SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 35
Downloaden Sie, um offline zu lesen
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ฉบับที่ 5 : ตุลาคม พ.ศ. 2558
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
บทบรรณาธิการ
ในช่วงเวลา 1 เดือนที่ผ่านมา มีเหตุการณ์ต่างๆในโลกเกิดขึ้นมากมาย โดยเฉพาะเหตุการณ์
ดีๆ สร้างสรรค์และนวัตกรรมที่น่าชื่นชมยินดี คือ ดร. Tu Youyou ได้รับรางวัลโนเบลสาขา
การแพทย์ “นวัตกรรมรักษาโรคมาลาเรีย” กลายเป็นสตรีคนแรกในประวัติศาสตร์ของจีนที่ได้รับ
รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือแพทยศาสตร์ (The Nobel Prize in Physiology or Medicine) ซึ่ง
เป็นการค้นพบอันยิ่งใหญ่ที่ช่วยเหลือชีวิตมนุษยชาติ
แต่ข่าวที่สาคัญยิ่ง และได้สร้างความสนใจให้กับโลกในยุคบูรพาภิวัตน์ คือ ข่าวการเยือน
อังกฤษของประธานาธิบดีสีจิ้นผิง พร้อมกับพิธีการต้อนรับอันยิ่งใหญ่ ตามมาด้วยข้อตกลงในการ
ลงทุนเพื่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในอังกฤษ เหนือสิ่งอื่นใดจีนเองมีเป้าหมายสาคัญในการผลักดัน
ให้กรุงลอนดอนกลายเป็นศูนย์กลางหลักนอกทวีปเอเชียสาหรับการซื้อขายเงินหยวน อีกด้วย
กระนั้นก็ตาม ในอีกภูมิภาคหนึ่งของโลก ก็มีเรื่องที่น่าสลดใจคือ วิกฤตผู้ลี้ภัย จากสงคราม
ซีเรีย
ทั้งหมดนี้ เป็นประเด็นที่สถาบันวิจัยนโยบาย (Think Tank) ชั้นนาของโลกต่างเฝ้าติดตาม
วิเคราะห์ และตั้งข้อสังเกตกับความเป็นไปในภูมิภาคต่างๆของโลก สถาบันคลังปัญญาฯ วิทยาลัย
รัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต จึงได้รวบรวมและสรุปมานาเสนอใน World Think Tank Monitor ฉบับ
เดือนตุลาคม 2558 นี้
ยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการ
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สารบัญ
หน้า
บทบรรณาธิการ
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคยุโรป 1
 CHATHAM HOUSE 2
 EUROPEAN COUNCIL ON FOREIGN RELATIONS 4
 GERMAN INSTITUTE OF GLOBAL AND AREA STUDIES 5
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา 7
 BROOKINGS 8
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ด้านภูมิภาคตะวันออกกลาง 13
 MIDDLE EAST INSTITUTE 14
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคเอเชีย 20
 ASIA SOCIETY 21
 CHINA INSTITUTE OF INTERNATIONAL STUDIES 24
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในประเทศไทย 27
 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL STRATEGIES DEVELOPMENT) 28
1
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจ
จาก Think Tank ในภูมิภาคยุโรป
CHATHAM HOUSE
EUROPEAN COUNCIL ON FOREIGN RELATIONS
GERMAN INSTITUTE OF GLOBAL
AND AREA STUDIES
เรียบเรียงโดย
จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
ผู้ช่วยนักวิจัย
2
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
CHATHAM HOUSE
ในช่วงเดือนตุลาคม พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา สถาบัน Chatham House ได้นาเสนอประเด็น
สถานการณ์ระหว่างประเทศที่น่าสนใจไว้ด้วยกัน 2 ประเด็น ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
การทบทวนระบบสาธารณสุขในระดับสากล
สถาบัน Chatham House ได้นาเสนอรายงานชิ้นใหม่ในเรื่องของการปฏิรูประบบสาธารณสุข
ระดับสากลกับความท้าทายใหม่ที่โลกต้องเผชิญภายหลังปีค.ศ.2015 โดยการปฏิรูปดังกล่าวนี้มี
วัตถุประสงค์หลักเพื่อปรับปรุงและพัฒนาระบบสุขภาพให้สอดคล้องกับเป้าหมายด้านการพัฒนาที่ยัง
ยืน (Sustainable Development Goals) พร้อมทั้งส่งเสริมให้ประชาชนทั่วโลกเข้าถึงบริการ
สาธารณสุขได้อย่างเป็นธรรมควบคู่กับการปรับเปลี่ยนสถาปัตยกรรมด้านสาธารณสุขให้อานวย
ความสะดวกผู้รับบริการได้อย่างทั่วถึง
สาหรับความท้าทายที่เกิดขึ้นและส่งผลกระทบต่อการปฏิรูปนั้นมีอยู่หลายประการด้วยกัน
ได้แก่
 ความเสี่ยงต่อการป่วยเป็นโรคไม่ติดต่อ(NCDs) ที่มากขึ้นของประชากรผู้สูงอายุ
 ประเทศกาลังพัฒนายังคงต้องเผชิญกับการระบาดของโรคติดต่ออย่างไม่อาจรับมือได้
เนื่องจากมีระบบสาธารณสุขที่อ่อนแอ เช่น โรคอีโบลาในทวีปแอฟริกา
รายงานชิ้นนี้ได้ให้ความสาคัญกับการรับมือความท้าทายที่เกิดขึ้นผ่านแนวคิดด้านการปฏิรูป
ด้านงบประมาณก่อนเป็นอันดับแรก โดยองค์การที่สนับสนุนเงินทุนด้านสุขภาพทั่วโลกจะต้องปรับ
กลยุทธ์ให้สามารถตอบสนองความเดือดร้อนของประชากรที่ยากจนในประเทศกาลังพัฒนาพร้อมทั้ง
สนับสนุนให้รัฐบาลจัดหางบประมาณด้านสาธารณสุขได้มากขึ้น นอกจากนี้ยังควรเพิ่มการลงทุนใน
การวิจัยและพัฒนา(R&D) เพื่อแก้ไขปัญหาโรคติดต่อซึ่งมีที่มาจากปัญหาความยากจน ส่วนแนวคิด
ปฏิรูปอีกประเด็นที่สาคัญไม่แพ้กันก็คือการสนับสนุนให้มีการจัดตั้งองค์การกลางคือ UN-HEALTH
เพื่อพัฒนาระบบสุขภาพทั่วโลก
3
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เดิมพันของอังกฤษต่ออานาจเงินหยวน
ปลายเดือนตุลาคมที่ผ่านมาเหตุการณ์หนึ่งซึ่งเป็นที่ประชาคมระหว่างประเทศจับตามองมาก
เป็นพิเศษคงไม่พ้นประเด็นที่นาย Xi Jinping ประธานาธิบดีจีนเดินทางเยือนสหราชอาณาจักร
อย่างเป็นทางการ โดย Alan Wheatley และ Paola Subacchi นักวิจัยด้านเศรษฐศาสตร์ระหว่าง
ประเทศของ Chatham House ได้วิเคราะห์ถึงการเดินทางเยือนครั้งนี้ว่ามีจุดมุ่งหมายเพื่อเปิ ด
มิติใหม่ในความร่วมมือด้านการค้าและการลงทุนระหว่างจีนและอังกฤษ โดยเป้าหมายสาคัญ
ของจีนคือการผลักดันให้กรุงลอนดอนกลายเป็นศูนย์กลางหลักนอกทวีปเอเชียสาหรับการซื้อขายเงิน
หยวน ในขณะที่อังกฤษเองก็มีท่าทีเห็นด้วยกับแนวคิดดังกล่าว
การที่ตลาดการเงินที่จีนกาลังพัฒนาประสบความสาเร็จได้นั้นจาเป็นต้องมีสภาพคล่องและ
ทางเลือกที่หลากหลายสาหรับการลงทุน ทั้งนี้ จีนจึงได้กาหนดมาตรการ 2 ขั้นตอนสาหรับการพัฒนา
ดังกล่าวซึ่งมีสาระสาคัญ ดังนี้
 ขั้นตอนแรก ธนาคารประชาชนจีน (People's Bank of China) และธนาคารกลางของ
จีนได้ประกาศขายเงิน 5 พันล้านหยวนในลอนดอน ส่งผลให้นักลงทุนจานวนมากต่าง
รีบฉกฉวยโอกาสในการซื้อเนื่องจากเห็นว่าเป็นสกุลเงินที่มีความมั่นคงและให้
ผลตอบแทนสูง
 ขั้นตอนที่สอง จีนได้เพิ่มปริมาณอัตราการแลกเปลี่ยนในข้อตกลงกับอังกฤษมากขึ้น
เกือบสองเท่าเป็นเงิน 3.5 ล้านหยวน เพื่อรองรับปัญหาการขาดแคลนค่าเงินหยวนที่
จะเกิดขึ้นในอนาคต และเพื่อสร้างความมั่นใจว่าภาคธุรกิจยังสามารถใช้เงินหยวนใน
การส่งออกและการนาเข้าได้อย่างมีเสถียรภาพ
ความใฝ่ฝันของจีนในการส่งเสริมให้เงินหยวนถูกใช้มากขึ้นไม่ได้จากัดอยู่เฉพาะในด้านการค้า
เท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงการลงทุนทุกด้าน ซึ่งหากจะกล่าวว่าจีนกาลังพยายามสถาปนาให้เงินหยวน
ขึ้นมาเป็นเงินสกุลหลักของโลกก็คงไม่ผิดนัก ในขณะเดียวกัน สาหรับอังกฤษแล้ว การบริการทาง
การเงินดูเหมือนจะเป็นภาคส่วนที่สาคัญที่สุดที่ช่วยสานสัมพันธ์ทางธุรกิจให้อังกฤษใกล้ชิดกับจีน แต่
สัดส่วนรายได้และการบริโภคของประชากรจีนที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องก็สร้างโอกาสทางเศรษฐกิจให้
อังกฤษได้ไม่น้อยเช่นกัน โดยอังกฤษอาจใช้จุดเด่นทางด้านวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมธุรกิจการ
ท่องเที่ยวและการศึกษา ประกอบกับการลดค่าธรรมเนียมและขั้นตอนการทาวีซ่าก็จะสามารถดึงดูด
ประชากรผู้มีกาลังซื้อเหล่านี้ให้เข้ามาได้ อีกทั้งยังเป็นการกระชับความสัมพันธ์ระหว่างอังกฤษและจีน
ให้แน่นแฟ้นขึ้นด้วย
4
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
EUROPEAN COUNCIL ON FOREIGN RELATIONS
ในเดือนตุลาคม พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา สถาบัน European Council on Foreign Relations ได้
นาเสนอประเด็นความเคลื่อนไหวของประเทศในภูมิเอเชียที่น่าสนใจไว้ดังนี้
10 ข้อเท็จจริงเรื่องวิกฤตผู้ลี้ภัยในยุโรป
ในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมาประเทศในยุโรปต้องเผชิญกับวิกฤตการย้ายถิ่นฐานของประชากรสู่
ยุโรปครั้งใหญ่ที่สุด โดยเฉพาะผู้อพยพลี้ภัยสงครามจากซีเรียที่หลั่งไหลเข้ามาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งแม้
ยุโรปจะยินดีรับผู้ลี้ภัยเหล่านี้ แต่ระบบการจัดการผู้ลี้ภัยก็ยังมีปัญหาหลายประการ ทั้งหมดจึงเป็นเหตุ
ให้ผู้นายุโรปจาเป็นต้องหารือเพื่อร่วมกันหาทางออกให้กับวิกฤตดังกล่าว
ที่ผ่านมานอกจากการเยียวยาผู้ลี้ภัยแล้ว ยุโรปได้พยายามใช้วิธีการทางการทูตและการเจรจา
ต่อรองในระดับภูมิภาคเพื่อให้การช่วยเหลือประเทศผู้ได้รับผลกระทบ และแม้การเปิดประตูต้อนรับผู้
ลี้ภัยจากซีเรียอย่างเต็มใจจะสร้างความไม่พอใจให้แก่รัฐบาลซีเรียอย่างมาก แต่จุดยืนดังกล่าวของ
ยุโรปก็เป็นการแทรกแซงทางมนุษยธรรมที่น่ายกย่อง
อย่างไรก็ตามสถาบัน European Council on Foreign Relations ก็ได้เสนอข้อเท็จจริง 10
ประการเกี่ยวกับวิกฤตผู้ลี้ภัยที่ผู้นายุโรปควรให้ความสนใจ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
1. ยุโรปจะต้องเดินหน้ากระบวนการเจรจาต่อรองอย่างจริงจังเพื่อแสวงหาแนวทางแก้วิกฤตความ
ขัดแย้งในซีเรีย
2. ยุโรปและสหรัฐอเมริกาไม่สามารถดาเนินการได้เพียงลาพัง ต้องอาศัยตัวแสดงระดับภูมิภาค
เป็นเป็นตัวกลางเชื่อมประสานทางการทูต
3. ยุโรปจาเป็นต้องกาหนดกลยุทธ์ต่อรัสเซียในเรื่องวิกฤตความขัดแย้งในยูเครน
4. ยุโรปต้องทบทวนข้อตกลงต่างๆ เพื่อกระชับความความร่วมมือกับอิหร่านในการแก้ปัญหา
ความขัดแย้งของซีเรีย อิรักและรัฐอิสลามอื่นๆ
5. ยุโรปจะต้องให้ความสาคัญกับความขัดแย้งในลิเบีย
6. ยุโรปควรป้องกันปัญหาที่เกิดขึ้นมิให้ลุกลามไปยังประเทศที่ยังไม่เกิดวิกฤต
7. ผลกระทบต่อคาบสมุทรบอลข่านเป็นอีกเรื่องที่ไม่ควรละเลย
8. สหภาพยุโรปต้องสานสัมพันธ์ทางการทูตกับตุรกีเพื่อเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของภูมิภาค
9. ประเทศที่รับผู้ลี้ภัยเข้ามาดูแลจะต้องได้รับการสนับสนุนและการประสานงานที่ดีขึ้น
10. ยุโรปจะต้องมีความมุ่งมั่นอย่างจริงจังในการป้องกันและจัดการความขัดแย้ง
5
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
GERMAN INSTITUTE OF GLOBAL AND
AREA STUDIES
ในเดือนตุลาคม พ.ศ.2558 สถาบัน German Institute of Global and Area Studies (GIGA)
ได้นาเสนอเกี่ยวกับประเทศจีนไว้อย่างน่าสนใจ โดยมีรายละเอียดดังนี้
การเชื่อมโยงระหว่างโลก (Between Worlds)
วารสาร Journal of Current Chinese Affairs, Vol 44, No.3 ของสถาบัน GIGA ได้นาเสนอ
บทความวิจัยกรณีของการที่นักศึกษาจีนในปัจจุบันนิยมศึกษาต่อต่างประเทศมากขึ้นโดยเฉพาะ
ในยุโรปว่าสะท้อนให้เห็นการเปลี่ยนแปลงในมิติต่างๆ อย่างไรบ้าง ซึ่งไม่อาจปฏิเสธได้ว่าทั่วโลก
ในขณะนี้มีการเคลื่อนย้ายของประชากรข้ามชาติเพิ่มมากขึ้นอันเนื่องมาจากเหตุผลทางการศึกษาต่อ
สาหรับจีนเอง รัฐบาลก็ได้ดาเนินนโยบายส่งเสริมให้หนุ่มสาวชาวจีนเดินทางไปศึกษาในต่างประเทศ
เพื่อนาความรู้กลับมาพัฒนาบ้านเกิดต่อเนื่องมาตั้งแต่ทศวรรษที่ 1970 ด้วยเหตุนี้เองจึงอาจเป็นปัจจัย
หนึ่งที่ทาให้เศรษฐกิจจีนเติบโตอย่างรวดเร็ว รายได้เฉลี่ยของประชากรเพิ่มขึ้น อีกทั้งยังทาให้จีนมี
ทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพจานวนมาก โดยข้อมูลจากสานักงานสถิติแห่งชาติจีนระบุว่าในปี
ค.ศ.2014 มีนักศึกษาจีนในต่างประเทศมากถึง 460,000 คน ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ของ
องค์การ UNESCO ที่ระบุว่ามีนักศึกษาจีนอยู่ในต่างประเทศจานวนมากและคาดการณ์ว่าชาวจีน
