณภาพที่กาหนด 2. นาผลที่ได้จากการวัดมาเทียบกับ ระดับคุณภาพ 3. ระบุระดับคุณภาพของสิ่งนั้น ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน
  • 15. 15 ระดับชั้น ทักษะการคิดตามจุดเน้น ความหมาย กระบวนการนาไปพัฒนาผู้เรียน ชั้น 3. ทักษะการสรุปลงความเห็น 1. ศึกษาข้อมูลทั้งหมด มัธยมศึกษา หมายถึง การให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับ 2. จัดกระทากับข้อมูลด้วยวิธีการต่างๆ ปีที่ 1 ข้อมูล/เรื่องที่ศึกษา โดยการเชื่องโยง ตามความเหมาะสมและสรุปสาระสาคัญ และอ้างอิงจากความรู้หรือ ของข้อมูลเรื่องที่ศึกษา ประสบการณ์เดิม หรือจากข้อมูลอื่นๆ 3. ให้ความเห็นที่เกินไปจากข้อมูลที่มีอยู่ รวมทั้งเหตุผล โดยอาศัยการเชื่อมโยง การใช้เหตุผล และการอ้างอิงจากความรู้ หรือ ประสบการณ์เดิมหรือจากข้อมูลอื่นๆ 4. อธิบายความคิดเห็นโดยให้เหตุผล ประกอบ ชั้น 1. ทักษะการการสังเคราะห์ 1. ทักษะการสังเคราะห์ หมายถึง 1. กาหนดวัตถุประสงค์ของสิ่งใหม่ที่ มัธยมศึกษา 2. ทักษะการประยุกต์ใช้ การนาความรู้ที่ผ่านการวิเคราะห์มา ต้องการสร้าง ปีที่ 2 ความรู้ ผสมผสานสร้างสิ่งใหม่ที่มีลักษณะต่าง 2. ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง จากเดิม 3. เลือกข้อมูลที่สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ 4. นาข้อมูลมาทากรอบแนวคิดสาหรับ สร้างสิ่งใหม่ 5. สร้างสิ่งใหม่ตามวัตถุประสงค์โดย อาศัยแนวคิดที่กาหนด รวมกับข้อมูล อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 5. ใช้ความรู้ในสถานการณ์ใหม่ 2. ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้ หมายถึง การนาความรู้ที่มีไปใช้ใน สถานการณ์ใหม่ที่มีลักษณะแตกต่าง ไปจากเดิม ชั้น 1. ทักษะการคิดอย่างมี 1. ทักษะกระบวนการคิดอย่างมี 1. ระบุประเด็นป๎ญหา หรือ ประเด็นใน มัธยมศึกษา วิจารณญาณ วิจารณญาณ หมายถึง กระบวนการ การคิด ปีที่ 3 2. ทักษะกระบวนการคิด คิดเพื่อให้ได้ความคิดที่รอบคอบ 2. ประมวลข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากการคิด สร้างสรรค์ สาเหตุที่จะเชื่อหรือจะทาโดยผ่านการ ทางกว้าง คิดทางลึกซึ้ง คิดอย่างละเอียด พิจารณาป๎จจัยรอบด้านอย่าง และคิดในระยะไกล กว้างไกล ลึกซึ้งและผ่านการพิจารณา 3. วิเคราะห์ข้อมูล กลั่นกรองไตร่ตรอง ทั้งทางด้านคุณ - 4. พิจารณาทางเลือก โดยพิจารณา โทษและคุณค่าที่แท้จริงของสิ่งนั้น ข้อมูลโดยใช้เหตุผลและระบุทางเลือก มาแล้ว ที่หลากหลาย 5. ลงความเห็น/ตัดสินใจ/ทาลายอนาคต โดยประเมินทางเลือกและใช้เหตุผลคิด คุณค่า 2. ทักษะกระบวนการคิดสร้างสรรค์ 1. ระดมพลังความคิด หมายถึง ความคิดที่แปลกใหม่ที่จะ 2. สร้างสรรค์ชิ้นงาน นาไปสู่สิ่งต่างๆ ผลผลิตใหม่ๆทาง 3. นาเสนอวิพากษ์วิจารณ์ เทคโนโลยี และความสามารถในการ 4. ประเมินผลงานของตนเอง ประดิษฐ์คดค้นสิ่งแปลกใหม่ ิ 5. เผยแพร่ผลงาน ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน
  • 16. 16 ตัวอย่างการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิด ทักษะการสรุปอ้างอิง และทักษะการนาความรู้ไปใช้ แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ชื่อหน่วยการเรียนรู้ พาคิดพาเขียน เวลา 12 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง บทร้อยกรองสอนคิด เวลา 2 ชั่วโมง สอนวันที่ เดือน สาระที่ 1 การอ่าน มาตรฐาน ท 1.1 : ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดไปใช้ตัดสินใจแก้ป๎ญหาและ สร้างวิสัยทัศน์ในการดาเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน ตัวชี้วัด ท1.1 ป 6/4 แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน ท1.1 ป 6/5 อธิบายการนาความรู้และความคิด จากเรื่องที่อ่านไปตัดสินใจแก้ป๎ญหาในการดาเนินชีวิต สาระที่ 2 การเขียน มาตรฐาน ท 2.1 : ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียน เรื่องราวในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงาน การศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ ท2.1 ป 6/2 เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ถูกต้องชัดเจน และเหมาะสม สาระที่ 3 การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท4.1 สามารถเลือกดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิดและ ความรู้สึกในโอกาสต่างๆอย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ ท 4.1 ป 6/2 ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผล จากเรื่องที่ฟ๎งและดู สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง ของภาษาและรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติชองชาติ ท 4.1 ป 6/6 วิเคราะห์และเปรียบเทียบสานวนที่เป็นคาพังเพย และสุภาษิต จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เขียนสรุปใจความสาคัญตามลาดับเหตุการณ์ของเรื่องได้ถูกต้อง 2. แสดงความคิดเห็นจากการอ่านโดยการตอบคาถามได้ถูกต้อง 3. วิจารณ์ตัวละครและวิเคราะห์ความสาคัญของเรื่องได้ถูกต้อง 4. บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านนิทานได้ถูกต้อง สาระสาคัญ การอ่านบทนิทานและบทร้อยกรองจะต้อง สรุปใจความสาคัญของเรื่องที่อ่าน จับใจความสาคัญให้ได้ว่า เรื่องนี้มีใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไร ทาอย่างไร และการกระทานั้น ๆ เกิดผลอย่างไร และได้ข้อคิดต่าง ๆ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่าน ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน