SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 58
Downloaden Sie, um offline zu lesen
art
กิตติพันธ อุดมเศรษฐ: 2558
เตรียมสอบ O-Net ป 2557
โรงเรียนปรินสรอยแยลสวิทยาลัย
Visual
ความหมายของศิลปะ
ศิลปะ เปน สิ่งที่มนุษยสรางขึ้น
ศิลปะ เปน ผลงานการสรางสรรค
ศิลปะ คือ ความงาม
“ศิลปะเปนสิ่งที่มนุษยสรางขึ้นจากความคิด
สรางสรรค เพื่อใหเกิดความงาม และความพึงพอใจ”
ผลงาน
สรางสรรค
ของมนุษย
ความ
งามที่มนุษย
สราง
งาน
สรางสรรคเพื่อ
ความงาม
สิ่งที่
มนุษยสรางขึ้น
ผลงาน
สรางสรรค
ความงาม
ศิลปะ
….ศิลปะ คือ ผลแหงความคิดสรางสรรคของมนุษยที่แสดงออกมาในรูปลักษณตาง ๆ ใหปรากฏซึ่งสุนทรียภาพ
ความประทับใจ หรือความสะเทือนอารมณ ความอัจฉริยภาพ พุทธิปญญา ประสบการณ รสนิยมและทักษะของ
แตละคน เพื่อความพอใจ ความรื่นรมย ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณีหรือ ความเชื่อทางศาสนา
(พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, 2530)
...ศิลปะ คือ ผลงานการสรางสรรครูปลักษณแหงความพึงพอใจขึ้นมา และรูปลักษณกอใหเกิดอารมณ รูสึกใน
ความงาม อารมณรูสึกในความงามนั้นจะเปนที่พึงพอใจไดก็ตอเมื่อ ประสาทสัมผัสของเรา ชื่นชมในเอกภาพ
หรือความประสมกลมกลืนกันในความสัมพันธอันมีระเบียบแบบแผน (Herbert Read, 1959)
...ศิลปะ คือ สิ่งที่มนุษยสรางสรรคขึ้น เพื่อแสดงออกซึ่งอารมณ ความรูสึก สติปญญา ความคิด และ/ หรือ
ความงาม (ชลูด นิ่มเสมอ, 2534)
...ศิลปะ เปนผลงานที่เกิดจากการแสดงออกของอารมณ ปญญา และทัศนคติ รวมทั้งทักษะความชํานิ ชํานาญ
ของมนุษย การสรางสรรคงานศิลปะในปจจุบันมีแนวโนมไปในทางการสรางสรรค และการแสดงออกของอารมณ
และความคิด ดังนั้น งานศิลปะนั้นอยางนอยที่สุดควรกอใหเกิดอารมณ และ ความคิดสรางสรรค กลาวคือ เปน
งานที่สื่อใหผูชมเกิดจินตนาการ นอกจากนั้น งานศิลปะที่ดีควรจะมีคุณคาทางความงาม ซึ่งเกิดจากการใช
องคประกอบของสุนทรียภาพ (วิรัตน พิชญไพบูลย, 2524)
การสรางสรรคจะประสบความสําเร็จเปนผลงานได นอกจากตองอาศัยความคิดสรางสรรคเปนตัวกําหนด
แนวทางและรูปแบบแลว ยังตองอาศัยสามารถที่ยอดเยี่ยมของศิลปน ซึ่งเปนความสามารถเฉพาะตน เปนความ
ชํานาญที่เกิดจากการฝกฝนและความพยายามอันนาทึ่ง เพราะฝมืออันเยี่ยมยอดจะสามารถสรางสรรคผลงานที่มี
ความงามอันเยี่ยมยอดได นอกจากนี้ยังตองอาศัยวัสดุอุปกรณตางๆ มาใชในการสรางสรรคดวยเชนกัน
วัสดุอุปกรณในการสรางสรรค แบงออกเปน วัตถุดิบที่ใชเปนสื่อในการแสดงออก และเครื่องมือที่ใช
สรางสรรคใหเกิดผลงาน ตามความชํานาญ ของศิลปนแตละคน แนวทางในการสรางสรรคงานศิลปะของศิลปน
แตละคน อาจมีที่มาจากแนวทางที่ตางกัน บางคนไดรับแรงบันดาลใจจากความงาม ความคิด ความรูสึก
ความประทับใจ แตบางคนอาจสรางสรรคงานศิลปะเพื่อแสดงออกถึงฝมืออันเยี่ยมยอดของตนเอง เพื่อประกาศ
ความเปนเลิศอยางไมมีที่เปรียบปานโดยไมเนนที่เนื้อหาของงาน และบางคนอาจสรางสรรคงานศิลปะจากการใช
วัสดุที่สนใจ โดยไมเนนรูปแบบและแนวคิดใด ๆ เลยก็ได
องคประกอบของการสรางสรรคงานศิลปะ
ความคิดสรางสรรค + ความสามารถ (ฝมือ) + วัสดุอุปกรณ
จุดมงหมายของการสรางสรรค
งานศิลปะโดยเฉพาะงานศิลปะสมัยปจจุบัน ศิลปนจะสรางสรรคงานศิลปะในรูปแบบที่
หลากหลายมากขึ้น ทําใหมีขอบขายกวางขวางมาก แตไมวาจะเปนไปในลักษณะใดก็ตามงาน
ศิลปะทุกประเภท จะใหคุณคาที่ตอบสนองตอมนุษยในดานที่เปนผลงานการแสดงออกของ
อารมณ ความรูสึกและความคิด เปนการสื่อถึงเรื่องราวที่สําคัญหรือเหตุการณที่ประทับใจ
เปนการตอบสนองตอความพึงพอใจ ทั้งทางดานจิตใจ และความสะดวกสบายดานประโยชน
ใชสอยของศิลปวัตถุ
แสดงอารมณ ความรูสึก ความประทับใจ สื่อสารเรื่องราว
ตอบสนองตอจิตใจและประโยชนใชสอย
ประเภทของศิลปะ
ตอบสนองตอจิตใจ
มุงที่ความงามเพื่อตอบสนองตอจิตใจ เรียกวา วิจิตรศิลป (Fine Art)
ตอบสนองตอประโยชนใชสอย
มุงที่ความงามและประโยชนใชสอย เรียกวา ประยุกตศิลป (Applied Art)
แบงตามการตอบสนอง
วิจิตรศิลป (Fine Art) เปนงานศิลปะที่สรางขึ้นเพื่อความงาม
แบงได 5 ประเภท
จิตรกรรม
Painting
ประติมากรรม
Sculpture
สถาปตยกรรม
Architecture
วรรณกรรม
Literature
ดนตรีและนาฏศิลป
Music & Drama
ทัศนศิลป
Visual Art
โสตศิลป
Audio Art
โสตทัศนศิลป
Audio Visual
Art
ภาพ
(2 มิติ)
ผลงาน
(3 มิติ)
สิ่งกอสราง
(3มิติ)
เสียง เสียงและ
ทาทาง
ประกอบเสียง
แบงตามการรับสัมผัส
งานจิตรกรรมเปนงานศิลปะที่เกาแกดั้งเดิมของมนุษย เริ่มตั้งแตการขีดเขียนบนผนัง
ถ้ํา บนรางกาย บนภาชนะเครื่องใชตาง ๆ จนพัฒนามาเปนภาพวาดที่ใชประดับตกแตงใน
ปจจุบัน การวาดภาพเปนพื้นฐานของงานศิลปะทุกชนิด ผูสรางสรรคงานจิตรกรรม
เรียกวา จิตรกร (Painter) งานจิตรกรรม แบงออกได 2 ชนิด คือ
1. การวาดเสน (Drawing) เปนการวาดภาพโดยใชปากกา หรือดินสอ ขีดเขียนลงไป บน
พื้นผิววัสดุรองรับเพื่อใหเกิดภาพ การวาดเสน คือ การขีดเขียนใหเปนเสนไมวาจะเปนเสน
เล็ก หรือเสนใหญ ๆ มักมีสีเดียวแตการวาดเสนไมไดจํากัดที่จะตองมีสีเดียว อาจมีหลายสี
ก็ได การวาดเสน จัดเปนพื้นฐานที่สําคัญของงานศิลปะแทบทุกชนิด อยางนอย ผูฝกฝน
งานศิลปะควรไดมีการฝกฝนงานวาดเสนใหเชี่ยวชาญเสียกอน กอนไปทํางานอื่นๆ ตอไป
2. การระบายสี (Painting) เปนการวาดภาพโดยการใชพูกัน หรือแปรง หรือวัสดุอยาง
อื่นมาระบายใหเกิดเปนภาพ การระบายสี ตองใชทักษะการควบคุมสีและเครื่องมือ
มากกวาการวาดเสน ผลงานการระบายสีจะสวยงาม เหมือนจริง และสมบูรณแบบมากกวา
การวาดเสน
จิตรกรรม เปนผลงานศิลปะที่แสดงออกดวยการขีดเขียน การวาด และระบายสี เพื่อใหเกิดภาพ เปนงานศิลปะที่มี 2 มิติ
เปนรูปแบน ไมมีความลึกหรือนูนหนา แตสามารถเขียนลวงตาให เห็นวามีความลึกหรือนูนได ความงามของจิตรกรรมเกิดจาก
การใชสีในลักษณะตาง ๆ กัน
องคประกอบสําคัญของงานจิตรกรรม คือ
1. ผูสรางงาน หรือ ผูวาด เรียกวา จิตรกรร
2. วัสดุที่ใชรองรับการวาด เชน กระดาษ ผา ผนัง ฯลฯ
3. สี เปนสิ่งที่แสดงออกถึงเนื้อหา เรื่องราวเกี่ยวกับผลงาน
เปนผลงานศิลปะที่แสดงออกดวยการสรางรูปทรง 3 มิติ มีปริมาตร มีน้ําหนักและกินเนื้อที่ในอากาศ โดยการใชวัสดุชนิด
ตาง ๆ วัสดุที่ใชสรางสรรคงานประติมากรรม จะเปนตัวกําหนด วิธีการสรางผลงาน ความงามของงานประติมากรรม เกิดจากการ
มองเห็นแสงและเงาที่เกิดขึ้นในผลงาน
การสรางงานประติมากรรมทําได 4 วิธี คือ
1. การปน (Casting) เปนการสรางรูปทรง 3 มิติ จากวัสดุ ที่เหนียว ออนตัว และยึดจับตัว กันไดดี วัสดุที่นิยมนํามาใช
ปน ไดแก ดินเหนียว ดินน้ํามัน ปูน แปง ขี้ผึ้ง กระดาษ หรือ ขี้เลื่อยผสมกาว เปนตน
2. การแกะสลัก (Carving) เปนการสรางรูปทรง 3 มิติ จากวัสดุที่ แข็ง เปราะ โดยอาศัย เครื่องมือ วัสดุที่นิยมนํามา
แกะ ไดแก ไม หิน กระจก แกว ปูนปลาสเตอร เปนตน
3. การหลอ (Molding) เปนการสรางรูปทรง 3 มิติ จากวัสดุที่หลอมตัวไดและกลับแข็งตัวได โดยอาศัยแมพิมพ ซึ่ง
สามารถทําใหเกิดผลงานที่เหมือนกันทุกประการตั้งแต 2 ชิ้น ขึ้นไป วัสดุที่นิยมนํามาใชหลอ ไดแก โลหะ ปูน แปง แกว ขี้ผึ้ง
ดิน เรซิ่น พลาสติก ฯลฯ รํามะนา
4. การประกอบขึ้นรูป (Construction) เปนการสรางรูปทรง 3 มิติ โดยนําวัสดุตาง ๆ มา ประกอบเขาดวยกัน และยึด
ติดกันดวยวัสดุตาง ๆ การเลือกวิธีการสรางสรรคงานประติมากรรม ขึ้นอยูกับวัสดุที่ตองการใช ประติมากรรม
ไมวาจะสรางขึ้นโดยวิธีใด จะมีอยู 3 ลักษณะ คือ แบบนูนต่ํา แบบนูนสูง และแบบลอยตัว
ผูสรางสรรคงานประติมากรรม เรียกวา ประติมากร
ประติมากรรม
ประเภทของงานประติมากรรม
1.ประติมากรรมแบบนูนต่ํา (Bas Relief) เปนรูปที่เปนนูนขึ้นมาจากพื้นหรือมีพื้นหลังรองรับ มองเห็นไดชัดเจนเพียง
ดานเดียว คือดานหนา มีความสูงจากพื้นไมถึงครึ่งหนึ่งของรูปจริง ไดแกรูปนูนแบบเหรียญ รูปนูนที่ใชประดับตกแตงภาชนะ
หรือประดับตกแตงอาคารทางสถาปตยกรรม โบสถ วิหารตางๆ พระเครื่องบางชนิด
2.ประติมากรรมแบบนูนสูง (High Relief) เปนรูปตาง ๆ ในลักษณะเชนเดียวกับแบบนูนต่ํา แตมีความสูงจากพื้นตั้งแต
ครึ่งหนึ่งของรูปจริงขึ้นไป ทําใหเห็นลวดลายที่ลึก ชัดเจน และเหมือนจริงมากกวาแบบนูนต่ําและใชงานแบบเดียวกับแบบนูนต่ํา
3.ประติมากรรมแบบลอยตัว (Round Relief) เปนรูปตางๆ ที่มองเห็นไดรอบดาน หรือตั้งแต 4 ดานขึ้นไป ไดแก ภาชนะ
ตางๆ รูปเคารพตางๆ พระพุทธรูป เทวรูป รูปตามคตินิยม รูปบุคคลสําคัญ รูปสัตว ฯลฯ
เปนผลงานศิลปะที่แสดงออกดวยการกอสรางสิ่งกอสราง อาคาร ที่อยูอาศัยตาง ๆ การวางผังเมือง การจัดผังบริเวณ
การตกแตงอาคาร การออกแบบกอสราง ซึ่งเปนงานศิลปะ ที่มีขนาดใหญตองใชผูสรางงานจํานวนมาก และเปนงานศิลปะ
ที่มีอายุยืนยาว สถาปตยกรรม เปนวิธีการจัดสรรบริเวณที่วางใหเกิดประโยชนใชสอยตามความตองการ ซึ่งเกี่ยวของกับ
ศาสตรในสาขาตาง ๆ เชน วิศวกรรมศาสตร วิทยาศาสตร สังคมวิทยา มานุษยวิทยา และศิลปะ ความงดงาม และคุณคา
ของสถาปตยกรรม ขึ้นอยูกับองคประกอบ ดังนี้ คือ
1. การจัดสรรบริเวณที่วางใหสัมพันธกันของสวนตาง ๆ ทั้งภายในและภายนอก
2. การจัดรูปทรงทางสถาปตยกรรมใหเหมาะสมกับประโยชนใชสอย และสิ่งแวดลอม
3. การเลือกใชวัสดุใหเหมาะสมกลมกลืน
สถาปตยกรรม
สถาปตยกรรมแบงออกได 2 ชนิด คือ
1. ชนิดที่สรางขึ้นเพื่อใหมนุษยเขาไปอาศัยอยู หรือประกอบกิจกรรมตาง ๆ เชน อาคาร บานเรือน โบสถ วิหาร ศาลา
ฯลฯ
2. ชนิดที่สรางขึ้นเพื่อประโยชนใชสอยอยางอื่น ๆ เชน อนุสาวรีย เจดีย สะพาน เปนตน
ผูสรางสรรคงานสถาปตยกรรม เรียกวา สถาปนิก (Architect)
ประยุกตศิลป (Applied Art) เปนงานศิลปะที่สรางขึ้น
เพื่อความงามและประโยชนใชสอย
แบงได 3 ประเภท
อุตสาหกรรมศิลป
Product
Design
มัณฑนศิลป
Decorative
Design
พาณิชยศิลป
Graphic
Design
เพื่อการผลิต
ผลิตภัณฑ
เพื่อการตกแตง
สิ่งตางๆ
เพื่อการสื่อ
ความหมาย
นักออกแบบ
Designer
นักออกแบบ
Designer
มัณฑนากร
Decorator
นักออกแบบ
Graphic Designer
จุดมุงหมาย
ผูสรางสรรค
เปนงานศิลปะที่เกี่ยวของกับการออกแบบเพื่อการตกแตงสิ่งตางๆ ใหเกิดความสวยงามและเหมาะสมกับประโยชนใชสอย
มากขึ้นไดแก การจัดตกแตงภายในบาน อาคาร สถานที่ตาง ๆ การตกแตงภายนอก การจัดสวน การจัดนิทรรศการ การจัด
บอรด ปายนิเทศ การจัดแสดงสินคา การแตงกาย การแตงหนา การตกแตงรานคา เปนตน
ผูสรางสรรคงาน เรียกวา มัณฑนากร (Decorator)
มัณฑนศิลป Decorative Art
เปนงานศิลปะที่เกี่ยวของกับการออกแบบเพื่อการผลิต ผลิตภัณฑ (Product) สิ่งของเครื่องใชตางๆ ใหสวยงามและ
เหมาะสมกับประโยชนใชสอยมากขึ้น ดวยวิธีการในระบบอุตสาหกรรม ซึ่งมีการทํางานเปนระบบ เปนขั้นตอน มีมาตรฐาน
มีการใชเครื่องจักรกลเขาชวย ทําใหตนทุนต่ํา ผลิตภัณฑตางๆ ไดแก เครื่องยนต เครื่องจักรกล เครื่องใชไฟฟา เครื่องอิเลค-
โทรนิค เฟอรนิเจอร สุขภัณฑ ครุภัณฑ เสื้อผา เครื่องประดับ เครื่องแตงกาย เครื่องอุปโภค บริโภคตางๆ ตลอดจนถึงภาชนะ
บรรจุผลิตภัณฑตางๆ ดวย ผูสรางสรรคงานเรียกวา นักออกแบบ (Designer)
อุตสาหกรรมศิลป Industrial Art
เปนงานศิลปะที่เกี่ยวของกับการออกแบบเพื่อสนับสนุนกิจการคาและการบริการ เพื่อใหประสบผลสําเร็จตามจุดมุงหมาย
ไดแก การออกแบบเครื่องหมายการคา การออกแบบสิ่งพิมพ การออกแบบโฆษณา การออกแบบฉลากสินคา
การออกแบบจัดแสดงสินคา ฯลฯ ผูสรางสรรคงาน เรียนกวา นักออกแบบ (Designer)
พาณิชยศิลป Commercial Art
ความงดงามทางศิลปะ
Aesthetic
- ความงามของเนื้อหาเรื่องราว
- ความงามของการจัดองคประกอบ
ทฤษฎีทางศิลปะ
ทฤษฎีสี
ทฤษฎีองคประกอบ
ทฤษฎีสี Theory of Color
สี คือ ลักษณะของแสงที่ปรากฏแกสายตาใหเห็นเปนสี (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน)
ในทางวิทยาศาสตร ใหคําจํากัดความของสีวา เปนคลื่นแสงหรือความเขมของแสงที่สายตาสามารถ
มองเห็น ในทางศิลปะ สีคือ ทัศนธาตุอยางหนึ่งที่เปนองคประกอบสําคัญของงานศิลปะ และใชในการ
สรางงานศิลปะ โดยจะทําใหผลงานมีความสวยงาม ชวยสรางบรรยากาศ มีความสมจริง เดนชัดและ
นาสนใจมากขึ้น
ทฤษฎีองคประกอบ
ทัศนธาตุหรือองคประกอบของศิลปะ ไดแก
1. จุด (Point)
2. เสน (Line)
3. สี (Color)
4. แสงและเงา (Light and Shade)
5. รูปราง รูปทรง (Shape and Form)
6. พื้นผิว (Texture)
7. ชองวาง (Space)
8. มวล (Mass)
1. จุด (Point) เปนที่เริ่มตนของสิ่งตางๆ นิยามของจุดคือ ไมมีความกวาง
ความยาว มีมิติเดียว
2. เสน (Line) เปนรองรอยที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของจุด จากจุดหนึ่งไปยัง
อีกจุดหนึ่ง เสนมีมิติเดียวคือ ความยาว เสนมี 2 ชนิดคือ เสนตรง (Strength Line)
และเสนโคง (Curve Line) แตสามารถนํามาจัดวางในลักษณะตางๆ กัน และมีชื่อ
เรียกตางๆ กัน และใหความรูสึกแตกตางกันดวย เชน
ความสําคัญของเสน
1. ใชในการแบงที่วางออกเปนสวน ๆ
2. กําหนดขอบเขตของที่วาง หมายถึง ทําใหเกิดเปนรูปราง (Shape) ขึ้นมา
3. กําหนดเสนรอบนอกของรูปทรง ทําใหมองเห็นรูปทรง (Form) ชัดขึ้น
4. ทําหนาที่เปนน้ําหนักออนแก ของแสดงและเงา หมายถึง การแรเงาดวยเสน
5. ใหความรูสึกดวยการเปนแกนหรือโครงสรางของรูป และโครงสรางของภาพ
ลักษณะของเสน
1. เสนตั้ง หรือ เสนดิ่ง ใหความรูสึกทางความสูง สงา มั่นคง
แข็งแรง หนักแนน เปนสัญลักษณของความซื่อตรง
2. เสนนอน ใหความรูสึกทางความกวาง สงบ ราบเรียบ นิ่ง ผอน
คลาย
3. เสนเฉียง หรือ เสนทแยงมุม ใหความรูสึก เคลื่อนไหว รวดเร็ว
ไมมั่นคง
4. เสนหยัก หรือ เสนซิกแซก แบบฟนปลา ใหความรูสึก
เคลื่อนไหว อยางเปนจังหวะ มีระเบียบ ไมราบเรียบ นากลัว
อันตราย ขัดแยง ความรุนแรง
5. เสนโคง แบบคลื่น ใหความรูสึก เคลื่อนไหวอยางชา ๆ ลื่นไหล
ตอเนื่อง สุภาพ ออนโยน นุมนวล
6. เสนโคงแบบกนหอย ใหความรูสึกเคลื่อนไหว คลี่คลาย หรือ
เติบโตในทิศทางที่หมุนวนออกมา ถามองเขาไปจะเห็นพลังความ
เคลื่อนไหวที่ไมสิ้นสุด
7. เสนโคงวงแคบ ใหความรูสึกถึงพลังความเคลื่อนไหวที่รุนแรง
การเปลี่ยนทิศทางที่รวดเร็ว ไมหยุดนิ่ง
8. เสนประ ใหความรูสึกที่ไมตอเนื่อง ขาด หาย ไมชัดเจน ทํา
ใหเกิดความเครียด
4. แสงและเงา (Light and Shade) เปนองคประกอบของศิลปที่อยูคูกัน เมื่อแสงสองกระทบ
กับวัตถุจะทําใหเกิดเงา แสงและเงา เปนตัวกําหนดระดับของคาน้ําหนัก ความเขมของเงาจะขึ้นอยูกับ
ความเขมของแสง ในที่ที่มีแสงสวางมาก เงาจะเขมขึ้นและในที่ที่มีแสงสวางนอย เงาจะไมชัดเจน ในที่ที่ไม
มีแสงสวางจะไมมีเงา และเงาจะอยูในทางตรงขามกับแสงเสมอ
คาน้ําหนัก (Value) คือ คาความออนแกของบริเวณที่ถูกแสงสวาง และบริเวณที่เปนเงาของวัตถุหรือ ความออน- ความเขม
ของสีหนึ่ง ๆ หรือหลายสี เชน สีแดง มีความเขมกวาสีชมพู หรือ สีแดงออนกวาสีน้ําเงิน เปนตน
นอกจากนี้ยังหมายถึงระดับความเขมของแสงและระดับ ความมืดของเงา ซึ่งไลเรียงจากมืดที่สุด (สีดํา)ไปจนถึงสวางที่สุด
(สีขาว) น้ําหนักที่อยูระหวางกลางจะเปนสีเทา ซึ่งมีตั้งแตเทาแกที่สุด จนถึงเทาออนที่สุด การใชคาน้ําหนักจะทําใหภาพดู
เหมือนจริง และมีความกลมกลืน ถาใชคาน้ําหนักหลาย ๆ ระดับจะทําใหมีความกลมกลืนมากยิ่งขึ้น และถาใชคาน้ําหนัก
จํานวนนอยที่แตกตางกันมากจะทําใหเกิด ความแตกตาง ความขัดแยง
5. รูปราง รูปทรง (Shape and Form)
รูปราง (Shape) คือ รูปแบนๆ มี 2 มิติ มีความกวางกับความ
ยาว ไมมีความหนา เกิดจากเสนรอบนอกที่แสดงพื้นที่ขอบเขตของ
รูปตางๆ เชน รูปวงกลม รูปสามเหลี่ยม หรือรูปอิสระ ที่แสดงเนื้อ
ที่ของผิวที่เปนระนาบมากกวาแสดงปริมาตรหรือมวล
รูปทรง (Form) คือ รูปที่ลักษณะเปน 3 มิติ โดยนอกจากจะ
แสดงความกวาง ความยาวแลว ยังมีความลึก หรือความหนา/นูน
ดวย เชน รูปทรงกลม ทรงสามเหลี่ยม ทรงกระบอก เปนตน
รูปทรงใหความรูสึกมีปริมาตร ความหนาแนน มีมวลสาร ที่เกิด
จากการใชคาน้ําหนัก หรือการจัดองคประกอบของรูปทรง หลาย
รูปรวมกัน
6. พื้นผิว (Texture) พื้นผิว หมายถึง ลักษณะของบริเวณผิวหนาของสิ่งตางๆ ที่เมื่อสัมผัสแลว
สามารถรับรูได วามีลักษณะอยางไร คือรูวา หยาบ ขรุขระ เรียบ มัน ดาน เนียน สาก เปนตน
ลักษณะที่สัมผัสไดของพื้นผิวมี 2 ประเภท คือ
1. พื้นผิวที่สัมผัสไดดวยมือ หรือกายสัมผัส เปนลักษณะพื้นผิวที่เปนอยูจริงๆ ของ ผิวหนาของ
วัสดุนั้น ๆ ซึ่งสามารถสัมผัสไดจากงานประติมากรรม งานสถาปตยกรรมและสิ่งประดิษฐอื่น ๆ
2. พื้นผิวที่สัมผัสไดดวยสายตา จากการมองเห็นแตไมใชลักษณะที่แทจริงของผิววัสดุนั้น ๆ เชน
การวาดภาพกอนหินบนกระดาษ จะใหความรูสึกเปนกอนหินแต มือสัมผัสเปนกระดาษหรือใชกระดาษพิมพ
ลายไม หรือลายหินออน เพื่อปะ ทับบนผิวหนาของสิ่งตาง ๆ เปนตน ลักษณะเชนนี้ถือวา เปนการสราง
พื้นผิวลวงตาใหสัมผัสไดดวยการมองเห็นเทานั้น
7. ชองวาง (Space) คือ บริเวณที่อยูระหวางรูปรางหรือรูปทรง ซึ่งมี
ความสัมพันธกับรูปราง หรือรูปทรงนั้นๆ หรืออาจเรียนเปนความสัมพันธระหวาง
รูป)และพื้น (Figure and Ground)
8. มวล (Mass) ในทางศิลปะ มวลเปน
ความรูสึกที่มีตอปริมาตร หรือความหนาแนนของ
องคประกอบ (รูปราง-รูปทรง)
หลักการจัดองคประกอบศิลป
1. สัดสวน (Proportion) คือความเหมาะสมของขนาดของแตละองคประกอบ
ที่มีความสัมพันธกัน ไมใหญ ไมเล็กเกินไป
2. ความสมดุล (Balance) คือ ความเทากันขององคประกอบ มี 2 แบบคือ
แบบสองขางเหมือนกัน และสองขางไมเหมือนกัน
3. ความกลมกลืน (Harmony) คือ ความเหมือนกันขององคประกอบ
4. ความแตกตาง (Contrast) คือ ความแตกตางกันขององคประกอบ ซึ่งจะทํา
ใหเกิดจุดสนใจ
5. จังหวะลีลา (Rhythm) คือ ลักษณะการซ้ํากันขององคประกอบ ซึ่งจะชวย
สงเสริมความกลมกลืน
6. การเนน (Emphasize) คือ การสรางความเดนใหกับองคประกอบบางจุด
เพื่อใหมีความโดดเดนหรือเปนจุดสนใจ
7. เอกภาพ (Unity) คือ ความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันขององคประกอบทุกสวน
ตัวอยาง
การพิมพ์ภาพ PRINTING
ความเป็นมาของการพิมพ์ภาพ
การพิมพ์เริ่มต้นขึ้นเมื่อหลายพันปีมาแล้วแต่จะเริ่มต้นเมื่อใดไม่ทราบแน่ชัด นักประวัติศาสตร์ศิลป์พบ
หลักฐานการพิมพ์อยู่มากในภูมิภาคต่างๆ ของโลก ทั้งในแถบเอเซียตะวันออกกลางซึ่งเป็นแหล่งอารยธรรมสําคัญ
ของโลกตั้งแต่สมัยบาบิโลเนียและแถบเอเซียตะวันออกในจีน เกาหลีและญี่ปุ่น
ชาติแรกที่นําวิธีการพิมพ์มาใช้อย่างชัดเจนที่สุดคือ ชาติจีน ที่นําการพิมพ์มาใช้อย่างจริงจังโดยการ
ใช้เป็นตราประทับลงในคําสั่งต่างๆ ของจักรพรรดิ์และขุนนางชั้นต่างๆ อาจกล่าวได้ว่า ประเทศที่มีอาณาจักรกว้าง
ใหญ่ไพศาล มีประชากรนับล้าน ปกครองด้วยตราประทับเหล่านี้ แต่อย่างไรก็ตามระบบการพิมพ์ก็ยังไม่ค่อยแพร่
หลายมากนัก เพราะมีความยุ่งยากในการจัดทําแม่พิมพ์และวัสดุที่จะนํามารองรับการพิมพ์แต่เมื่อหลังจากที่ชาวจีน
สามารถผลิตกระดาษขึ้นมาใช้ได้แล้วการพิมพ์เริ่มมีการพัฒนาอย่างจริงจังเนื่องจากมีความต้องการในการใช้งาน
สิ่งพิมพ์ในลักษณะต่างๆ มากขึ้น เมื่อชาติตะวันตกมีความสัมพันธ์กับชาติจีนก็ได้นําเอาวิธีการพิมพ์และการผลิต
กระดาษไปใช้มีการพัฒนาจากการพิมพ์ด้วยมือมาเป็นการพิมพ์ด้วยเครื่องจักร และเมื่อมีการปฎิวัติอุสาหกรรมใน
ยุโรป ก็มีการปฏิวัติระบบการพิมพ์ขึ้นมาอย่างต่อเนื่องจนการพิมพ์กลายเป็นอุตสาหกรรมที่มีความเจริญก้าวหน้า
ขึ้นมาตามลําดับอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน
อาจกล่าวได้ว่า สิ่งที่ทําให้ระบบการพิมพ์มีการพัฒนาขึ้นก็คือการที่มนุษย์รู้จักผลิตกระดาษขึ้นมาใช้
และเมื่อมนุษย์มีกระดาษที่สามารถพิมพ์ข้อความเรื่องราวสรรพความรู้ต่างๆ ลงไป จึงทําให้มนุษย์ฉลาดขึ้น และรู้
เรื่องราวความเป็นไปต่าง ๆ มากขึ้น นับว่าการพิมพ์มีประโยชน์ต่อความเจริญก้าวหน้าของมนุษยชาติเป็นอย่างยิ่ง
การพิมพ์ภาพ PRINTING
การพิมพ์ภาพ (PRINTING)
หมายถึง การถ่ายทอดรูปแบบจากแม่พิมพ์ออกมาเป็นผลงานที่มีลักษณะ
เหมือนกันกับแม่พิมพ์ทุกประการและมีจํานวนตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไป
การพิมพ์ภาพถือเป็นกระบวนการ (Process) อย่างหนึ่งที่มีลําดับขั้นตอนที่แน่นอน
ชัดเจน โดยกระบวนการพิมพ์จะมีขั้นตอนสําคัญ ๆ ดังนี้
1. การออกแบบ
2. การจัดทํา / สร้างแม่พิมพ์
3. การลงสี
4. การพิมพ์
ผลงานที่ได้จากการพิมพ์จะถูกถ่ายทอดออกมากจากแม่พิมพ์โดยใช้สีเป็น
ตัวแสดงเรื่องราวของภาพตามรูปแบบของแม่พิมพ์ ซึ่งจะทําให้ภาพมีลักษณะ
เหมือนกับแม่พิมพ์ทุกประการ และสามารถสร้างผลงานได้หลายชิ้น
การพิมพ์ภาพ PRINTING
กระบวนการพิมพ์แสดงเป็นแผนภูมิได้ดังนี้
แม่พิมพ์ ผลงานพิมพ์
ถ่ายทอดรูปแบบโดยการใช้สี
ด้วยเทคนิควิธีต่าง ๆ
สีเป็นตัวถ่ายทอดรูปแบบ
ผลงานที่ได้จากการพิมพ์จะมีลักษณะเหมือนกันกับแม่พิมพ์ทุกประการ
ทั้งขนาด สีสัน และรูปแบบ แต่การพิมพ์บางวิธีอาจจะได้ภาพที่กลับซ้าย
เป็นขวากับแม่พิมพ์ (Negative to Positive)
การพิมพ์ภาพ PRINTING
องค์ประกอบของการพิมพ์ภาพ ที่สําคัญมี 4 ประการ คือ
1. แม่พิมพ์เป็นสิ่งที่สําคัญที่สุด เพราะเป็นตัวกําหนดรูปแบบของผลงาน
ไม่ว่าองค์ประกอบส่วนอื่นจะมีประสิทธิภาพแค่ไหน แต่ถ้าแม่พิมพ์ไม่มีคุณภาพแล้ว
ผลงานพิมพ์ก็จะไม่มีคุณภาพเช่นกัน ดังนั้น ขั้นตอนของการทําแม่พิมพ์จึงเป็นขั้นตอน
ที่สําคัญที่สุดของการพิมพ์
2. วัสดุที่ใช้รองรับการพิมพ์ (เป็นที่ปรากฎของภาพพิมพ์) เป็นวัสดุต่าง ๆ ที่
รองรับผลงานพิมพ์ ต้องมีผิวเรียบ และสีที่พิมพ์สามารถเกาะติดได้ดี เช่น กระดาษ
ผ้า แผ่นไม้ กระจก แก้ว โลหะ พลาสติก ยาง ฯลฯ
3. สี หรือ หมึกพิมพ์ควรเป็นสีที่ผลิตขึ้นสําหรับใช้ในการพิมพ์โดยเฉพาะ
4. ผู้พิมพ์เป็นผู้ดําเนินการเกี่ยวกับการพิมพ์ทั้งหมด อาจแยกเป็น ผู้ออกแบบ
ผู้จัดทําแม่พิมพ์ และผู้ทําการพิมพ์ เป็นต้น
การพิมพ์ภาพ PRINTING
ผลงานที่ได้จากการพิมพ์ มี 2 ลักษณะ คือ
1. ภาพพิมพ์ เป็นผลงานการพิมพ์ที่เป็นภาพ อาจมีตัวอักษร หรือ
ตัวเลขประกอบก็ได้ เป็นการพิมพ์ที่เน้นความสวยงามเป็นหลัก
ได้แก่ ภาพที่พิมพ์ลงบมสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ และภาพที่พิมพ์
ขึ้นเพื่อความสวยงาม
2. สิ่งพิมพ์เป็นผลงานการพิมพ์ที่เป็นข้อความ ตัวอักษร ตัวเลข
เป็นหลัก แต่อาจมีภาพประกอบด้วยก็ได้ เป็นผลงานพิมพ์ที่เน้น
การนําเสนอเรื่องราวต่าง ๆ มากกว่า
ความสวยงาม ได้แก่ หนังสือ เอกสาร
แผ่นพับ โปสเตอร์ ปฏิทิน ฯลฯ
การพิมพ์ภาพ PRINTING
ประเภทของการพิมพ์ภาพ
การพิมพ์ภาพ แบ่งออกได้หลายประเภทตามลักษณะต่างๆ ดังนี้คือ
1. แบ่งตามจุดมุ่งหมายในการพิมพ์ ได้ 2 ลักษณะ คือ
1.1 งานศิลปะภาพพิมพ์ (Graphic Art) เป็นผลงานภาพพิมพ์ที่สร้างขึ้นเพื่อความ
สวยงาม เป็นงานศิลปะประเภทวิจิตรศิลป์ ได้แก่ผลงานภาพพิมพ์ต่าง ๆ ที่ศิลปิน
เป็นผู้สร้างสรรค์ขึ้น
1.2 งานออกแบบภาพพิมพ์ (Graphic Design)เป็นผลงานภาพพิมพ์
หรือสิ่งพิมพ์ เป็นงานศิลปะประเภทประยุกต์ศิลป์ ที่สร้างขึ้นเพื่อประโยชน์ใช้สอย
ได้แก่ งานออกแบบสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ หนังสือ ภาพโฆษณา บัตรต่าง ๆ ปฏิทิน
รวมถึงการพิมพ์ลวดลาย ลงบนสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ ด้วย
การพิมพ์ภาพ PRINTING
2. แบ่งตามกรรมวิธีในการพิมพ์ ได้ 2 ลักษณะ คือ
2.1 ภาพพิมพ์ต้นแบบ (Original Print) หมายถึง เป็นผลงานพิมพ์ที่สร้างจากแม่พิมพ์
และวิธีการพิมพ์ที่สร้างสรรค์และกําหนดขึ้นโดยศิลปินเจ้าของผลงาน และเจ้าของผลงานจะต้อง
ลงนามรับรองผลงานทุกชิ้น บอกลําดับที่ในการพิมพ์ เทคนิคการพิมพ์ และ วัน เดือน ปี ที่พิมพ์ด้วย
2.2 ภาพพิมพ์จําลองแบบ ( Re-productive Print ) เป็นผลงานพิมพ์ที่สร้างจากแม่พิมพ์
อื่นหรือวิธี การพิมพ์วิธีอื่น ซึ่งไม่ใช่วิธีการเดิมแต่ได้รูปแบบเหมือนเดิม บางกรณีอาจเป็นการละเมิด
ลิขสิทธิ์ผู้อื่น
ลําดับที่ / จํานวนที่พิมพ์
เทคนิคการพิมพ์
ลายมือชื่อเจ้าของผลงาน
ตัวอย่าง 2/10 screen printing Phichai Kanakulsunthorn
การพิมพ์ภาพ PRINTING
3. แบ่งตามจํานวนครั้งในการพิมพ์ ได้ 2 ลักษณะ คือ
3.1 ภาพพิมพ์ครั้งเดียว (Monotype หรือ Monoprint) เป็นภาพพิมพ์ที่พิมพ์
ออกมาได้ผลงานเพียงภาพเดียว ถ้าพิมพ์อีกจะได้ผลงานที่ไม่เหมือนเดิม ซึ่งในบางที่ก็ไม่ถือว่าการ
พิมพ์แบบนี้เป็นการพิมพ์เพราะไม่สามารถสร้างผลงานได้2 ชิ้นที่เหมือนกันทุกประการ ศิลปินจึง
มักใช้วิธีการพิมพ์แบบนี้ในการทดลองรูปแบบ หรือการกําหนดโครงสีของผลงานที่จะทํา เมื่อเห็นว่า
เหมาะสมดีแล้ว จะใช้เป็นแบบสําหรับทําแม่พิมพ์ชนิดถาวรต่อไป
3.2 ภาพพิมพ์ถาวร เป็นภาพพิมพ์ที่พิมพ์ออกมาจากแม่พิมพ์ใดๆ แล้วได้ผลงานออกมา
มีลักษณะ เหมือนกันทุกประการ ตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไป
การพิมพ์ภาพ PRINTING
4. แบ่งตามลักษณะของแม่พิมพ์ ได้ 4 ลักษณะ คือ
4.1 แม่พิมพ์นูน (Relief Process) เป็นการพิมพ์โดยให้สี
ติดอยู่บนผิวหน้าที่ทําให้นูนขึ้นมาของแม่พิมพ์ ภาพที่ได้เกิดจากสีที่ติดอยู่ใน
ส่วนบนนั้นแม่พิมพ์นูนเป็นแม่พิมพ์ที่ทําขึ้นมาเป็นประเภทแรกภาพพิมพ์ชนิดนี้
ได้แก่ ภาพพิมพ์แกะไม้ (WOOD-CUT) ภาพพิมพ์แกะยาง (LINO-CUT )
ตรายาง (RUBBER STAMP) และภาพพิมพ์จากเศษวัสดุต่างๆ
แม่พิมพ์
สีจะติดอยู่ในส่วนบนของแม่พิมพ์
ภาพพิมพ์แกะไม้ของญี่ปุ่ น
ดูผลงานพิมพ์แกะไม้ ที่
http://conncoll.edu/visual/japanease-print/index_3.html
การพิมพ์ภาพ PRINTING
4.2 แม่พิมพ์ร่องลึก (Intaglio Process) เป็นการพิมพ์โดยให้สีอยู่ในร่องที่ทําให้ลึกลง
ไปของแม่พิมพ์โดยใช้แผ่นโลหะทําเป็นแม่พิมพ์ ( แผ่นโลหะที่นิยมใช้คือแผ่นทองแดง ) และทําให้
ลึกลงไปโดยใช้นํ้ากรดกัด ซึ่งเรียกว่า ETCHING แม่พิมพ์ร่องลึกนี้พัฒนาขึ้นโดยชาวตะวันตก
สามารถพิมพ์งานที่มีความ ละเอียด คมชัดสูง สมัยก่อนใช้ในการพิมพ์หนังสือ พระคัมภีร์ แผนที่
เอกสารต่างๆ แสตมป์ ธนบัตร ปัจจุบันใช้ในการพิมพ์งานที่เป็นศิลปะและธนบัตร
แม่พิมพ์
สีจะติดอยู่ในส่วนลึกของแม่พิมพ์
ดูการพิมพ์ธนบัตรที่ ธนาคารแห่งประเทศไทย
http://www.bot.or.th/bothomepage/BankAtWork/Banknotes/printing/Process/Process_Index.htm
ภาพพิมพ์ร่องลึก Engraving
การพิมพ์ภาพ PRINTING
4.3 แม่พิมพ์พื้นราบ (Planner Process) เป็นการพิมพ์โดยให้สีติดอยู่บนผิวหน้าที่ราบเรียบของ
แม่พิมพ์โดยไม่ต้องขุดหรือแกะพื้นผิวลงไป แต่ใช้สารเคมีเข้าช่วย ภาพพิมพ์ชนิดนี้ได้แก่ ภาพพิมพ์หิน
( LITHOGRAPH ) การพิมพ์ออฟเซท ( OFFSET ) ภาพพิมพ์กระดาษ( PAPER-CUT ) และ ภาพพิมพ์ครั้งเดียว
( MONOPRINT )
แม่พิมพ์
สีจะติดอยู่ในส่วนบนของแม่พิมพ์
ดูการพิมพ์ออฟเซท ที่
http://student.nu.ac.th/namo/History.html
ภาพพิมพ์หิน
การพิมพ์ภาพ PRINTING
4.4 แม่พิมพ์ฉลุ (Stencil Process) เป็นการพิมพ์โดยให้สีผ่านทะลุช่องของแม่พิมพ์ลงไป
สู่ผลงานที่อยู่ด้านหลัง เป็นการพิมพ์ชนิดเดียวที่ได้รูปที่มีด้านเดียวกันกับแม่พิมพ์ ไม่กลับซ้ายเป็นขวา
ภาพพิมพ์ชนิดนี้ได้แก่ ภาพพิมพ์ฉลุ ( STENCIL ) ภาพพิมพ์ตะแกรงไหม ( SILK SCREEN ) การพิมพ์
อัดสําเนา ( RONEO ) เป็นต้น
แม่พิมพ์
สีจะผ่านทะลุช่องของแม่พิมพ์
ดูการพิมพ์สกรีน ที่
http://www.chaiyaboon.com/process/4color
ภาพพิมพ์สกรีน
ศิลปะไทย
THAI ART
ศิลปะไทย หมายถึง งานศิลปะประจําชาติไทย ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวซึ่งผ่านการประดิษฐ์คิดค้น สร้างสรรค์
และสืบทอดกันมาเป็นระยะเวลาอันยาวนานจากบรรพบุรุษ เป็นผลงานที่แสดงให้เห็นถึงอารยธรรมที่
เจริญรุ่งเรือง และเป็นมรดกทางภูมิปัญญาสืบทอดต่อลูกหลานสืบไป
ประเภทของศิลปะไทย
1. ศิลปะไทยแบบประเพณี (Thai Traditional Art) เป็นงานศิลปะไทย
สร้างขึ้นตามแบบแผนดั้งเดิม ตามที่บรรพบุรุษสร้างสรรค์สืบต่อกันมา
อย่างมีระเบียบแบบแผนที่เป็นลักษณะเฉพาะของชาติไทย
เป็นรูปแบน ใช้สีสดใน เน้นการตัดเส้นขอบ และรูปร่าง รูปทรงเป็นแบบอุดมคติ (Idealistic)
ประเภทของศิลปะไทย
2. ศิลปะไทยแบบร่วมสมัย (Thai Contemporary Art) เป็นงานศิลปะไ
ที่สร้างขึ้นตามแบบอย่างศิลปะสมัยใหม่ ซึ่งมีแนวทางมาจากศิลปะตะวันตก
ซึ่งริเริ่มนํามาสร้างสรรค์ขึ้นอย่างชัดเจน ตั้งแต่มีการเปลี่ยนแปลงระบอบการ
ปกครอง เมื่อปี พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา
มีการจัดภาพแบบตะวันตก มีการให้แสง-เงา และใช้หลักทัศนียภาพแบบเหมือนจริงมากขึ้น
มีปัญหาสงสัย สอบถาม ครูผู้สอน kttpud@yahoo.com
ประวัติศาสตร์ศิลป์ ไทยกิจกรรมที่ 3
ชาติไทย เป็นชาติที่มีศิลปะวัฒนธรรม และประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน ประเทศหนึ่ง
ในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้โดยปรากฎหลักฐานโบราณสถาน โบราณวัตถุ ที่เป็นงาน
ประณีตศิลป์จํานวนมากที่ผ่านการคิดค้น สร้างสรรค์ประดิษฐ์ขึ้นมาด้วยความเพียรพยายาม
ประณีต วิจิตร บรรจง สืบต่อกันมาเป็นเวลานานหลายร้อยปี หรืออาจถึงพันปี
งานที่มอบหมาย
ให้นักเรียนศึกษาประวัติศิลปะไทย จาก Web site ต่อไปนี้
จิตรกรรมไทย http://www.prc.ac.th/newart/webart/history07.html
ประติมากรรมไทย http://www.prc.ac.th/newart/webart/history08.html
สถาปัตยกรรมไทย http://www.prc.ac.th/newart/webart/history09.html
ศิลปะหัตถกรรมไทย http://www.prc.ac.th/newart/webart/thaihandicraft01.html
ศิลปะไทย http://www.jitdrathanee.com/thai/intro.htm
ศิลปะไทย http://www.asia-art.net
สถาปัตยกรรม http://www.orientalarchitecture.com/
NEXT >
หน้า 1
แผนภูมิศิลปะสมัยต่าง ๆ
ศิลปะสมัยเชียงแสน
ศิลปะสมัยทวาราวดี
ศิลปะสมัยศรีวิชัย
ศิลปะสมัยลพบุรี
ศิลปะสมัยฟูนัน
ศิลปะสมัยเจนละ
ศิลปะสมัยขอม
ศิลปะสมัยสุโขทัย
ศิลปะสมัยอยุธยา
ศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์
ศิลปะสมัยหริภุญไชย
ศิลปะสมัยล้านนา
ศิลปะสมัยโคตรบูรณ์
ให้นักเรียนเรียบเรียงชื่อสกุลช่างศิลปะของไทยสมัยต่างๆ ที่อยู่ข้างบนนี้ โดยเรียง
ลําดับตามยุคสมัยตั้งแต่ยุคที่เก่าแก่ที่สุด มาจนถึงยุคปัจจุบัน พร้อมทั้งระบุช่วงเวลาของ
แต่ละสมัย รวมถึงให้อธิบายลักษณะสําคัญของสกุลช่างศิลปะที่เด่น ๆ ของแต่ละสมัย
และยกตัวอย่างผลงานศิลปะที่สําคัญของแต่ละสมัยมาด้วย
ศิลปะร่วมสมัย
งานที่มอบหมาย
หน้า 2
มีปัญหาสงสัย สอบถาม ครูผู้สอน kttpud@yahoo.com
ประวัติศาสตร์ศิลปะสากล
งานศิลปะไดเริ่มมีการสรางกันมาตั้งแตยุคกอนประวัติศาสตร ชวงเวลาที่เบงบานที่สุดไดแก ยุคหินเกา
ตอนปลาย ซึ่งอยูในชวงเวลาประมาณ 30,000-10,000 ปมาแลว มนุษยไดเขียนภาพสี ขูดขีดบนผนังถ้ําและเพิงผา
เปนภาพสัตว การลาสัตวและลวดลายเรขาคณิต บางทีก็ระบายดวยถานไมและผงสีที่ผสมกับไขสัตว หรือละเลงลง
ไปบนผนัง หรือบางทีก็ใชกระดูกกลวงเปนหลอดเปาสีลงไปบนผนัง จิตรกรรมผนังถ้ําจํานวนมากพบไดในประเทศ
ผรั่งเศสและสเปน ที่มีชื่อเสียงมาก คือ งานจิตรกรรมที่ถ้ําอัลตรามิราในสเปน และถ้ําลาสโกซในฝรั่งเศส งานในยุค
หินเกา ไมเพียงแตภาพเขียนเทานั้น แตยังมีการปนรูปดวยดินเหนียว การแกะสลักจากกระดูก งาชางและเขากวาง
เปนรูปเกี่ยวกับสัตว การลาสัตว หรือรูปสตรี (ดู www.prc.ac.th/newart/webart/history02.html)
การแบงยุคสมัยทางประวัติศาสตรศิลป เปนไปตามการแบงยุคสมัยทางประวัติศาสตรและโบราณคดี โดย
กําหนดออกเปนสมัยตาง ๆ ดังนี้
1. ศิลปะยุคกอนประวัติศาสตร (Prehistoric Period) มี 2 ยุคใหญ ๆ คือ
- ยุดหิน แบงได 3 ยุคยอย ๆ คือ ยุคหินเกา (Paleolithic Age) ยุคหินกลาง (Mesolithic) ยุคหินใหม (Neolithic)
- ยุคโลหะ แบงได 2 ยุคยอย ๆ คือ ยุคสําริด (Bronze Age) และยุคเหล็ก (Iron Age)
2. ศิลปะยุคประวัติศาสตร (Historic Period) เนื่องจากแตละภูมิภาคในโลกมีความเจริญรุงเรืองไมเทากัน จึงทําให
เกิดอารยธรรมตาง ๆ ในเวลาที่แตกตางกัน ดังนั้น จึงเรียกอารยธรรมตาง ๆ เหลานั้นตามแหลงกําเนิด เชน อารย-
ธรรมเมโสโปเตเมีย อียิปต กรีก จีน อินเดีย เปนตน ซึ่งแหลงอารยธรรมตาง ๆ เหลานั้นก็เปนบอเกิดของอารย-
ธรรมอื่น ๆ ที่สืบทอด แผขยาย คลี่คลายออกไปยังภูมิภาคตาง ๆ ของโลก
3. ศิลปะยุคปจจุบัน ประมาณคริสตศตวรรษที่ 18 เปนตนมาซึ่งอาจแบงเปนยุคยอย ๆ คือ ศิลปะคริสตศตวรรษที่18
(18th Century) ศิลปะคริสตศตวรรษที่19 (19th Century) และศิลปะคริสตศตวรรษที่20 (20th Century) คํา
เรียกวา ศิลปะสมัยใหม มักจะเริ่มนับเอาตั้งแตปลาย ศิลปะคริสตศตวรรษที่18 เปนตนมา
กิจกรรมที่ 2
หน้า 1
แผนภูมิศิลปะสมัยต่าง ๆ
สมัยก่อนประวัติศาสตร์
สมัยประวัติศาสตร์ / ยุคต้น (Ancient)
ยุคหินเก่า Paleolithic ยุคหินใหม่ Mesolithic ยุคหินใหม่ Neolithic
Mesopotamian
Sumerian
Akkadian
Neo-Sumerian
Babylonian
Hittite
Elamite
Assyrian
Neo-Babylonian
Achaemid
Persian
Sassanian
Egyptian
Old Kingdom
Middle Kingdom
New Kingdom
Aegean
Cycladic
Minoan
Mycenaean
Greek
Hellenistic
Etruscan
Roman
Scythian
Celtic
Iron-Age Europe
Viking
ยุคสําริด Bronze ยุคเหล็ก Iron
Near East Egypt Greece Roman Europe
Early Christian Byzantine Islamic Early Medieval Carolingian
Ottonian Romanesque Gothic Late Gothic in Italy
สมัยประวัติศาสตร์ / ยุคกลาง (Middle Age)
หน้า 2
แผนภูมิศิลปะสมัยต่าง ๆ
สมัยประวัติศาสตร์ / ยุคฟื้นฟู (คริสต์ศตวรรษที่ 15-16)
สมัยประวัติศาสตร์ / คริสต์ศตวรรษที่ 17
สมัยปัจจุบัน / คริสคตวรรษที่ 19
Early Renaissance NorthernRenaissance
High Renaissance Mannerism NorthernRenaissance
Late Baroque
Late Baroque Rococo Neo-Classicism Romanticism
สมัยประวัติศาสตร์ / คริสต์ศตวรรษที่ 18
Romanticism Neo-Classicism Realism Pre-Raphaelites Artsand Crafts
Realism Impressionism Post-Impressionism Neo-Impressionism
Pointillism Symbolism ArtNouveau
สมัยปัจจุบัน / คริสคตวรรษที่ 20
สมัยปัจจุบัน / คริสคตวรรษที่ 21
Fauvism Expressionism Cubism Futurism Dada Surrealism
AbstractExpressionism Pop Art Op Art Minimalism Performance Art
EnvironmentalArt Neo-Expressionism Post-modernism
ContemporaryArt
หน้า 3
ประวัติศาสตรศิลป
http://demo.prc.ac.th/Art01/Art01.htm
แหลงศึกษาขอมูลเพิ่มเติม
http://color.prc.ac.th/webcolor/theoryofcolor.htm
http://www.slideshare.net/Kttpud/6-2557new
http://color.prc.ac.th/newart/webart/index01.html
มาทําขอสอบกันครับ

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von Kittipun Udomseth

Bloom Taxonomy2001_kttpud-2018
Bloom Taxonomy2001_kttpud-2018Bloom Taxonomy2001_kttpud-2018
Bloom Taxonomy2001_kttpud-2018Kittipun Udomseth
 
Flipped learning-privateschool-CM59
Flipped learning-privateschool-CM59Flipped learning-privateschool-CM59
Flipped learning-privateschool-CM59Kittipun Udomseth
 
6 วิธีง่ายๆ กับการทำวีดีโอบรรยายเนื้อหา
6 วิธีง่ายๆ กับการทำวีดีโอบรรยายเนื้อหา6 วิธีง่ายๆ กับการทำวีดีโอบรรยายเนื้อหา
6 วิธีง่ายๆ กับการทำวีดีโอบรรยายเนื้อหาKittipun Udomseth
 
การผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหา
การผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหาการผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหา
การผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหาKittipun Udomseth
 
Media&tech2learn 004 - Part 4
Media&tech2learn 004 - Part 4Media&tech2learn 004 - Part 4
Media&tech2learn 004 - Part 4Kittipun Udomseth
 
Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3Kittipun Udomseth
 
Media&tech2learn 002 - Part 2
Media&tech2learn 002 - Part 2Media&tech2learn 002 - Part 2
Media&tech2learn 002 - Part 2Kittipun Udomseth
 

Mehr von Kittipun Udomseth (13)

Bloom Taxonomy2001_kttpud-2018
Bloom Taxonomy2001_kttpud-2018Bloom Taxonomy2001_kttpud-2018
Bloom Taxonomy2001_kttpud-2018
 
Active Learning kttpud_2018
Active Learning kttpud_2018Active Learning kttpud_2018
Active Learning kttpud_2018
 
Info 001
Info 001Info 001
Info 001
 
Flipped learning-privateschool-CM59
Flipped learning-privateschool-CM59Flipped learning-privateschool-CM59
Flipped learning-privateschool-CM59
 
Flipped Learning-Research
Flipped Learning-ResearchFlipped Learning-Research
Flipped Learning-Research
 
6 วิธีง่ายๆ กับการทำวีดีโอบรรยายเนื้อหา
6 วิธีง่ายๆ กับการทำวีดีโอบรรยายเนื้อหา6 วิธีง่ายๆ กับการทำวีดีโอบรรยายเนื้อหา
6 วิธีง่ายๆ กับการทำวีดีโอบรรยายเนื้อหา
 
การผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหา
การผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหาการผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหา
การผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหา
 
Research-tools 2014
Research-tools 2014Research-tools 2014
Research-tools 2014
 
Flipped 2014
Flipped 2014Flipped 2014
Flipped 2014
 
Media&tech2learn 004 - Part 4
Media&tech2learn 004 - Part 4Media&tech2learn 004 - Part 4
Media&tech2learn 004 - Part 4
 
Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3
 
Media&tech2learn 002 - Part 2
Media&tech2learn 002 - Part 2Media&tech2learn 002 - Part 2
Media&tech2learn 002 - Part 2
 
Media&tech2learn 001-Part 1
Media&tech2learn 001-Part 1Media&tech2learn 001-Part 1
Media&tech2learn 001-Part 1
 

ติวสอบโอเน็ตม6 2557-new

  • 1. art กิตติพันธ อุดมเศรษฐ: 2558 เตรียมสอบ O-Net ป 2557 โรงเรียนปรินสรอยแยลสวิทยาลัย Visual
  • 2. ความหมายของศิลปะ ศิลปะ เปน สิ่งที่มนุษยสรางขึ้น ศิลปะ เปน ผลงานการสรางสรรค ศิลปะ คือ ความงาม “ศิลปะเปนสิ่งที่มนุษยสรางขึ้นจากความคิด สรางสรรค เพื่อใหเกิดความงาม และความพึงพอใจ”
  • 4. ….ศิลปะ คือ ผลแหงความคิดสรางสรรคของมนุษยที่แสดงออกมาในรูปลักษณตาง ๆ ใหปรากฏซึ่งสุนทรียภาพ ความประทับใจ หรือความสะเทือนอารมณ ความอัจฉริยภาพ พุทธิปญญา ประสบการณ รสนิยมและทักษะของ แตละคน เพื่อความพอใจ ความรื่นรมย ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณีหรือ ความเชื่อทางศาสนา (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, 2530) ...ศิลปะ คือ ผลงานการสรางสรรครูปลักษณแหงความพึงพอใจขึ้นมา และรูปลักษณกอใหเกิดอารมณ รูสึกใน ความงาม อารมณรูสึกในความงามนั้นจะเปนที่พึงพอใจไดก็ตอเมื่อ ประสาทสัมผัสของเรา ชื่นชมในเอกภาพ หรือความประสมกลมกลืนกันในความสัมพันธอันมีระเบียบแบบแผน (Herbert Read, 1959) ...ศิลปะ คือ สิ่งที่มนุษยสรางสรรคขึ้น เพื่อแสดงออกซึ่งอารมณ ความรูสึก สติปญญา ความคิด และ/ หรือ ความงาม (ชลูด นิ่มเสมอ, 2534) ...ศิลปะ เปนผลงานที่เกิดจากการแสดงออกของอารมณ ปญญา และทัศนคติ รวมทั้งทักษะความชํานิ ชํานาญ ของมนุษย การสรางสรรคงานศิลปะในปจจุบันมีแนวโนมไปในทางการสรางสรรค และการแสดงออกของอารมณ และความคิด ดังนั้น งานศิลปะนั้นอยางนอยที่สุดควรกอใหเกิดอารมณ และ ความคิดสรางสรรค กลาวคือ เปน งานที่สื่อใหผูชมเกิดจินตนาการ นอกจากนั้น งานศิลปะที่ดีควรจะมีคุณคาทางความงาม ซึ่งเกิดจากการใช องคประกอบของสุนทรียภาพ (วิรัตน พิชญไพบูลย, 2524)
  • 5. การสรางสรรคจะประสบความสําเร็จเปนผลงานได นอกจากตองอาศัยความคิดสรางสรรคเปนตัวกําหนด แนวทางและรูปแบบแลว ยังตองอาศัยสามารถที่ยอดเยี่ยมของศิลปน ซึ่งเปนความสามารถเฉพาะตน เปนความ ชํานาญที่เกิดจากการฝกฝนและความพยายามอันนาทึ่ง เพราะฝมืออันเยี่ยมยอดจะสามารถสรางสรรคผลงานที่มี ความงามอันเยี่ยมยอดได นอกจากนี้ยังตองอาศัยวัสดุอุปกรณตางๆ มาใชในการสรางสรรคดวยเชนกัน วัสดุอุปกรณในการสรางสรรค แบงออกเปน วัตถุดิบที่ใชเปนสื่อในการแสดงออก และเครื่องมือที่ใช สรางสรรคใหเกิดผลงาน ตามความชํานาญ ของศิลปนแตละคน แนวทางในการสรางสรรคงานศิลปะของศิลปน แตละคน อาจมีที่มาจากแนวทางที่ตางกัน บางคนไดรับแรงบันดาลใจจากความงาม ความคิด ความรูสึก ความประทับใจ แตบางคนอาจสรางสรรคงานศิลปะเพื่อแสดงออกถึงฝมืออันเยี่ยมยอดของตนเอง เพื่อประกาศ ความเปนเลิศอยางไมมีที่เปรียบปานโดยไมเนนที่เนื้อหาของงาน และบางคนอาจสรางสรรคงานศิลปะจากการใช วัสดุที่สนใจ โดยไมเนนรูปแบบและแนวคิดใด ๆ เลยก็ได องคประกอบของการสรางสรรคงานศิลปะ ความคิดสรางสรรค + ความสามารถ (ฝมือ) + วัสดุอุปกรณ
  • 6. จุดมงหมายของการสรางสรรค งานศิลปะโดยเฉพาะงานศิลปะสมัยปจจุบัน ศิลปนจะสรางสรรคงานศิลปะในรูปแบบที่ หลากหลายมากขึ้น ทําใหมีขอบขายกวางขวางมาก แตไมวาจะเปนไปในลักษณะใดก็ตามงาน ศิลปะทุกประเภท จะใหคุณคาที่ตอบสนองตอมนุษยในดานที่เปนผลงานการแสดงออกของ อารมณ ความรูสึกและความคิด เปนการสื่อถึงเรื่องราวที่สําคัญหรือเหตุการณที่ประทับใจ เปนการตอบสนองตอความพึงพอใจ ทั้งทางดานจิตใจ และความสะดวกสบายดานประโยชน ใชสอยของศิลปวัตถุ แสดงอารมณ ความรูสึก ความประทับใจ สื่อสารเรื่องราว ตอบสนองตอจิตใจและประโยชนใชสอย
  • 7. ประเภทของศิลปะ ตอบสนองตอจิตใจ มุงที่ความงามเพื่อตอบสนองตอจิตใจ เรียกวา วิจิตรศิลป (Fine Art) ตอบสนองตอประโยชนใชสอย มุงที่ความงามและประโยชนใชสอย เรียกวา ประยุกตศิลป (Applied Art) แบงตามการตอบสนอง
  • 8. วิจิตรศิลป (Fine Art) เปนงานศิลปะที่สรางขึ้นเพื่อความงาม แบงได 5 ประเภท จิตรกรรม Painting ประติมากรรม Sculpture สถาปตยกรรม Architecture วรรณกรรม Literature ดนตรีและนาฏศิลป Music & Drama ทัศนศิลป Visual Art โสตศิลป Audio Art โสตทัศนศิลป Audio Visual Art ภาพ (2 มิติ) ผลงาน (3 มิติ) สิ่งกอสราง (3มิติ) เสียง เสียงและ ทาทาง ประกอบเสียง แบงตามการรับสัมผัส
  • 9. งานจิตรกรรมเปนงานศิลปะที่เกาแกดั้งเดิมของมนุษย เริ่มตั้งแตการขีดเขียนบนผนัง ถ้ํา บนรางกาย บนภาชนะเครื่องใชตาง ๆ จนพัฒนามาเปนภาพวาดที่ใชประดับตกแตงใน ปจจุบัน การวาดภาพเปนพื้นฐานของงานศิลปะทุกชนิด ผูสรางสรรคงานจิตรกรรม เรียกวา จิตรกร (Painter) งานจิตรกรรม แบงออกได 2 ชนิด คือ 1. การวาดเสน (Drawing) เปนการวาดภาพโดยใชปากกา หรือดินสอ ขีดเขียนลงไป บน พื้นผิววัสดุรองรับเพื่อใหเกิดภาพ การวาดเสน คือ การขีดเขียนใหเปนเสนไมวาจะเปนเสน เล็ก หรือเสนใหญ ๆ มักมีสีเดียวแตการวาดเสนไมไดจํากัดที่จะตองมีสีเดียว อาจมีหลายสี ก็ได การวาดเสน จัดเปนพื้นฐานที่สําคัญของงานศิลปะแทบทุกชนิด อยางนอย ผูฝกฝน งานศิลปะควรไดมีการฝกฝนงานวาดเสนใหเชี่ยวชาญเสียกอน กอนไปทํางานอื่นๆ ตอไป 2. การระบายสี (Painting) เปนการวาดภาพโดยการใชพูกัน หรือแปรง หรือวัสดุอยาง อื่นมาระบายใหเกิดเปนภาพ การระบายสี ตองใชทักษะการควบคุมสีและเครื่องมือ มากกวาการวาดเสน ผลงานการระบายสีจะสวยงาม เหมือนจริง และสมบูรณแบบมากกวา การวาดเสน จิตรกรรม เปนผลงานศิลปะที่แสดงออกดวยการขีดเขียน การวาด และระบายสี เพื่อใหเกิดภาพ เปนงานศิลปะที่มี 2 มิติ เปนรูปแบน ไมมีความลึกหรือนูนหนา แตสามารถเขียนลวงตาให เห็นวามีความลึกหรือนูนได ความงามของจิตรกรรมเกิดจาก การใชสีในลักษณะตาง ๆ กัน องคประกอบสําคัญของงานจิตรกรรม คือ 1. ผูสรางงาน หรือ ผูวาด เรียกวา จิตรกรร 2. วัสดุที่ใชรองรับการวาด เชน กระดาษ ผา ผนัง ฯลฯ 3. สี เปนสิ่งที่แสดงออกถึงเนื้อหา เรื่องราวเกี่ยวกับผลงาน
  • 10.
  • 11. เปนผลงานศิลปะที่แสดงออกดวยการสรางรูปทรง 3 มิติ มีปริมาตร มีน้ําหนักและกินเนื้อที่ในอากาศ โดยการใชวัสดุชนิด ตาง ๆ วัสดุที่ใชสรางสรรคงานประติมากรรม จะเปนตัวกําหนด วิธีการสรางผลงาน ความงามของงานประติมากรรม เกิดจากการ มองเห็นแสงและเงาที่เกิดขึ้นในผลงาน การสรางงานประติมากรรมทําได 4 วิธี คือ 1. การปน (Casting) เปนการสรางรูปทรง 3 มิติ จากวัสดุ ที่เหนียว ออนตัว และยึดจับตัว กันไดดี วัสดุที่นิยมนํามาใช ปน ไดแก ดินเหนียว ดินน้ํามัน ปูน แปง ขี้ผึ้ง กระดาษ หรือ ขี้เลื่อยผสมกาว เปนตน 2. การแกะสลัก (Carving) เปนการสรางรูปทรง 3 มิติ จากวัสดุที่ แข็ง เปราะ โดยอาศัย เครื่องมือ วัสดุที่นิยมนํามา แกะ ไดแก ไม หิน กระจก แกว ปูนปลาสเตอร เปนตน 3. การหลอ (Molding) เปนการสรางรูปทรง 3 มิติ จากวัสดุที่หลอมตัวไดและกลับแข็งตัวได โดยอาศัยแมพิมพ ซึ่ง สามารถทําใหเกิดผลงานที่เหมือนกันทุกประการตั้งแต 2 ชิ้น ขึ้นไป วัสดุที่นิยมนํามาใชหลอ ไดแก โลหะ ปูน แปง แกว ขี้ผึ้ง ดิน เรซิ่น พลาสติก ฯลฯ รํามะนา 4. การประกอบขึ้นรูป (Construction) เปนการสรางรูปทรง 3 มิติ โดยนําวัสดุตาง ๆ มา ประกอบเขาดวยกัน และยึด ติดกันดวยวัสดุตาง ๆ การเลือกวิธีการสรางสรรคงานประติมากรรม ขึ้นอยูกับวัสดุที่ตองการใช ประติมากรรม ไมวาจะสรางขึ้นโดยวิธีใด จะมีอยู 3 ลักษณะ คือ แบบนูนต่ํา แบบนูนสูง และแบบลอยตัว ผูสรางสรรคงานประติมากรรม เรียกวา ประติมากร ประติมากรรม
  • 12.
  • 13. ประเภทของงานประติมากรรม 1.ประติมากรรมแบบนูนต่ํา (Bas Relief) เปนรูปที่เปนนูนขึ้นมาจากพื้นหรือมีพื้นหลังรองรับ มองเห็นไดชัดเจนเพียง ดานเดียว คือดานหนา มีความสูงจากพื้นไมถึงครึ่งหนึ่งของรูปจริง ไดแกรูปนูนแบบเหรียญ รูปนูนที่ใชประดับตกแตงภาชนะ หรือประดับตกแตงอาคารทางสถาปตยกรรม โบสถ วิหารตางๆ พระเครื่องบางชนิด 2.ประติมากรรมแบบนูนสูง (High Relief) เปนรูปตาง ๆ ในลักษณะเชนเดียวกับแบบนูนต่ํา แตมีความสูงจากพื้นตั้งแต ครึ่งหนึ่งของรูปจริงขึ้นไป ทําใหเห็นลวดลายที่ลึก ชัดเจน และเหมือนจริงมากกวาแบบนูนต่ําและใชงานแบบเดียวกับแบบนูนต่ํา 3.ประติมากรรมแบบลอยตัว (Round Relief) เปนรูปตางๆ ที่มองเห็นไดรอบดาน หรือตั้งแต 4 ดานขึ้นไป ไดแก ภาชนะ ตางๆ รูปเคารพตางๆ พระพุทธรูป เทวรูป รูปตามคตินิยม รูปบุคคลสําคัญ รูปสัตว ฯลฯ
  • 14. เปนผลงานศิลปะที่แสดงออกดวยการกอสรางสิ่งกอสราง อาคาร ที่อยูอาศัยตาง ๆ การวางผังเมือง การจัดผังบริเวณ การตกแตงอาคาร การออกแบบกอสราง ซึ่งเปนงานศิลปะ ที่มีขนาดใหญตองใชผูสรางงานจํานวนมาก และเปนงานศิลปะ ที่มีอายุยืนยาว สถาปตยกรรม เปนวิธีการจัดสรรบริเวณที่วางใหเกิดประโยชนใชสอยตามความตองการ ซึ่งเกี่ยวของกับ ศาสตรในสาขาตาง ๆ เชน วิศวกรรมศาสตร วิทยาศาสตร สังคมวิทยา มานุษยวิทยา และศิลปะ ความงดงาม และคุณคา ของสถาปตยกรรม ขึ้นอยูกับองคประกอบ ดังนี้ คือ 1. การจัดสรรบริเวณที่วางใหสัมพันธกันของสวนตาง ๆ ทั้งภายในและภายนอก 2. การจัดรูปทรงทางสถาปตยกรรมใหเหมาะสมกับประโยชนใชสอย และสิ่งแวดลอม 3. การเลือกใชวัสดุใหเหมาะสมกลมกลืน สถาปตยกรรม
  • 15. สถาปตยกรรมแบงออกได 2 ชนิด คือ 1. ชนิดที่สรางขึ้นเพื่อใหมนุษยเขาไปอาศัยอยู หรือประกอบกิจกรรมตาง ๆ เชน อาคาร บานเรือน โบสถ วิหาร ศาลา ฯลฯ 2. ชนิดที่สรางขึ้นเพื่อประโยชนใชสอยอยางอื่น ๆ เชน อนุสาวรีย เจดีย สะพาน เปนตน ผูสรางสรรคงานสถาปตยกรรม เรียกวา สถาปนิก (Architect)
  • 16. ประยุกตศิลป (Applied Art) เปนงานศิลปะที่สรางขึ้น เพื่อความงามและประโยชนใชสอย แบงได 3 ประเภท อุตสาหกรรมศิลป Product Design มัณฑนศิลป Decorative Design พาณิชยศิลป Graphic Design เพื่อการผลิต ผลิตภัณฑ เพื่อการตกแตง สิ่งตางๆ เพื่อการสื่อ ความหมาย นักออกแบบ Designer นักออกแบบ Designer มัณฑนากร Decorator นักออกแบบ Graphic Designer จุดมุงหมาย ผูสรางสรรค
  • 17. เปนงานศิลปะที่เกี่ยวของกับการออกแบบเพื่อการตกแตงสิ่งตางๆ ใหเกิดความสวยงามและเหมาะสมกับประโยชนใชสอย มากขึ้นไดแก การจัดตกแตงภายในบาน อาคาร สถานที่ตาง ๆ การตกแตงภายนอก การจัดสวน การจัดนิทรรศการ การจัด บอรด ปายนิเทศ การจัดแสดงสินคา การแตงกาย การแตงหนา การตกแตงรานคา เปนตน ผูสรางสรรคงาน เรียกวา มัณฑนากร (Decorator) มัณฑนศิลป Decorative Art
  • 18. เปนงานศิลปะที่เกี่ยวของกับการออกแบบเพื่อการผลิต ผลิตภัณฑ (Product) สิ่งของเครื่องใชตางๆ ใหสวยงามและ เหมาะสมกับประโยชนใชสอยมากขึ้น ดวยวิธีการในระบบอุตสาหกรรม ซึ่งมีการทํางานเปนระบบ เปนขั้นตอน มีมาตรฐาน มีการใชเครื่องจักรกลเขาชวย ทําใหตนทุนต่ํา ผลิตภัณฑตางๆ ไดแก เครื่องยนต เครื่องจักรกล เครื่องใชไฟฟา เครื่องอิเลค- โทรนิค เฟอรนิเจอร สุขภัณฑ ครุภัณฑ เสื้อผา เครื่องประดับ เครื่องแตงกาย เครื่องอุปโภค บริโภคตางๆ ตลอดจนถึงภาชนะ บรรจุผลิตภัณฑตางๆ ดวย ผูสรางสรรคงานเรียกวา นักออกแบบ (Designer) อุตสาหกรรมศิลป Industrial Art
  • 19. เปนงานศิลปะที่เกี่ยวของกับการออกแบบเพื่อสนับสนุนกิจการคาและการบริการ เพื่อใหประสบผลสําเร็จตามจุดมุงหมาย ไดแก การออกแบบเครื่องหมายการคา การออกแบบสิ่งพิมพ การออกแบบโฆษณา การออกแบบฉลากสินคา การออกแบบจัดแสดงสินคา ฯลฯ ผูสรางสรรคงาน เรียนกวา นักออกแบบ (Designer) พาณิชยศิลป Commercial Art
  • 21.
  • 22.
  • 24. ทฤษฎีสี Theory of Color สี คือ ลักษณะของแสงที่ปรากฏแกสายตาใหเห็นเปนสี (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน) ในทางวิทยาศาสตร ใหคําจํากัดความของสีวา เปนคลื่นแสงหรือความเขมของแสงที่สายตาสามารถ มองเห็น ในทางศิลปะ สีคือ ทัศนธาตุอยางหนึ่งที่เปนองคประกอบสําคัญของงานศิลปะ และใชในการ สรางงานศิลปะ โดยจะทําใหผลงานมีความสวยงาม ชวยสรางบรรยากาศ มีความสมจริง เดนชัดและ นาสนใจมากขึ้น
  • 25. ทฤษฎีองคประกอบ ทัศนธาตุหรือองคประกอบของศิลปะ ไดแก 1. จุด (Point) 2. เสน (Line) 3. สี (Color) 4. แสงและเงา (Light and Shade) 5. รูปราง รูปทรง (Shape and Form) 6. พื้นผิว (Texture) 7. ชองวาง (Space) 8. มวล (Mass)
  • 26. 1. จุด (Point) เปนที่เริ่มตนของสิ่งตางๆ นิยามของจุดคือ ไมมีความกวาง ความยาว มีมิติเดียว 2. เสน (Line) เปนรองรอยที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของจุด จากจุดหนึ่งไปยัง อีกจุดหนึ่ง เสนมีมิติเดียวคือ ความยาว เสนมี 2 ชนิดคือ เสนตรง (Strength Line) และเสนโคง (Curve Line) แตสามารถนํามาจัดวางในลักษณะตางๆ กัน และมีชื่อ เรียกตางๆ กัน และใหความรูสึกแตกตางกันดวย เชน ความสําคัญของเสน 1. ใชในการแบงที่วางออกเปนสวน ๆ 2. กําหนดขอบเขตของที่วาง หมายถึง ทําใหเกิดเปนรูปราง (Shape) ขึ้นมา 3. กําหนดเสนรอบนอกของรูปทรง ทําใหมองเห็นรูปทรง (Form) ชัดขึ้น 4. ทําหนาที่เปนน้ําหนักออนแก ของแสดงและเงา หมายถึง การแรเงาดวยเสน 5. ใหความรูสึกดวยการเปนแกนหรือโครงสรางของรูป และโครงสรางของภาพ
  • 27. ลักษณะของเสน 1. เสนตั้ง หรือ เสนดิ่ง ใหความรูสึกทางความสูง สงา มั่นคง แข็งแรง หนักแนน เปนสัญลักษณของความซื่อตรง 2. เสนนอน ใหความรูสึกทางความกวาง สงบ ราบเรียบ นิ่ง ผอน คลาย 3. เสนเฉียง หรือ เสนทแยงมุม ใหความรูสึก เคลื่อนไหว รวดเร็ว ไมมั่นคง 4. เสนหยัก หรือ เสนซิกแซก แบบฟนปลา ใหความรูสึก เคลื่อนไหว อยางเปนจังหวะ มีระเบียบ ไมราบเรียบ นากลัว อันตราย ขัดแยง ความรุนแรง 5. เสนโคง แบบคลื่น ใหความรูสึก เคลื่อนไหวอยางชา ๆ ลื่นไหล ตอเนื่อง สุภาพ ออนโยน นุมนวล 6. เสนโคงแบบกนหอย ใหความรูสึกเคลื่อนไหว คลี่คลาย หรือ เติบโตในทิศทางที่หมุนวนออกมา ถามองเขาไปจะเห็นพลังความ เคลื่อนไหวที่ไมสิ้นสุด 7. เสนโคงวงแคบ ใหความรูสึกถึงพลังความเคลื่อนไหวที่รุนแรง การเปลี่ยนทิศทางที่รวดเร็ว ไมหยุดนิ่ง 8. เสนประ ใหความรูสึกที่ไมตอเนื่อง ขาด หาย ไมชัดเจน ทํา ใหเกิดความเครียด
  • 28. 4. แสงและเงา (Light and Shade) เปนองคประกอบของศิลปที่อยูคูกัน เมื่อแสงสองกระทบ กับวัตถุจะทําใหเกิดเงา แสงและเงา เปนตัวกําหนดระดับของคาน้ําหนัก ความเขมของเงาจะขึ้นอยูกับ ความเขมของแสง ในที่ที่มีแสงสวางมาก เงาจะเขมขึ้นและในที่ที่มีแสงสวางนอย เงาจะไมชัดเจน ในที่ที่ไม มีแสงสวางจะไมมีเงา และเงาจะอยูในทางตรงขามกับแสงเสมอ คาน้ําหนัก (Value) คือ คาความออนแกของบริเวณที่ถูกแสงสวาง และบริเวณที่เปนเงาของวัตถุหรือ ความออน- ความเขม ของสีหนึ่ง ๆ หรือหลายสี เชน สีแดง มีความเขมกวาสีชมพู หรือ สีแดงออนกวาสีน้ําเงิน เปนตน นอกจากนี้ยังหมายถึงระดับความเขมของแสงและระดับ ความมืดของเงา ซึ่งไลเรียงจากมืดที่สุด (สีดํา)ไปจนถึงสวางที่สุด (สีขาว) น้ําหนักที่อยูระหวางกลางจะเปนสีเทา ซึ่งมีตั้งแตเทาแกที่สุด จนถึงเทาออนที่สุด การใชคาน้ําหนักจะทําใหภาพดู เหมือนจริง และมีความกลมกลืน ถาใชคาน้ําหนักหลาย ๆ ระดับจะทําใหมีความกลมกลืนมากยิ่งขึ้น และถาใชคาน้ําหนัก จํานวนนอยที่แตกตางกันมากจะทําใหเกิด ความแตกตาง ความขัดแยง
  • 29. 5. รูปราง รูปทรง (Shape and Form) รูปราง (Shape) คือ รูปแบนๆ มี 2 มิติ มีความกวางกับความ ยาว ไมมีความหนา เกิดจากเสนรอบนอกที่แสดงพื้นที่ขอบเขตของ รูปตางๆ เชน รูปวงกลม รูปสามเหลี่ยม หรือรูปอิสระ ที่แสดงเนื้อ ที่ของผิวที่เปนระนาบมากกวาแสดงปริมาตรหรือมวล รูปทรง (Form) คือ รูปที่ลักษณะเปน 3 มิติ โดยนอกจากจะ แสดงความกวาง ความยาวแลว ยังมีความลึก หรือความหนา/นูน ดวย เชน รูปทรงกลม ทรงสามเหลี่ยม ทรงกระบอก เปนตน รูปทรงใหความรูสึกมีปริมาตร ความหนาแนน มีมวลสาร ที่เกิด จากการใชคาน้ําหนัก หรือการจัดองคประกอบของรูปทรง หลาย รูปรวมกัน
  • 30. 6. พื้นผิว (Texture) พื้นผิว หมายถึง ลักษณะของบริเวณผิวหนาของสิ่งตางๆ ที่เมื่อสัมผัสแลว สามารถรับรูได วามีลักษณะอยางไร คือรูวา หยาบ ขรุขระ เรียบ มัน ดาน เนียน สาก เปนตน ลักษณะที่สัมผัสไดของพื้นผิวมี 2 ประเภท คือ 1. พื้นผิวที่สัมผัสไดดวยมือ หรือกายสัมผัส เปนลักษณะพื้นผิวที่เปนอยูจริงๆ ของ ผิวหนาของ วัสดุนั้น ๆ ซึ่งสามารถสัมผัสไดจากงานประติมากรรม งานสถาปตยกรรมและสิ่งประดิษฐอื่น ๆ 2. พื้นผิวที่สัมผัสไดดวยสายตา จากการมองเห็นแตไมใชลักษณะที่แทจริงของผิววัสดุนั้น ๆ เชน การวาดภาพกอนหินบนกระดาษ จะใหความรูสึกเปนกอนหินแต มือสัมผัสเปนกระดาษหรือใชกระดาษพิมพ ลายไม หรือลายหินออน เพื่อปะ ทับบนผิวหนาของสิ่งตาง ๆ เปนตน ลักษณะเชนนี้ถือวา เปนการสราง พื้นผิวลวงตาใหสัมผัสไดดวยการมองเห็นเทานั้น
  • 31. 7. ชองวาง (Space) คือ บริเวณที่อยูระหวางรูปรางหรือรูปทรง ซึ่งมี ความสัมพันธกับรูปราง หรือรูปทรงนั้นๆ หรืออาจเรียนเปนความสัมพันธระหวาง รูป)และพื้น (Figure and Ground)
  • 32. 8. มวล (Mass) ในทางศิลปะ มวลเปน ความรูสึกที่มีตอปริมาตร หรือความหนาแนนของ องคประกอบ (รูปราง-รูปทรง)
  • 33. หลักการจัดองคประกอบศิลป 1. สัดสวน (Proportion) คือความเหมาะสมของขนาดของแตละองคประกอบ ที่มีความสัมพันธกัน ไมใหญ ไมเล็กเกินไป 2. ความสมดุล (Balance) คือ ความเทากันขององคประกอบ มี 2 แบบคือ แบบสองขางเหมือนกัน และสองขางไมเหมือนกัน 3. ความกลมกลืน (Harmony) คือ ความเหมือนกันขององคประกอบ 4. ความแตกตาง (Contrast) คือ ความแตกตางกันขององคประกอบ ซึ่งจะทํา ใหเกิดจุดสนใจ 5. จังหวะลีลา (Rhythm) คือ ลักษณะการซ้ํากันขององคประกอบ ซึ่งจะชวย สงเสริมความกลมกลืน 6. การเนน (Emphasize) คือ การสรางความเดนใหกับองคประกอบบางจุด เพื่อใหมีความโดดเดนหรือเปนจุดสนใจ 7. เอกภาพ (Unity) คือ ความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันขององคประกอบทุกสวน
  • 35. การพิมพ์ภาพ PRINTING ความเป็นมาของการพิมพ์ภาพ การพิมพ์เริ่มต้นขึ้นเมื่อหลายพันปีมาแล้วแต่จะเริ่มต้นเมื่อใดไม่ทราบแน่ชัด นักประวัติศาสตร์ศิลป์พบ หลักฐานการพิมพ์อยู่มากในภูมิภาคต่างๆ ของโลก ทั้งในแถบเอเซียตะวันออกกลางซึ่งเป็นแหล่งอารยธรรมสําคัญ ของโลกตั้งแต่สมัยบาบิโลเนียและแถบเอเซียตะวันออกในจีน เกาหลีและญี่ปุ่น ชาติแรกที่นําวิธีการพิมพ์มาใช้อย่างชัดเจนที่สุดคือ ชาติจีน ที่นําการพิมพ์มาใช้อย่างจริงจังโดยการ ใช้เป็นตราประทับลงในคําสั่งต่างๆ ของจักรพรรดิ์และขุนนางชั้นต่างๆ อาจกล่าวได้ว่า ประเทศที่มีอาณาจักรกว้าง ใหญ่ไพศาล มีประชากรนับล้าน ปกครองด้วยตราประทับเหล่านี้ แต่อย่างไรก็ตามระบบการพิมพ์ก็ยังไม่ค่อยแพร่ หลายมากนัก เพราะมีความยุ่งยากในการจัดทําแม่พิมพ์และวัสดุที่จะนํามารองรับการพิมพ์แต่เมื่อหลังจากที่ชาวจีน สามารถผลิตกระดาษขึ้นมาใช้ได้แล้วการพิมพ์เริ่มมีการพัฒนาอย่างจริงจังเนื่องจากมีความต้องการในการใช้งาน สิ่งพิมพ์ในลักษณะต่างๆ มากขึ้น เมื่อชาติตะวันตกมีความสัมพันธ์กับชาติจีนก็ได้นําเอาวิธีการพิมพ์และการผลิต กระดาษไปใช้มีการพัฒนาจากการพิมพ์ด้วยมือมาเป็นการพิมพ์ด้วยเครื่องจักร และเมื่อมีการปฎิวัติอุสาหกรรมใน ยุโรป ก็มีการปฏิวัติระบบการพิมพ์ขึ้นมาอย่างต่อเนื่องจนการพิมพ์กลายเป็นอุตสาหกรรมที่มีความเจริญก้าวหน้า ขึ้นมาตามลําดับอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน อาจกล่าวได้ว่า สิ่งที่ทําให้ระบบการพิมพ์มีการพัฒนาขึ้นก็คือการที่มนุษย์รู้จักผลิตกระดาษขึ้นมาใช้ และเมื่อมนุษย์มีกระดาษที่สามารถพิมพ์ข้อความเรื่องราวสรรพความรู้ต่างๆ ลงไป จึงทําให้มนุษย์ฉลาดขึ้น และรู้ เรื่องราวความเป็นไปต่าง ๆ มากขึ้น นับว่าการพิมพ์มีประโยชน์ต่อความเจริญก้าวหน้าของมนุษยชาติเป็นอย่างยิ่ง
  • 36. การพิมพ์ภาพ PRINTING การพิมพ์ภาพ (PRINTING) หมายถึง การถ่ายทอดรูปแบบจากแม่พิมพ์ออกมาเป็นผลงานที่มีลักษณะ เหมือนกันกับแม่พิมพ์ทุกประการและมีจํานวนตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไป การพิมพ์ภาพถือเป็นกระบวนการ (Process) อย่างหนึ่งที่มีลําดับขั้นตอนที่แน่นอน ชัดเจน โดยกระบวนการพิมพ์จะมีขั้นตอนสําคัญ ๆ ดังนี้ 1. การออกแบบ 2. การจัดทํา / สร้างแม่พิมพ์ 3. การลงสี 4. การพิมพ์ ผลงานที่ได้จากการพิมพ์จะถูกถ่ายทอดออกมากจากแม่พิมพ์โดยใช้สีเป็น ตัวแสดงเรื่องราวของภาพตามรูปแบบของแม่พิมพ์ ซึ่งจะทําให้ภาพมีลักษณะ เหมือนกับแม่พิมพ์ทุกประการ และสามารถสร้างผลงานได้หลายชิ้น
  • 37. การพิมพ์ภาพ PRINTING กระบวนการพิมพ์แสดงเป็นแผนภูมิได้ดังนี้ แม่พิมพ์ ผลงานพิมพ์ ถ่ายทอดรูปแบบโดยการใช้สี ด้วยเทคนิควิธีต่าง ๆ สีเป็นตัวถ่ายทอดรูปแบบ ผลงานที่ได้จากการพิมพ์จะมีลักษณะเหมือนกันกับแม่พิมพ์ทุกประการ ทั้งขนาด สีสัน และรูปแบบ แต่การพิมพ์บางวิธีอาจจะได้ภาพที่กลับซ้าย เป็นขวากับแม่พิมพ์ (Negative to Positive)
  • 38. การพิมพ์ภาพ PRINTING องค์ประกอบของการพิมพ์ภาพ ที่สําคัญมี 4 ประการ คือ 1. แม่พิมพ์เป็นสิ่งที่สําคัญที่สุด เพราะเป็นตัวกําหนดรูปแบบของผลงาน ไม่ว่าองค์ประกอบส่วนอื่นจะมีประสิทธิภาพแค่ไหน แต่ถ้าแม่พิมพ์ไม่มีคุณภาพแล้ว ผลงานพิมพ์ก็จะไม่มีคุณภาพเช่นกัน ดังนั้น ขั้นตอนของการทําแม่พิมพ์จึงเป็นขั้นตอน ที่สําคัญที่สุดของการพิมพ์ 2. วัสดุที่ใช้รองรับการพิมพ์ (เป็นที่ปรากฎของภาพพิมพ์) เป็นวัสดุต่าง ๆ ที่ รองรับผลงานพิมพ์ ต้องมีผิวเรียบ และสีที่พิมพ์สามารถเกาะติดได้ดี เช่น กระดาษ ผ้า แผ่นไม้ กระจก แก้ว โลหะ พลาสติก ยาง ฯลฯ 3. สี หรือ หมึกพิมพ์ควรเป็นสีที่ผลิตขึ้นสําหรับใช้ในการพิมพ์โดยเฉพาะ 4. ผู้พิมพ์เป็นผู้ดําเนินการเกี่ยวกับการพิมพ์ทั้งหมด อาจแยกเป็น ผู้ออกแบบ ผู้จัดทําแม่พิมพ์ และผู้ทําการพิมพ์ เป็นต้น
  • 39. การพิมพ์ภาพ PRINTING ผลงานที่ได้จากการพิมพ์ มี 2 ลักษณะ คือ 1. ภาพพิมพ์ เป็นผลงานการพิมพ์ที่เป็นภาพ อาจมีตัวอักษร หรือ ตัวเลขประกอบก็ได้ เป็นการพิมพ์ที่เน้นความสวยงามเป็นหลัก ได้แก่ ภาพที่พิมพ์ลงบมสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ และภาพที่พิมพ์ ขึ้นเพื่อความสวยงาม 2. สิ่งพิมพ์เป็นผลงานการพิมพ์ที่เป็นข้อความ ตัวอักษร ตัวเลข เป็นหลัก แต่อาจมีภาพประกอบด้วยก็ได้ เป็นผลงานพิมพ์ที่เน้น การนําเสนอเรื่องราวต่าง ๆ มากกว่า ความสวยงาม ได้แก่ หนังสือ เอกสาร แผ่นพับ โปสเตอร์ ปฏิทิน ฯลฯ
  • 40. การพิมพ์ภาพ PRINTING ประเภทของการพิมพ์ภาพ การพิมพ์ภาพ แบ่งออกได้หลายประเภทตามลักษณะต่างๆ ดังนี้คือ 1. แบ่งตามจุดมุ่งหมายในการพิมพ์ ได้ 2 ลักษณะ คือ 1.1 งานศิลปะภาพพิมพ์ (Graphic Art) เป็นผลงานภาพพิมพ์ที่สร้างขึ้นเพื่อความ สวยงาม เป็นงานศิลปะประเภทวิจิตรศิลป์ ได้แก่ผลงานภาพพิมพ์ต่าง ๆ ที่ศิลปิน เป็นผู้สร้างสรรค์ขึ้น 1.2 งานออกแบบภาพพิมพ์ (Graphic Design)เป็นผลงานภาพพิมพ์ หรือสิ่งพิมพ์ เป็นงานศิลปะประเภทประยุกต์ศิลป์ ที่สร้างขึ้นเพื่อประโยชน์ใช้สอย ได้แก่ งานออกแบบสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ หนังสือ ภาพโฆษณา บัตรต่าง ๆ ปฏิทิน รวมถึงการพิมพ์ลวดลาย ลงบนสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ ด้วย
  • 41. การพิมพ์ภาพ PRINTING 2. แบ่งตามกรรมวิธีในการพิมพ์ ได้ 2 ลักษณะ คือ 2.1 ภาพพิมพ์ต้นแบบ (Original Print) หมายถึง เป็นผลงานพิมพ์ที่สร้างจากแม่พิมพ์ และวิธีการพิมพ์ที่สร้างสรรค์และกําหนดขึ้นโดยศิลปินเจ้าของผลงาน และเจ้าของผลงานจะต้อง ลงนามรับรองผลงานทุกชิ้น บอกลําดับที่ในการพิมพ์ เทคนิคการพิมพ์ และ วัน เดือน ปี ที่พิมพ์ด้วย 2.2 ภาพพิมพ์จําลองแบบ ( Re-productive Print ) เป็นผลงานพิมพ์ที่สร้างจากแม่พิมพ์ อื่นหรือวิธี การพิมพ์วิธีอื่น ซึ่งไม่ใช่วิธีการเดิมแต่ได้รูปแบบเหมือนเดิม บางกรณีอาจเป็นการละเมิด ลิขสิทธิ์ผู้อื่น ลําดับที่ / จํานวนที่พิมพ์ เทคนิคการพิมพ์ ลายมือชื่อเจ้าของผลงาน ตัวอย่าง 2/10 screen printing Phichai Kanakulsunthorn
  • 42. การพิมพ์ภาพ PRINTING 3. แบ่งตามจํานวนครั้งในการพิมพ์ ได้ 2 ลักษณะ คือ 3.1 ภาพพิมพ์ครั้งเดียว (Monotype หรือ Monoprint) เป็นภาพพิมพ์ที่พิมพ์ ออกมาได้ผลงานเพียงภาพเดียว ถ้าพิมพ์อีกจะได้ผลงานที่ไม่เหมือนเดิม ซึ่งในบางที่ก็ไม่ถือว่าการ พิมพ์แบบนี้เป็นการพิมพ์เพราะไม่สามารถสร้างผลงานได้2 ชิ้นที่เหมือนกันทุกประการ ศิลปินจึง มักใช้วิธีการพิมพ์แบบนี้ในการทดลองรูปแบบ หรือการกําหนดโครงสีของผลงานที่จะทํา เมื่อเห็นว่า เหมาะสมดีแล้ว จะใช้เป็นแบบสําหรับทําแม่พิมพ์ชนิดถาวรต่อไป 3.2 ภาพพิมพ์ถาวร เป็นภาพพิมพ์ที่พิมพ์ออกมาจากแม่พิมพ์ใดๆ แล้วได้ผลงานออกมา มีลักษณะ เหมือนกันทุกประการ ตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไป
  • 43. การพิมพ์ภาพ PRINTING 4. แบ่งตามลักษณะของแม่พิมพ์ ได้ 4 ลักษณะ คือ 4.1 แม่พิมพ์นูน (Relief Process) เป็นการพิมพ์โดยให้สี ติดอยู่บนผิวหน้าที่ทําให้นูนขึ้นมาของแม่พิมพ์ ภาพที่ได้เกิดจากสีที่ติดอยู่ใน ส่วนบนนั้นแม่พิมพ์นูนเป็นแม่พิมพ์ที่ทําขึ้นมาเป็นประเภทแรกภาพพิมพ์ชนิดนี้ ได้แก่ ภาพพิมพ์แกะไม้ (WOOD-CUT) ภาพพิมพ์แกะยาง (LINO-CUT ) ตรายาง (RUBBER STAMP) และภาพพิมพ์จากเศษวัสดุต่างๆ แม่พิมพ์ สีจะติดอยู่ในส่วนบนของแม่พิมพ์ ภาพพิมพ์แกะไม้ของญี่ปุ่ น ดูผลงานพิมพ์แกะไม้ ที่ http://conncoll.edu/visual/japanease-print/index_3.html
  • 44. การพิมพ์ภาพ PRINTING 4.2 แม่พิมพ์ร่องลึก (Intaglio Process) เป็นการพิมพ์โดยให้สีอยู่ในร่องที่ทําให้ลึกลง ไปของแม่พิมพ์โดยใช้แผ่นโลหะทําเป็นแม่พิมพ์ ( แผ่นโลหะที่นิยมใช้คือแผ่นทองแดง ) และทําให้ ลึกลงไปโดยใช้นํ้ากรดกัด ซึ่งเรียกว่า ETCHING แม่พิมพ์ร่องลึกนี้พัฒนาขึ้นโดยชาวตะวันตก สามารถพิมพ์งานที่มีความ ละเอียด คมชัดสูง สมัยก่อนใช้ในการพิมพ์หนังสือ พระคัมภีร์ แผนที่ เอกสารต่างๆ แสตมป์ ธนบัตร ปัจจุบันใช้ในการพิมพ์งานที่เป็นศิลปะและธนบัตร แม่พิมพ์ สีจะติดอยู่ในส่วนลึกของแม่พิมพ์ ดูการพิมพ์ธนบัตรที่ ธนาคารแห่งประเทศไทย http://www.bot.or.th/bothomepage/BankAtWork/Banknotes/printing/Process/Process_Index.htm ภาพพิมพ์ร่องลึก Engraving
  • 45. การพิมพ์ภาพ PRINTING 4.3 แม่พิมพ์พื้นราบ (Planner Process) เป็นการพิมพ์โดยให้สีติดอยู่บนผิวหน้าที่ราบเรียบของ แม่พิมพ์โดยไม่ต้องขุดหรือแกะพื้นผิวลงไป แต่ใช้สารเคมีเข้าช่วย ภาพพิมพ์ชนิดนี้ได้แก่ ภาพพิมพ์หิน ( LITHOGRAPH ) การพิมพ์ออฟเซท ( OFFSET ) ภาพพิมพ์กระดาษ( PAPER-CUT ) และ ภาพพิมพ์ครั้งเดียว ( MONOPRINT ) แม่พิมพ์ สีจะติดอยู่ในส่วนบนของแม่พิมพ์ ดูการพิมพ์ออฟเซท ที่ http://student.nu.ac.th/namo/History.html ภาพพิมพ์หิน
  • 46. การพิมพ์ภาพ PRINTING 4.4 แม่พิมพ์ฉลุ (Stencil Process) เป็นการพิมพ์โดยให้สีผ่านทะลุช่องของแม่พิมพ์ลงไป สู่ผลงานที่อยู่ด้านหลัง เป็นการพิมพ์ชนิดเดียวที่ได้รูปที่มีด้านเดียวกันกับแม่พิมพ์ ไม่กลับซ้ายเป็นขวา ภาพพิมพ์ชนิดนี้ได้แก่ ภาพพิมพ์ฉลุ ( STENCIL ) ภาพพิมพ์ตะแกรงไหม ( SILK SCREEN ) การพิมพ์ อัดสําเนา ( RONEO ) เป็นต้น แม่พิมพ์ สีจะผ่านทะลุช่องของแม่พิมพ์ ดูการพิมพ์สกรีน ที่ http://www.chaiyaboon.com/process/4color ภาพพิมพ์สกรีน
  • 47. ศิลปะไทย THAI ART ศิลปะไทย หมายถึง งานศิลปะประจําชาติไทย ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวซึ่งผ่านการประดิษฐ์คิดค้น สร้างสรรค์ และสืบทอดกันมาเป็นระยะเวลาอันยาวนานจากบรรพบุรุษ เป็นผลงานที่แสดงให้เห็นถึงอารยธรรมที่ เจริญรุ่งเรือง และเป็นมรดกทางภูมิปัญญาสืบทอดต่อลูกหลานสืบไป
  • 48. ประเภทของศิลปะไทย 1. ศิลปะไทยแบบประเพณี (Thai Traditional Art) เป็นงานศิลปะไทย สร้างขึ้นตามแบบแผนดั้งเดิม ตามที่บรรพบุรุษสร้างสรรค์สืบต่อกันมา อย่างมีระเบียบแบบแผนที่เป็นลักษณะเฉพาะของชาติไทย เป็นรูปแบน ใช้สีสดใน เน้นการตัดเส้นขอบ และรูปร่าง รูปทรงเป็นแบบอุดมคติ (Idealistic)
  • 49. ประเภทของศิลปะไทย 2. ศิลปะไทยแบบร่วมสมัย (Thai Contemporary Art) เป็นงานศิลปะไ ที่สร้างขึ้นตามแบบอย่างศิลปะสมัยใหม่ ซึ่งมีแนวทางมาจากศิลปะตะวันตก ซึ่งริเริ่มนํามาสร้างสรรค์ขึ้นอย่างชัดเจน ตั้งแต่มีการเปลี่ยนแปลงระบอบการ ปกครอง เมื่อปี พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา มีการจัดภาพแบบตะวันตก มีการให้แสง-เงา และใช้หลักทัศนียภาพแบบเหมือนจริงมากขึ้น
  • 50.
  • 51. มีปัญหาสงสัย สอบถาม ครูผู้สอน kttpud@yahoo.com ประวัติศาสตร์ศิลป์ ไทยกิจกรรมที่ 3 ชาติไทย เป็นชาติที่มีศิลปะวัฒนธรรม และประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน ประเทศหนึ่ง ในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้โดยปรากฎหลักฐานโบราณสถาน โบราณวัตถุ ที่เป็นงาน ประณีตศิลป์จํานวนมากที่ผ่านการคิดค้น สร้างสรรค์ประดิษฐ์ขึ้นมาด้วยความเพียรพยายาม ประณีต วิจิตร บรรจง สืบต่อกันมาเป็นเวลานานหลายร้อยปี หรืออาจถึงพันปี งานที่มอบหมาย ให้นักเรียนศึกษาประวัติศิลปะไทย จาก Web site ต่อไปนี้ จิตรกรรมไทย http://www.prc.ac.th/newart/webart/history07.html ประติมากรรมไทย http://www.prc.ac.th/newart/webart/history08.html สถาปัตยกรรมไทย http://www.prc.ac.th/newart/webart/history09.html ศิลปะหัตถกรรมไทย http://www.prc.ac.th/newart/webart/thaihandicraft01.html ศิลปะไทย http://www.jitdrathanee.com/thai/intro.htm ศิลปะไทย http://www.asia-art.net สถาปัตยกรรม http://www.orientalarchitecture.com/ NEXT > หน้า 1
  • 52. แผนภูมิศิลปะสมัยต่าง ๆ ศิลปะสมัยเชียงแสน ศิลปะสมัยทวาราวดี ศิลปะสมัยศรีวิชัย ศิลปะสมัยลพบุรี ศิลปะสมัยฟูนัน ศิลปะสมัยเจนละ ศิลปะสมัยขอม ศิลปะสมัยสุโขทัย ศิลปะสมัยอยุธยา ศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์ ศิลปะสมัยหริภุญไชย ศิลปะสมัยล้านนา ศิลปะสมัยโคตรบูรณ์ ให้นักเรียนเรียบเรียงชื่อสกุลช่างศิลปะของไทยสมัยต่างๆ ที่อยู่ข้างบนนี้ โดยเรียง ลําดับตามยุคสมัยตั้งแต่ยุคที่เก่าแก่ที่สุด มาจนถึงยุคปัจจุบัน พร้อมทั้งระบุช่วงเวลาของ แต่ละสมัย รวมถึงให้อธิบายลักษณะสําคัญของสกุลช่างศิลปะที่เด่น ๆ ของแต่ละสมัย และยกตัวอย่างผลงานศิลปะที่สําคัญของแต่ละสมัยมาด้วย ศิลปะร่วมสมัย งานที่มอบหมาย หน้า 2
  • 53. มีปัญหาสงสัย สอบถาม ครูผู้สอน kttpud@yahoo.com ประวัติศาสตร์ศิลปะสากล งานศิลปะไดเริ่มมีการสรางกันมาตั้งแตยุคกอนประวัติศาสตร ชวงเวลาที่เบงบานที่สุดไดแก ยุคหินเกา ตอนปลาย ซึ่งอยูในชวงเวลาประมาณ 30,000-10,000 ปมาแลว มนุษยไดเขียนภาพสี ขูดขีดบนผนังถ้ําและเพิงผา เปนภาพสัตว การลาสัตวและลวดลายเรขาคณิต บางทีก็ระบายดวยถานไมและผงสีที่ผสมกับไขสัตว หรือละเลงลง ไปบนผนัง หรือบางทีก็ใชกระดูกกลวงเปนหลอดเปาสีลงไปบนผนัง จิตรกรรมผนังถ้ําจํานวนมากพบไดในประเทศ ผรั่งเศสและสเปน ที่มีชื่อเสียงมาก คือ งานจิตรกรรมที่ถ้ําอัลตรามิราในสเปน และถ้ําลาสโกซในฝรั่งเศส งานในยุค หินเกา ไมเพียงแตภาพเขียนเทานั้น แตยังมีการปนรูปดวยดินเหนียว การแกะสลักจากกระดูก งาชางและเขากวาง เปนรูปเกี่ยวกับสัตว การลาสัตว หรือรูปสตรี (ดู www.prc.ac.th/newart/webart/history02.html) การแบงยุคสมัยทางประวัติศาสตรศิลป เปนไปตามการแบงยุคสมัยทางประวัติศาสตรและโบราณคดี โดย กําหนดออกเปนสมัยตาง ๆ ดังนี้ 1. ศิลปะยุคกอนประวัติศาสตร (Prehistoric Period) มี 2 ยุคใหญ ๆ คือ - ยุดหิน แบงได 3 ยุคยอย ๆ คือ ยุคหินเกา (Paleolithic Age) ยุคหินกลาง (Mesolithic) ยุคหินใหม (Neolithic) - ยุคโลหะ แบงได 2 ยุคยอย ๆ คือ ยุคสําริด (Bronze Age) และยุคเหล็ก (Iron Age) 2. ศิลปะยุคประวัติศาสตร (Historic Period) เนื่องจากแตละภูมิภาคในโลกมีความเจริญรุงเรืองไมเทากัน จึงทําให เกิดอารยธรรมตาง ๆ ในเวลาที่แตกตางกัน ดังนั้น จึงเรียกอารยธรรมตาง ๆ เหลานั้นตามแหลงกําเนิด เชน อารย- ธรรมเมโสโปเตเมีย อียิปต กรีก จีน อินเดีย เปนตน ซึ่งแหลงอารยธรรมตาง ๆ เหลานั้นก็เปนบอเกิดของอารย- ธรรมอื่น ๆ ที่สืบทอด แผขยาย คลี่คลายออกไปยังภูมิภาคตาง ๆ ของโลก 3. ศิลปะยุคปจจุบัน ประมาณคริสตศตวรรษที่ 18 เปนตนมาซึ่งอาจแบงเปนยุคยอย ๆ คือ ศิลปะคริสตศตวรรษที่18 (18th Century) ศิลปะคริสตศตวรรษที่19 (19th Century) และศิลปะคริสตศตวรรษที่20 (20th Century) คํา เรียกวา ศิลปะสมัยใหม มักจะเริ่มนับเอาตั้งแตปลาย ศิลปะคริสตศตวรรษที่18 เปนตนมา กิจกรรมที่ 2 หน้า 1
  • 54. แผนภูมิศิลปะสมัยต่าง ๆ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยประวัติศาสตร์ / ยุคต้น (Ancient) ยุคหินเก่า Paleolithic ยุคหินใหม่ Mesolithic ยุคหินใหม่ Neolithic Mesopotamian Sumerian Akkadian Neo-Sumerian Babylonian Hittite Elamite Assyrian Neo-Babylonian Achaemid Persian Sassanian Egyptian Old Kingdom Middle Kingdom New Kingdom Aegean Cycladic Minoan Mycenaean Greek Hellenistic Etruscan Roman Scythian Celtic Iron-Age Europe Viking ยุคสําริด Bronze ยุคเหล็ก Iron Near East Egypt Greece Roman Europe Early Christian Byzantine Islamic Early Medieval Carolingian Ottonian Romanesque Gothic Late Gothic in Italy สมัยประวัติศาสตร์ / ยุคกลาง (Middle Age) หน้า 2
  • 55. แผนภูมิศิลปะสมัยต่าง ๆ สมัยประวัติศาสตร์ / ยุคฟื้นฟู (คริสต์ศตวรรษที่ 15-16) สมัยประวัติศาสตร์ / คริสต์ศตวรรษที่ 17 สมัยปัจจุบัน / คริสคตวรรษที่ 19 Early Renaissance NorthernRenaissance High Renaissance Mannerism NorthernRenaissance Late Baroque Late Baroque Rococo Neo-Classicism Romanticism สมัยประวัติศาสตร์ / คริสต์ศตวรรษที่ 18 Romanticism Neo-Classicism Realism Pre-Raphaelites Artsand Crafts Realism Impressionism Post-Impressionism Neo-Impressionism Pointillism Symbolism ArtNouveau สมัยปัจจุบัน / คริสคตวรรษที่ 20 สมัยปัจจุบัน / คริสคตวรรษที่ 21 Fauvism Expressionism Cubism Futurism Dada Surrealism AbstractExpressionism Pop Art Op Art Minimalism Performance Art EnvironmentalArt Neo-Expressionism Post-modernism ContemporaryArt หน้า 3