เหล่านี้จะมีส่วนต่อการสร้างเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมที่ดีให้แก่ประเทศจีนในอนาคต
ทั้งนี้ GIGA ยังให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่าบทความวิจัยดังกล่าวใช้วิธีการศึกษาและเก็บข้อมูลผ่านการ
ลงพื้นที่สังเกตการณ์และสัมภาษณ์นักศึกษาจีนที่มีคุณลักษณะหลากหลายซึ่งพานักอยู่ในต่างประเทศ
ทั้งเดนมาร์ก อังกฤษ ฟินแลนด์ฮ่องกง ญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกาเพื่อให้ได้ผลการศึกษาที่มีคุณภาพและ
เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศจีนต่อไป
6
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เอกสารอ้างอิง
Alan Wheatley and Paola Subacchi. Britain is Betting on the Power of the Renminbi.
Chatham House. ออนไลน์:https://www.chathamhouse.org/expert/comment/britain-
betting-power-renminbi
Marco Schäferhoff, Elina Suzuki, Steven J Hoffman and Philip Angelides. Rethinking the
Global Health System. Chatham House. ออนไลน์:https://www.chathamhouse.org/
publication/rethinking-global-health-system
Susi Dennison, Dina Pardijs and Nick Witney. Ten home truths on Europe's refugee crisis.
European Council on Foreign Relations. ออนไลน์: http://www.ecfr.eu/article/commen
tary_ 10_home_truths_on_refugee_crisis4047
German Institute of Global and Area Studies. Between Worlds. ออนไลน์: https://
giga.hamburg/en/news/between-worlds
7
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจ
จาก Think Thank ในภูมิภาคอเมริกา
BROOKINGS
เรียบเรียงโดย
อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล
ผู้ช่วยนักวิจัย
8
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
BROOKINGS
ในรอบเดือนตุลาคม พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา สถาบัน Brookings ได้นาเสนอประเด็นความ
เคลื่อนไหวระหว่างประเทศที่น่าสนใจ ดังต่อไปนี้
การฟื้นความสัมพันธ์ระหว่างจีนและอังกฤษส่งผลต่อเศรษฐกิจโลกอย่างไร
บทนา
การเดินทางไปเยือนอังกฤษอย่างเป็นทางการของประธานาธิบดี สี จิ้นผิง แห่งสาธารณรัฐ
ประชาชนจีน โดยการเลี้ยงต้อนรับและรับรองอาหารค่าแบบรัฐพิธี จากสมเด็จพระราชินีนาถเอลิ
ซาเบธที่ 2 ณ พระราชวังบัคคิงแฮม ในวันที่ 20 ตุลาคม 2558 ที่ผ่านมา เป็นเรื่องที่นานาประเทศ
ต่างให้ความสนใจ เนื่องจากเป็นการประกาศและตอกย้าให้ทั่วโลกเห็นถึงยุคทองของความสัมพันธ์
ระหว่างยักษ์ใหญ่ทางเศรษฐกิจอย่างจีนและมหาอานาจเก่าอย่างอังกฤษ ผ่านการเจรจาข้อตกลง
ความร่วมมือด้านการค้าและการลงทุนระหว่างกันผู้นาของทั้งสองประเทศ
ในอดีตอังกฤษและจีนได้ชื่อว่าเป็นคู่ขัดแย้งกันมาอย่างยาวนาน โดยหลักฐานที่ยืนยันถึงการ
กระทาของอังกฤษที่มีต่อจีนมีหลายเหตุการณ์ด้วยกัน ทั้งสงครามฝิ่น ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 การปล้นและ
เผาพระราชวังฤดูร้อนเดิม ในปี ค.ศ. 1860 รวมถึงการยืมดินแดนของจีนอย่างเกาะฮ่องกง มาทาเป็น
ศูนย์กลางทางด้านพาณิชย์ ก่อนที่อังกฤษจะคืนเกาะฮ่องกงให้กลับจีนในปี ค.ศ. 1999 หรือเมื่อ 18
ปีที่แล้ว
แต่ความขัดแย้งที่เป็นอดีตเหล่านี้ได้แปรเปลี่ยน ไปในเดือนธันวาคมปี ค.ศ. 2013 เมื่อ
นายกรัฐมนตรีของอังกฤษ นายเดวิด คาเมรอน นาทีมรัฐมนตรี และคณะผู้แทนเจรจาทางการค้า
จานวนกว่า 12 0 คน อาทิผู้บริหารระดับสูงของบริษัท Rolls-Royce บริษัท BP บริษัท Royal
Dutch บริษัท Shell บริษัท Barclays บริษัท HSBC บริษัท GlaxoSmithKline บริษัท Virgin ฯลฯ
เดือนทางไปเยือนจีน โดยมีเป้าหมายในการเชิญชวนนักลงทุนชาวจีนให้เข้าไปลงทุนในอังกฤษมาก
ขึ้น ซึ่งถือได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของยุคทองในความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอังกฤษ
ความร่วมมือของจีนและอังกฤษในด้านเศรษฐกิจและการลงทุน
ในสองสามปีที่ผ่านมา อังกฤษ เป็น 1 ใน 10 ของประเทศที่เป็นคู่การค้าและร่วมลงทุนกับจีน
มากที่สุด ด้วยมูลค่าของการค้าและการลงทุนที่มีตัวเลขที่มากกว่า 16,000 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ใน
ปีค.ศ. 2014 ทั้งนี้จีนได้เข้าไปลงทุนในอังกฤษ ในภาคส่วนของธุรกิจต่างๆ ทั้งในภาคอุตสาหกรรม
ภาคการเงิน และการบริการ ทั้งธนาคารพาณิชย์ สนามบิน สาธารณูปโภค อย่างโครงสร้างท่ารถไฟ
9
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
และท่าเรือ เป็นต้น โดยสัดส่วนการถือหุ้นของจีนในสนามบินฮีทโลว์(Heathrow airport ) อยู่ที่ 9%
และในบริษัท Thames Water อยู่ที่ 9.5% ผ่านบริษัท sovereign fund China Investment Corpora-
tion (CIC) นอกจากนี้ ยังมีหุ้นในสนามบินแมนเชสเตอร์ รวมถึงสัดส่วนมูลค่าการลงทุนใน
อสังหาริมทรัพย์มูลค่าหลายพันล้านปอนด์
ขณะเดียวกัน ก็ได้มีกลุ่มธุรกิจขนาดเล็กและขนาดกลาง รวมถึงร้านค้าปลีกชื่อดังต่างๆ ของ
อังกฤษเข้าไปลงทุนในจีน ยกตัวอย่างการเปิดตัวของร้านค้าปลีกชื่อดังในอังกฤษอย่าง Marks &
Spencer สาขาแรกในจีนเมื่อไม่นานมานี้ รวมถึงการเข้าไปลงทุนของกลุ่มธุรกิจขนาดเล็กและขนาด
กลางอย่าง Weetabix Pizza Express และ Sunseekers อีกด้วย
ทั้งนี้ สิ่งที่น่าจับตามองมากที่สุด คือ การหารือถึงข้อตกลงในโครงการการก่อสร้างโรงไฟฟ้า
นิวเคลียร์ "ฮิงคลีย์ พอยต์ ซี" แห่งแรกในอังกฤษ ในอีก 25 ปี ตามที่นายจอร์จ ออสบอร์น
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของอังกฤษได้เชื้อเชิญให้จีนเข้าร่วมลงทุน โดยมีการประมาณการถึง
ตัวที่จีนจะใช้ในการลงทุนมากกว่า 25,000 ล้านยูโร หรืออาจจะถึง 39,000 ล้านยูโร ผ่านบริษัท China
General Nuclear และ the China National Nuclear Corporation ของจีน
การให้คาปรึกษาและความช่วยเหลือระหว่างจีนและอังกฤษในด้านต่างๆ
นอกเหนือจากข้อตกลงทางด้านเศรษฐกิจและการลงทุนมูลค่ามหาศาลที่สามารถยืนยันให้เห็น
ถึงยุคทองของความสัมพันธ์ระหว่างทั้งสองประเทศแล้ว ยังมีการให้ความช่วย และคาแนะนาต่างๆ
ระหว่างกัน ในแบบที่มิใช่เป็นตัวเงินอีกด้วย อาทิ การวางระบบสาธารณูปโภคการจัดการศึกษาใน
ระดับอุดมศึกษา หรือแม้กระทั่งการตอบรับข้อตกลงที่ประกาศความเป็นพันธมิตรของทั้งสองประเทศ
ร่วมกันอย่าง อย่างการตอบรับเข้าร่วมเป็นสมาชิกผู้ก่อตั้งอย่างเป็นทางการของธนาคารเพื่อการพัฒนา
ด้านโครงสร้างพื้นฐานแห่งเอเชีย(AIIB) ของจีน โดยอังกฤษเป็นประเทศแรกในยุโรปที่ตอบรับการเข้า
ร่วม และนาพามาซึ่งการตอบตกลงเข้าร่วมที่ตามมาของอีกหลายๆประเทศ อาทิ ออสเตรเลีย เยอรมัน
อิลาตี เกาหลีใต้ และประเทศอื่นๆที่เป็นพันธมิตรของสหรัฐอเมริกา ซึ่งสถานการณ์ดังกล่าวได้สร้าง
ความกังวลต่อสหรัฐอเมริกาอยู่มิใช่น้อย เนื่องจากธนาคาร AIIB ถือได้ว่าเป็นภัยคุกตามต่อสถาบันทาง
การเงินที่สหรัฐอเมริกาหนุนหลังอยู่ อย่างธนาคารโลก(World Bank) และธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย
(the Asian Development Bank:ADB)
และการให้คาปรึกษาและความช่วยเหลือล่าสุดของอังกฤษต่อจีน คือการให้คาแนะนาในการส่ง
กองกาลังรักษาสันติภาพ ตามที่ประธานาธิบดีสี จิ้นผิง ของจีน ได้ให้คามั่นต่อที่ประชุมสมัชชาใหญ่
สหประชาชาติว่า จะส่งทหารจานวน 8,000 นาย ไปเข้าร่วมกับกองกาลังรักษาสันติภาพสหประชาชาติ
(UN) ในเดือนกันยายน 2558 ที่ผ่านมา ซึ่งประเด็นนี้ นับว่าเป็นความเคลื่อนไหวครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดครั้ง
หนึ่งของจีนในการรักษาสันติภาพในระดับนานาชาติร่วมกับสหประชาชาติ(UN)
10
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สรุป
จากที่กล่าวมาทั้งหมด จะเห็นได้ถึงยุคทองของสัมพันธ์ระหว่างจีนและอังกฤษ ณ ขณะนี้ ผ่าน
การให้ความช่วยเหลือ และความร่วมมือในด้านต่างๆ เพื่อผลประโยชน์ร่วมกันของทั้งสองประเทศ
โดยอังกฤษได้พยายามชักชวนจีนให้เข้ามาลงทุนและค้าขายในประเทศของตนเอง อันเป็นการกระตุ้น
เศรษฐกิจอันซบเซาของอังกฤษ ขณะเดียวกัน เป้าหมายลาดับถัดไปของจีน คือ การปล่อยพันธบัตร
จีนในอังกฤษโดยมีเป้าหมายในการปูทางค่าเงินหยวนสู่การเป็นค่าเงินในระดับนานาชาติ
Philippe Le Corre นักวิจัยผู้เชี่ยวชาญด้านนโยบายการต่างประเทศของจีน สหรัฐอเมริกา
และยุโรป ของสถาบัน Brookings ได้เสนอว่า ถึงแม้สหรัฐอเมริกาจะมีท่าทีที่กังวลเกี่ยวกับการเชื่อม
สัมพันธ์อันเป็นยุคทองระหว่างจีนและอังกฤษ สหภาพยุโรปและพันธมิตรในองค์การสนธิสัญญา
แอตแลนติกเหนือ(NATO) แต่ทั้งนี้ Philippe Le Corre เห็นว่า อังกฤษ จะเป็นตัวกลางในการเชื่อม
ความสัมพันธ์ระหว่างจีนและสหรัฐอเมริกา ที่จะสามารถลดสถานการณ์ความตึงเครียดและการต่อรอง
ในเอเชียแปซิฟิกได้
การประชุมสมัชชาสหประชาชาติ กับการเข้ามามีส่วนร่วมของจีน
การประชุมสมัชชาสหประชาชาติสมัยสามัญ ครั้งที่ 70 ณ นครนิวยอร์ก เกิดขึ้นในระหว่าง
วันที่ 23 กันยายน 2558 ถึง 1 ตุลาคม 2558 โดยความสาคัญของการประชุมสหประชาชาติในครั้งนี้
คือการประชุมการปฏิบัติการรักษาสันติภาพในกรอบของสหประชาชาติ (United peacekeeping oper-
ations) ว่าด้วยการสร้างความร่วมมือและเพิ่มความแข็งแกร่งในกระบวนการการรักษาสันติภาพ
ร่วมกัน โดยนายบารัค โอบามา ประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา ได้กล่าวถ้อยแถลงถึงสถานการณ์
การรักษาสันติภาพของโลกในปัจจุบัน ว่าขณะนี้ ขบวนการการก่อการข้ามชาติ เป็นภัยคุกคามที่ส่งผล
กระทบแก่ในหลายๆประเทศทั่วโลก ซึ่งดูเหมือนว่าขบวนการก่อการร้ายในระดับโลกนี้ มีแนวโน้มที่จะ
ขยายตัว จนกลายเป็นปัญหา ภัยคุกคามและวิกฤตต่อโลกในอนาคต ดังนั้น สหรัฐอเมริกาเห็นว่า
ปัญหานี้ ไม่ได้เป็นปัญหาของประเทศใดประเทศหนึ่ง แต่เป็นปัญหาที่ทั่วโลกควรจะต้องรับผิดชอบ
และจัดการร่วมกัน ทั้งนี้ สหรัฐอเมริกายืนยันว่า สหรัฐอเมริกาไม่สามารถรับมือต่อวิกฤตดังกล่าวได้
หากปราศจากความช่วยเหลือและความร่วมมือในระดับนานาชาติ
ทั้งนี้ ได้มีผู้นาจากหลากหลายประเทศขึ้นมากล่าวถ้อยแถลงเกี่ยวกับแนวทางในการรักษา
สันติภาพ ในที่ประชุม โดยประธานาธิบดีของฝรั่งเศส นายฟร็องซัว ออล็องด์ได้กล่าวในที่ประชุมถึง
แนวทางในการให้ความช่วยเหลือและผลักดันการรักษาสันติภาพให้เกิดขึ้นในพื้นที่สงคราม
11
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
อย่างประเทศมาลี แอฟริกา ขณะที่นายกรัฐมนตรี เดวิด คาเมรอน ของอังกฤษ ก็ได้กล่าวถึงแผนการ
ในการส่งทหารและเจ้าหน้าที่จานวนมากกว่า 300 คน ลงไปจัดการ และให้ความช่วยเหลือในพื้นที่
วิกฤตอย่างซูดานใต้ และพื้นที่รอยต่อกับยุโรปใต้ ที่กาลังประสบปัญหาการอพยพของผู้ลี้ภัยจานวน
มาก
โดยถ้อยแถลงที่โดดเด่นมากที่สุดในที่ประชุม คือ การกล่าวปฏิญาณของประธานาธิบดี
สี จิ้นผิง ในการส่งทหารเข้าไปร่วมกับกองกาลังรักษาสันติภาพ ขององค์กรสหประชาชาติ จานวน
8,000 นาย และยินดีที่จะให้การสนับสนุนในด้านอื่นๆด้วย ทั้งนี้ หลายฝ่ายมองว่า ปรากฏการณ์นี้เป็น
ก้าวแรกในการปรับบทบาทด้านยุทธศาสตร์ของจีนต่อองค์กรสหประชาชาติ ด้วยการให้ความร่วมมือ
ผ่านการส่งทหารเข้าไปในซูดานใต้ ในขณะที่ แนวทางในการส่งเสริมสันติภาพของสหรัฐอเมริกา คือ
การจะเพิ่มจานวนทหารเข้าร่วมกับกองกาลังรักษาสันติภาพของสหประชาชาติ จาก 40 เป็น 80 และ
ให้การสนับสนุนด้านวิศวกรรม และการขนส่งด้วย
ทั้งนี้ Richard Gowan ผู้เชี่ยวชาญอาวุโสด้านองค์กรสหประชาชาติ สถาบัน Brooking เห็นว่า
คาปฏิญาณของสหรัฐอเมริกานั้น ไม่มีน้าหนักและประสิทธิภาพเพียงพอต่อการทาให้สันติภาพเกิดขึ้น
ได้จริงในโลก และคาปฏิญาณของประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ก็ยังไม่มีความชัดเจนเท่าที่ควร ซึ่งมีความ
เป็นไปได้ว่า อาจเป็นแค่แนวทางในการปรับบทบาทด้านยุทธศาสตร์ระหว่างประเทศของจีนเท่านั้น
ไม่ได้มีจุดประสงค์ในการส่งเสริมระเบียบวาระด้านสันติภาพให้เกิดขึ้นอย่างแท้จริง
12
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เอกสารอ้างอิง
Philippe Le Corre .“What the budding China-UK romance means for the global economy”.
http://www.brookings.edu/blogs/order-from-chaos/posts/2015/10/22-china-uk-relations-l
ecorre
Richard Gowan . “Red China's new blue helmets”. http://www.brookings.edu/blogs/order-from-
chaos/posts/2015/09/30-un-peacekeeping-commitments-gowan
13
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจ
จาก Think Thank ในภูมิภาคตะวันออกกลาง
MIDDLE EAST INSTITUTE
เรียบเรียงโดย
ปาณัท ทองพ่วง
ผู้ช่วยนักวิจัย
14
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Middle East Institute
ในช่วงเดือนตุลาคม 2558 ที่ผ่านมา Middle East Institute ได้นาเสนอประเด็นระหว่าง
ประเทศที่น่าสนใจ ดังนี้
การเดินเกมสาคัญครั้งใหม่ของรัสเซียในตะวันออกกลาง
เมื่อต้นเดือนนี้ เราคงได้ยินข่าวที่รัสเซียเปิดฉากปฏิบัติการทางอากาศในดินแดนซีเรีย โดย
ข้อมูลจากรัฐบาลรัสเซียอ้างว่าเพื่อร่วมกับตะวันตกจัดการกับกลุ่ม ISIS อย่างไรก็ตามหลัง
ปฏิบัติการดาเนินไปไม่นาน ก็ปรากฏว่าการทิ้งระเบิดทางอากาศของรัสเซียในดินแดนซีเรียนี้ไป
ทาลายกลุ่มกบฏที่ต่อต้านทั้งรัฐบาลอัซซาดและ ISIS กลุ่มกบฏนี้ส่วนใหญ่ได้รับการสนับสนุนเป็น
กาลังทางบก “ตัวแทน” ของสหรัฐ บทความในครึ่งแรกพยายามวาดภาพว่ารัสเซียเข้าไปในซีเรียครั้ง
นี้เพื่ออะไร แน่นอนว่าอย่างแรกที่เห็นได้ชัดคือ เพื่อช่วยระบอบของประธานาธิบดีบาชาร์ อัล-อัซซาด
ซึ่งรัสเซียให้การสนับสนุนมานาน และเพื่อเตะตัดขาสหรัฐกับกลุ่มกบฏต้านระบอบอัซซาด เพื่อชิง
อิทธิพลในซีเรียกับสหรัฐและชาติตะวันตก แต่นี่เป็นเพียงเหตุผลเบื้องต้น และในส่วนครึ่งหลัง
บทความก็พยายามวาดภาพบรรดา “อุปสรรค” ที่รัสเซียอาจต้องเผชิญในการเข้าไปเล่นเกมในซีเรีย
คราวนี้
คาถามสาคัญคือว่า รัสเซียเข้าไปในซีเรียเพื่ออะไร “อะไร” ที่มากไปกว่าการสู้รบกับ ISIS
และแม้แต่เพื่อรักษาระบอบอัซซาดไว้ในอานาจ เป้าหมายเหล่านี้ถูกกล่าวว่ามีหลายข้อ ทั้งที่เป็นการ
รักษาผลประโยชน์เฉพาะหน้าของปูติน และผลประโยชน์แห่งชาติรัสเซียในระยะยาว ดังนี้
ประการแรก เกี่ยวกับความมั่นคงของรัสเซียเอง คือ รัสเซียนั้นมีปัญหาเรื่องทางออกทาง
ทะเลมานานแล้ว เป็นปัจจัยที่จากัดมิให้เป็นมหาอานาจทางเรือและการเข้าไปมีอิทธิพลในต่างแดน
ซึ่งที่ผ่านมาผู้ปกครองรัสเซียก็มักมาหาทางออกทะเลตรงบริเวณตะวันออกกลางแถบตุรกีหรือซีเรีย
ในกรณีซีเรีย รัสเซียต้องการรักษาท่าที่เมือง Tartus ไว้เพื่อเป็นทางออกให้กองทัพเรือรัสเซีย
เดินทางออกไปสร้างอิทธิพลในภูมิภาคได้
15
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ข้อสองคือ รัสเซียตัดสินใจไฟเขียวปฏิบัติการทางทหารทางอากาศครั้งนี้ เพื่อรักษาอิทธิพล
รัสเซียในซีเรียเอาไว้ ในฐานะที่เป็นจุดยุทธศาสตร์ “ประตูทางออก” สู่ทะเลของรัสเซียไว้ คู่ชิงซีเรีย
ของรัสเซียนั้นมิใช่เพียงสหรัฐกับเหล่าพันธมิตรชาติตะวันตกเท่านั้น แต่ยังมี “มหามิตร” อย่างอิหร่าน
เองด้วย ทุกวันนี้รัฐบาลอัซซาดอยู่ได้ก็ด้วยการสนับสนุนจากอิหร่านเป็นหลัก ทั้งทางทหาร การเมือง
และอื่นๆ นอกจากนี้ อิหร่านเองนับวันก็เริ่มมองผลประโยชน์ของตนในดินแดนนี้ข้ามหัวระบอบอัซ
ซาดไปแล้ว ตัวอย่างเช่น ในเมืองชายแดนของซีเรียที่ติดกับอิหร่านชื่อ Zabardani อิหร่านก็
ปฏิบัติการทางทหารไปเองเพื่อรักษาผลประโยชน์ของตนในเมืองนี้ โดยไม่ฟังคาสั่งของรัฐบาลอัซ
ซาดแล้ว ในเวลานี้ที่รัฐบาลอัซซาดทาได้เพียงรักษาตัวเองไว้ในอานาจ ดินแดนซีเรียยิ่งตกอยู่ใต้
อิทธิพลของชาติต่างๆที่ขับเคี่ยวกันมากขึ้น ทั้งฝ่ายอิหร่าน ฝ่ายกลุ่มกบฏต้านอัซซาดที่หนุนหลังโดย
สหรัฐและชาติตะวันตก ฝ่าย ISIS และฝ่ายรัสเซียเข้ามาอีก ดังนั้น มอสโกจึงอาจมองว่าหากปล่อย
สถานการณ์ไปเช่นนี้ เมื่อระบอบอัซซาดล้ม หากซีเรียไม่ตกแก่ ISIS ก็จะตกแก่อิหร่านนั่นเอง
ข้อสาม ข้อนี้อาจพอหวังได้ในตอนแรกที่ปูตินกับโอบามาคุยกันเรื่องปฏิบัติการทางอากาศ
ของรัสเซียในซีเรีย คือ เพื่อแสดงว่ารัสเซียยอมร่วมเป็นพันธมิตรกับตะวันตกต่อกรกับศัตรูร่วมอย่าง
ISIS เพื่อหวังจะช่วยบรรเทาการคว่าบาตรรัสเซียจากตะวันตก ที่ลากยาวมาตั้งแต่วิกฤตไครเมียเมื่อ
ปีที่แล้ว แต่เมื่อเป้าหมายที่เครื่องบินรัสเซียทิ้งระเบิดใส่ไม่ใช่เพียงแต่ ISIS แต่เป็นกลุ่มกบฏต้านอัซ
ซาดที่ตะวันตกสนับสนุนด้วย ข้อนี้คงเป็นอันเลิกหวังได้
ข้อสี่ ปูตินเองตระหนักถึง ปัญหาที่อาจเกิดในอนาคต หาก ISIS ชนะในซีเรีย คือ ISIS นี้
เป็นกลุ่มซุนนี และชายแดนรัสเซียเองที่ติดกับประเทศเอเชียกลางก็มีมุสลิมซุนนีอยู่ราว 20 ล้านคน
อีกทั้งนับวันจานวน “พลเมืองรัสเซีย” และคนที่พูดภาษารัสเซียที่ไปเข้าร่วมกับ ISIS ก็มากขึ้น เมื่อ
ต่อภาพทั้งหมดนี้เข้าด้วยกัน การก่อการร้ายในรัสเซียโดยคนรัสเซียหรือเอเชียกลางฝ่าย ISIS อาจ
เป็นอนาคตที่รออยู่ไม่ไกล
ข้อสุดท้าย ปูตินอาจมองซีเรียเป็นสนามให้รัสเซียแสดงแสนยานุภาพทางทหาร เพื่อให้
ชาวโลกมองรัสเซียในฐานะ “หนึ่งใน” ชาติมหาอานาจอีกครั้ง หลังเสียสถานะนี้ไปตั้งแต่หลังยุค
สงครามเย็น ปูตินอาจมองเห็น “สุญญากาศ” ที่เกิดขึ้นในภูมิภาคตะวันออกกลางหลังสหรัฐล้มเหลว
ในอิรัก ในซีเรีย และหลายๆเหตุการณ์ในภูมิภาค เป็นช่องทางให้รัสเซียเสนอตัวเข้าไปสร้างอิทธิพล
ด้วย
เช่นเดียวกับที่มีแรงกระตุ้นมากมายให้ปูตินตัดสินใจงัดไม้แข็งในซีเรียคราวนี้ เป็นไปได้ที่
ปูตินจะต้องพบกับอุปสรรคหลากหลาย เช่น อิสราเอลนั้นระวังตัวแจอยู่แล้วกับความเคลื่อนไหวของ
อิหร่านในการช่วยเหลืออัซซาด การเข้ามาของรัสเซียย่อมไม่เป็นที่ต้องการของอิสราเอล
16
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
นอกจากนี้ การที่รัสเซียเข้ามาในซีเรียครั้งนี้ อาจเป็นเหตุแห่งความขัดแย้งกับอิหร่าน ที่เป็น
พันธมิตรกันมานาน พันธมิตรทั้งสองกลายเป็นว่ามาชิงอิทธิพลกันในซีเรีย เพราะแม้ต่างมีศัตรูร่วมคือสหรัฐ
และ ISIS แต่ต่างฝ่ายก็ต่างต้องการมีอิทธิพลในซีเรียเพื่อสนองผลประโยชน์แห่งชาติของตน
สองข้อสุดท้ายต่อไปนี้ อาจเป็นสิ่งที่แน่นอนที่สุดที่จะกล่าวได้ว่าจะเป็นผลพวงที่รัสเซียต้องรับไป
จากการเข้ามายุ่งเกี่ยวในดินแดนอันร้อนระอุนี้ด้วยอีกคน ข้อแรกคือ รัสเซียจะกลายเป็นเป้าหมายของการ
ก่อการร้ายจากกลุ่ม ISIS และเครือข่ายที่มีทั่วโลก ซึ่งที่น่ากลัวที่สุดก็คือ คนรัสเซียเองที่ไปเข้ากับฝ่าย ISIS
นี่เป็นชะตากรรมแบบเดียวกับที่สหรัฐและชาติตะวันตกที่เข้ามาพัวพันในตะวันออกกลางได้เผชิญแล้ว
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นสดๆร้อนๆในวันที่ 31 ตุลาคม 2558 นี้คือ การตกของเครื่องบินโดยสารรัสเซียใน
คาบสมุทรไซนายของอียิปต์ ซึ่งสาขาของ ISIS ได้ออกมาอ้างว่าเป็นผลงานตน ข้อที่สองก็คือ การที่มี
รัสเซียเพิ่มเข้าไปแทรกแซงในซีเรียอีกชาติ ยิ่งเรียกแรงสนับสนุนให้ผู้คนจากทั่วโลกเข้าร่วมกับขบวนการ
อิสลามหัวรุนแรง ทั้ง ISIS และกลุ่มก่อการร้ายอื่นๆ ที่มีมากมาย และเครือข่ายขององค์กรเหล่านี้ มากยิ่งขึ้น
โดยสรุป การตัดสินใจปฏิบัติการทางทหารของรัสเซียในซีเรียครั้งนี้ แม้จะได้ใจกลุ่มชาตินิยม
“ฮาร์ดคอร์” ในรัสเซียและเรียกคะแนนนิยมให้ปูตินได้ในระยะสั้น รวมทั้งสร้างภาพให้นานาชาติเห็นว่า
กองทัพรัสเซียก็ไม่ไร้น้ายา แต่ผลได้เหล่านี้ดูเหมือนว่าจะเป็นผลระยะสั้นที่ฉาบฉวยเท่านั้น ในระยะยาวนี่คง
เป็นเกมอันตรายที่รัสเซียเอาตัวเข้าไปยุ่งเอง ซึ่งถ้าเดินหมากพลาดย่อมพาประเทศไปติด “กับดักแห่ง
ดินแดนตะวันออกกลาง” ซึ่งที่ผ่านมาในประวัติศาสตร์ ไม่ว่าใคร ยิ่งใหญ่แค่ไหนที่เข้าไปยุ่งทั้งสหรัฐ ชาติ
พันธมิตรตะวันตก รวมทั้งสหภาพโซเวียตในอดีตก็เคยติดและกาลังติดกับอยู่นั่นเอง
17
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เดิมพันของการเลือกตั้งครั้งล่าสุดในตุรกี
วันที่ 1 พ.ย. 2558 นี้ ตุรกีมีการเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่สองในรอบหกเดือน หลังจัดการเลือกตั้ง
ครั้งที่แล้วไปเมื่อเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา เหตุผลที่ต้องมีการเลือกตั้งครั้งใหม่นี้ เนื่องจากพรรค AKP
ซึ่งเป็นพรรครัฐบาลมายาวนานถึง 13 ปี ไม่สามารถจัดตั้งรัฐบาลเสียงข้างมากได้ เพราะได้รับ
คะแนนเสียงไม่พอ การเลือกตั้งครั้งนี้จึงเกิดขึ้น โดยประธานาธิบดีเออร์โดกันผู้นาของพรรค AKP
หวังจะเก็บชัยชนะแบบเสียงข้างมากให้ได้ ท่ามกลางภาวะที่ผลสารวจออกมาว่าคะแนนนิยมของ
พรรคตกต่าที่สุดในรอบ 4 ปี และไม่น่าจะได้เสียงมากพอจะตั้งรัฐบาลพรรคเดียวได้ รวมทั้งภาวะที่
ประเทศตุรกีกาลังเผชิญปัญหารอบด้าน ไม่ว่า ศึกใน ทั้งทางเศรษฐกิจที่ตกต่า การเมืองภายในที่
แตกแยก แบ่งขั้วอย่างไม่เคยเป็นมาก่อน แรงกดดันทางสังคมที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ รวมทั้ง ศึกนอกที่
รุมเร้าทั้งกับชาวเคิร์ด ชนกลุ่มน้อยในประเทศ ภายใต้ร่มธงของพรรคแรงงานชาวเคิร์ดหรือ PKK
และกับกลุ่ม ISIS ที่ยึดครองอิรักและซีเรียมากขึ้นเรื่อย ประชิดชายแดนตุรกี แม้มหาอานาจทั่วโลก
ทั้งสหรัฐ ชาติตะวันตก และล่าสุดรัสเซียต่างทุ่มกาลังต้านอย่างหนักมานาน
บทความชิ้นนี้จะมาดูว่าในสภาวะอึมครึมของสังคมและประเทศตุรกีนี้ เดิมพันของการ
เลือกตั้งที่ชาวตุรกีต่างคาดหวังว่าจะเป็นทางออกของประเทศนั้นมีอะไรบ้าง โดยอ้างอิงข้อมูลจาก
บทความเรื่อง The Raised Stakes of Turkey’s Do-Over Election เขียนโดย Gönül Tol
ผู้อานวยการศูนย์ตุรกีศึกษาของ Middle East Institute
เดิมพันสาหรับเออร์โดกันและพรรค AKP
ถ้าเออร์โดกันไม่สามารถตั้งรัฐบาลพรรคเดียวได้หลังการเลือกตั้งครั้งนี้ เขาและคนใกล้ชิดจะ
โดน “เช็คบิล” จากกลุ่มการเมืองฝ่ายตรงข้าม ในประเด็น การทุจริตคอร์รัปชั่นครั้งอื้อฉาวที่สุดใน
ประวัติศาสตร์ของประเทศ กรณีทุจริตใหญ่นี้ถูกเปิดโปงเมื่อปี 2013 จากคลิปเสียงหลุดที่คาดว่าเป็น
เสียงเออร์โดกันและลูกชายกาลังพูดจาเกี่ยวกับการยักยอกเงินจานวนมหาศาล แม้คดีจะจบลงโดย
อัยการสั่งไม่ฟ้อง แต่คดีดังกล่าวก็ยังเป็น “ประเด็นร้อน” ในการเมืองตุรกี และกลุ่มการเมืองฝ่ายตรง
ข้ามหลายพรรคต่างแสดงชัดเจนว่าจะต้องรื้อคดีทุจริตนี้กลับมาชาระใหม่ให้ได้ เมื่อใดที่อานาจ
เบ็ดเสร็จหลุดจากมือพรรค AKP ดังนั้น เออร์โดกันจึงต้องพยายามทาทุกทางที่จะให้ชนะการเลือกตั้ง
แบบได้เสียงข้างมากในครั้งนี้ให้ได้ เพื่อปกป้องตัวเองและครอบครัว
18
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เดิมพันสาหรับประเทศตุรกี
ปัญหาของตุรกีวันนี้เป็นเรื่องที่ถูกซุกอยู่ใต้พรมมานาน ที่มาหนักขึ้นในช่วงปีสองปีมานี้ ที่
สาคัญคือ ศึกนอกทั้งสองที่มีผลกับศึกในคือความวุ่นวายในสังคมตุรกี
ศึกแรกคือศึกกับชาวเคิร์ด ซึ่งเป็นปัญหาขัดแย้งมานานนม ชาวเคิร์ดนั้นเป็นชนกลุ่มน้อย
ในตุรกีที่มีอยู่จานวนมาก ถูกกดขี่และต้องการแยกตัวเป็นเอกราช โดยมีพรรคการเมืองของตนชื่อ
PKK ภายใต้การปกครองแบบเผด็จการของพรรคฝ่ายขวาอย่าง AKP ในช่วง 13 ปีที่ผ่านมา ชาว
เคิร์ดจึงถูกกดขี่และปราบปรามหนัก เพิ่งจะได้ข้อตกลงหยุดยิงกันไปเมื่อปี 2012 แต่ความขัดแย้งก็
กลับมาปะทุขึ้นอีกเมื่อเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา จากกรณีที่ ISIS โจมตีเมืองชายแดนของตุรกีที่ติด
