SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 73
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ส 23106
ประวัตศาสตร์ 6
ิ

ชันมัธยมศึกษาปี ที่ 3
้

ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2556

นายรัฐศักดิ์ มณีเนตร
คาอธิบายรายวิชา
ศึกษา วิเคราะห์ สรุป
พัฒนาการของไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ด้านต่างๆ
ที่สงผลต่อความมันคงและความเจริญรุ่งเรื อง
่
่
รวมทังภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยและ
้
การรับวัฒนธรรมตะวันตก รวมทังอิทธิพลของชาติ
้
ตะวันตกที่มีตอพัฒนาการด้ านต่างๆของไทย
่
บทบาทของไทยในสมัยประชาธิปไตย
คาอธิบายรายวิชา (ต่ อ)
และเห็นคุณค่าในความเป็ นไทย
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ สุจริต มีวินย
ั
ใฝ่ เรี ยนรู้ มุ่งมันในการทางาน
่
อยูพอเพียงและจิตสาธารณะ
่
เนือหาที่เรี ยน
้
พัฒนาการของไทยสมัยรัตนโกสินทร์


การสถาปนากรุ งรั ตนโกสินทร์



พัฒนาการด้ านต่ างๆ
- การเมืองการปกครอง
- สังคม
- เศรษฐกิจ
- ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
แบ่งเป็ น 3 ช่วงสมัย
รัชกาลที่ 1 – 3

=

ยุคของการฟื้นฟู

รัชกาลที่ 4 – 6

=

ยุคของการปรับปรุง

รัชกาลที่ 7

=

ยุคของการเปลียนแปลง
่
เนือหาที่เรี ยน
้
ภูมปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ิ


ภูมปัญญา
ิ
(ความหมาย / การนาไปใช้ / การอนุรักษ์ )



วัฒนธรรมไทย
(ขนบธรรมเนียม / วรรณกรรม / ทัศนศิลป / ดนตรี )
์
วิธีการเรี ยนการสอน
1. บรรยาย และร่วมแสดงความคิดเห็น
2. ดูสื่อวีดิทศน์ (ภาพยนตร์ /สารคดี/เพลง)
ั
3. กิจกรรมกลุม
่
4. รายงานผลการค้ นคว้ า

5. ยกตัวอย่างข้ อสอบเก่าๆ
สัดส่ วนคะแนน
1.

คะแนนเก็บ
- แบบฝึ กหัด
- การมีสวนร่วมในชันเรี ยน
่
้
- รายงานกลุม
่
- ทดสอบย่อย

60 คะแนน

2.

การประเมินความรู้ทางวิชาการ
(กลางภาค+ปลายภาค)

40 คะแนน
เกณฑ์ การประเมินผล
80 ขึนไป
้

4

75
70
65
60
55
50

3.5
3
2.5
2
1.5
1

-

79
74
69
64
59
54

ต่ากว่ า 50

0 (ตก)
เกณฑ์ การเช็คชื่อเข้ าห้ องเรี ยน
ไม่ ตังใจเรี ยน
้

=

มาสาย 1 ครั ง
้

มาสาย 2 ครั ง
้

=

ขาดเรี ยน 1 ครั ง
้

ขาดเรี ยน 4 ครั งขึนไป = หมดสิทธิ์สอบ (มส)
้ ้
... ถ้ าสมมตินกเรี ยนย้ อนเวลาไปสมัยต้ นรั ตนโกสินทร์
ั
แล้ วช่วงนันกาลังเกิดสงคราม
้
เพื่อหนีศกสงครามที่จะเกิดขึ ้นไปที่ใดที่หนึง
ึ
่
1. สถานที่นันคือที่ไหน
้
2. ให้ เลือกเพื่อนร่ วมทางไปด้ วย 3 คนจะเลือกชวนใครไปบ้ าง
คนที่ 1 .........................
คนที่ 2 .........................
คนที่ 3 .........................
3. ที่ท่ นักเรียนเลือกพักอาศัยเป็ นเช่ นไร
ี
ให้ วาดสิ่งนีท่ กาหนดให้ ดังนี ้
้ ี
1. บ้ าน
3. ก้ อนเมฆ
5. พระอาทิตย์

2. รัวบ้ าน
้
4. ภูเขา
6. ต้ นไม้ (วาดเพียงต้ นเดียว)

โดยทัง 6 สิ่งนี ้ ต้ องอยู่ในภาพเดียวกันและเป็ นเรื่องราว
้
ที่สัมพันธ์ กัน จัดองค์ ประกอบให้ สวยงามตามใจชอบ
เพื่อนร่ วมทาง
คือ คนสามคนที่มีอิทธิพลกับคุณต่างกัน
คนแรกที่นึกถึง
คือ คนที่คณรู้สกอบอุนปลอดภัยเมื่อมีเขา อาจเป็ นคนรัก เพื่อนแท้ พ่อแม่ หรื อ
ุ ึ
่
ใครก็ตามที่ทาให้ คณรู้สกมันคง
ุ ึ ่

คนที่สองที่นึกถึง
คือคนที่สนิทสนม ประมาณเพื่อนสนิทหรื อบัดดี ้ ชอบไปไหนด้ วยกัน ช่วยเหลือ
กัน ปรึกษา พึงพาอาศัยกันและกัน
่
คนที่สามที่นึกถึง
คือคนที่คณรู้สกผูกพัน ห่วงใย และต้ องดูแลเขา มากกว่าเขาดูแลคุณ
ุ ึ
บ้ าน

คือ

สัญลักษณ์ที่แทนความเป็ นตัวของนักเรี ยน
ไม่ขึ ้นอยูกบขนาด จะวาดใหญ่หรื อเล็กก็ได้
่ ั

บ้ านมีหน้ าต่ างหลายบาน
แสดงว่าเป็ นคนมีมนุษยสัมพันธ์ สนุกสนาน ร่าเริ ง มีเพื่อนเยอะ
ประตูบ้านมีลูกบิดประตู
เป็ นคนช่างพูด ช่างเจรจา

บ้ านมีปล่ องไฟ
แสดงว่าชอบทาอาหาร

วาดทางเข้ าบ้ านไว้ ด้วย
เป็ นคนชอบทาอะไรถูกต้ องตามระเบียบ ไม่ชอบ ฝ่ าฝื น
รัวบ้ าน
้
คือ ความรอบคอบของนักเรี ยน
วาดรัวไว้ รอบตัวบ้ านและมีประตูปิดเรียบร้ อย
้
แสดงว่าเป็ นคนรอบคอบ ทาอะไรจะคิดหน้ าคิดหลัง
วาดรัวเพียงแค่ หน้ าบ้ าน เปิ ดประตูไว้
้
แสดงว่าเป็ นคนไม่รอบคอบ วูวาม ใจร้ อน
่
และทาอะไรตามใจตนเอง
ภูเขา
คือ

สัญลักษณ์ของความหนักแน่น อดทน จริ งจัง

วาดภูเขาเป็ นทิวยาว สูงใหญ่ เมื่อเปรี ยบเทียบกับขนาดของบ้ าน
หรื อกินเนือที่ในกระดาษมาก
้
แสดงว่าเป็ นคนหนักแน่นมันคง ทาอะไรจริงจัง
่
เป็ นทิวยาว สูงไม่ มากนัก
แสดงว่าไม่คอยมีความอดทน ทาตัวขึ ้นอยูกบสภาพแวดล้ อมเป็ นส่วนใหญ่
่
่ ั
วาดภูเขาเพียงลูกสองลูก ค่ อนข้ างสูง
เป็ นคนหนักแน่นจริ งจัง แต่ไม่คอยมีความอดทน
่
ต้ นไม้

คือ ทังพ่อและแม่
้
ถ้ าไม่ได้ อยูกบพ่อแม่ก็หมายถึงผู้ที่อปการะเลี ้ยงดู
่ ั
ุ

วาดต้ นไม้ ใกล้ บ้านมาก
แสดงว่ายึดท่านเป็ นร่มโพธิ์ร่มไทร เป็ นที่พงทางใจ
ึ่
วาดต้ นไม้ ตดตัวบ้ านให้ ก่ งก้ านคลุมหลังคาบ้ าน
ิ
ิ
แสดงว่าเป็ นคนรักพ่อแม่มาก หากมีเรื่ องเดือดร้ อนอะไรก็นกถึงท่าน
ึ
เป็ นคนแรก

ถ้ าวาดให้ ห่าง
แสดงว่าไม่ชอบพึงพาพ่อแม่ ชอบตัดสินใจอะไรด้ วยตนเอง
่
ั
ก้ อนเมฆ คือ สองอย่างนี ้มีความสัมพันธ์กน
แสดงถึงลักษณะนิสยใจคอ
ั
พระอาทิตย์
พระอาทิตย์ ดวงโตมาก
มีความร่าเริ งแจ่มใส มีมนุษย์สมพันธ์และเปิ ดเผย
ั

วาดพระอาทิตย์ โดยไม่ มีก้อนเมฆมาบดบัง
เป็ นคนเปิ ดเผยและไม่ชอบมีความลับกับผู้อื่น
วาดโดยมีก้อนเมฆมาบดบังส่ วนหนึ่ง
มีความลับลมคมในและไม่ชอบคุยเรื่ องส่วนตัวกับใคร
การสถาปนา

กรุ งรัตนโกสินทร์
เป็ นราชธานี
รัชกาลที่

โปรดให้ ย้ายราชธานีจากกรุงธนบุรี
ไปยังที่แห่งใหม่ซงอยูคนละฝั่ งของแม่น ้าเจ้ าพระยา
ึ่ ่
เมื่อพ.ศ.2325 ต่อมาได้ พระราชทานนามว่า

กรุ งรั ตนโกสินทร์ หรื อ กรุ งเทพฯ ในปั จจุบัน
ความหมายของกรุ งเทพ

ยุคกรุ งศรี อยุธยา
กรุ งเทพมหานคร
บวรทวารวดีศรี อยุธยามหาดิลก
นพรัตนราชธานี บุรีรมย์

ยุคกรุ งธนบุรี
ยังคงเรี ยกราชธานีวา
่
" กรุ งเทพมหานคร“ ตามมา
ยุครั ตนโกสินทร์
เมื่อรัชกาลที่ 1
ได้ สถาปนาเมืองหลวงใหม่ จึงได้ เปลี่ยนนามจาก
"อยุธยา" เป็ น "กรุ งรัตนโกสินทร์ อินอโยธยา"
ในการก่ อสร้ างพระราชวังโปรดเกล้ าฯ
ให้ พระยาธรรมาธิบดี กับพระยาวิจตรนาวีเป็ นแม่ กองคุมการก่ อสร้ าง
ิ

ตังพิธียกเสาหลักเมือง
้
เมื่อวันอาทิตย์ 21 เมษายน 2325
ย่ารุ่ งแล้ ว 54 นาที
ได้ ทรงแก้ เป็ น
กรุ งเทพมหานคร บวรรั ตนโกสินทร์ มหินทราอยุธยา

รัชกาลที่ 3
บวร

>>

อมร

มหินทอยุธยา

>>

มหินทรายุธยา

สินท์

>>

สินทร์

เติมสร้ อยนามต่ อ

รั ชกาลที่ 4
กรุ งเทพมหานคร

=

มหานครอันกว้ างใหญ่ดจเทพนคร
ุ

อมรรั ตนโกสินทร์

=

เป็ นที่สถิตของพระแก้ วมรกต

มหินทรายุธยา

=

เป็ นมหานครที่ไม่มีใครรบชนะได้

มหาดิลกภพ

=

มีความงามอันมันคงและเจริญยิ่ง
่

นพรั ตน์ ราชธานีบุรีรมย์

=

เป็ นเมืองหลวงที่บริบรณ์ดว้ ยแก้ วเก้ าประการ
ู

อุดมราชนิเวศน์ มหาสถาน =

อมรพิมานอวตารสถิต

=

มีพระราชนิเวศใหญ่โตมากมาย

เป็ นวิมานเทพที่ประทับของพระราชาผู้อวตารลงมา

สักกะทัตติยวิษณุกรรมประสิทธิ์ = ซึงท้ าวสักกะเทวราชพระราชทานให้
่

พระวิษณุกรรมลงมาเนรมิตไว้
รวมจังหวัดธนบุรีเข้ าไว้ ด้วยกันกับ
กรุงเทพฯ แล้ วเปลี่ยนชื่อเป็ น

กรุ งเทพมหานคร
(14 ธันวาคม พ.ศ. 2515)
จอมพลถนอม กิตติขจร
ชื่อทางการของกรุงเทพมหานครเมื่อถอดเป็ นอักษรโรมัน

Krung Thep Maha Nakhon
แต่คนทัวไปนิยมทับศัพท์ตามชื่อที่ผ้ พดภาษาอังกฤษ
่
ู ู
เรี ยกเมืองนี ้ว่า

Bangkok

บางกอก
(ชื่อเดิมของกรุ งเทพมหานคร )
ที่มาของชื่อเมืองบางกอก
ข้ อสันนิษฐานแรก
บริ เวณนี ้เป็ นป่ ามะกอก จึงเรี ยกว่า บางกอก
บาง = หมู่บ้าน

กอก = มะกอก
ที่มาของชื่อเมืองบางกอก
ข้ อสันนิษฐานที่สอง
จดหมายเหตุรายวันของบาทหลวง เดอ ชวาสี
(เชอวาลิเอร์ เดอ โชมองต์ : Chevalier de Chaumont)
แปลและเรี ยบเรี ยงโดยหลวงสันธานวิยาสิทธิ์(กาจาย พลางกูร)

บางกอก = จังหวัดธนบุรี
บาง = บึง

กอก :
นา(กลายเป็ นแข็ง) หรื อนากลับเป็ น
้
้
ดินหรื อที่ล่ ุมเป็ นที่ดอน

จากข้ อสันนิษฐานนี ้อาจเป็ นไปได้ วา
่
บางกอกจากเดิมที่เป็ นที่ล่ ุมได้ มีการสะสมตะกอนมาอย่ างยาวนาน
จนกลายเป็ นที่ดอนขึนมาก็เป็ นได้
้
ที่มาของชื่อเมืองบางกอก
ข้ อสันนิษฐานที่สาม
หนังสือ“เล่าเรื่ องบางกอก” โดย ส.พลายน้ อย(เล่ม 1)
มาจากคาว่า

Benkok (ภาษามลายู)
คดโค้ ง หรือ งอ
แม่น ้าในบางกอกสมัยก่อนคดโค้ งอ้ อมมาก
ที่มาของชื่อเมืองบางกอก
ข้ อสันนิษฐานที่ส่ ี
หนังสือ“เล่ าเรื่องบางกอก” โดย ส.พลายน้ อย(เล่ ม 1)
มีการออกชื่อปรากฏอยูใน
่
“จดหมายของท้ าวเทพสตรีท่ มีไปถึงกัปตันไลน์ หรือพระยาราชกัปตัน”
ี

Bangkok

ฝรั่งแต่โบราณเขียนเป็ น

Bangkoh
บางเกาะ
เกร็ดน่ าร้ ู
การสถาปนา

กรุ งรัตนโกสินทร์
เป็ นราชธานี
ขุนนาง
ข้ าราชการ

พระสงฆ์
อัญเชิญขึนครองราชย์ (6 เม.ย. 2325)
้

แก้ ไขวิกฤตการณ์ในกรุงธนบุรี
ตอนแรก
จนสงบ ประทับอยูในพระราชวังเดิมก่อนชัวคราว
่
่
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ พ.ศ. 2325
การเสด็จขึ ้นครองราชย์ครังนัน
้ ้
เรี ยกว่า

รัชกาลที่ 1

ปราบดาภิเษก

เมื่อทรงสร้ างพระบรมมหาราชวัง
1. รวบรวมรูปแบบการพระราชพิธี
2. สร้ างเครื่ องราชกกุธภัณฑ์
3. พระมหาเศวตฉัตร
4. เครื่ องราชูปโภค
5. พระแสงอัษฎาวุธ
เมือปราบดาภิเษกใหม่ ๆ ยังมิได้พระราชทานชื่อ ต่อเมือจัดการบ้านเมือง
่
่
กรุงธนบุรทเี่ กิดความวุนวายจนสงบราบคาบลงแล้ว รัชกาลที่ ๑ ก็เสด็จขึนเสวย
ี
่
้
ราชสมบัตเป็ นปฐมบรมราชจักรีวงศ์ ซึงขณะนันยังประทับอยูฝงตะวันตก
ิ
่
้
่ ั่
พระราชนิพนธ์สามกรุงของ น.ม.ส. พรรณนาไว้วา
่

แจร่มจรัสภาคพืน
้
เริมรัชกาลพระพุทธ
่
ยุ่งเหยิงดุจเพลิงจุด
ปลังประเคราะห์เหมาะหม้า
่

ภูพศทธ์
ิุ
ยอดฟ้า
พลันขจัด
ใหม่เลียงเวียงอมรฯ
้
ราชาภิเษก

พระราชพิธีที่แสดงความสมบูรณ์แห่งพระมหากษัตริย์
ตามที่กาหนดในโบราณราชประเพณี
พิธีที่จดขึ ้นเพื่อรับรองฐานะความเป็ นประมุขของรัฐอย่างเป็ นทางการ
ั
พระมหากษัตริย์พระองค์ใดที่ยงมิได้ ทรงประกอบ
ั

ทรงพระนามว่ า :
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก จะไม่ใช้ คาว่า บดี
พระบาทสมเด็จบรมราชาธิราชรามาธิ

(สมัยรัชกาลทีพระบาท
่ 3 ถวายพระนามว่าาหน้ าคาว่า จสมเด็จทธยอดฟาจุฬาโลก)
้่ ั
น พระบาทสมเด็ พระพุพระเจ้ าอยูหว
อินทราภิเษก

เป็ นพระเจ้ าแผ่นดินโดยการเสี่ยงทาย เช่น ราชรถไปเกย

โภคาภิเษก

ผู้มีทรัพย์สินมังคัง รู้ราชธรรมขึ ้นเป็ นกษัตริย์
่ ่

อุภเษก
ิ

1. สมเด็จพระบิดามารดาเอาชาติตระกูลเสมอกัน มามงคลวิวาหะ
2. กษัตริย์อนมาแต่ตางประเทศมาราชาภิเษกด้ วยพระญาติพระวงศ์
ั
่

อเนกนิกรสโมสรภิเษก
คือ ขุนนางปรึกษาหารื อว่าผู้ใดสมควรจะรับราชสมบัติต่อจากพระองค์
เช่น สมัยรัชกาลที่ 3
ทวิธาภิเษก
คือ
งานเฉลิมปี รัชกาลที่พระเจ้ าแผ่นดินเสวยราชสมบัติได้ 2 เท่าของพระ
เจ้ าแผ่นดินองค์ก่อนที่ครองราชย์สมบัติมาแล้ ว

รัชมังคลาภิเษก
ในวาระที่พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูหวองค์ปัจจุบน ได้ ดารงสิริราชสมบัติมายาว
่ ั
ั
นานยิ่งกว่าพระมหากษัตริย์ทกพระองค์ในอดีต เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2531
ุ
อยุธยา
=
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ 40 ปี ( พ.ศ. 1991-2031)
รัตนโกสินทร์
=
รัชกาลที่ 5
42 ปี (พ.ศ. 2411-2453)
รัชดาภิเษก

ทาเมื่อเสวยราชย์ได้ 25 ปี

สุวรรณาภิเษก ทาเมื่อเสวยราชย์ได้ 50 ปี
***พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี
วชิราภิเษก

ทาเมื่อเสวยราชย์ได้ 75 ปี
การขนานพระนาม
...เมื่อวันพฤหัสบดี เดือน ๘ ขึ ้น ๔ ค่า ตรงกับวันที่ ๑๓
มิถนายน พุทธศักราช ๒๓๒๕ สมเด็จพระสังฆราช ครังนัน
ุ
้ ้
คือ สมเด็จพระสังฆราช (สี) และพระราชาคณะผู้ใหญ่ประชุม
พร้ อมกันได้ คิดขนานพระนามถวายจารึก ลงในพระราช
สุพรรณบัฏเวลานันเลยว่า
้
(จุลลดา ภักดีภมินทร์ )
ู
พระบาทสมเด็จพระบรมราชาธิราชรามาธิบดีศรี สนธรบรมมหาจักรพรรดิ์
ิ
ราชธิบดินทร์ ธรณินทราธิราช รัตนากาศภาสกรวงศ์ องค์ปรมาธิเบศร ตรี ภวเนตรวรนายก
ู
ดิลกรัตนราชชาติอาชวศัย สมุทยตโนมนต์ สกลจักวาฬาธิเบนทร์ สุริเยนทราธิบดินทร์
ั
หริหรินทราธาดาธิบดี ศรี วิบลยคุณอักนิษฐ์ ฤทธิราเมศวรมหันต์ บรมธรรมิกราชาธิราช
ุ
เดโชทัย พรหมเทพาดิเทพนฤบดินทร์ ภูมินทรบรมาธิเบศร์ โลกเชษฐวิสทธิ รัตนมงกุฏ
ุ
ประเทศคตามหาพุทธางกร บรมบพิตร พระพุทธเจ้ าอยูหว ณ กรุ งเทพมหานคร
่ ั
บวรทวาราวดี ศรี อยุธยา มหาดิลกภพนพรัตน ราชธานีบุรีรมย์ อุดมราชนิเวศ
มหาสถาน
ตังใจจะอุปถัมภก
้
ป้องกันขอบขัณฑสีมา

ยอยกพระพุทธศาสนา
รักษาประชาชนและมนตรี

(พระราชนิพนธ์นิราศท่าดินแดง)
(พ.ณ. ประมวลมารค, สิบสองกวี, สานักพิมพ์แพร่พิทยา, 2510, หน้ า 103)
...ทุกวันนี้ตงพระทัยแต่ทจะทานุ บารุงพระพุทธศาสนา
ั้
่ี

่
ั้ ่
้
ไพร่ฟ้าประชากรให้อยูเย็นเป็ นสุข ให้ตงอยูในคติธรรมทัง 4
ดารงจิตจตุรส บาเพ็ญศีลทาน จะได้สคติภม ิ มนุษยสมบัติ
ั
ุ ู
สวรรคสมบัติ นิพพานสมบัตเป็ นประโยชน์แก่ตน...
ิ

(กฎหมายตราสามดวง, กรมศิลปากร, 2521, หน้า 769)
ความไม่ เหมาะสมเป็ นราชธานีของกรุ งธนบุรี
(ฝั่ งตะวันตกของแม่ นาเจ้ าพระยา)
้

1

ความคับแคบของเขตพระราชวัง

วัดอรุณราชวราราม

วัดโมฬีโลกธาราม
2 สภาพภมประเทศ
ู ิ
อาจถูกน ้าและคลื่นกัดเซาะตลิงพังง่าย
่
เกิดก.ทับถม

2 1

4 3 ถูกกัดเซาะ
เกิดก.ทับถม

6

5
3

ทาเลที่ตังทางยุทธศาสตร์
้

กรุงธนบุรีมีปอมปราการไว้ ปองกันข้ าศึกทังสองฝั่ งแม่น ้า โดยมีแม่น ้าเจ้ าพระยาไหล
้
้
้
ผ่านเปรี ยบเสมือนเป็ นเมืองอกแตก
สาเหตุการย้ ายราชธานี
จากกรุงธนบุรีมาตังที่กรุงรัตนโกสินทร์
้
ฝั่ งตะวันออกเป็ นพืนที่ใหม่
้
สันนิษฐานว่าชุมชนใหญ่ ในขณะนันคงจะมีแต่ชาวจีนที่รวมกลุมกันอยู่จง
้
่
ึ
สามารถขยายออกไปได้ อย่างกว้ างขวาง และขยายเมืองได้ เรื่ อยๆ
สาเหตุการย้ ายราชธานี
จากกรุงธนบุรีมาตังที่กรุงรัตนโกสินทร์
้
ทางฝั่ งกรุงเทพฯเป็ นที่ชยภูมิเหมาะสม
ั
เป็ นหัวแหลมถ้ าสร้ างเมืองแต่เพียงฟากเดียว
จะได้ แม่ นาใหญ่ เป็ นคูเมืองทัง้
้

ด้ านตะวันตกและด้ านใต้
เพียงแต่ขดคลองเป็ นคูเมืองแต่
ุ

ด้ านเหนือและด้ านตะวันออกเท่านัน
้
ถึงแม้ วาข้ าศึกจะเข้ ามาโจมตีก็พอต่อสู้ได้
่
สาเหตุการย้ ายราชธานี
จากกรุงธนบุรีมาตังที่กรุงรัตนโกสินทร์
้
ทางฝั่ งตะวันออกนี ้ พื ้นที่นอกคูเมือง
เดิมเป็ นพื ้นที่ลมที่เกิดจากการตื ้นเขิน
ุ่
ของทะเล ข้ าศึกจะยกทัพมาทางนี ้คง

ทาได้ ยาก ฉะนันการปองกันพระนคร
้
้
จะได้ มงปองกันเพียง ฝั่ งตะวันตกแต่
ุ่ ้
เพียงด้ านเดียว
โอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี รัฐบาลสมัยพลเอกเปรม ติณสูลานนท์
จึงมีมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2525 ให้ เรี ยกชื่อคลองให้ ถกต้ องตาม
ู

หลักฐานทางประวัติศาสตร์ วา
่

คลองคูเมืองเดิม
สาเหตุการย้ ายราชธานี
จากกรุ งธนบุรีมาตังที่กรุ งรั ตนโกสินทร์
้
สามารถขยายเมืองออกไปได้ กว้ างขวาง
อุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่ การทานา
มีแม่ นาไหลผ่ าน - - > อ่ าวไทย (ติดต่ อค้ าขายสะดวก)
้
การสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ ในสมัยรัชกาลที่ ๑ ได้ สอดคล้ องกับการตังทัพที่
้
เรี ยกว่า นาคนาม -

แม่น ้าโอบล้ อมภูเขา / มีเฉพาะแต่แม่น ้าก็ได้
วังหลวง = ค่ ายหลวง

วังหน้ า+วังต่ าง ๆ
(สร้ างขึ ้นพระราชทานพระประยูรญาติ
และเป็ นบาเหน็จรางวัลแก่ข้าราชสานักที่มีความชอบ)

= ค่ ายต่ าง ๆ ที่รายล้ อมค่ ายหลวง

แม้ บางแห่ งอาจไม่ ตรงกับตามตาราเสียทีเดียว แต่ กเพื่อความเหมาะสม
็
ทังนียังแสดงถึงบทบาทหน้ าที่ สาคัญในการรั กษาวังหลวงไว้ อย่ างชัดเจน
้ ้
เขาว่ ากันว่ า...
การย้ ายเมืองหลวงมากรุงเทพ
สถาปนาอานาจใหม่

สร้ างบารมีใหม่

ปองกันจุดอ่ อนต่ างๆ
้
(กลัวซารอยเดิม)
้
ขยายไม่ ได้

ฟื ้ นฟูแบบอยุธยา
กาหนดผังเมืองเลียนแบบกรุ งศรี อยุธยา
1. ส่วนที่เป็ นบริ เวณ - พระบรมมหาราชวัง, วังหน้ า
- วัดพระศรีรัตนศาสดา , ทุงพระเมรุ
่
มีอาณาบริ เวณตังแต่ริมฝั่ งแม่น ้าเจ้ าพระยามาจนถึงคูเมืองเดิม
้
กาหนดผังเมืองเลียนแบบกรุ งศรี อยุธยา
2.

บริเวณที่อยู่อาศัยภายในกาแพงเมือง

คูเมืองเดิม (ตะวันออก) - - > คูเมืองที่ขดใหม่ (คลองรอบกรุง)
ุ
เชื่อมคูเมืองเก่ากับคูเมืองใหม่ติดต่อถึงกัน
ตามแนวคลองรอบกรุงนี ้ ทรงสร้ างกาแพงเมือง ประตูเมือง และ
ปอมปราการขึ ้นโดยรอบ
้
นอกจากนี ้ยังโปรดให้ สร้ างถนนสะพาน และสถานที่อื่น ๆที่จาเป็ น
ราษฎรที่อาศัยอยูในส่วนนี ้ประกอบอาชีพค้ าขายเป็ นหลัก
่
พระเจ้ าราชวรวงษเธอ กรมหมื่นภูวไนยนฤเบนทราธิบาล ได้ ทรงเรี ยบเรี ยง
ชื่อปอมรอบพระบรมมหาราชวัง แลรอบพระนครไว้ เพื่อข้ าราชการ เมื่อกราบบังคมทูล
้
พระกรุณา จะได้ เรี ยกให้ ถกต้ องตามนี ้ ปอมรอบพระบรมมหาราชวัง คือ
ู
้
๑.
๓.
๕.
๗.
๙.
๑๑.
๑๓.
๑๕.

ปอมอินทรังสรรค์
้
ปอมเผดจดัษกร
้
ปอมสิงฃรฃันท์
้
ปอมฤทธิรุธโรมรัน
้
ปอมมณีปราการ
้
ปอมภูผาสุทศน
้
ั
ปอมโสฬศสีลา
้
ปอมพรหมประสาทสิลป
้

๒.
๔.
๖.
๘.
๑๐.
๑๒.
๑๔.
๑๖.

ปอมขันเขื่อนเพชร
้
ปอมสัญจรใจวิง
้
ปอมขยันยิ่งยุทธ
้
ปอมอนันตคีรี
้
ปอมพิศาลเสมา
้
ปอมสัตตบรรพต
้
ปอมมหาสัตตะโลหะ
้
ปอมอินทประสาทศร
้

(คัดลอกอักขรวิธีตามต้ นฉบับเป็ นส่วนใหญ่)
ปอมรอบกาแพงพระนคร
้
ส่วนใหญ่ได้ รือออกไปหมดแล้ ว คงเหลือเพียง ๒ ปอม คือ
้
้
ปอมพระสุเมรุ และปอมมหากาฬ มีชื่อและที่ตง้ั ดังต่อไปนี ้
้
้
๑. ปอมพระสุเมรุ
้
๒. ปอมยุคนธร
้
๓. ปอมมหาปราบ
้
๔. ปอมมหากาฬ
้
๕. ปอมหมูทลวง
้
๖. ปอมเสือทะยาน
้
๗. ปอมมหาไชย
้
๘. ปอมจักรเพชร
้
๙. ปอมผีเสื ้อ
้
๑๐. ปอมมหาฤกษ์
้
๑๑. ปอมมหายักษ์
้
๑๒. ปอมพระจันทร์
้
๑๓. ปอมพระอาทิตย์
้
๑๔. ปอมอิสินธร
้
ปอมที่อยู่นอกกาแพงเมือง
้
สร้ างขึ ้นภายหลังเมื่อได้ ขดคลองผดุงกรุงเกษมแล้ ว บางปอม
ุ
้
อยูทาง ฝั่ งตะวันตกของแม่น ้าเจ้ าพระยา มีอยู่ ๗ ปอมด้ วยกัน คือ
่
้
๑.
๓.
๕.
๗.

ปอมปราบปั จจามิตร
้
ปอมผลาญศัตรูราบ
้
ปอมทาลายแรงปรปั กษ์
้
ปอมวิชยประสิทธิ์
้
ั

๒.
๔.
๖.

ปอมปิ ดปั จจานึก
้
ปอมปราบศัตรูพาย
้
่
ปอมหักกาลังดัสกร
้
กาหนดผังเมืองเลียนแบบกรุ งศรี อยุธยา
3.