กับซีเรีย ซึ่งทาให้ชาวเคิร์ดและตุรกีตายกว่าสามสิบคน เหตุครั้งนี้ คนตุรกีและโดยเฉพาะชาวเคิร์ด
ถือว่าเป็นความผิดของพรรค AKP ที่ “ใส่เกียร์ว่าง” ปล่อยให้กลุ่ม ISIS เติบโตในช่วงสองสามปีก่อน
หน้านี้ เพื่อหวังยืมมือจัดการกับชาวเคิร์ดในซีเรีย นามาสู่การแก้แค้นของชาวเคิร์ดโดยสังหารตารวจ
ตุรกีตายไปสองนาย รัฐบาลจึงตอบโต้โดยการเปิดฉากโจมตีทางอากาศฐานที่มั่นของกลุ่มกบฏชาว
เคิร์ดทางตอนเหนือของประเทศ PKK จึงตอบโต้ด้วยการโจมตีกองกาลังของรัฐ นับแต่นั้นมาก็มีคน
ตายทั้งสองฝ่ายหลายร้อยคนจากการปะทะกันในช่วงห้าหกเดือนที่ผ่านมา และรัฐบาลก็ปราบปราม
พรรคการเมืองและสื่อมวลชนฝ่ายเคิร์ดอย่างหนัก และจับกุมนักการเมืองฝ่ายเคิร์ดหลายคนด้วย
ข้อหา “ก่อกวนและสร้างความเกลียดชัง ในสังคม”
ศึกที่สองก็คือศึกกับกลุ่ม ISIS นั่นเองซึ่งหลังจากรัฐบาลปล่อยไม่จัดการอะไรในช่วงสอง
สามปีก่อนหน้านี้ มาถึงระยะหลังเริ่มตระหนักว่าเป็นภัยรุนแรงกับความมั่นคงของชาติ เพราะมีคน
ตุรกีเข้าร่วมมากขึ้นๆ ช่วงครึ่งปีที่ผ่านมา ISIS เข้ามาระเบิดในตุรกีถึงสองครั้ง ครั้งแรกในเมือง
ชายแดนติดกับซีเรียเมื่อเดือนกรกฏาคม และครั้งที่สองในใจกลางนครอังการาเมืองหลวงของตุรกี
เมื่อเดือนตุลาคมนี้เอง ทาให้มีคนเสียชีวิตกว่าร้อยคน ถือเป็นการก่อการร้ายครั้งรุนแรงที่สุดใน
ประวัติศาสตร์ของตุรกี
19
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ทั้งการสู้รบกับชาวเคิร์ดและ ISIS ต่างบั่นทอนเสถียรภาพภายในประเทศในด้านต่างๆ ทั้ง
ทางเศรษฐกิจ การเมือง เสรีภาพสื่อและประชาชน เมื่อเผชิญหน้ากับปัญหานี้ พรรครัฐบาล AKP ยิ่ง
ขวาจัดมากขึ้นจนตุรกีไม่ต่างอะไรจากประเทศใต้ระบอบเผด็จการ สื่อหลายสานักถูกบุกค้น สั่งปิด
ฟ้องร้อง จับกุมนักข่าวที่รายงานข่าวที่ลบต่อรัฐบาล นักการเมืองฝ่ายตรงข้ามและประชาชนที่ต่อต้าน
รัฐบาลก็ถูกจับในข้อหา “หมิ่นท่านประธานาธิบดี” AKP กระชับอานาจเบ็ดเสร็จทั้งในสภา ฝ่าย
บริหาร และแม้แต่ตุลาการ โดยการตั้งคนของตนเข้าไปนั่งตาแหน่งสาคัญ แปรสภาพองค์กรเหล่านี้
ให้เป็นอาวุธจัดการศัตรูทางการเมือง
ที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ คือ สภาพของตุรกีในปัจจุบัน เป็นบริบทที่จะบอกในตัวเองได้ว่า การ
เลือกตั้งที่เกิดขึ้นในวันที่ 1 พ.ย. 2558 นี้จะเป็นความหวังต่อการเปลี่ยนแปลงของชาวตุรกีมากแค่
ไหน ให้ประเทศพ้นจากการมุ่งลงเหวที่เห็นอยู่ไม่ไกล
เอกสารอ้างอิง
Bassam Barabandi, Aaron Hesse and Colonel (retired) P.J. Dermer, Russia’s New
Middle East Great Game. Middle East Institute. ออนไลน์http://www.mei.edu/content/article/
russia%E2%80%99s-new-middle-east-great-game
Gönül Tol, The Raised Stakes of Turkey’s Do-Over Election. Middle East Institute.
ออนไลน์ http://www.mei.edu/content/article/raised-stakes-turkey%E2%80%99s-do-over-
election
20
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจ
จาก Think Thank ในภูมิภาคเอเชีย
ASIA SOCIETY
CHINA INSTITUTE OF INTERNATIONAL STUDIES
เรียบเรียงโดย
วีรวิชญ์ เอี่ยมแสง
ผู้ช่วยนักวิจัย
21
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Asia Society
ในรอบเดือนตุลาคม พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา สถาบัน Asia Society ได้นาเสนอความ
เคลื่อนไหวระหว่างประเทศในประเด็นสตรีคนแรกของจีนที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาการแพทย์และ
การเดินทางเยือนประเทศอังกฤษของประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
ดร.Tu Youyou รางวัลโนเบลสาขาการแพทย์ “นวัตกรรมรักษาโรคมาลาเรีย”
นักวิทยาศาสตร์จีน ดร. Tu Youyou อดีตนักวิจัยของสถาบัน China Academy of Chinese
Medical Sciences ในประเทศจีน เป็นผู้ที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือแพทยศาสตร์ (The
Nobel Prize in Physiology or Medicine) ในปี พ.ศ. 2558 จากผลงาน “การค้นพบนวัตกรรม
บาบัดต้านมาลาเรีย” อันเป็นกระบวนการรักษาโรคมาลาเรีย
คาประกาศของคณะกรรมการรางวัลโนเบลสาขาสรีศาสตร์ระบุว่า “โรคมาลาเรียซึ่งอยู่กับ
มนุษยชาติมาเป็นเวลานาน มีสาเหตุจากปรสิตเซลล์เดียวที่มียุงเป็นพาหะได้เข้าไปทาลายเซลล์เม็ด
เลือดแดง จนทาให้เกิดไข้ ในกรณีร้ายแรงก็เป็นเหตุให้สมองถูกทาลายและตาย โดยแต่ละปีมีรายงาน
ยืนยันว่ามีผู้เสียชีวิตจากโรคนี้ 450,000 คน และประชากรโลกมากกว่า 3.4 พันล้านคนมีความเสี่ยงที่
จะได้รับเชื้อมาลาเรีย คณะกรรมการจึงเห็นสมควรที่จะมอบรางวัลแก่ผู้คิดค้นการรักษาโรค
มาลาเรีย”
ในขณะที่ฝ่ายแพทย์แผนโบราณของจีนให้ความเห็นต่อรางวัลครั้งนี้ว่าป็นรางวัลสาหรับ
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่ ดร. Tu Youyou ได้ใช้โดยเฉพาะเจาะจง ในการสกัดสารสาคัญ Artemis-
inin จากต้น Sweet Wormwood หรือ Artemisia annua ในการรักษาโรคมาลาเรีย โดย ดร.Tu
Youyou กลายเป็นสตรีคนแรกในประวัติศาสตร์ของจีนที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือ
แพทยศาสตร์ (The Nobel Prize in Physiology or Medicine)
Juleen Zierath ประธานคณะกรรมการโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือแพทยศาสตร์ (ได้ให้
สัมภาษณ์ว่า “แรงบันดาลใจที่ ดร.Tu Youyou ได้รับมาจากยาจีนแผนโบราณนั้นเป็นสิ่ง
สาคัญ แต่ที่สาคัญกว่านั้นคือเธอสามารถสกัดสารสาคัญจากพืชออกมา ทั้งยังนาเคมีและ
22
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ทั้งนี้ ดร. Tu Youyou ได้ให้สัมภาษณ์กับสื่อในคอลัมภ์ chinafile ของสถาบัน Asia socie-
ty ว่า “ได้เรียนรู้เทคนิคการสกัดตัวยานี้จากการศึกษาตารายาแผนโบราณ และอยากจะ
พัฒนาตัวยาของแผนโบราณของจีนให้มีประโยชน์ต่อมนุษยชาติมากขึ้น” ในปัจจุบันนี้
ประเทศจีนมีแพทย์สมัยใหม่ประมาณ 1.1 ล้านคน และแพทย์แผนโบราณ 186,947 คน มี
โรงพยาบาลรวม 23, 095 แห่ง โดยในจานวนนี้ 2,889 แห่งให้บริการการแพทย์แผนโบราณ
เพราะฉะนั้นรัฐบาลจึงควรให้การสนับสนุนในด้านการวิจัยและพัฒนาตารายาแผนโบราณของจีน
อย่างไรก็ตาม เป็นเรื่องที่น่าตื่นเต้นยินดีกับ ดร. Tu Youyou ที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขา
สรีรวิทยาหรือแพทยศาสตร์ (The Nobel Prize in Physiology or Medicine) ในครั้งนี้เพราะเป็น
การยืนยันว่ายาแผนโบราณของจีนมีความเป็นวิทยาศาสตร์ และพิสูจน์ได้ว่าประสบความสาเร็จใน
การใช้บาบัดรักษาโรค
ยุคทองของความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
: ข้อตกลงในการสร้างโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ของจีนกับอังกฤษ
สี จิ้นผิง ประธานาธิบดีสาธารณรัฐประชาชนจีนเดินทางเยือนประเทศอังกฤษในระหว่าง
วันที่ 20-23 ตุลาคม พ.ศ. 2558 ที่ผ่านมา เข้าพบกับนายเดวิด คาเมรอน นายกรัฐมนตรีอังกฤษ
เพื่อเจราจาหารือและพัฒนาความสัพพันธ์ทางการค้าและการทูต การพบกันระหว่างผู้นาของทั้ง
สองประเทศเป็นที่จับตามองของสื่อและประเทศต่างๆ
การเดินทางเยือนอังกฤษของสี จิ้นผิง ในครั้งนี้ ได้ร่วมลงนามในข้อตกลงทางการค้า
หลายฉบับกับประเทศอังกฤษ รวมมูลค่ากว่า 3 หมื่นล้านปอนด์ โดยข้อตกลงดังกล่าวเน้นความ
ร่วมมือด้านเศรษฐกิจ การลงทุน และการเงิน โดยเฉพาะข้อตกลงในการสนับสนุนเพื่อสร้าง
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในอังกฤษ 3 แห่ง ซึ่งถือเป็นการลงทุนสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ครั้งแรกใน
ประเทศตะวันตกของจีน
ข้อตกลงในการลงทุนเพื่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในอังกฤษนั้น องค์กร China’s General
Nuclear Corporation (CGN) รัฐวิสาหกิจด้านสาธารณูปโภคของจีน เป็นผู้รับผิดชอบและร่วมเป็น
หุ้นส่วนในการสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ฮิงค์ลีย์ พอยต์ (Hinkley point) ซึ่งมีมูลค่า 37,800
ล้านดอลลาร์ ฮิงค์ลีย์ พอยต์ จะเป็นโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แห่งแรกของอังกฤษในรอบหลายสิบปี
23
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
โดยทางรัฐบาลอังกฤษ คาดว่าจะทาให้เกิดการจ้างงานถึง 25,000 ตาแหน่ง รวมทั้งสามารถ
จ่ายไฟฟ้าให้แก่ครัวเรือน 6 ล้านหลัง ภายใต้ข้อตกลงดังกล่าว นักลงทุนจีนจะถือหุ้น 1 ใน 3 หรือ
18,000 ล้านปอนด์ (28,000 ล้านดอลลาร์) และจะลงทุน 2 ใน 3 สาหรับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในเขตแบ
รดเวลล์ทางตะวันออกของกรุงลอนดอน รวมถึงสนับสนุนเงินทุน 1 ใน 5 ให้กับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่
เขตไซส์เวลล์ ด้านทิศตะวันออกของอังกฤษอีกด้วย
ภายหลังการเจรจาข้อตกลงดังกล่าว สี จิ้นผิ้งได้ให้สัมภาษณ์กับผู้สื่อข่าวของอังกฤษว่า "เรา
จะสร้างความร่วมมือเชิงยุทธศาสตร์ที่ครอบคุลมระดับโลกกับการเปิ ดยุคทอง(Gold era )แห่ง
ความร่วมมือในศตวรรษที่ 21"
ในขณะเดียวกัน คาเมรอนได้ให้สัมภาษณ์ว่า “เศรษฐกิจจีนเป็นหนึ่งในพลังขับเคลื่อนการ
เติบโตของโลก ความร่วมมือในครั้งนี้ เป็นการส่งเสริมการลงทุน และขณะนี้ จีนลงทุนใน
อังกฤษมากกว่าประเทศอื่นใดในยุโรป” การลงทุนของจีนในอังกฤษเป็นเสมือนการเปิดประตูเสู่โลก
ตะวันตกสาหรับการสร้างพันธมิตรด้านการค้า
Kevin Rudd ประธานสถาบัน Asia Society Policy Institute ได้ตั้งข้อสังเกตถึงการเจรจา
ระหว่างผู้นาของทั้งสองประเทศว่า “การลงทุนเพื่อสร้างโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ของจีนในประเทศ
อังกฤษแสดงถึงความสัมพันธ์ทางด้านการค้าของทั้งสองประเทศที่จะเติบโตไปได้ด้วยดีใน
อนาคต (Bright future) ประกอบแสดงให้เห็นถึงความเป็นผู้นาที่เข้มแข็ง (strong leader)
ของสี จิ้นผิง ที่สามารถประสานประโยชน์โดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจ การลงทุนและสร้าง
ความสัมพันธ์อันดีกับประเทศต่างๆ ในโลกได้”
นโยบายการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แห่งใหม่ เป็นนโยบายที่รัฐบาลอังกฤษกาหนดขึ้นเมื่อไม่
นานมานี้ เพื่อแก้ปัญหาภาวะขาดแคลนพลังงานในประเทศที่กาลังจะเกิดขึ้นในทศวรรษหน้า
ท่ามกลางข้อถกเถียงของประชาชนถึงความคุ้มค่าและผลกระทบที่จะตามมาในภายหลัง
นอกจากนี้ การลงนามข้อตกลงต่างๆ มีมูลค่ารวมทั้งสิ้น 46,400 ล้านดอลลาร์ ในจานวนนี้
รวมถึงการตกลงร่วมพัฒนาโครงการในจีนของประเทสอังกฤษและประเทศอื่นๆ ได้แก่ การลงนาม
ระหว่างบริษัท บริติช ปิโตรเลียม (บีพี) ของอังกฤษ กับบริษัท หวาเตี้ยน (China’s Huadian)ยักษ์ใหญ่
ด้านพลังงานของจีน เป็นสัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติเหลว (แอลเอ็นจี) มูลค่า 1 หมื่นล้านดอลลาร์
สหรัฐฯ ยังมีการลงนามระหว่างบริษัทเอกชนจีนกับอังกฤษอีกด้วย
World Think Thank Monitors ฉบับที่ 5 เดือน ตุลาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors ฉบับที่ 5 เดือน ตุลาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors ฉบับที่ 5 เดือน ตุลาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors ฉบับที่ 5 เดือน ตุลาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors ฉบับที่ 5 เดือน ตุลาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors ฉบับที่ 5 เดือน ตุลาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors ฉบับที่ 5 เดือน ตุลาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors ฉบับที่ 5 เดือน ตุลาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors ฉบับที่ 5 เดือน ตุลาคม พ.ศ.2558

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

Selected Writings - Persian
Selected Writings - PersianSelected Writings - Persian
Selected Writings - Persian
muzaffertahir9
 
Novidades do VS11, .Net 4.5 e EF5
Novidades do VS11, .Net 4.5 e EF5Novidades do VS11, .Net 4.5 e EF5
Novidades do VS11, .Net 4.5 e EF5
Bruno Maestro
 
Bahamas Draft VAT Legislation 7 23-14
Bahamas Draft VAT Legislation 7 23-14Bahamas Draft VAT Legislation 7 23-14
Bahamas Draft VAT Legislation 7 23-14
Alex Baulf
 
fcb Certificate0001
fcb Certificate0001fcb Certificate0001
fcb Certificate0001
Bruce Davis
 
Planeacion De La Prod
Planeacion De La ProdPlaneacion De La Prod
Planeacion De La Prod
albertmast
 
La jurisprudencia
La jurisprudenciaLa jurisprudencia
La jurisprudencia
Grachi-H
 

Andere mochten auch (16)

업사이틀링 최종
업사이틀링 최종업사이틀링 최종
업사이틀링 최종
 
Selected Writings - Persian
Selected Writings - PersianSelected Writings - Persian
Selected Writings - Persian
 
588 599
588 599588 599
588 599
 
Aplikom_UNSRI_1.Biodata diri dan Keunikan Matematika_Sahala Martua Ambarita
Aplikom_UNSRI_1.Biodata diri dan Keunikan Matematika_Sahala Martua AmbaritaAplikom_UNSRI_1.Biodata diri dan Keunikan Matematika_Sahala Martua Ambarita
Aplikom_UNSRI_1.Biodata diri dan Keunikan Matematika_Sahala Martua Ambarita
 
Novidades do VS11, .Net 4.5 e EF5
Novidades do VS11, .Net 4.5 e EF5Novidades do VS11, .Net 4.5 e EF5
Novidades do VS11, .Net 4.5 e EF5
 
Hd4
Hd4Hd4
Hd4
 
Bahamas Draft VAT Legislation 7 23-14
Bahamas Draft VAT Legislation 7 23-14Bahamas Draft VAT Legislation 7 23-14
Bahamas Draft VAT Legislation 7 23-14
 
Conteúdo Programático Presencial OAB 2ª Fase XIV Exame - Civil
Conteúdo Programático Presencial OAB 2ª Fase XIV Exame - CivilConteúdo Programático Presencial OAB 2ª Fase XIV Exame - Civil
Conteúdo Programático Presencial OAB 2ª Fase XIV Exame - Civil
 
fcb Certificate0001
fcb Certificate0001fcb Certificate0001
fcb Certificate0001
 
Examenn
ExamennExamenn
Examenn
 
Aplikasi stoikiometri tugas II
Aplikasi stoikiometri tugas IIAplikasi stoikiometri tugas II
Aplikasi stoikiometri tugas II
 
на сайт гороо
на сайт гороона сайт гороо
на сайт гороо
 
Planeacion De La Prod
Planeacion De La ProdPlaneacion De La Prod
Planeacion De La Prod
 
La jurisprudencia
La jurisprudenciaLa jurisprudencia
La jurisprudencia
 
íNdex
íNdexíNdex
íNdex
 
Museu antônio granemann de souza de curitibanos
Museu antônio granemann de souza de curitibanosMuseu antônio granemann de souza de curitibanos
Museu antônio granemann de souza de curitibanos
 

Mehr von Klangpanya

การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
Klangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
Klangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
Klangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
Klangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Klangpanya
 

Mehr von Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

World Think Thank Monitors ฉบับที่ 5 เดือน ตุลาคม พ.ศ.2558

  • 2. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต บทบรรณาธิการ ในช่วงเวลา 1 เดือนที่ผ่านมา มีเหตุการณ์ต่างๆในโลกเกิดขึ้นมากมาย โดยเฉพาะเหตุการณ์ ดีๆ สร้างสรรค์และนวัตกรรมที่น่าชื่นชมยินดี คือ ดร. Tu Youyou ได้รับรางวัลโนเบลสาขา การแพทย์ “นวัตกรรมรักษาโรคมาลาเรีย” กลายเป็นสตรีคนแรกในประวัติศาสตร์ของจีนที่ได้รับ รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือแพทยศาสตร์ (The Nobel Prize in Physiology or Medicine) ซึ่ง เป็นการค้นพบอันยิ่งใหญ่ที่ช่วยเหลือชีวิตมนุษยชาติ แต่ข่าวที่สาคัญยิ่ง และได้สร้างความสนใจให้กับโลกในยุคบูรพาภิวัตน์ คือ ข่าวการเยือน อังกฤษของประธานาธิบดีสีจิ้นผิง พร้อมกับพิธีการต้อนรับอันยิ่งใหญ่ ตามมาด้วยข้อตกลงในการ ลงทุนเพื่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในอังกฤษ เหนือสิ่งอื่นใดจีนเองมีเป้าหมายสาคัญในการผลักดัน ให้กรุงลอนดอนกลายเป็นศูนย์กลางหลักนอกทวีปเอเชียสาหรับการซื้อขายเงินหยวน อีกด้วย กระนั้นก็ตาม ในอีกภูมิภาคหนึ่งของโลก ก็มีเรื่องที่น่าสลดใจคือ วิกฤตผู้ลี้ภัย จากสงคราม ซีเรีย ทั้งหมดนี้ เป็นประเด็นที่สถาบันวิจัยนโยบาย (Think Tank) ชั้นนาของโลกต่างเฝ้าติดตาม วิเคราะห์ และตั้งข้อสังเกตกับความเป็นไปในภูมิภาคต่างๆของโลก สถาบันคลังปัญญาฯ วิทยาลัย รัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต จึงได้รวบรวมและสรุปมานาเสนอใน World Think Tank Monitor ฉบับ เดือนตุลาคม 2558 นี้ ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ
  • 3. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต สารบัญ หน้า บทบรรณาธิการ ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคยุโรป 1  CHATHAM HOUSE 2  EUROPEAN COUNCIL ON FOREIGN RELATIONS 4  GERMAN INSTITUTE OF GLOBAL AND AREA STUDIES 5 ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา 7  BROOKINGS 8 ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ด้านภูมิภาคตะวันออกกลาง 13  MIDDLE EAST INSTITUTE 14 ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคเอเชีย 20  ASIA SOCIETY 21  CHINA INSTITUTE OF INTERNATIONAL STUDIES 24 ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในประเทศไทย 27  สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL STRATEGIES DEVELOPMENT) 28
  • 4. 1 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจ จาก Think Tank ในภูมิภาคยุโรป CHATHAM HOUSE EUROPEAN COUNCIL ON FOREIGN RELATIONS GERMAN INSTITUTE OF GLOBAL AND AREA STUDIES เรียบเรียงโดย จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ ผู้ช่วยนักวิจัย
  • 5. 2 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต CHATHAM HOUSE ในช่วงเดือนตุลาคม พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา สถาบัน Chatham House ได้นาเสนอประเด็น สถานการณ์ระหว่างประเทศที่น่าสนใจไว้ด้วยกัน 2 ประเด็น ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ การทบทวนระบบสาธารณสุขในระดับสากล สถาบัน Chatham House ได้นาเสนอรายงานชิ้นใหม่ในเรื่องของการปฏิรูประบบสาธารณสุข ระดับสากลกับความท้าทายใหม่ที่โลกต้องเผชิญภายหลังปีค.ศ.2015 โดยการปฏิรูปดังกล่าวนี้มี วัตถุประสงค์หลักเพื่อปรับปรุงและพัฒนาระบบสุขภาพให้สอดคล้องกับเป้าหมายด้านการพัฒนาที่ยัง ยืน (Sustainable Development Goals) พร้อมทั้งส่งเสริมให้ประชาชนทั่วโลกเข้าถึงบริการ สาธารณสุขได้อย่างเป็นธรรมควบคู่กับการปรับเปลี่ยนสถาปัตยกรรมด้านสาธารณสุขให้อานวย ความสะดวกผู้รับบริการได้อย่างทั่วถึง สาหรับความท้าทายที่เกิดขึ้นและส่งผลกระทบต่อการปฏิรูปนั้นมีอยู่หลายประการด้วยกัน ได้แก่  ความเสี่ยงต่อการป่วยเป็นโรคไม่ติดต่อ(NCDs) ที่มากขึ้นของประชากรผู้สูงอายุ  ประเทศกาลังพัฒนายังคงต้องเผชิญกับการระบาดของโรคติดต่ออย่างไม่อาจรับมือได้ เนื่องจากมีระบบสาธารณสุขที่อ่อนแอ เช่น โรคอีโบลาในทวีปแอฟริกา รายงานชิ้นนี้ได้ให้ความสาคัญกับการรับมือความท้าทายที่เกิดขึ้นผ่านแนวคิดด้านการปฏิรูป ด้านงบประมาณก่อนเป็นอันดับแรก โดยองค์การที่สนับสนุนเงินทุนด้านสุขภาพทั่วโลกจะต้องปรับ กลยุทธ์ให้สามารถตอบสนองความเดือดร้อนของประชากรที่ยากจนในประเทศกาลังพัฒนาพร้อมทั้ง สนับสนุนให้รัฐบาลจัดหางบประมาณด้านสาธารณสุขได้มากขึ้น นอกจากนี้ยังควรเพิ่มการลงทุนใน การวิจัยและพัฒนา(R&D) เพื่อแก้ไขปัญหาโรคติดต่อซึ่งมีที่มาจากปัญหาความยากจน ส่วนแนวคิด ปฏิรูปอีกประเด็นที่สาคัญไม่แพ้กันก็คือการสนับสนุนให้มีการจัดตั้งองค์การกลางคือ UN-HEALTH เพื่อพัฒนาระบบสุขภาพทั่วโลก
  • 6. 3 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เดิมพันของอังกฤษต่ออานาจเงินหยวน ปลายเดือนตุลาคมที่ผ่านมาเหตุการณ์หนึ่งซึ่งเป็นที่ประชาคมระหว่างประเทศจับตามองมาก เป็นพิเศษคงไม่พ้นประเด็นที่นาย Xi Jinping ประธานาธิบดีจีนเดินทางเยือนสหราชอาณาจักร อย่างเป็นทางการ โดย Alan Wheatley และ Paola Subacchi นักวิจัยด้านเศรษฐศาสตร์ระหว่าง ประเทศของ Chatham House ได้วิเคราะห์ถึงการเดินทางเยือนครั้งนี้ว่ามีจุดมุ่งหมายเพื่อเปิ ด มิติใหม่ในความร่วมมือด้านการค้าและการลงทุนระหว่างจีนและอังกฤษ โดยเป้าหมายสาคัญ ของจีนคือการผลักดันให้กรุงลอนดอนกลายเป็นศูนย์กลางหลักนอกทวีปเอเชียสาหรับการซื้อขายเงิน หยวน ในขณะที่อังกฤษเองก็มีท่าทีเห็นด้วยกับแนวคิดดังกล่าว การที่ตลาดการเงินที่จีนกาลังพัฒนาประสบความสาเร็จได้นั้นจาเป็นต้องมีสภาพคล่องและ ทางเลือกที่หลากหลายสาหรับการลงทุน ทั้งนี้ จีนจึงได้กาหนดมาตรการ 2 ขั้นตอนสาหรับการพัฒนา ดังกล่าวซึ่งมีสาระสาคัญ ดังนี้  ขั้นตอนแรก ธนาคารประชาชนจีน (People's Bank of China) และธนาคารกลางของ จีนได้ประกาศขายเงิน 5 พันล้านหยวนในลอนดอน ส่งผลให้นักลงทุนจานวนมากต่าง รีบฉกฉวยโอกาสในการซื้อเนื่องจากเห็นว่าเป็นสกุลเงินที่มีความมั่นคงและให้ ผลตอบแทนสูง  ขั้นตอนที่สอง จีนได้เพิ่มปริมาณอัตราการแลกเปลี่ยนในข้อตกลงกับอังกฤษมากขึ้น เกือบสองเท่าเป็นเงิน 3.5 ล้านหยวน เพื่อรองรับปัญหาการขาดแคลนค่าเงินหยวนที่ จะเกิดขึ้นในอนาคต และเพื่อสร้างความมั่นใจว่าภาคธุรกิจยังสามารถใช้เงินหยวนใน การส่งออกและการนาเข้าได้อย่างมีเสถียรภาพ ความใฝ่ฝันของจีนในการส่งเสริมให้เงินหยวนถูกใช้มากขึ้นไม่ได้จากัดอยู่เฉพาะในด้านการค้า เท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงการลงทุนทุกด้าน ซึ่งหากจะกล่าวว่าจีนกาลังพยายามสถาปนาให้เงินหยวน ขึ้นมาเป็นเงินสกุลหลักของโลกก็คงไม่ผิดนัก ในขณะเดียวกัน สาหรับอังกฤษแล้ว การบริการทาง การเงินดูเหมือนจะเป็นภาคส่วนที่สาคัญที่สุดที่ช่วยสานสัมพันธ์ทางธุรกิจให้อังกฤษใกล้ชิดกับจีน แต่ สัดส่วนรายได้และการบริโภคของประชากรจีนที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องก็สร้างโอกาสทางเศรษฐกิจให้ อังกฤษได้ไม่น้อยเช่นกัน โดยอังกฤษอาจใช้จุดเด่นทางด้านวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมธุรกิจการ ท่องเที่ยวและการศึกษา ประกอบกับการลดค่าธรรมเนียมและขั้นตอนการทาวีซ่าก็จะสามารถดึงดูด ประชากรผู้มีกาลังซื้อเหล่านี้ให้เข้ามาได้ อีกทั้งยังเป็นการกระชับความสัมพันธ์ระหว่างอังกฤษและจีน ให้แน่นแฟ้นขึ้นด้วย
  • 7. 4 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต EUROPEAN COUNCIL ON FOREIGN RELATIONS ในเดือนตุลาคม พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา สถาบัน European Council on Foreign Relations ได้ นาเสนอประเด็นความเคลื่อนไหวของประเทศในภูมิเอเชียที่น่าสนใจไว้ดังนี้ 10 ข้อเท็จจริงเรื่องวิกฤตผู้ลี้ภัยในยุโรป ในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมาประเทศในยุโรปต้องเผชิญกับวิกฤตการย้ายถิ่นฐานของประชากรสู่ ยุโรปครั้งใหญ่ที่สุด โดยเฉพาะผู้อพยพลี้ภัยสงครามจากซีเรียที่หลั่งไหลเข้ามาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งแม้ ยุโรปจะยินดีรับผู้ลี้ภัยเหล่านี้ แต่ระบบการจัดการผู้ลี้ภัยก็ยังมีปัญหาหลายประการ ทั้งหมดจึงเป็นเหตุ ให้ผู้นายุโรปจาเป็นต้องหารือเพื่อร่วมกันหาทางออกให้กับวิกฤตดังกล่าว ที่ผ่านมานอกจากการเยียวยาผู้ลี้ภัยแล้ว ยุโรปได้พยายามใช้วิธีการทางการทูตและการเจรจา ต่อรองในระดับภูมิภาคเพื่อให้การช่วยเหลือประเทศผู้ได้รับผลกระทบ และแม้การเปิดประตูต้อนรับผู้ ลี้ภัยจากซีเรียอย่างเต็มใจจะสร้างความไม่พอใจให้แก่รัฐบาลซีเรียอย่างมาก แต่จุดยืนดังกล่าวของ ยุโรปก็เป็นการแทรกแซงทางมนุษยธรรมที่น่ายกย่อง อย่างไรก็ตามสถาบัน European Council on Foreign Relations ก็ได้เสนอข้อเท็จจริง 10 ประการเกี่ยวกับวิกฤตผู้ลี้ภัยที่ผู้นายุโรปควรให้ความสนใจ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 1. ยุโรปจะต้องเดินหน้ากระบวนการเจรจาต่อรองอย่างจริงจังเพื่อแสวงหาแนวทางแก้วิกฤตความ ขัดแย้งในซีเรีย 2. ยุโรปและสหรัฐอเมริกาไม่สามารถดาเนินการได้เพียงลาพัง ต้องอาศัยตัวแสดงระดับภูมิภาค เป็นเป็นตัวกลางเชื่อมประสานทางการทูต 3. ยุโรปจาเป็นต้องกาหนดกลยุทธ์ต่อรัสเซียในเรื่องวิกฤตความขัดแย้งในยูเครน 4. ยุโรปต้องทบทวนข้อตกลงต่างๆ เพื่อกระชับความความร่วมมือกับอิหร่านในการแก้ปัญหา ความขัดแย้งของซีเรีย อิรักและรัฐอิสลามอื่นๆ 5. ยุโรปจะต้องให้ความสาคัญกับความขัดแย้งในลิเบีย 6. ยุโรปควรป้องกันปัญหาที่เกิดขึ้นมิให้ลุกลามไปยังประเทศที่ยังไม่เกิดวิกฤต 7. ผลกระทบต่อคาบสมุทรบอลข่านเป็นอีกเรื่องที่ไม่ควรละเลย 8. สหภาพยุโรปต้องสานสัมพันธ์ทางการทูตกับตุรกีเพื่อเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของภูมิภาค 9. ประเทศที่รับผู้ลี้ภัยเข้ามาดูแลจะต้องได้รับการสนับสนุนและการประสานงานที่ดีขึ้น 10. ยุโรปจะต้องมีความมุ่งมั่นอย่างจริงจังในการป้องกันและจัดการความขัดแย้ง
  • 8. 5 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต GERMAN INSTITUTE OF GLOBAL AND AREA STUDIES ในเดือนตุลาคม พ.ศ.2558 สถาบัน German Institute of Global and Area Studies (GIGA) ได้นาเสนอเกี่ยวกับประเทศจีนไว้อย่างน่าสนใจ โดยมีรายละเอียดดังนี้ การเชื่อมโยงระหว่างโลก (Between Worlds) วารสาร Journal of Current Chinese Affairs, Vol 44, No.3 ของสถาบัน GIGA ได้นาเสนอ บทความวิจัยกรณีของการที่นักศึกษาจีนในปัจจุบันนิยมศึกษาต่อต่างประเทศมากขึ้นโดยเฉพาะ ในยุโรปว่าสะท้อนให้เห็นการเปลี่ยนแปลงในมิติต่างๆ อย่างไรบ้าง ซึ่งไม่อาจปฏิเสธได้ว่าทั่วโลก ในขณะนี้มีการเคลื่อนย้ายของประชากรข้ามชาติเพิ่มมากขึ้นอันเนื่องมาจากเหตุผลทางการศึกษาต่อ สาหรับจีนเอง รัฐบาลก็ได้ดาเนินนโยบายส่งเสริมให้หนุ่มสาวชาวจีนเดินทางไปศึกษาในต่างประเทศ เพื่อนาความรู้กลับมาพัฒนาบ้านเกิดต่อเนื่องมาตั้งแต่ทศวรรษที่ 1970 ด้วยเหตุนี้เองจึงอาจเป็นปัจจัย หนึ่งที่ทาให้เศรษฐกิจจีนเติบโตอย่างรวดเร็ว รายได้เฉลี่ยของประชากรเพิ่มขึ้น อีกทั้งยังทาให้จีนมี ทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพจานวนมาก โดยข้อมูลจากสานักงานสถิติแห่งชาติจีนระบุว่าในปี ค.ศ.2014 มีนักศึกษาจีนในต่างประเทศมากถึง 460,000 คน ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ของ องค์การ UNESCO ที่ระบุว่ามีนักศึกษาจีนอยู่ในต่างประเทศจานวนมากและคาดการณ์ว่าชาวจีน เหล่านี้จะมีส่วนต่อการสร้างเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมที่ดีให้แก่ประเทศจีนในอนาคต ทั้งนี้ GIGA ยังให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่าบทความวิจัยดังกล่าวใช้วิธีการศึกษาและเก็บข้อมูลผ่านการ ลงพื้นที่สังเกตการณ์และสัมภาษณ์นักศึกษาจีนที่มีคุณลักษณะหลากหลายซึ่งพานักอยู่ในต่างประเทศ ทั้งเดนมาร์ก อังกฤษ ฟินแลนด์ฮ่องกง ญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกาเพื่อให้ได้ผลการศึกษาที่มีคุณภาพและ เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศจีนต่อไป
  • 9. 6 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เอกสารอ้างอิง Alan Wheatley and Paola Subacchi. Britain is Betting on the Power of the Renminbi. Chatham House. ออนไลน์:https://www.chathamhouse.org/expert/comment/britain- betting-power-renminbi Marco Schäferhoff, Elina Suzuki, Steven J Hoffman and Philip Angelides. Rethinking the Global Health System. Chatham House. ออนไลน์:https://www.chathamhouse.org/ publication/rethinking-global-health-system Susi Dennison, Dina Pardijs and Nick Witney. Ten home truths on Europe's refugee crisis. European Council on Foreign Relations. ออนไลน์: http://www.ecfr.eu/article/commen tary_ 10_home_truths_on_refugee_crisis4047 German Institute of Global and Area Studies. Between Worlds. ออนไลน์: https:// giga.hamburg/en/news/between-worlds
  • 10. 7 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจ จาก Think Thank ในภูมิภาคอเมริกา BROOKINGS เรียบเรียงโดย อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล ผู้ช่วยนักวิจัย
  • 11. 8 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต BROOKINGS ในรอบเดือนตุลาคม พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา สถาบัน Brookings ได้นาเสนอประเด็นความ เคลื่อนไหวระหว่างประเทศที่น่าสนใจ ดังต่อไปนี้ การฟื้นความสัมพันธ์ระหว่างจีนและอังกฤษส่งผลต่อเศรษฐกิจโลกอย่างไร บทนา การเดินทางไปเยือนอังกฤษอย่างเป็นทางการของประธานาธิบดี สี จิ้นผิง แห่งสาธารณรัฐ ประชาชนจีน โดยการเลี้ยงต้อนรับและรับรองอาหารค่าแบบรัฐพิธี จากสมเด็จพระราชินีนาถเอลิ ซาเบธที่ 2 ณ พระราชวังบัคคิงแฮม ในวันที่ 20 ตุลาคม 2558 ที่ผ่านมา เป็นเรื่องที่นานาประเทศ ต่างให้ความสนใจ เนื่องจากเป็นการประกาศและตอกย้าให้ทั่วโลกเห็นถึงยุคทองของความสัมพันธ์ ระหว่างยักษ์ใหญ่ทางเศรษฐกิจอย่างจีนและมหาอานาจเก่าอย่างอังกฤษ ผ่านการเจรจาข้อตกลง ความร่วมมือด้านการค้าและการลงทุนระหว่างกันผู้นาของทั้งสองประเทศ ในอดีตอังกฤษและจีนได้ชื่อว่าเป็นคู่ขัดแย้งกันมาอย่างยาวนาน โดยหลักฐานที่ยืนยันถึงการ กระทาของอังกฤษที่มีต่อจีนมีหลายเหตุการณ์ด้วยกัน ทั้งสงครามฝิ่น ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 การปล้นและ เผาพระราชวังฤดูร้อนเดิม ในปี ค.ศ. 1860 รวมถึงการยืมดินแดนของจีนอย่างเกาะฮ่องกง มาทาเป็น ศูนย์กลางทางด้านพาณิชย์ ก่อนที่อังกฤษจะคืนเกาะฮ่องกงให้กลับจีนในปี ค.ศ. 1999 หรือเมื่อ 18 ปีที่แล้ว แต่ความขัดแย้งที่เป็นอดีตเหล่านี้ได้แปรเปลี่ยน ไปในเดือนธันวาคมปี ค.ศ. 2013 เมื่อ นายกรัฐมนตรีของอังกฤษ นายเดวิด คาเมรอน นาทีมรัฐมนตรี และคณะผู้แทนเจรจาทางการค้า จานวนกว่า 12 0 คน อาทิผู้บริหารระดับสูงของบริษัท Rolls-Royce บริษัท BP บริษัท Royal Dutch บริษัท Shell บริษัท Barclays บริษัท HSBC บริษัท GlaxoSmithKline บริษัท Virgin ฯลฯ เดือนทางไปเยือนจีน โดยมีเป้าหมายในการเชิญชวนนักลงทุนชาวจีนให้เข้าไปลงทุนในอังกฤษมาก ขึ้น ซึ่งถือได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของยุคทองในความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอังกฤษ ความร่วมมือของจีนและอังกฤษในด้านเศรษฐกิจและการลงทุน ในสองสามปีที่ผ่านมา อังกฤษ เป็น 1 ใน 10 ของประเทศที่เป็นคู่การค้าและร่วมลงทุนกับจีน มากที่สุด ด้วยมูลค่าของการค้าและการลงทุนที่มีตัวเลขที่มากกว่า 16,000 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ใน ปีค.ศ. 2014 ทั้งนี้จีนได้เข้าไปลงทุนในอังกฤษ ในภาคส่วนของธุรกิจต่างๆ ทั้งในภาคอุตสาหกรรม ภาคการเงิน และการบริการ ทั้งธนาคารพาณิชย์ สนามบิน สาธารณูปโภค อย่างโครงสร้างท่ารถไฟ
  • 12. 9 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต และท่าเรือ เป็นต้น โดยสัดส่วนการถือหุ้นของจีนในสนามบินฮีทโลว์(Heathrow airport ) อยู่ที่ 9% และในบริษัท Thames Water อยู่ที่ 9.5% ผ่านบริษัท sovereign fund China Investment Corpora- tion (CIC) นอกจากนี้ ยังมีหุ้นในสนามบินแมนเชสเตอร์ รวมถึงสัดส่วนมูลค่าการลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์มูลค่าหลายพันล้านปอนด์ ขณะเดียวกัน ก็ได้มีกลุ่มธุรกิจขนาดเล็กและขนาดกลาง รวมถึงร้านค้าปลีกชื่อดังต่างๆ ของ อังกฤษเข้าไปลงทุนในจีน ยกตัวอย่างการเปิดตัวของร้านค้าปลีกชื่อดังในอังกฤษอย่าง Marks & Spencer สาขาแรกในจีนเมื่อไม่นานมานี้ รวมถึงการเข้าไปลงทุนของกลุ่มธุรกิจขนาดเล็กและขนาด กลางอย่าง Weetabix Pizza Express และ Sunseekers อีกด้วย ทั้งนี้ สิ่งที่น่าจับตามองมากที่สุด คือ การหารือถึงข้อตกลงในโครงการการก่อสร้างโรงไฟฟ้า นิวเคลียร์ "ฮิงคลีย์ พอยต์ ซี" แห่งแรกในอังกฤษ ในอีก 25 ปี ตามที่นายจอร์จ ออสบอร์น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของอังกฤษได้เชื้อเชิญให้จีนเข้าร่วมลงทุน โดยมีการประมาณการถึง ตัวที่จีนจะใช้ในการลงทุนมากกว่า 25,000 ล้านยูโร หรืออาจจะถึง 39,000 ล้านยูโร ผ่านบริษัท China General Nuclear และ the China National Nuclear Corporation ของจีน การให้คาปรึกษาและความช่วยเหลือระหว่างจีนและอังกฤษในด้านต่างๆ นอกเหนือจากข้อตกลงทางด้านเศรษฐกิจและการลงทุนมูลค่ามหาศาลที่สามารถยืนยันให้เห็น ถึงยุคทองของความสัมพันธ์ระหว่างทั้งสองประเทศแล้ว ยังมีการให้ความช่วย และคาแนะนาต่างๆ ระหว่างกัน ในแบบที่มิใช่เป็นตัวเงินอีกด้วย อาทิ การวางระบบสาธารณูปโภคการจัดการศึกษาใน ระดับอุดมศึกษา หรือแม้กระทั่งการตอบรับข้อตกลงที่ประกาศความเป็นพันธมิตรของทั้งสองประเทศ ร่วมกันอย่าง อย่างการตอบรับเข้าร่วมเป็นสมาชิกผู้ก่อตั้งอย่างเป็นทางการของธนาคารเพื่อการพัฒนา ด้านโครงสร้างพื้นฐานแห่งเอเชีย(AIIB) ของจีน โดยอังกฤษเป็นประเทศแรกในยุโรปที่ตอบรับการเข้า ร่วม และนาพามาซึ่งการตอบตกลงเข้าร่วมที่ตามมาของอีกหลายๆประเทศ อาทิ ออสเตรเลีย เยอรมัน อิลาตี เกาหลีใต้ และประเทศอื่นๆที่เป็นพันธมิตรของสหรัฐอเมริกา ซึ่งสถานการณ์ดังกล่าวได้สร้าง ความกังวลต่อสหรัฐอเมริกาอยู่มิใช่น้อย เนื่องจากธนาคาร AIIB ถือได้ว่าเป็นภัยคุกตามต่อสถาบันทาง การเงินที่สหรัฐอเมริกาหนุนหลังอยู่ อย่างธนาคารโลก(World Bank) และธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (the Asian Development Bank:ADB) และการให้คาปรึกษาและความช่วยเหลือล่าสุดของอังกฤษต่อจีน คือการให้คาแนะนาในการส่ง กองกาลังรักษาสันติภาพ ตามที่ประธานาธิบดีสี จิ้นผิง ของจีน ได้ให้คามั่นต่อที่ประชุมสมัชชาใหญ่ สหประชาชาติว่า จะส่งทหารจานวน 8,000 นาย ไปเข้าร่วมกับกองกาลังรักษาสันติภาพสหประชาชาติ (UN) ในเดือนกันยายน 2558 ที่ผ่านมา ซึ่งประเด็นนี้ นับว่าเป็นความเคลื่อนไหวครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดครั้ง หนึ่งของจีนในการรักษาสันติภาพในระดับนานาชาติร่วมกับสหประชาชาติ(UN)
  • 13. 10 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต สรุป จากที่กล่าวมาทั้งหมด จะเห็นได้ถึงยุคทองของสัมพันธ์ระหว่างจีนและอังกฤษ ณ ขณะนี้ ผ่าน การให้ความช่วยเหลือ และความร่วมมือในด้านต่างๆ เพื่อผลประโยชน์ร่วมกันของทั้งสองประเทศ โดยอังกฤษได้พยายามชักชวนจีนให้เข้ามาลงทุนและค้าขายในประเทศของตนเอง อันเป็นการกระตุ้น เศรษฐกิจอันซบเซาของอังกฤษ ขณะเดียวกัน เป้าหมายลาดับถัดไปของจีน คือ การปล่อยพันธบัตร จีนในอังกฤษโดยมีเป้าหมายในการปูทางค่าเงินหยวนสู่การเป็นค่าเงินในระดับนานาชาติ Philippe Le Corre นักวิจัยผู้เชี่ยวชาญด้านนโยบายการต่างประเทศของจีน สหรัฐอเมริกา และยุโรป ของสถาบัน Brookings ได้เสนอว่า ถึงแม้สหรัฐอเมริกาจะมีท่าทีที่กังวลเกี่ยวกับการเชื่อม สัมพันธ์อันเป็นยุคทองระหว่างจีนและอังกฤษ สหภาพยุโรปและพันธมิตรในองค์การสนธิสัญญา แอตแลนติกเหนือ(NATO) แต่ทั้งนี้ Philippe Le Corre เห็นว่า อังกฤษ จะเป็นตัวกลางในการเชื่อม ความสัมพันธ์ระหว่างจีนและสหรัฐอเมริกา ที่จะสามารถลดสถานการณ์ความตึงเครียดและการต่อรอง ในเอเชียแปซิฟิกได้ การประชุมสมัชชาสหประชาชาติ กับการเข้ามามีส่วนร่วมของจีน การประชุมสมัชชาสหประชาชาติสมัยสามัญ ครั้งที่ 70 ณ นครนิวยอร์ก เกิดขึ้นในระหว่าง วันที่ 23 กันยายน 2558 ถึง 1 ตุลาคม 2558 โดยความสาคัญของการประชุมสหประชาชาติในครั้งนี้ คือการประชุมการปฏิบัติการรักษาสันติภาพในกรอบของสหประชาชาติ (United peacekeeping oper- ations) ว่าด้วยการสร้างความร่วมมือและเพิ่มความแข็งแกร่งในกระบวนการการรักษาสันติภาพ ร่วมกัน โดยนายบารัค โอบามา ประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา ได้กล่าวถ้อยแถลงถึงสถานการณ์ การรักษาสันติภาพของโลกในปัจจุบัน ว่าขณะนี้ ขบวนการการก่อการข้ามชาติ เป็นภัยคุกคามที่ส่งผล กระทบแก่ในหลายๆประเทศทั่วโลก ซึ่งดูเหมือนว่าขบวนการก่อการร้ายในระดับโลกนี้ มีแนวโน้มที่จะ ขยายตัว จนกลายเป็นปัญหา ภัยคุกคามและวิกฤตต่อโลกในอนาคต ดังนั้น สหรัฐอเมริกาเห็นว่า ปัญหานี้ ไม่ได้เป็นปัญหาของประเทศใดประเทศหนึ่ง แต่เป็นปัญหาที่ทั่วโลกควรจะต้องรับผิดชอบ และจัดการร่วมกัน ทั้งนี้ สหรัฐอเมริกายืนยันว่า สหรัฐอเมริกาไม่สามารถรับมือต่อวิกฤตดังกล่าวได้ หากปราศจากความช่วยเหลือและความร่วมมือในระดับนานาชาติ ทั้งนี้ ได้มีผู้นาจากหลากหลายประเทศขึ้นมากล่าวถ้อยแถลงเกี่ยวกับแนวทางในการรักษา สันติภาพ ในที่ประชุม โดยประธานาธิบดีของฝรั่งเศส นายฟร็องซัว ออล็องด์ได้กล่าวในที่ประชุมถึง แนวทางในการให้ความช่วยเหลือและผลักดันการรักษาสันติภาพให้เกิดขึ้นในพื้นที่สงคราม
  • 14. 11 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต อย่างประเทศมาลี แอฟริกา ขณะที่นายกรัฐมนตรี เดวิด คาเมรอน ของอังกฤษ ก็ได้กล่าวถึงแผนการ ในการส่งทหารและเจ้าหน้าที่จานวนมากกว่า 300 คน ลงไปจัดการ และให้ความช่วยเหลือในพื้นที่ วิกฤตอย่างซูดานใต้ และพื้นที่รอยต่อกับยุโรปใต้ ที่กาลังประสบปัญหาการอพยพของผู้ลี้ภัยจานวน มาก โดยถ้อยแถลงที่โดดเด่นมากที่สุดในที่ประชุม คือ การกล่าวปฏิญาณของประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ในการส่งทหารเข้าไปร่วมกับกองกาลังรักษาสันติภาพ ขององค์กรสหประชาชาติ จานวน 8,000 นาย และยินดีที่จะให้การสนับสนุนในด้านอื่นๆด้วย ทั้งนี้ หลายฝ่ายมองว่า ปรากฏการณ์นี้เป็น ก้าวแรกในการปรับบทบาทด้านยุทธศาสตร์ของจีนต่อองค์กรสหประชาชาติ ด้วยการให้ความร่วมมือ ผ่านการส่งทหารเข้าไปในซูดานใต้ ในขณะที่ แนวทางในการส่งเสริมสันติภาพของสหรัฐอเมริกา คือ การจะเพิ่มจานวนทหารเข้าร่วมกับกองกาลังรักษาสันติภาพของสหประชาชาติ จาก 40 เป็น 80 และ ให้การสนับสนุนด้านวิศวกรรม และการขนส่งด้วย ทั้งนี้ Richard Gowan ผู้เชี่ยวชาญอาวุโสด้านองค์กรสหประชาชาติ สถาบัน Brooking เห็นว่า คาปฏิญาณของสหรัฐอเมริกานั้น ไม่มีน้าหนักและประสิทธิภาพเพียงพอต่อการทาให้สันติภาพเกิดขึ้น ได้จริงในโลก และคาปฏิญาณของประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ก็ยังไม่มีความชัดเจนเท่าที่ควร ซึ่งมีความ เป็นไปได้ว่า อาจเป็นแค่แนวทางในการปรับบทบาทด้านยุทธศาสตร์ระหว่างประเทศของจีนเท่านั้น ไม่ได้มีจุดประสงค์ในการส่งเสริมระเบียบวาระด้านสันติภาพให้เกิดขึ้นอย่างแท้จริง
  • 15. 12 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เอกสารอ้างอิง Philippe Le Corre .“What the budding China-UK romance means for the global economy”. http://www.brookings.edu/blogs/order-from-chaos/posts/2015/10/22-china-uk-relations-l ecorre Richard Gowan . “Red China's new blue helmets”. http://www.brookings.edu/blogs/order-from- chaos/posts/2015/09/30-un-peacekeeping-commitments-gowan
  • 16. 13 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจ จาก Think Thank ในภูมิภาคตะวันออกกลาง MIDDLE EAST INSTITUTE เรียบเรียงโดย ปาณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย
  • 17. 14 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Middle East Institute ในช่วงเดือนตุลาคม 2558 ที่ผ่านมา Middle East Institute ได้นาเสนอประเด็นระหว่าง ประเทศที่น่าสนใจ ดังนี้ การเดินเกมสาคัญครั้งใหม่ของรัสเซียในตะวันออกกลาง เมื่อต้นเดือนนี้ เราคงได้ยินข่าวที่รัสเซียเปิดฉากปฏิบัติการทางอากาศในดินแดนซีเรีย โดย ข้อมูลจากรัฐบาลรัสเซียอ้างว่าเพื่อร่วมกับตะวันตกจัดการกับกลุ่ม ISIS อย่างไรก็ตามหลัง ปฏิบัติการดาเนินไปไม่นาน ก็ปรากฏว่าการทิ้งระเบิดทางอากาศของรัสเซียในดินแดนซีเรียนี้ไป ทาลายกลุ่มกบฏที่ต่อต้านทั้งรัฐบาลอัซซาดและ ISIS กลุ่มกบฏนี้ส่วนใหญ่ได้รับการสนับสนุนเป็น กาลังทางบก “ตัวแทน” ของสหรัฐ บทความในครึ่งแรกพยายามวาดภาพว่ารัสเซียเข้าไปในซีเรียครั้ง นี้เพื่ออะไร แน่นอนว่าอย่างแรกที่เห็นได้ชัดคือ เพื่อช่วยระบอบของประธานาธิบดีบาชาร์ อัล-อัซซาด ซึ่งรัสเซียให้การสนับสนุนมานาน และเพื่อเตะตัดขาสหรัฐกับกลุ่มกบฏต้านระบอบอัซซาด เพื่อชิง อิทธิพลในซีเรียกับสหรัฐและชาติตะวันตก แต่นี่เป็นเพียงเหตุผลเบื้องต้น และในส่วนครึ่งหลัง บทความก็พยายามวาดภาพบรรดา “อุปสรรค” ที่รัสเซียอาจต้องเผชิญในการเข้าไปเล่นเกมในซีเรีย คราวนี้ คาถามสาคัญคือว่า รัสเซียเข้าไปในซีเรียเพื่ออะไร “อะไร” ที่มากไปกว่าการสู้รบกับ ISIS และแม้แต่เพื่อรักษาระบอบอัซซาดไว้ในอานาจ เป้าหมายเหล่านี้ถูกกล่าวว่ามีหลายข้อ ทั้งที่เป็นการ รักษาผลประโยชน์เฉพาะหน้าของปูติน และผลประโยชน์แห่งชาติรัสเซียในระยะยาว ดังนี้ ประการแรก เกี่ยวกับความมั่นคงของรัสเซียเอง คือ รัสเซียนั้นมีปัญหาเรื่องทางออกทาง ทะเลมานานแล้ว เป็นปัจจัยที่จากัดมิให้เป็นมหาอานาจทางเรือและการเข้าไปมีอิทธิพลในต่างแดน ซึ่งที่ผ่านมาผู้ปกครองรัสเซียก็มักมาหาทางออกทะเลตรงบริเวณตะวันออกกลางแถบตุรกีหรือซีเรีย ในกรณีซีเรีย รัสเซียต้องการรักษาท่าที่เมือง Tartus ไว้เพื่อเป็นทางออกให้กองทัพเรือรัสเซีย เดินทางออกไปสร้างอิทธิพลในภูมิภาคได้
  • 18. 15 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ข้อสองคือ รัสเซียตัดสินใจไฟเขียวปฏิบัติการทางทหารทางอากาศครั้งนี้ เพื่อรักษาอิทธิพล รัสเซียในซีเรียเอาไว้ ในฐานะที่เป็นจุดยุทธศาสตร์ “ประตูทางออก” สู่ทะเลของรัสเซียไว้ คู่ชิงซีเรีย ของรัสเซียนั้นมิใช่เพียงสหรัฐกับเหล่าพันธมิตรชาติตะวันตกเท่านั้น แต่ยังมี “มหามิตร” อย่างอิหร่าน เองด้วย ทุกวันนี้รัฐบาลอัซซาดอยู่ได้ก็ด้วยการสนับสนุนจากอิหร่านเป็นหลัก ทั้งทางทหาร การเมือง และอื่นๆ นอกจากนี้ อิหร่านเองนับวันก็เริ่มมองผลประโยชน์ของตนในดินแดนนี้ข้ามหัวระบอบอัซ ซาดไปแล้ว ตัวอย่างเช่น ในเมืองชายแดนของซีเรียที่ติดกับอิหร่านชื่อ Zabardani อิหร่านก็ ปฏิบัติการทางทหารไปเองเพื่อรักษาผลประโยชน์ของตนในเมืองนี้ โดยไม่ฟังคาสั่งของรัฐบาลอัซ ซาดแล้ว ในเวลานี้ที่รัฐบาลอัซซาดทาได้เพียงรักษาตัวเองไว้ในอานาจ ดินแดนซีเรียยิ่งตกอยู่ใต้ อิทธิพลของชาติต่างๆที่ขับเคี่ยวกันมากขึ้น ทั้งฝ่ายอิหร่าน ฝ่ายกลุ่มกบฏต้านอัซซาดที่หนุนหลังโดย สหรัฐและชาติตะวันตก ฝ่าย ISIS และฝ่ายรัสเซียเข้ามาอีก ดังนั้น มอสโกจึงอาจมองว่าหากปล่อย สถานการณ์ไปเช่นนี้ เมื่อระบอบอัซซาดล้ม หากซีเรียไม่ตกแก่ ISIS ก็จะตกแก่อิหร่านนั่นเอง ข้อสาม ข้อนี้อาจพอหวังได้ในตอนแรกที่ปูตินกับโอบามาคุยกันเรื่องปฏิบัติการทางอากาศ ของรัสเซียในซีเรีย คือ เพื่อแสดงว่ารัสเซียยอมร่วมเป็นพันธมิตรกับตะวันตกต่อกรกับศัตรูร่วมอย่าง ISIS เพื่อหวังจะช่วยบรรเทาการคว่าบาตรรัสเซียจากตะวันตก ที่ลากยาวมาตั้งแต่วิกฤตไครเมียเมื่อ ปีที่แล้ว แต่เมื่อเป้าหมายที่เครื่องบินรัสเซียทิ้งระเบิดใส่ไม่ใช่เพียงแต่ ISIS แต่เป็นกลุ่มกบฏต้านอัซ ซาดที่ตะวันตกสนับสนุนด้วย ข้อนี้คงเป็นอันเลิกหวังได้ ข้อสี่ ปูตินเองตระหนักถึง ปัญหาที่อาจเกิดในอนาคต หาก ISIS ชนะในซีเรีย คือ ISIS นี้ เป็นกลุ่มซุนนี และชายแดนรัสเซียเองที่ติดกับประเทศเอเชียกลางก็มีมุสลิมซุนนีอยู่ราว 20 ล้านคน อีกทั้งนับวันจานวน “พลเมืองรัสเซีย” และคนที่พูดภาษารัสเซียที่ไปเข้าร่วมกับ ISIS ก็มากขึ้น เมื่อ ต่อภาพทั้งหมดนี้เข้าด้วยกัน การก่อการร้ายในรัสเซียโดยคนรัสเซียหรือเอเชียกลางฝ่าย ISIS อาจ เป็นอนาคตที่รออยู่ไม่ไกล ข้อสุดท้าย ปูตินอาจมองซีเรียเป็นสนามให้รัสเซียแสดงแสนยานุภาพทางทหาร เพื่อให้ ชาวโลกมองรัสเซียในฐานะ “หนึ่งใน” ชาติมหาอานาจอีกครั้ง หลังเสียสถานะนี้ไปตั้งแต่หลังยุค สงครามเย็น ปูตินอาจมองเห็น “สุญญากาศ” ที่เกิดขึ้นในภูมิภาคตะวันออกกลางหลังสหรัฐล้มเหลว ในอิรัก ในซีเรีย และหลายๆเหตุการณ์ในภูมิภาค เป็นช่องทางให้รัสเซียเสนอตัวเข้าไปสร้างอิทธิพล ด้วย เช่นเดียวกับที่มีแรงกระตุ้นมากมายให้ปูตินตัดสินใจงัดไม้แข็งในซีเรียคราวนี้ เป็นไปได้ที่ ปูตินจะต้องพบกับอุปสรรคหลากหลาย เช่น อิสราเอลนั้นระวังตัวแจอยู่แล้วกับความเคลื่อนไหวของ อิหร่านในการช่วยเหลืออัซซาด การเข้ามาของรัสเซียย่อมไม่เป็นที่ต้องการของอิสราเอล
  • 19. 16 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต นอกจากนี้ การที่รัสเซียเข้ามาในซีเรียครั้งนี้ อาจเป็นเหตุแห่งความขัดแย้งกับอิหร่าน ที่เป็น พันธมิตรกันมานาน พันธมิตรทั้งสองกลายเป็นว่ามาชิงอิทธิพลกันในซีเรีย เพราะแม้ต่างมีศัตรูร่วมคือสหรัฐ และ ISIS แต่ต่างฝ่ายก็ต่างต้องการมีอิทธิพลในซีเรียเพื่อสนองผลประโยชน์แห่งชาติของตน สองข้อสุดท้ายต่อไปนี้ อาจเป็นสิ่งที่แน่นอนที่สุดที่จะกล่าวได้ว่าจะเป็นผลพวงที่รัสเซียต้องรับไป จากการเข้ามายุ่งเกี่ยวในดินแดนอันร้อนระอุนี้ด้วยอีกคน ข้อแรกคือ รัสเซียจะกลายเป็นเป้าหมายของการ ก่อการร้ายจากกลุ่ม ISIS และเครือข่ายที่มีทั่วโลก ซึ่งที่น่ากลัวที่สุดก็คือ คนรัสเซียเองที่ไปเข้ากับฝ่าย ISIS นี่เป็นชะตากรรมแบบเดียวกับที่สหรัฐและชาติตะวันตกที่เข้ามาพัวพันในตะวันออกกลางได้เผชิญแล้ว เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นสดๆร้อนๆในวันที่ 31 ตุลาคม 2558 นี้คือ การตกของเครื่องบินโดยสารรัสเซียใน คาบสมุทรไซนายของอียิปต์ ซึ่งสาขาของ ISIS ได้ออกมาอ้างว่าเป็นผลงานตน ข้อที่สองก็คือ การที่มี รัสเซียเพิ่มเข้าไปแทรกแซงในซีเรียอีกชาติ ยิ่งเรียกแรงสนับสนุนให้ผู้คนจากทั่วโลกเข้าร่วมกับขบวนการ อิสลามหัวรุนแรง ทั้ง ISIS และกลุ่มก่อการร้ายอื่นๆ ที่มีมากมาย และเครือข่ายขององค์กรเหล่านี้ มากยิ่งขึ้น โดยสรุป การตัดสินใจปฏิบัติการทางทหารของรัสเซียในซีเรียครั้งนี้ แม้จะได้ใจกลุ่มชาตินิยม “ฮาร์ดคอร์” ในรัสเซียและเรียกคะแนนนิยมให้ปูตินได้ในระยะสั้น รวมทั้งสร้างภาพให้นานาชาติเห็นว่า กองทัพรัสเซียก็ไม่ไร้น้ายา แต่ผลได้เหล่านี้ดูเหมือนว่าจะเป็นผลระยะสั้นที่ฉาบฉวยเท่านั้น ในระยะยาวนี่คง เป็นเกมอันตรายที่รัสเซียเอาตัวเข้าไปยุ่งเอง ซึ่งถ้าเดินหมากพลาดย่อมพาประเทศไปติด “กับดักแห่ง ดินแดนตะวันออกกลาง” ซึ่งที่ผ่านมาในประวัติศาสตร์ ไม่ว่าใคร ยิ่งใหญ่แค่ไหนที่เข้าไปยุ่งทั้งสหรัฐ ชาติ พันธมิตรตะวันตก รวมทั้งสหภาพโซเวียตในอดีตก็เคยติดและกาลังติดกับอยู่นั่นเอง
  • 20. 17 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เดิมพันของการเลือกตั้งครั้งล่าสุดในตุรกี วันที่ 1 พ.ย. 2558 นี้ ตุรกีมีการเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่สองในรอบหกเดือน หลังจัดการเลือกตั้ง ครั้งที่แล้วไปเมื่อเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา เหตุผลที่ต้องมีการเลือกตั้งครั้งใหม่นี้ เนื่องจากพรรค AKP ซึ่งเป็นพรรครัฐบาลมายาวนานถึง 13 ปี ไม่สามารถจัดตั้งรัฐบาลเสียงข้างมากได้ เพราะได้รับ คะแนนเสียงไม่พอ การเลือกตั้งครั้งนี้จึงเกิดขึ้น โดยประธานาธิบดีเออร์โดกันผู้นาของพรรค AKP หวังจะเก็บชัยชนะแบบเสียงข้างมากให้ได้ ท่ามกลางภาวะที่ผลสารวจออกมาว่าคะแนนนิยมของ พรรคตกต่าที่สุดในรอบ 4 ปี และไม่น่าจะได้เสียงมากพอจะตั้งรัฐบาลพรรคเดียวได้ รวมทั้งภาวะที่ ประเทศตุรกีกาลังเผชิญปัญหารอบด้าน ไม่ว่า ศึกใน ทั้งทางเศรษฐกิจที่ตกต่า การเมืองภายในที่ แตกแยก แบ่งขั้วอย่างไม่เคยเป็นมาก่อน แรงกดดันทางสังคมที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ รวมทั้ง ศึกนอกที่ รุมเร้าทั้งกับชาวเคิร์ด ชนกลุ่มน้อยในประเทศ ภายใต้ร่มธงของพรรคแรงงานชาวเคิร์ดหรือ PKK และกับกลุ่ม ISIS ที่ยึดครองอิรักและซีเรียมากขึ้นเรื่อย ประชิดชายแดนตุรกี แม้มหาอานาจทั่วโลก ทั้งสหรัฐ ชาติตะวันตก และล่าสุดรัสเซียต่างทุ่มกาลังต้านอย่างหนักมานาน บทความชิ้นนี้จะมาดูว่าในสภาวะอึมครึมของสังคมและประเทศตุรกีนี้ เดิมพันของการ เลือกตั้งที่ชาวตุรกีต่างคาดหวังว่าจะเป็นทางออกของประเทศนั้นมีอะไรบ้าง โดยอ้างอิงข้อมูลจาก บทความเรื่อง The Raised Stakes of Turkey’s Do-Over Election เขียนโดย Gönül Tol ผู้อานวยการศูนย์ตุรกีศึกษาของ Middle East Institute เดิมพันสาหรับเออร์โดกันและพรรค AKP ถ้าเออร์โดกันไม่สามารถตั้งรัฐบาลพรรคเดียวได้หลังการเลือกตั้งครั้งนี้ เขาและคนใกล้ชิดจะ โดน “เช็คบิล” จากกลุ่มการเมืองฝ่ายตรงข้าม ในประเด็น การทุจริตคอร์รัปชั่นครั้งอื้อฉาวที่สุดใน ประวัติศาสตร์ของประเทศ กรณีทุจริตใหญ่นี้ถูกเปิดโปงเมื่อปี 2013 จากคลิปเสียงหลุดที่คาดว่าเป็น เสียงเออร์โดกันและลูกชายกาลังพูดจาเกี่ยวกับการยักยอกเงินจานวนมหาศาล แม้คดีจะจบลงโดย อัยการสั่งไม่ฟ้อง แต่คดีดังกล่าวก็ยังเป็น “ประเด็นร้อน” ในการเมืองตุรกี และกลุ่มการเมืองฝ่ายตรง ข้ามหลายพรรคต่างแสดงชัดเจนว่าจะต้องรื้อคดีทุจริตนี้กลับมาชาระใหม่ให้ได้ เมื่อใดที่อานาจ เบ็ดเสร็จหลุดจากมือพรรค AKP ดังนั้น เออร์โดกันจึงต้องพยายามทาทุกทางที่จะให้ชนะการเลือกตั้ง แบบได้เสียงข้างมากในครั้งนี้ให้ได้ เพื่อปกป้องตัวเองและครอบครัว
  • 21. 18 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เดิมพันสาหรับประเทศตุรกี ปัญหาของตุรกีวันนี้เป็นเรื่องที่ถูกซุกอยู่ใต้พรมมานาน ที่มาหนักขึ้นในช่วงปีสองปีมานี้ ที่ สาคัญคือ ศึกนอกทั้งสองที่มีผลกับศึกในคือความวุ่นวายในสังคมตุรกี ศึกแรกคือศึกกับชาวเคิร์ด ซึ่งเป็นปัญหาขัดแย้งมานานนม ชาวเคิร์ดนั้นเป็นชนกลุ่มน้อย ในตุรกีที่มีอยู่จานวนมาก ถูกกดขี่และต้องการแยกตัวเป็นเอกราช โดยมีพรรคการเมืองของตนชื่อ PKK ภายใต้การปกครองแบบเผด็จการของพรรคฝ่ายขวาอย่าง AKP ในช่วง 13 ปีที่ผ่านมา ชาว เคิร์ดจึงถูกกดขี่และปราบปรามหนัก เพิ่งจะได้ข้อตกลงหยุดยิงกันไปเมื่อปี 2012 แต่ความขัดแย้งก็ กลับมาปะทุขึ้นอีกเมื่อเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา จากกรณีที่ ISIS โจมตีเมืองชายแดนของตุรกีที่ติด กับซีเรีย ซึ่งทาให้ชาวเคิร์ดและตุรกีตายกว่าสามสิบคน เหตุครั้งนี้ คนตุรกีและโดยเฉพาะชาวเคิร์ด ถือว่าเป็นความผิดของพรรค AKP ที่ “ใส่เกียร์ว่าง” ปล่อยให้กลุ่ม ISIS เติบโตในช่วงสองสามปีก่อน หน้านี้ เพื่อหวังยืมมือจัดการกับชาวเคิร์ดในซีเรีย นามาสู่การแก้แค้นของชาวเคิร์ดโดยสังหารตารวจ ตุรกีตายไปสองนาย รัฐบาลจึงตอบโต้โดยการเปิดฉากโจมตีทางอากาศฐานที่มั่นของกลุ่มกบฏชาว เคิร์ดทางตอนเหนือของประเทศ PKK จึงตอบโต้ด้วยการโจมตีกองกาลังของรัฐ นับแต่นั้นมาก็มีคน ตายทั้งสองฝ่ายหลายร้อยคนจากการปะทะกันในช่วงห้าหกเดือนที่ผ่านมา และรัฐบาลก็ปราบปราม พรรคการเมืองและสื่อมวลชนฝ่ายเคิร์ดอย่างหนัก และจับกุมนักการเมืองฝ่ายเคิร์ดหลายคนด้วย ข้อหา “ก่อกวนและสร้างความเกลียดชัง ในสังคม” ศึกที่สองก็คือศึกกับกลุ่ม ISIS นั่นเองซึ่งหลังจากรัฐบาลปล่อยไม่จัดการอะไรในช่วงสอง สามปีก่อนหน้านี้ มาถึงระยะหลังเริ่มตระหนักว่าเป็นภัยรุนแรงกับความมั่นคงของชาติ เพราะมีคน ตุรกีเข้าร่วมมากขึ้นๆ ช่วงครึ่งปีที่ผ่านมา ISIS เข้ามาระเบิดในตุรกีถึงสองครั้ง ครั้งแรกในเมือง ชายแดนติดกับซีเรียเมื่อเดือนกรกฏาคม และครั้งที่สองในใจกลางนครอังการาเมืองหลวงของตุรกี เมื่อเดือนตุลาคมนี้เอง ทาให้มีคนเสียชีวิตกว่าร้อยคน ถือเป็นการก่อการร้ายครั้งรุนแรงที่สุดใน ประวัติศาสตร์ของตุรกี
  • 22. 19 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ทั้งการสู้รบกับชาวเคิร์ดและ ISIS ต่างบั่นทอนเสถียรภาพภายในประเทศในด้านต่างๆ ทั้ง ทางเศรษฐกิจ การเมือง เสรีภาพสื่อและประชาชน เมื่อเผชิญหน้ากับปัญหานี้ พรรครัฐบาล AKP ยิ่ง ขวาจัดมากขึ้นจนตุรกีไม่ต่างอะไรจากประเทศใต้ระบอบเผด็จการ สื่อหลายสานักถูกบุกค้น สั่งปิด ฟ้องร้อง จับกุมนักข่าวที่รายงานข่าวที่ลบต่อรัฐบาล นักการเมืองฝ่ายตรงข้ามและประชาชนที่ต่อต้าน รัฐบาลก็ถูกจับในข้อหา “หมิ่นท่านประธานาธิบดี” AKP กระชับอานาจเบ็ดเสร็จทั้งในสภา ฝ่าย บริหาร และแม้แต่ตุลาการ โดยการตั้งคนของตนเข้าไปนั่งตาแหน่งสาคัญ แปรสภาพองค์กรเหล่านี้ ให้เป็นอาวุธจัดการศัตรูทางการเมือง ที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ คือ สภาพของตุรกีในปัจจุบัน เป็นบริบทที่จะบอกในตัวเองได้ว่า การ เลือกตั้งที่เกิดขึ้นในวันที่ 1 พ.ย. 2558 นี้จะเป็นความหวังต่อการเปลี่ยนแปลงของชาวตุรกีมากแค่ ไหน ให้ประเทศพ้นจากการมุ่งลงเหวที่เห็นอยู่ไม่ไกล เอกสารอ้างอิง Bassam Barabandi, Aaron Hesse and Colonel (retired) P.J. Dermer, Russia’s New Middle East Great Game. Middle East Institute. ออนไลน์http://www.mei.edu/content/article/ russia%E2%80%99s-new-middle-east-great-game Gönül Tol, The Raised Stakes of Turkey’s Do-Over Election. Middle East Institute. ออนไลน์ http://www.mei.edu/content/article/raised-stakes-turkey%E2%80%99s-do-over- election
  • 23. 20 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจ จาก Think Thank ในภูมิภาคเอเชีย ASIA SOCIETY CHINA INSTITUTE OF INTERNATIONAL STUDIES เรียบเรียงโดย วีรวิชญ์ เอี่ยมแสง ผู้ช่วยนักวิจัย
  • 24. 21 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Asia Society ในรอบเดือนตุลาคม พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา สถาบัน Asia Society ได้นาเสนอความ เคลื่อนไหวระหว่างประเทศในประเด็นสตรีคนแรกของจีนที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาการแพทย์และ การเดินทางเยือนประเทศอังกฤษของประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ดร.Tu Youyou รางวัลโนเบลสาขาการแพทย์ “นวัตกรรมรักษาโรคมาลาเรีย” นักวิทยาศาสตร์จีน ดร. Tu Youyou อดีตนักวิจัยของสถาบัน China Academy of Chinese Medical Sciences ในประเทศจีน เป็นผู้ที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือแพทยศาสตร์ (The Nobel Prize in Physiology or Medicine) ในปี พ.ศ. 2558 จากผลงาน “การค้นพบนวัตกรรม บาบัดต้านมาลาเรีย” อันเป็นกระบวนการรักษาโรคมาลาเรีย คาประกาศของคณะกรรมการรางวัลโนเบลสาขาสรีศาสตร์ระบุว่า “โรคมาลาเรียซึ่งอยู่กับ มนุษยชาติมาเป็นเวลานาน มีสาเหตุจากปรสิตเซลล์เดียวที่มียุงเป็นพาหะได้เข้าไปทาลายเซลล์เม็ด เลือดแดง จนทาให้เกิดไข้ ในกรณีร้ายแรงก็เป็นเหตุให้สมองถูกทาลายและตาย โดยแต่ละปีมีรายงาน ยืนยันว่ามีผู้เสียชีวิตจากโรคนี้ 450,000 คน และประชากรโลกมากกว่า 3.4 พันล้านคนมีความเสี่ยงที่ จะได้รับเชื้อมาลาเรีย คณะกรรมการจึงเห็นสมควรที่จะมอบรางวัลแก่ผู้คิดค้นการรักษาโรค มาลาเรีย” ในขณะที่ฝ่ายแพทย์แผนโบราณของจีนให้ความเห็นต่อรางวัลครั้งนี้ว่าป็นรางวัลสาหรับ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่ ดร. Tu Youyou ได้ใช้โดยเฉพาะเจาะจง ในการสกัดสารสาคัญ Artemis- inin จากต้น Sweet Wormwood หรือ Artemisia annua ในการรักษาโรคมาลาเรีย โดย ดร.Tu Youyou กลายเป็นสตรีคนแรกในประวัติศาสตร์ของจีนที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือ แพทยศาสตร์ (The Nobel Prize in Physiology or Medicine) Juleen Zierath ประธานคณะกรรมการโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือแพทยศาสตร์ (ได้ให้ สัมภาษณ์ว่า “แรงบันดาลใจที่ ดร.Tu Youyou ได้รับมาจากยาจีนแผนโบราณนั้นเป็นสิ่ง สาคัญ แต่ที่สาคัญกว่านั้นคือเธอสามารถสกัดสารสาคัญจากพืชออกมา ทั้งยังนาเคมีและ
  • 25. 22 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ทั้งนี้ ดร. Tu Youyou ได้ให้สัมภาษณ์กับสื่อในคอลัมภ์ chinafile ของสถาบัน Asia socie- ty ว่า “ได้เรียนรู้เทคนิคการสกัดตัวยานี้จากการศึกษาตารายาแผนโบราณ และอยากจะ พัฒนาตัวยาของแผนโบราณของจีนให้มีประโยชน์ต่อมนุษยชาติมากขึ้น” ในปัจจุบันนี้ ประเทศจีนมีแพทย์สมัยใหม่ประมาณ 1.1 ล้านคน และแพทย์แผนโบราณ 186,947 คน มี โรงพยาบาลรวม 23, 095 แห่ง โดยในจานวนนี้ 2,889 แห่งให้บริการการแพทย์แผนโบราณ เพราะฉะนั้นรัฐบาลจึงควรให้การสนับสนุนในด้านการวิจัยและพัฒนาตารายาแผนโบราณของจีน อย่างไรก็ตาม เป็นเรื่องที่น่าตื่นเต้นยินดีกับ ดร. Tu Youyou ที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขา สรีรวิทยาหรือแพทยศาสตร์ (The Nobel Prize in Physiology or Medicine) ในครั้งนี้เพราะเป็น การยืนยันว่ายาแผนโบราณของจีนมีความเป็นวิทยาศาสตร์ และพิสูจน์ได้ว่าประสบความสาเร็จใน การใช้บาบัดรักษาโรค ยุคทองของความร่วมมือทางเศรษฐกิจ : ข้อตกลงในการสร้างโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ของจีนกับอังกฤษ สี จิ้นผิง ประธานาธิบดีสาธารณรัฐประชาชนจีนเดินทางเยือนประเทศอังกฤษในระหว่าง วันที่ 20-23 ตุลาคม พ.ศ. 2558 ที่ผ่านมา เข้าพบกับนายเดวิด คาเมรอน นายกรัฐมนตรีอังกฤษ เพื่อเจราจาหารือและพัฒนาความสัพพันธ์ทางการค้าและการทูต การพบกันระหว่างผู้นาของทั้ง สองประเทศเป็นที่จับตามองของสื่อและประเทศต่างๆ การเดินทางเยือนอังกฤษของสี จิ้นผิง ในครั้งนี้ ได้ร่วมลงนามในข้อตกลงทางการค้า หลายฉบับกับประเทศอังกฤษ รวมมูลค่ากว่า 3 หมื่นล้านปอนด์ โดยข้อตกลงดังกล่าวเน้นความ ร่วมมือด้านเศรษฐกิจ การลงทุน และการเงิน โดยเฉพาะข้อตกลงในการสนับสนุนเพื่อสร้าง โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในอังกฤษ 3 แห่ง ซึ่งถือเป็นการลงทุนสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ครั้งแรกใน ประเทศตะวันตกของจีน ข้อตกลงในการลงทุนเพื่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในอังกฤษนั้น องค์กร China’s General Nuclear Corporation (CGN) รัฐวิสาหกิจด้านสาธารณูปโภคของจีน เป็นผู้รับผิดชอบและร่วมเป็น หุ้นส่วนในการสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ฮิงค์ลีย์ พอยต์ (Hinkley point) ซึ่งมีมูลค่า 37,800 ล้านดอลลาร์ ฮิงค์ลีย์ พอยต์ จะเป็นโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แห่งแรกของอังกฤษในรอบหลายสิบปี
  • 26. 23 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต โดยทางรัฐบาลอังกฤษ คาดว่าจะทาให้เกิดการจ้างงานถึง 25,000 ตาแหน่ง รวมทั้งสามารถ จ่ายไฟฟ้าให้แก่ครัวเรือน 6 ล้านหลัง ภายใต้ข้อตกลงดังกล่าว นักลงทุนจีนจะถือหุ้น 1 ใน 3 หรือ 18,000 ล้านปอนด์ (28,000 ล้านดอลลาร์) และจะลงทุน 2 ใน 3 สาหรับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในเขตแบ รดเวลล์ทางตะวันออกของกรุงลอนดอน รวมถึงสนับสนุนเงินทุน 1 ใน 5 ให้กับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่ เขตไซส์เวลล์ ด้านทิศตะวันออกของอังกฤษอีกด้วย ภายหลังการเจรจาข้อตกลงดังกล่าว สี จิ้นผิ้งได้ให้สัมภาษณ์กับผู้สื่อข่าวของอังกฤษว่า "เรา จะสร้างความร่วมมือเชิงยุทธศาสตร์ที่ครอบคุลมระดับโลกกับการเปิ ดยุคทอง(Gold era )แห่ง ความร่วมมือในศตวรรษที่ 21" ในขณะเดียวกัน คาเมรอนได้ให้สัมภาษณ์ว่า “เศรษฐกิจจีนเป็นหนึ่งในพลังขับเคลื่อนการ เติบโตของโลก ความร่วมมือในครั้งนี้ เป็นการส่งเสริมการลงทุน และขณะนี้ จีนลงทุนใน อังกฤษมากกว่าประเทศอื่นใดในยุโรป” การลงทุนของจีนในอังกฤษเป็นเสมือนการเปิดประตูเสู่โลก ตะวันตกสาหรับการสร้างพันธมิตรด้านการค้า Kevin Rudd ประธานสถาบัน Asia Society Policy Institute ได้ตั้งข้อสังเกตถึงการเจรจา ระหว่างผู้นาของทั้งสองประเทศว่า “การลงทุนเพื่อสร้างโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ของจีนในประเทศ อังกฤษแสดงถึงความสัมพันธ์ทางด้านการค้าของทั้งสองประเทศที่จะเติบโตไปได้ด้วยดีใน อนาคต (Bright future) ประกอบแสดงให้เห็นถึงความเป็นผู้นาที่เข้มแข็ง (strong leader) ของสี จิ้นผิง ที่สามารถประสานประโยชน์โดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจ การลงทุนและสร้าง ความสัมพันธ์อันดีกับประเทศต่างๆ ในโลกได้” นโยบายการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แห่งใหม่ เป็นนโยบายที่รัฐบาลอังกฤษกาหนดขึ้นเมื่อไม่ นานมานี้ เพื่อแก้ปัญหาภาวะขาดแคลนพลังงานในประเทศที่กาลังจะเกิดขึ้นในทศวรรษหน้า ท่ามกลางข้อถกเถียงของประชาชนถึงความคุ้มค่าและผลกระทบที่จะตามมาในภายหลัง นอกจากนี้ การลงนามข้อตกลงต่างๆ มีมูลค่ารวมทั้งสิ้น 46,400 ล้านดอลลาร์ ในจานวนนี้ รวมถึงการตกลงร่วมพัฒนาโครงการในจีนของประเทสอังกฤษและประเทศอื่นๆ ได้แก่ การลงนาม ระหว่างบริษัท บริติช ปิโตรเลียม (บีพี) ของอังกฤษ กับบริษัท หวาเตี้ยน (China’s Huadian)ยักษ์ใหญ่ ด้านพลังงานของจีน เป็นสัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติเหลว (แอลเอ็นจี) มูลค่า 1 หมื่นล้านดอลลาร์ สหรัฐฯ ยังมีการลงนามระหว่างบริษัทเอกชนจีนกับอังกฤษอีกด้วย