บริเวณที่อยู่อาศัยนอกกาแพงเมือง
- บ้ านเรื อนตังอยูริมคลองรอบกรุง กระจายกันออกไป
้ ่
- คลองสาคัญที่โปรดให้ ขดขึ ้น คือ คลองมหานาค
ุ
(ราษฎร = การเกษตร + สินค้ าอุตสาหกรรมทางช่าง)
ปั จจัยที่ส่งผลต่ อความมั่นคงและความเจริญรุ่ งเรือง
1.

เป็ นศูนย์กลางเส้ นทางออกสูทะเลได้ สะดวก
่
ทาให้ ติดต่อค้ าขายกับพ่อค้ าต่างชาติได้ ง่าย
ปั จจัยที่ส่งผลต่ อความมั่นคงและความเจริญรุ่ งเรือง
2.

อิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือและตะวันตกเฉียงใต้
ทาให้ มีฝนตกชุก ช่วยเอื ้อานวยต่อ การเพาะปลูก
ปั จจัยที่ส่งผลต่ อความมั่นคงและความเจริญรุ่ งเรือง
3.

การมีแม่น ้าหลายสายไหลผ่าน
เช่น แม่น ้าเจ้ าพระยา / ท่าจีน / แม่กลอง
จึงเหมาะแก่การเพาะปลูกและใช้ อปโภคบริ โภค
ุ
ปั จจัยที่ส่งผลต่ อความมั่นคงและความเจริญรุ่ งเรือง
4.

การเป็ นศูนย์กลางทางวัฒนธรรม
เนื่องจากอยูในเส้ นการค้ าระหว่างโลกตะวันตกและ ตะวันออก
่
งานชิ้นที่ 1
สร้างแผนที่โมเดลกรุงรัตนโกสินทร์
คาชี้แจง
1.
ให้นกเรียนแบ่งกลุม กลุ่มละ 4 - 5 คน
ั
่
2.

สร้างแผนทีโมเดลกรุงรัตนโกสินทร์ลงบนฟิวเจอร์บอร์ด
่
ตามขนาดทีกาหนด คือ เท่ากระดาษ A3 (29.7 x 42 เซนติเมตร)
่

3.

กาหนดส่งภายในวันศุกร์ที่ 22 พ.ย. 2556 ก่อนเวลา 16.30 น.
กาหนดสัญลักษณ์ ให้ ความหมาย
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdf

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
ขนิษฐา ทวีศรี
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
New Nan
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
krubuatoom
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
suchinmam
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
พัน พัน
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
พัน พัน
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
พัน พัน
 

Was ist angesagt? (20)

แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxแผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
 
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
 

Andere mochten auch (6)

лекция типовые ошибки
лекция типовые ошибкилекция типовые ошибки
лекция типовые ошибки
 
รัชกาลที่ 1
รัชกาลที่ 1รัชกาลที่ 1
รัชกาลที่ 1
 
ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับสังคมศึกษา
ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับสังคมศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นกับสังคมศึกษา
ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับสังคมศึกษา
 
การสร้างภูมิปัญญาไทย
การสร้างภูมิปัญญาไทยการสร้างภูมิปัญญาไทย
การสร้างภูมิปัญญาไทย
 
เฉลยสถาบันหลักของชาติ M.5
เฉลยสถาบันหลักของชาติ M.5เฉลยสถาบันหลักของชาติ M.5
เฉลยสถาบันหลักของชาติ M.5
 
สงครามโลกครั้งที่ 2-pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2-pdfสงครามโลกครั้งที่ 2-pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2-pdf
 

Ähnlich wie สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdf

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Prom Pan Pluemsati
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...
krujee
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ตั้งฮั่น
ตั้งฮั่นตั้งฮั่น
ตั้งฮั่น
tommy
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
JulPcc CR
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
วรรณา ไชยศรี
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
วรรณา ไชยศรี
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2
sangworn
 

Ähnlich wie สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdf (20)

เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
 
Ppt16 (1)
Ppt16 (1)Ppt16 (1)
Ppt16 (1)
 
หลักการเขียนลายเซ็น
หลักการเขียนลายเซ็นหลักการเขียนลายเซ็น
หลักการเขียนลายเซ็น
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
 
ตั้งฮั่น
ตั้งฮั่นตั้งฮั่น
ตั้งฮั่น
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
 
ปลายภาค ม3
ปลายภาค ม3ปลายภาค ม3
ปลายภาค ม3
 
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสนเล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
 
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสนเล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตกอธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
 
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2
 

สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdf