SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 33
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ “อํานาจขนาด
กลาง”: กรณีศึกษาประเทศอินโดนีเซีย ตุรกี และบราซิล
จิระโรจน์ มะหมัดกุล
สถาบันการทูตและการต่างประเทศ วิทยาลัยรัฐกิจ
มหาวิทยาลัยรังสิต
รัฐอํานาจขนาดกลาง
 (Middle Power State) Organski และ Kugler อธิบายว่าเป็น
รัฐที่ครอบครองทรัพยากรอันมหาศาล ซึ่งเป็นทรัพยากรที่จะสามารถช่วยให้รัฐ
นั้นมีอิทธิพลในระดับภูมิภาคได้ ทรัพยากรเหล่านั้น ได้แก่ จํานวนประชากร
ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรการมีสภาพการเมืองที่มั่นคงและมีเสถียรภาพ
แต่รัฐที่มีอํานาจขนาดกลางนี้ยังไม่สามารถที่จะแข่งขันกับรัฐอภิมหาอํานาจระดับ
โลกที่มีแสนยานุภาพทางทหารและเศรษฐกิจที่เหนือกว่าได้
 ประเทศที่มีอํานาจขนาดกลางจะมีการดําเนินนโยบายต่างประเทศที่เข้มแข็งในเวทีโลก
และเป็นที่ยอมรับจากนานาประเทศเนื่องจากการมีทรัพยากรจํานวนมาก(Kanner,
2001) โดยประเทศ “อํานาจขนาดกลาง” จะมีแนวโน้มไปสู่ความร่วมมือในระดับพหุ
ภาคีมากกว่าเพื่อสามารถร่วมแก้ปัญหาต่างๆได้อย่างสันติ และประเทศ “อํานาจขนาด
กลาง” นี้จะได้รับความไว้วางใจจากประเทศอื่นๆอันเนื่องมาจากพฤติกรรมในการใช้
นโยบายต่างประเทศที่ใช้วิธีการทางการทูตมากกว่าการใช้กําลังทหาร
ตุรกีกับความเป็นประเทศอํานาจกลาง
 ภายหลังจากการสิ้นสุดของการปกครองภายใต้อาณาจักรออตโตมัน
เมื่อปี 1923 ตุรกีได้พัฒนาประเทศให้ก้าวมาสู่การเป็นหนึ่งในประเทศ
อํานาจขนาดกลางแห่งภูมิภาคเอเชียในปัจจุบันได้อย่างน่าสนใจ
 จาก“ผู้ป่วยของยุโรป” กลับก้าวขึ้นมาสู่ประเทศมุสลิมที่พัฒนาแล้ว
แผนที่ประเทศตุรกี
รัฐ-ชาติสมัยใหม่
 ประเทศตุรกียุคใหม่ที่ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 1923 หรือ
92 ปีที่ผ่านมาโดยการนําของ มุสตาฟา เคมาล อะตาเติร์ก
 ยกเลิกระบอบคีลาฟะฮ์เป็นต้นมา ตุรกีอยู่ภายใต้การปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยที่มีระบบพรรคการเมืองเดียว (one single
party) โดยมี เคมาลอะตาเติร์กเป็นประธานาธิบดีติดต่อกันสี่สมัย
ตั้งแต่ ค.ศ. 1923 ถึง 1935 (12 ปี)
 ตุรกีปรับตัวทางการเมืองอีกครั้งโดยการทดลองใช้ระบบหลายพรรค
การเมือง อย่างไรก็ตามกระบวนการสร้างประชาธิปไตยของตุรกีก็
ไม่ได้ราบรื่นอย่างที่หลายคนคาดหวังไว้ ในช่วงเวลา 37 ปีระหว่าง
ค.ศ. 1960 - 1997 มีการทํารัฐประหาร 5 ครั้ง ทําให้เสถียรภาพ
ทางการเมืองของตุรกีค่อนข้างอ่อนแอและนําไปสู่การสร้างกระบวน
สร้างประชาธิปไตยอีกหลายระลอก
 เลือกตั้งเมื่อปี 2002 ถือเป็นก้าวสําคัญของการเปลี่ยนโฉมการเมืองตุรกีหลังจากการ
ปรับใช้ระบบหลายพรรค ทําให้มีการแข่งขันกันระหว่างพรรคอย่างสร้างสรรค์และเกิด
เสถียรภาพมากขึ้นในกระบวนการทางการเมืองอย่างค่อยเป็นค่อยไป โดยปัจจุบัน
พรรคยุติธรรมและการพัฒนา (AK Party) ภายใต้การนําของนายกอะฮ์เหม็ด ดา
วูดโอลูก์
การทหารของตุรกี
 ในประวัติศาสตร์การเมืองตุรกี ทหารคือกําลังสําคัญในปกป้องอาณาจักรออตโตมันทุก
ยุคทุกสมัย ในสมัยตุรกียุคใหม่ทหารก็มีบทบาทสําคัญไม่น้อยกว่ากันโดยเฉพาะในการ
เปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองประเทศ
 มุสตาฟา เคมาล อะตาเติร์ก ซึ่งเติบโตมาจากการเป็นทหารถือเป็นตัวอย่างที่ชัดเจนใน
การทําความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองและทหารในตุรกี
การทหารของตุรกี (ต่อ)
 ปัจจุบันตุรกีมีศักยภาพด้านการทหารอยู่ในระดับแนวหน้าของประเทศในตะวันออก
กลางและยุโรปตะวันออกโดยมีทหารประจําการทั้งหมดประมาณ 678,617 คน
 ตุรกีเป็นประเทศที่ทุ่มงบประมาณสําหรับการทหารมากที่สุดเป็นเป็นลําดับที่ 15 ของ
โลก
 ในปี 2014 ตุรกียังคงอยู่ในลําดับที่ 15 ของโลกโดยมีงบประมาณ 22.6 พันล้าน
เหรียญดอลล่าร์สหรัฐ คิดเป็น 2.2% จากตัวเลข GDP ของประเทศ
การทหารของตุรกี (ต่อ)
 แต่เนื่องจากสถานการณ์ความไม่แน่นอนทางการเมืองในตะวันออกกลางในปัจจุบันเริ่ม
บานปลาย ตุรกีมีแนวโน้มที่จะปรับเพิ่มงบประมาณด้านการทหารเพื่อตอบสนอง
ข้อตกลงของ NATO และเพื่อรับมือกับสงครามกลางเมืองในซีเรียและกับรัฐอิสลาม
หรือ ISIS
 ในปี ค.ศ. 2023 ตุรกีมีเป้าหมายในการสร้างอุตสาหกรรมอาวุธแบบครบวงจรเพื่อ
ผลิตอาวุธเป็นของตัวเองตั้งแต่ปืน รถถังไปจนถึงเครื่องบินรบ
เศรษฐกิจของตุรกี
 ตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่สอง ตุรกีหันไปปรับใช้โครงสร้างการพัฒนาเศรษฐกิจแบบ
ตะวันตกโดยการเปิดการค้าเสรีไปพร้อมกับการสร้างกระบวนการประชาธิปโตย
 ตุรกีก็รับช่วยเหลือด้านเศรษฐกิจผ่านแผนการมาร์แชล (Marshall Plan) ของ
สหรัฐอเมริกาเพื่อการฟื้นฟูยุโรปจากสงครามโลกครั้งที่สอง อย่างไรก็ตามปัจจัยหลักที่
ทําให้ตุรกีเกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงสถาบันคือการเข้าร่วมองค์การเพื่อความร่วมมือทาง
เศรษฐกิจยุโรป (OEEC)
เศรษฐกิจของตุรกี (ต่อ)
 ในช่วงปี 2002-2011 ซึ่งเป็นช่วงที่พรรค AK ได้รับเลือกตั้งติดต่อกันสอง
สมัย โดยสภาพเศรษฐกิจมีอัตราการเจริญเติบโตของ GDP อยู่ที่ 5.2
เปอร์เซ็นต์และมีอัตราผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศต่อประชากร (GDP
per capita) เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดจาก 3,500 เหรียญดอลล่าร์ในปี
2001 เป็น 10,500 เหรียญดอลล่าร์ในปี 2011
 จากการศึกษาของ OECD ตุรกีถือเป็นประเทศที่มีอัตราการเจริญเติบโตเร็ว
ที่สุดในประเทศยุโรปในปี 2011 และจะสามารถรักษาอัตราการเจริญเติบโตได้
จนถึงปี 2017
 ตุรกีถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วตามการประเมินของ CIA และเป็น
ประเทศอุตสาหกรรมเกิดใหม่โดยการจัดประเภทของ IMF
เศรษฐกิจของตุรกี (ต่อ)
 เศรษฐกิจตุรกีเริ่มชะลอตัวในปี 2013-2015
 โดยมีอัตราการว่างงานเพิ่มขึ้น จากปี 2013 9.1 เปอร์เซ็นต์ เป็น 9.9 เปอร์เซ็นต์
ในปี 2014
 อัตราเงินเฟ้อปี 2013 อยู่ที่ 7.5 เปอร์เซ็นต์ เพิ่มขึ้นเป็น 8.9 เปอร์เซ็นต์ในปี
2014
 ค่าเงินลีร่าของตุรกีลดมูลค่าลงจากเดิมในปี 2013 1 ดอลล่าร์สหรัฐเท่ากับ 1.9 ลีร่า
ในปี 2014 1 ดอลล่าร์สหรัฐเท่ากับ 2.19 ลีร่า จากการคาดการณ์เศรษฐกิจของตุรกี
ในปัจจุบันค่าเงินลีร่าตุรกีน่าจะมีแนวโน้มลดลงอีกในปี 2016
 อย่างไรก็ตาม หากมองจากปัจจัยเกื้อหนุน เศรษฐกิจตุรกีมีฐานโครงสร้างสาธารณูปโภค
รองรับที่แข็งแกร่งพอสมควร ตุรกีจัดว่าเป็นประเทศที่มีความพร้อมและความสะดวกในด้าน
คมนาคมในระดับดีมาก
 ในเมืองอิสตัลบูลมีรถไฟฟ้าใต้ดิน รถไฟลอยฟ้า รถรางรวมกันจํานวน 15 เส้นทาง ในเมือง
อังการ่ามีรถไฟฟ้า 5 เส้นทาง (กําลังก่อสร้างอีก 3 เส้นทาง)ในเมืองอิสมิรมีรถไฟฟ้า 2
เส้นทาง
 ตุรกียังเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างทวีปเอเชียและยุโรปผ่านเส้นทางรถไฟอีกด้วย ปัจจุบันตุรกีเปิด
เส้นทางเดินรถไฟจากเมืองอังการ่าไปยังประเทศบัลแกเรีย (Svilengrad,
Dimitrovgrad, Plovdiv, Sofia) โรมาเนีย (Bucharest) และอิหร่าน
(Tehran)
Turkey's new YHT high-
speed train, linking
Ankara, Konya,
Eskişehir and (from July
2014) the outskirts of
Istanbul
โครงข่ายรถไฟของตุรกี
 ในกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ ตุรกีเป็นสมาชิกของกลุ่ม G20 และมี
ความร่วมมือด้านการค้าภายใต้ข้อตกลงการค้าเสรีกับสหภาพยุโรป
(Customs Union Agreement with the EU) รวมถึงกับ
ประเทศในแถบแอฟริกาเหนือ (เช่น โมร็อกโกและอียิปต์) ยุโรปตะวันออก (เช่น
โครเอเชีย) เอเชีย (เช่น เกาหลีใต้) และตะวันออกกลาง (เช่น ปาเลสไตน์และ
อิสราเอล)
 ที่สําคัญตุรกีกลายเป็นคู่แข่งกับจีนในการลงทุนด้านการก่อสร้างสาธารณูปโภคใน
ประเทศแถบแอฟริกา โดยในปี 2014 การค้าแบบข้อตกลงทวิภาคีในทวีป
แอฟริกาทําให้เกิดมูลค่า 23.4 พันล้านเหรียญดอลล่าร์สหรัฐ (Ministry
of Foreign Affairs, Turkey, n.d.)
นโยบายต่างประเทศตุรกี
 ภายหลังจากการก่อตั้งสาธารณรัฐตุรกี ตุรกีได้รับความช่วยเหลือจากประเทศตะวันตก
โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกาในการพัฒนาประเทศ นโยบายต่างประเทศของตุรกีเน้นหัน
หน้าเข้าสู่ตะวันตกอย่างเต็มที่
 นโยบายต่างประเทศตุรกีอาจแบ่งได้เป็น 4 ช่วงเวลาหลักๆ
1. ช่วงของเคมาลิสต์และการเข้าหาตะวันตก
2. ช่วงภายใต้การดูแลของกองทัพและเน้นการดําเนินนโยบายแบบโดดเดี่ยว
3. ช่วงยุคประธานาธิบดีโอซาลและนโยบายนีโอออตโตมานช่วงเริ่มต้น
4.ช่วงยุคพรรคอัคและนโยบายการดําเนินความสัมพันธ์เชิงสร้างสรรค์แบบหลากมิติ
ช่วงของเคมาลิสต์และการเข้าหาตะวันตก
 ได้พยายามพัฒนาประเทศให้เข้าสู่การเป็นประเทศประชาธิปไตยและเซคิวล่าร์ โดยที่
สําหรับอะตาเติร์กแม้จะมีแนวคิดของความเป็นชาตินิยม แต่มีความนิยมในแนวทาง
แบบตะวันตก ซึ่งเขาต้องการให้ตุรกีไปสู่จุดที่อยู่ในสภาวะทัดเทียมกับตะวันตก จึงเน้น
การสร้างความสัมพันธ์กับทั้งสหรัฐอเมริกาและประเทศยุโรป ขณะเดียวกันก็เน้นการ
ดําเนินนโยบาย “สันติภาพในประเทศ สันติภาพในโลก”
ช่วงภายใต้การดูแลของกองทัพ
 ยุคต่อมาตั้งแต่ช่วงปี 1960 จนกระทั่งช่วงปี 1980 ตอนต้น ตุรกีเข้าสู่ยุคที่
กองทัพมีอิทธิพลสูงต่อการปกครอง หลังจากเกิดปฏิวัติในปี1960 1971 และ
1980 เมื่อไม่สามารถได้ข้อยุติทางการเมือง หลังจากอํานาจเริ่มกระจายสู่
พรรคการเมืองที่หลากหลายขึ้น กระทั่งนําไปสู่ความขัดแย้งในสังคม จนทําให้
ทหารอาศัยช่องทางนี้ในการเข้ามาปฏิวัติ แม้ว่าจะดําเนินนโยบายต่อจาก
ช่วงแรก แต่เน้นนโยบายโดดเดี่ยวตัวเองมากขึ้น เนื่องจากประเทศตะวันตกต่าง
กดดันให้ตุรกีต้องเข้าสู่กระบวนการทางประชาธิปไตย ซึ่งแรงกดดันนี้เป็นส่วน
หนึ่งที่ทําให้ตุรกีต้องจัดการเลือกตั้งในปี 1982 ซึ่งได้ประธานาธิบดีที่อยู่ภายใต้
การควบคุมของกองทัพอยู่
ช่วงยุคประธานาธิบดีโอซาล
 ประธานาธิบดีโอซาล(Özal) ได้รับตําแหน่งในปี 1989 เป็นต้นมา ก็เป็นอีกหนึ่งจุด
เปลี่ยนของนโยบายต่างประเทศ โดยที่ในยุคนี้นโยบายต่างประเทศตุรกีเริ่มมีการ
กระจายมากยิ่งขึ้น หลังจากสงครามเย็นสิ้นสุดลง ตุรกีเริ่มเข้าไปมีบทบาทในกลุ่ม
ประเทศตะวันออกกลาง บอลข่าย คอเคซัส ภูมิภาคทะเลดําและแอฟริกามากขึ้น โดย
มองย้อนกลับไปยังอดีตของตุรกี ที่เคยเป็นอาณาจักรออตโตมานที่ยิ่งใหญ่ ความ
ต้องการในการก้าวสู่การเป็นผู้นําแห่งภูมิภาคเริ่มกลับมา พร้อมกับนโยบายการพัฒนา
เศรษฐกิจของประเทศ
ช่วงยุคพรรคอัค (AK)
 จุดเปลี่ยนของการต่างประเทศของตุรกี ที่เริ่มเห็นเด่นชัดและทําให้ตุรกีเข้าสู่การเป็นตัว
แสดงที่สําคัญในเวทีระหว่างประเทศคือ ในช่วงเปลี่ยนผ่านอํานาจสู่พรรคยุติธรรมและ
พัฒนา หรือพรรคอัค ซึ่งหันมาเน้นการดําเนินนโยบายต่างประเทศเชิงสร้างสรรค์แบบ
หลากมิติ จากนโยบายต่างประเทศตุรกีในอดีตเน้นให้ความสําคัญแก่ประเด็นด้านความ
มั่นคงในรูปแบบที่เน้นประเด็นการเมืองและเศรษฐกิจเป็นหลัก
นโยบายต่างประเทศในปัจจุบัน
 เมื่อพรรคอัคเข้ามาบริหารประเทศในเดือนพฤศจิกายน 2002 ตุรกีได้ขยายขอบเขตการ
ดําเนินนโยบายต่างประเทศที่เน้นประเทศเพื่อนบ้านและประเทศอื่นๆ นอกเหนือจากตะวันตก
มากขึ้น
 เมื่อครั้งดาวุดโอก์ลู นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบัน อยู่ในตําแหน่งรัฐมนตรีกระทรวงการ
ต่างประเทศ นั่นคือ นโยบายการปราศจากปัญหากับเพื่อนบ้าน (‘zero problems’
with neighbors) และพัฒนาความสัมพันธ์กับภูมิภาคใกล้เคียงและกระจายออกไป
 แม้ว่าต่อมาจะเล็งเห็นว่าประเทศเพื่อนบ้านล้วนแล้วแต่มีปัญหาที่ทําให้การไม่มีปัญหากับเพื่อน
บ้านนั้นมีความยากลําบาก จึงหันมาใช้ นโยบายการร่วมมือให้มากที่สุดเท่าที่เป็นไปได้
 นโยบายต่างประเทศใหม่ของตุรกีนี้ ไม่เน้นการดําเนินความสัมพันธ์ในมิติความมั่นคงเช่นเดิม
อีกต่อไป หากแต่ยังให้ความสําคัญต่อประเด็นอื่นๆ เช่น วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สันติภาพและ
การช่วยเหลือทางด้านมนุษยธรรม เป็นต้น
นโยบายต่างประเทศในปัจจุบัน (ต่อ)
 การดําเนินนโยบายต่างประเทศของตุรกียังมีอีกหนึ่งลักษณะเฉพาะคือ มีความเป็น
อิสระ และไม่มีความเป็นศัตรูถาวรในทุกด้าน หากแต่ถ้ามีความจําเป็นที่จะต้องร่วมมือ
ในประเด็น ก็จะร่วมมือ และประเด็นใดที่จําเป็นต้องแสดงจุดยืนการต่อต้านโดยเฉพาะ
ต่อประเทศมุสลิมและภูมิภาคใกล้เคียง ก็จะต่อต้านอย่างแข็งกร้าว เช่น จุดยืนของตุรกี
ต่อจีน แม้ว่าตุรกีจะต่อต้านมาตรการของจีนต่อชาวอุยกูรเติร์กในซินเจียง แต่ก็ยังคงมี
การดําเนินนโยบายทางเศรษฐกิจกับจีน
นโยบายต่างประเทศในปัจจุบัน (ต่อ)
 เสนอแนวทางเลือกในการเป็นประเทศพึ่งพิงที่นอกเหนือจากประเทศตะวันตก
ขณะเดียวกันก็เน้นการพัฒนาให้มีมาตรฐานทัดเทียมกับประเทศตะวันตกและ
ยุโรป
 การนําเอาความเป็นเอเชียและความเป็นมุสลิมกลับมา จึงเริ่มแสดงบทบาทนําใน
ประเทศที่มีลักษณะทางวัฒนธรรมใกล้เคียงกันนี้ได้ นอกจากนั้น ความเป็นพรรค
การเมืองที่มีนโยบายอยู่บนฐานของความเป็นอิสลาม ทําให้การดําเนินนโยบาย
ของพรรคอัคในช่วงหลัง ถูกมองว่าเป็นแนวทาง “นีโอออตโตมาน” ที่ชัดเจนขึ้น
กว่ายุคก่อนหน้า ซึ่งออตโตมานเดิมในอดีตเคยเป็นอาณาจักรที่ปกครองโลก
มุสลิมมาก่อน ความรู้สึกเช่นนี้จึงถ่ายทอดมาสู่ตุรกีในยุคปัจจุบันที่กําลังแสวงหา
จุดยืนที่เป็นผู้นําอีกครั้ง
การทูตพหุภาคีต่างๆ
 ในกรอบขององค์กรระหว่างประเทศปัจจุบันตุรกีเป็นประเทศสมาชิก OSCE,
Council of Europe, OIC, CICA, NATO, G20 เป็นสมาชิกไม่
ถาวรของ UNSC วาระปี 2552-2553
 และยังเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มประเทศ MIKTA (เม็กซิโก, อินโดนีเซีย, เกาหลีใต้,
ตุรกี และออสเตรเลีย) ที่เกิดขึ้นในปี 2013 จากกลุ่มประเทศที่เป็นสมาชิก G20 เดิม
ซึ่งมีเป้าหมายในการคานอํานาจกับประเทศตะวันตก พัฒนาเศรษฐกิจร่วมกัน และก้าว
สู่ประเทศที่เป็นอํานาจกลางของโลก
 รวมถึงการร่วมมือกันภายใต้กลุ่ม MINT (Mexico, Indonesia,
Nigeria, Turkey) เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศร่วมกัน
สภาพสังคมตุรกี
 ประชากรหลักของประเทศจะนับถือศาสนาอิสลาม แบบสํานักคิดฮานาฟี ในแนวทาง
ซุนนี่เป็นส่วนใหญ่ ขณะเดียวกันก็มีผู้คนที่นับถือในแนวคิดอาลาวี และชีอะห์ รวมถึงซู
ฟี อยู่จํานวนหนึ่ง โดยที่หากคิดเป็นเปอร์เซ็นต์แล้วมีมุสลิม 99.8% ของประชากร
ทั้งหมด และศาสนาอื่นๆ อีกเพียง 0.2%
 ประชากรทั้งหมดของประเทศในปี 2014 มีจํานวน 77,695,904 คน โดยที่
ประชาชนมีอัตราส่วนในการอยู่ในเมืองถึง 91.8%ขณะที่อยู่ในหมู่บ้าน 8.2% ของ
จํานวนประชากรทั้งหมด โดยที่ประชากร 18.5% อาศัยในเมืองอิสตันบูล ตามด้วย
อังการ่า อิสมีร และอันทาเลีย ตามลําดับ
สภาพสังคมตุรกี (ต่อ)
 ในแง่ของสังคมการเมืองตุรกีเป็นประเทศที่ถือว่าสังคมได้มีการถูกทําให้มีความเป็น
ประชาธิปไตย ด้วยกับระบบพรรคหลายพรรคที่เกิดขึ้น การมีการเลือกตั้งได้อย่างอิสระ
และก้าวข้ามผ่านอิทธิพลของทหารในการเข้าสู่กรอบทางการเมือง ซึ่งได้เคยเกิดการ
ปฏิวัติโดยกองทัพเมื่อปี 1960, 1971, 1980 และครั้งสุดท้ายในปี 1997
 กลุ่มเคมาลิสต์ ซึ่งเป็นกลุ่มชาตินิยมได้มีส่วนสําคัญในการสร้างสาธารณรัฐตุรกี และ
เน้นความเป็นเติร์ก ในขณะที่กลุ่มอื่นที่มีอยู่ในสังคมตุรกี ไม่ว่าจะเป็นชาวเคิร์ด ชาวอา
ลาวี ตลอดจนชาวกรีกและชาวอามาเนียซึ่งไม่ใช่มุสลิมก็ถูกกระบวนการทําให้
กลมกลืนของกลุ่มนี้ ทําให้ความเป็นอื่นที่ปรากฏในสังคมตุรกีไม่เป็นที่ยอมรับใน
ช่วงเวลาหนึ่ง กระทั่งนําไปสู่ปัญหาความขัดแย้งภายใน โดยเฉพาะระหว่างชาวเติร์ก
และชาวเคิร์ด ซึ่งมีการปะทะกันของอัตลักษณ์ที่ต่างกับภาวะของความเป็นรัฐชาติ
สภาพสังคมตุรกี (ต่อ)
 ในช่วงก่อนที่พรรคอัคจะเข้าสู่อํานาจแม้ว่ามุสลิมที่ปฏิบัติตามหลักการศาสนาก็ถูกห้าม
ไม่ให้ประกอบศาสนกิจในพื้นที่สาธารณะ ด้วยกับแนวคิดที่พยายามจะเปลี่ยนประเทศ
ให้เป็นเซคิวล่าร์ หรือ การแยกศาสนาออกจากการเมือง
 ด้วยกับบริบทเชื้อชาติเดิมและกระบวนการผสมกลมกลืนนี้ก็ทําให้ปัจจุบันความเป็น
มุสลิมของคนตุรกีนั้นมีความแตกต่างกันออกไป นับตั้งแต่ประกอบศาสนกิจอย่าง
เคร่งครัด ไปจนถึงการไม่สนใจในหลักการทางศาสนาเลย
 ด้วยกับภาวะเช่นนี้จึงทําให้ยังคงมีการต่อสู้ทางอัตลักษณ์ของความเป็นมุสลิมในพื้นที่
สาธารณะ โดยเฉพาะการกีดกันเรื่องการสวมฮิญาบของสตรีชาวมุสลิม ซึ่งได้มีการห้าม
ในช่วงเวลาหนึ่ง กระทั่งมีความพยายามเรียกร้องให้มีสิทธิและเสรีภาพในการแสดงอัต
ลักษณ์ทางศาสนาในพื้นที่สาธารณะมากขึ้นในช่วงพรรคอัคอยู่ในอํานาจ
ปัญหาและข้อท้าทาย
 สําหรับ ภายในประเทศ ตุรกียังคงเผชิญกับความไม่มั่นคงของการเมืองภายใน ไม่ว่า
จากความขัดแย้งระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนรัฐบาลและฝ่ายที่สนับสนุนพรรคฝ่ายค้าน
กลุ่มอิสลามมิสต์และกลุ่มเซคคิวล่าริสต์รวมไปถึงกลุ่มเคมาลิสต์และกลุ่มชาตินิยมที่
ยังคงมีการปะทะการตลอดมา
 ปัญหาความขัดแย้งระหว่างชาวเติร์กและชาวเคิร์ด
 การว่างงานซึ่งในเดือนพฤษภาคม 2015 ตุรกีมีอัตราการว่างงานอยู่ที่ 9.3%
 แรงกดดันและอิทธิพลจากต่างชาติ โดยเฉพาะมหาอํานาจ อย่างสหรัฐอเมริกา
 ภัยจากกลุ่ม ISIS, สงครามในซีเรีย, กลุ่มติดอาวุธเคิร์ดที่อยู่ในอิรักและซีเรีย, ความ
พยายามในการขึ้นมามีบทบาทของชีอะห์และอิหร่าน เป็นต้น
บทสรุป
 ตุรกีวางตําแหน่งแห่งที่ของตนภายใต้กรอบประเทศอํานาจขนาดกลางมาตั้งแต่หลัง
สงครามโลกครั้งที่ 2
 แต่อิทธิพลของตุรกีในฐานะประเทศอํานาจขนาดกลางผันผวนตามพลวัตของการเมือง
ภายในประเทศและการเมืองระหว่างประเทศ
 ปัจจุบันการเมืองตุรกีมีเสถียรภาพทางการเมืองมากพอสมควร ไม่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิด
รัฐประหารแม้จะมีกองกําลังขนาดใหญ่และมีอุตสาหกรรมด้านอาวุธเป็นของตัวเอง
 นอกจากนั้นตุรกียังประสบกับความท้าทายจากภาวะการเมืองภายในและการเมือง
ระหว่างประเทศ แต่ก็ดูเหมือนว่าตุรกีจะสามารถก้าวข้ามไปได้ด้วยฐานของสังคมที่เป็น
ประชาธิปไตย
 ในด้านเศรษฐกิจตุรกีจัดอยู่ในประเทศที่มีรายได้ปานกลางระดับสูงและมีอัตราการ
เติบโตเศรษฐกิจต่อเนื่องมาหลายปี แม้ในปี 2014 จะประสบปัญหาเศรษฐกิจชะลอตัว
แต่ตุรกีมีจุดแข็งในด้านโครงสร้างพื้นฐานทางคมนาคมและเป็นชุดเชื่อมต่อระหว่างทวีป
เอเชียและยุโรปทั้งในด้านการค้า การท่องเที่ยวและมิติทางภูมิรัฐศาสตร์
 นอกจากนั้นตุรกียังมีนโยบายต่างประเทศที่เอื้อต่อการสร้างมิตรกับประเทศเพื่อนบ้าน
ดําเนินนโยบายเชิงสร้างสรรค์กับทุกภูมิภาคและเป็นอิสระจากตะวันตกมากขึ้น
 การเข้ามาบริหารประเทศของพรรค AK แม้ว่าจะเผชิญกับข้อท้าทายมากมาย แต่ก็
นับได้ว่าเป็นอีกหนึ่งมิติใหม่ในการหล่อรวมพลังทางการเมืองกับค่านิยมแบบอิสลามบน
เส้นทางกระบวนการสร้างประชาธิปไตยโดยเน้นการพัฒนาด้านเศรษฐกิจเป็นหลัก
ทั้งนี้ตุรกีได้ก้าวมาเป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่และเป็นประเทศมุสลิมหนึ่งเดียวที่
CIA จัดให้เป็นประเทศพัฒนาแล้ว

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
Enormity_tung
 
เผด็จการ
เผด็จการเผด็จการ
เผด็จการ
thnaporn999
 
Bentuk negara dan pemerintahan
Bentuk negara dan pemerintahanBentuk negara dan pemerintahan
Bentuk negara dan pemerintahan
Bayu Rizky Aditya
 
MENGURAIKAN KELEBIHAN DAN KELEMAHAN PELAKSANAAN SISTEM PEMERINTAHAN INDONESIA
MENGURAIKAN KELEBIHAN DAN KELEMAHAN PELAKSANAAN SISTEM PEMERINTAHAN INDONESIAMENGURAIKAN KELEBIHAN DAN KELEMAHAN PELAKSANAAN SISTEM PEMERINTAHAN INDONESIA
MENGURAIKAN KELEBIHAN DAN KELEMAHAN PELAKSANAAN SISTEM PEMERINTAHAN INDONESIA
January YunGky
 
Makalah hukum administrasi negara
Makalah hukum administrasi negaraMakalah hukum administrasi negara
Makalah hukum administrasi negara
Nina Ruspina
 
hukum administrasi negara by diahandani.blogspot.com
hukum administrasi negara by diahandani.blogspot.comhukum administrasi negara by diahandani.blogspot.com
hukum administrasi negara by diahandani.blogspot.com
Andani Abayz
 
SISTEM PEMERINTAHAN INDONESIA
SISTEM PEMERINTAHAN INDONESIASISTEM PEMERINTAHAN INDONESIA
SISTEM PEMERINTAHAN INDONESIA
Muhamad Yogi
 
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
kulrisa777_999
 

Was ist angesagt? (20)

เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
 
สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)
 
Kepemimpinan
KepemimpinanKepemimpinan
Kepemimpinan
 
alih teknologi.pptx
alih teknologi.pptxalih teknologi.pptx
alih teknologi.pptx
 
เผด็จการ
เผด็จการเผด็จการ
เผด็จการ
 
Bentuk negara dan pemerintahan
Bentuk negara dan pemerintahanBentuk negara dan pemerintahan
Bentuk negara dan pemerintahan
 
MENGURAIKAN KELEBIHAN DAN KELEMAHAN PELAKSANAAN SISTEM PEMERINTAHAN INDONESIA
MENGURAIKAN KELEBIHAN DAN KELEMAHAN PELAKSANAAN SISTEM PEMERINTAHAN INDONESIAMENGURAIKAN KELEBIHAN DAN KELEMAHAN PELAKSANAAN SISTEM PEMERINTAHAN INDONESIA
MENGURAIKAN KELEBIHAN DAN KELEMAHAN PELAKSANAAN SISTEM PEMERINTAHAN INDONESIA
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
สรุปสังคม เรื่อง รัฐ กับ
สรุปสังคม เรื่อง รัฐ กับสรุปสังคม เรื่อง รัฐ กับ
สรุปสังคม เรื่อง รัฐ กับ
 
Ideologi negara
Ideologi negaraIdeologi negara
Ideologi negara
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
 
Kedudukan hukum negara terhadap benda menurut teori leon duguit dan aplikasin...
Kedudukan hukum negara terhadap benda menurut teori leon duguit dan aplikasin...Kedudukan hukum negara terhadap benda menurut teori leon duguit dan aplikasin...
Kedudukan hukum negara terhadap benda menurut teori leon duguit dan aplikasin...
 
Sejarah Konstitusi: Yunani - Modern
Sejarah Konstitusi: Yunani - ModernSejarah Konstitusi: Yunani - Modern
Sejarah Konstitusi: Yunani - Modern
 
Makalah hukum administrasi negara
Makalah hukum administrasi negaraMakalah hukum administrasi negara
Makalah hukum administrasi negara
 
hukum administrasi negara by diahandani.blogspot.com
hukum administrasi negara by diahandani.blogspot.comhukum administrasi negara by diahandani.blogspot.com
hukum administrasi negara by diahandani.blogspot.com
 
13 bidang2 studi hukum
13 bidang2 studi hukum13 bidang2 studi hukum
13 bidang2 studi hukum
 
Resume Buku Ilmu Negara Karangan Soehino
Resume Buku Ilmu Negara Karangan SoehinoResume Buku Ilmu Negara Karangan Soehino
Resume Buku Ilmu Negara Karangan Soehino
 
SISTEM PEMERINTAHAN INDONESIA
SISTEM PEMERINTAHAN INDONESIASISTEM PEMERINTAHAN INDONESIA
SISTEM PEMERINTAHAN INDONESIA
 
Hukum Administrasi Negara
Hukum Administrasi NegaraHukum Administrasi Negara
Hukum Administrasi Negara
 
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
 

Andere mochten auch

ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State ; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก ...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State ; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก ...ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State ; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก ...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State ; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก ...
Klangpanya
 
Critically examine the arguments surrounding the possibility of Turkish acces...
Critically examine the arguments surrounding the possibility of Turkish acces...Critically examine the arguments surrounding the possibility of Turkish acces...
Critically examine the arguments surrounding the possibility of Turkish acces...
Eoin Guerin
 
โลกเปลี่ยนขั้วกับอนาคตประเทศไทย : แนวโน้มใหม่ของโลกกับผลจากการปรับยุทธศาสตร์ข...
โลกเปลี่ยนขั้วกับอนาคตประเทศไทย : แนวโน้มใหม่ของโลกกับผลจากการปรับยุทธศาสตร์ข...โลกเปลี่ยนขั้วกับอนาคตประเทศไทย : แนวโน้มใหม่ของโลกกับผลจากการปรับยุทธศาสตร์ข...
โลกเปลี่ยนขั้วกับอนาคตประเทศไทย : แนวโน้มใหม่ของโลกกับผลจากการปรับยุทธศาสตร์ข...
Klangpanya
 
กลุ่มISIS (The Islamic State in Iraq and al-Sham)
กลุ่มISIS (The Islamic State in Iraq and al-Sham) กลุ่มISIS (The Islamic State in Iraq and al-Sham)
กลุ่มISIS (The Islamic State in Iraq and al-Sham)
Klangpanya
 
รายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัยบทบาทตุรกีใน 3 จังหวัดชายแดนใต้
รายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัยบทบาทตุรกีใน 3 จังหวัดชายแดนใต้รายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัยบทบาทตุรกีใน 3 จังหวัดชายแดนใต้
รายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัยบทบาทตุรกีใน 3 จังหวัดชายแดนใต้
Klangpanya
 
EU Enlargement and Turkey’s Application for Membership v3
EU Enlargement and Turkey’s Application for Membership v3EU Enlargement and Turkey’s Application for Membership v3
EU Enlargement and Turkey’s Application for Membership v3
David Bucur
 
Gender issues in educational administration
Gender issues in educational administration Gender issues in educational administration
Gender issues in educational administration
Muhammad Rehman
 
The armenian genocide
The armenian genocideThe armenian genocide
The armenian genocide
Israel Fans
 
From Turkey - The European Union
From Turkey -  The European UnionFrom Turkey -  The European Union
From Turkey - The European Union
Filipe
 

Andere mochten auch (20)

ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State ; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก ...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State ; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก ...ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State ; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก ...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State ; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก ...
 
Cyprus_sp
Cyprus_spCyprus_sp
Cyprus_sp
 
Critically examine the arguments surrounding the possibility of Turkish acces...
Critically examine the arguments surrounding the possibility of Turkish acces...Critically examine the arguments surrounding the possibility of Turkish acces...
Critically examine the arguments surrounding the possibility of Turkish acces...
 
โลกเปลี่ยนขั้วกับอนาคตประเทศไทย : แนวโน้มใหม่ของโลกกับผลจากการปรับยุทธศาสตร์ข...
โลกเปลี่ยนขั้วกับอนาคตประเทศไทย : แนวโน้มใหม่ของโลกกับผลจากการปรับยุทธศาสตร์ข...โลกเปลี่ยนขั้วกับอนาคตประเทศไทย : แนวโน้มใหม่ของโลกกับผลจากการปรับยุทธศาสตร์ข...
โลกเปลี่ยนขั้วกับอนาคตประเทศไทย : แนวโน้มใหม่ของโลกกับผลจากการปรับยุทธศาสตร์ข...
 
กลุ่มISIS (The Islamic State in Iraq and al-Sham)
กลุ่มISIS (The Islamic State in Iraq and al-Sham) กลุ่มISIS (The Islamic State in Iraq and al-Sham)
กลุ่มISIS (The Islamic State in Iraq and al-Sham)
 
รายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัยบทบาทตุรกีใน 3 จังหวัดชายแดนใต้
รายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัยบทบาทตุรกีใน 3 จังหวัดชายแดนใต้รายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัยบทบาทตุรกีใน 3 จังหวัดชายแดนใต้
รายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัยบทบาทตุรกีใน 3 จังหวัดชายแดนใต้
 
โครงการวิจัยบทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
โครงการวิจัยบทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้โครงการวิจัยบทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
โครงการวิจัยบทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
 
The Turkish Genocide of the Armenians 1915
The Turkish Genocide of the Armenians 1915The Turkish Genocide of the Armenians 1915
The Turkish Genocide of the Armenians 1915
 
Armenian genocide
Armenian genocide Armenian genocide
Armenian genocide
 
The armenian-genocide
The armenian-genocideThe armenian-genocide
The armenian-genocide
 
EU Enlargement and Turkey’s Application for Membership v3
EU Enlargement and Turkey’s Application for Membership v3EU Enlargement and Turkey’s Application for Membership v3
EU Enlargement and Turkey’s Application for Membership v3
 
The Armenian Genocide
The Armenian GenocideThe Armenian Genocide
The Armenian Genocide
 
Muslim Pioneers in Management
Muslim Pioneers in ManagementMuslim Pioneers in Management
Muslim Pioneers in Management
 
Gender issues in educational administration
Gender issues in educational administration Gender issues in educational administration
Gender issues in educational administration
 
The Armenian Genocide
The  Armenian GenocideThe  Armenian Genocide
The Armenian Genocide
 
The armenian genocide
The armenian genocideThe armenian genocide
The armenian genocide
 
Turkey & European Union
Turkey & European UnionTurkey & European Union
Turkey & European Union
 
From Turkey - The European Union
From Turkey -  The European UnionFrom Turkey -  The European Union
From Turkey - The European Union
 
Visa policy
Visa policyVisa policy
Visa policy
 
System of Government under the Holy Prophet Muhammad (PBUH) by Syed Abul A'al...
System of Government under the Holy Prophet Muhammad (PBUH) by Syed Abul A'al...System of Government under the Holy Prophet Muhammad (PBUH) by Syed Abul A'al...
System of Government under the Holy Prophet Muhammad (PBUH) by Syed Abul A'al...
 

Mehr von Klangpanya

การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
Klangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
Klangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
Klangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
Klangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Klangpanya
 

Mehr von Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็น "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอินโดนีเซีย ตุรกี แ

  • 1. การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ “อํานาจขนาด กลาง”: กรณีศึกษาประเทศอินโดนีเซีย ตุรกี และบราซิล จิระโรจน์ มะหมัดกุล สถาบันการทูตและการต่างประเทศ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 2. รัฐอํานาจขนาดกลาง  (Middle Power State) Organski และ Kugler อธิบายว่าเป็น รัฐที่ครอบครองทรัพยากรอันมหาศาล ซึ่งเป็นทรัพยากรที่จะสามารถช่วยให้รัฐ นั้นมีอิทธิพลในระดับภูมิภาคได้ ทรัพยากรเหล่านั้น ได้แก่ จํานวนประชากร ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรการมีสภาพการเมืองที่มั่นคงและมีเสถียรภาพ แต่รัฐที่มีอํานาจขนาดกลางนี้ยังไม่สามารถที่จะแข่งขันกับรัฐอภิมหาอํานาจระดับ โลกที่มีแสนยานุภาพทางทหารและเศรษฐกิจที่เหนือกว่าได้
  • 3.  ประเทศที่มีอํานาจขนาดกลางจะมีการดําเนินนโยบายต่างประเทศที่เข้มแข็งในเวทีโลก และเป็นที่ยอมรับจากนานาประเทศเนื่องจากการมีทรัพยากรจํานวนมาก(Kanner, 2001) โดยประเทศ “อํานาจขนาดกลาง” จะมีแนวโน้มไปสู่ความร่วมมือในระดับพหุ ภาคีมากกว่าเพื่อสามารถร่วมแก้ปัญหาต่างๆได้อย่างสันติ และประเทศ “อํานาจขนาด กลาง” นี้จะได้รับความไว้วางใจจากประเทศอื่นๆอันเนื่องมาจากพฤติกรรมในการใช้ นโยบายต่างประเทศที่ใช้วิธีการทางการทูตมากกว่าการใช้กําลังทหาร
  • 4. ตุรกีกับความเป็นประเทศอํานาจกลาง  ภายหลังจากการสิ้นสุดของการปกครองภายใต้อาณาจักรออตโตมัน เมื่อปี 1923 ตุรกีได้พัฒนาประเทศให้ก้าวมาสู่การเป็นหนึ่งในประเทศ อํานาจขนาดกลางแห่งภูมิภาคเอเชียในปัจจุบันได้อย่างน่าสนใจ  จาก“ผู้ป่วยของยุโรป” กลับก้าวขึ้นมาสู่ประเทศมุสลิมที่พัฒนาแล้ว
  • 6. รัฐ-ชาติสมัยใหม่  ประเทศตุรกียุคใหม่ที่ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 1923 หรือ 92 ปีที่ผ่านมาโดยการนําของ มุสตาฟา เคมาล อะตาเติร์ก  ยกเลิกระบอบคีลาฟะฮ์เป็นต้นมา ตุรกีอยู่ภายใต้การปกครองระบอบ ประชาธิปไตยที่มีระบบพรรคการเมืองเดียว (one single party) โดยมี เคมาลอะตาเติร์กเป็นประธานาธิบดีติดต่อกันสี่สมัย ตั้งแต่ ค.ศ. 1923 ถึง 1935 (12 ปี)
  • 7.  ตุรกีปรับตัวทางการเมืองอีกครั้งโดยการทดลองใช้ระบบหลายพรรค การเมือง อย่างไรก็ตามกระบวนการสร้างประชาธิปไตยของตุรกีก็ ไม่ได้ราบรื่นอย่างที่หลายคนคาดหวังไว้ ในช่วงเวลา 37 ปีระหว่าง ค.ศ. 1960 - 1997 มีการทํารัฐประหาร 5 ครั้ง ทําให้เสถียรภาพ ทางการเมืองของตุรกีค่อนข้างอ่อนแอและนําไปสู่การสร้างกระบวน สร้างประชาธิปไตยอีกหลายระลอก
  • 8.  เลือกตั้งเมื่อปี 2002 ถือเป็นก้าวสําคัญของการเปลี่ยนโฉมการเมืองตุรกีหลังจากการ ปรับใช้ระบบหลายพรรค ทําให้มีการแข่งขันกันระหว่างพรรคอย่างสร้างสรรค์และเกิด เสถียรภาพมากขึ้นในกระบวนการทางการเมืองอย่างค่อยเป็นค่อยไป โดยปัจจุบัน พรรคยุติธรรมและการพัฒนา (AK Party) ภายใต้การนําของนายกอะฮ์เหม็ด ดา วูดโอลูก์
  • 9. การทหารของตุรกี  ในประวัติศาสตร์การเมืองตุรกี ทหารคือกําลังสําคัญในปกป้องอาณาจักรออตโตมันทุก ยุคทุกสมัย ในสมัยตุรกียุคใหม่ทหารก็มีบทบาทสําคัญไม่น้อยกว่ากันโดยเฉพาะในการ เปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองประเทศ  มุสตาฟา เคมาล อะตาเติร์ก ซึ่งเติบโตมาจากการเป็นทหารถือเป็นตัวอย่างที่ชัดเจนใน การทําความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองและทหารในตุรกี
  • 10. การทหารของตุรกี (ต่อ)  ปัจจุบันตุรกีมีศักยภาพด้านการทหารอยู่ในระดับแนวหน้าของประเทศในตะวันออก กลางและยุโรปตะวันออกโดยมีทหารประจําการทั้งหมดประมาณ 678,617 คน  ตุรกีเป็นประเทศที่ทุ่มงบประมาณสําหรับการทหารมากที่สุดเป็นเป็นลําดับที่ 15 ของ โลก  ในปี 2014 ตุรกียังคงอยู่ในลําดับที่ 15 ของโลกโดยมีงบประมาณ 22.6 พันล้าน เหรียญดอลล่าร์สหรัฐ คิดเป็น 2.2% จากตัวเลข GDP ของประเทศ
  • 11. การทหารของตุรกี (ต่อ)  แต่เนื่องจากสถานการณ์ความไม่แน่นอนทางการเมืองในตะวันออกกลางในปัจจุบันเริ่ม บานปลาย ตุรกีมีแนวโน้มที่จะปรับเพิ่มงบประมาณด้านการทหารเพื่อตอบสนอง ข้อตกลงของ NATO และเพื่อรับมือกับสงครามกลางเมืองในซีเรียและกับรัฐอิสลาม หรือ ISIS  ในปี ค.ศ. 2023 ตุรกีมีเป้าหมายในการสร้างอุตสาหกรรมอาวุธแบบครบวงจรเพื่อ ผลิตอาวุธเป็นของตัวเองตั้งแต่ปืน รถถังไปจนถึงเครื่องบินรบ
  • 12. เศรษฐกิจของตุรกี  ตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่สอง ตุรกีหันไปปรับใช้โครงสร้างการพัฒนาเศรษฐกิจแบบ ตะวันตกโดยการเปิดการค้าเสรีไปพร้อมกับการสร้างกระบวนการประชาธิปโตย  ตุรกีก็รับช่วยเหลือด้านเศรษฐกิจผ่านแผนการมาร์แชล (Marshall Plan) ของ สหรัฐอเมริกาเพื่อการฟื้นฟูยุโรปจากสงครามโลกครั้งที่สอง อย่างไรก็ตามปัจจัยหลักที่ ทําให้ตุรกีเกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงสถาบันคือการเข้าร่วมองค์การเพื่อความร่วมมือทาง เศรษฐกิจยุโรป (OEEC)
  • 13. เศรษฐกิจของตุรกี (ต่อ)  ในช่วงปี 2002-2011 ซึ่งเป็นช่วงที่พรรค AK ได้รับเลือกตั้งติดต่อกันสอง สมัย โดยสภาพเศรษฐกิจมีอัตราการเจริญเติบโตของ GDP อยู่ที่ 5.2 เปอร์เซ็นต์และมีอัตราผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศต่อประชากร (GDP per capita) เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดจาก 3,500 เหรียญดอลล่าร์ในปี 2001 เป็น 10,500 เหรียญดอลล่าร์ในปี 2011  จากการศึกษาของ OECD ตุรกีถือเป็นประเทศที่มีอัตราการเจริญเติบโตเร็ว ที่สุดในประเทศยุโรปในปี 2011 และจะสามารถรักษาอัตราการเจริญเติบโตได้ จนถึงปี 2017  ตุรกีถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วตามการประเมินของ CIA และเป็น ประเทศอุตสาหกรรมเกิดใหม่โดยการจัดประเภทของ IMF
  • 14. เศรษฐกิจของตุรกี (ต่อ)  เศรษฐกิจตุรกีเริ่มชะลอตัวในปี 2013-2015  โดยมีอัตราการว่างงานเพิ่มขึ้น จากปี 2013 9.1 เปอร์เซ็นต์ เป็น 9.9 เปอร์เซ็นต์ ในปี 2014  อัตราเงินเฟ้อปี 2013 อยู่ที่ 7.5 เปอร์เซ็นต์ เพิ่มขึ้นเป็น 8.9 เปอร์เซ็นต์ในปี 2014  ค่าเงินลีร่าของตุรกีลดมูลค่าลงจากเดิมในปี 2013 1 ดอลล่าร์สหรัฐเท่ากับ 1.9 ลีร่า ในปี 2014 1 ดอลล่าร์สหรัฐเท่ากับ 2.19 ลีร่า จากการคาดการณ์เศรษฐกิจของตุรกี ในปัจจุบันค่าเงินลีร่าตุรกีน่าจะมีแนวโน้มลดลงอีกในปี 2016
  • 15.  อย่างไรก็ตาม หากมองจากปัจจัยเกื้อหนุน เศรษฐกิจตุรกีมีฐานโครงสร้างสาธารณูปโภค รองรับที่แข็งแกร่งพอสมควร ตุรกีจัดว่าเป็นประเทศที่มีความพร้อมและความสะดวกในด้าน คมนาคมในระดับดีมาก  ในเมืองอิสตัลบูลมีรถไฟฟ้าใต้ดิน รถไฟลอยฟ้า รถรางรวมกันจํานวน 15 เส้นทาง ในเมือง อังการ่ามีรถไฟฟ้า 5 เส้นทาง (กําลังก่อสร้างอีก 3 เส้นทาง)ในเมืองอิสมิรมีรถไฟฟ้า 2 เส้นทาง  ตุรกียังเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างทวีปเอเชียและยุโรปผ่านเส้นทางรถไฟอีกด้วย ปัจจุบันตุรกีเปิด เส้นทางเดินรถไฟจากเมืองอังการ่าไปยังประเทศบัลแกเรีย (Svilengrad, Dimitrovgrad, Plovdiv, Sofia) โรมาเนีย (Bucharest) และอิหร่าน (Tehran)
  • 16. Turkey's new YHT high- speed train, linking Ankara, Konya, Eskişehir and (from July 2014) the outskirts of Istanbul
  • 18.  ในกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ ตุรกีเป็นสมาชิกของกลุ่ม G20 และมี ความร่วมมือด้านการค้าภายใต้ข้อตกลงการค้าเสรีกับสหภาพยุโรป (Customs Union Agreement with the EU) รวมถึงกับ ประเทศในแถบแอฟริกาเหนือ (เช่น โมร็อกโกและอียิปต์) ยุโรปตะวันออก (เช่น โครเอเชีย) เอเชีย (เช่น เกาหลีใต้) และตะวันออกกลาง (เช่น ปาเลสไตน์และ อิสราเอล)  ที่สําคัญตุรกีกลายเป็นคู่แข่งกับจีนในการลงทุนด้านการก่อสร้างสาธารณูปโภคใน ประเทศแถบแอฟริกา โดยในปี 2014 การค้าแบบข้อตกลงทวิภาคีในทวีป แอฟริกาทําให้เกิดมูลค่า 23.4 พันล้านเหรียญดอลล่าร์สหรัฐ (Ministry of Foreign Affairs, Turkey, n.d.)
  • 19. นโยบายต่างประเทศตุรกี  ภายหลังจากการก่อตั้งสาธารณรัฐตุรกี ตุรกีได้รับความช่วยเหลือจากประเทศตะวันตก โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกาในการพัฒนาประเทศ นโยบายต่างประเทศของตุรกีเน้นหัน หน้าเข้าสู่ตะวันตกอย่างเต็มที่  นโยบายต่างประเทศตุรกีอาจแบ่งได้เป็น 4 ช่วงเวลาหลักๆ 1. ช่วงของเคมาลิสต์และการเข้าหาตะวันตก 2. ช่วงภายใต้การดูแลของกองทัพและเน้นการดําเนินนโยบายแบบโดดเดี่ยว 3. ช่วงยุคประธานาธิบดีโอซาลและนโยบายนีโอออตโตมานช่วงเริ่มต้น 4.ช่วงยุคพรรคอัคและนโยบายการดําเนินความสัมพันธ์เชิงสร้างสรรค์แบบหลากมิติ
  • 20. ช่วงของเคมาลิสต์และการเข้าหาตะวันตก  ได้พยายามพัฒนาประเทศให้เข้าสู่การเป็นประเทศประชาธิปไตยและเซคิวล่าร์ โดยที่ สําหรับอะตาเติร์กแม้จะมีแนวคิดของความเป็นชาตินิยม แต่มีความนิยมในแนวทาง แบบตะวันตก ซึ่งเขาต้องการให้ตุรกีไปสู่จุดที่อยู่ในสภาวะทัดเทียมกับตะวันตก จึงเน้น การสร้างความสัมพันธ์กับทั้งสหรัฐอเมริกาและประเทศยุโรป ขณะเดียวกันก็เน้นการ ดําเนินนโยบาย “สันติภาพในประเทศ สันติภาพในโลก”
  • 21. ช่วงภายใต้การดูแลของกองทัพ  ยุคต่อมาตั้งแต่ช่วงปี 1960 จนกระทั่งช่วงปี 1980 ตอนต้น ตุรกีเข้าสู่ยุคที่ กองทัพมีอิทธิพลสูงต่อการปกครอง หลังจากเกิดปฏิวัติในปี1960 1971 และ 1980 เมื่อไม่สามารถได้ข้อยุติทางการเมือง หลังจากอํานาจเริ่มกระจายสู่ พรรคการเมืองที่หลากหลายขึ้น กระทั่งนําไปสู่ความขัดแย้งในสังคม จนทําให้ ทหารอาศัยช่องทางนี้ในการเข้ามาปฏิวัติ แม้ว่าจะดําเนินนโยบายต่อจาก ช่วงแรก แต่เน้นนโยบายโดดเดี่ยวตัวเองมากขึ้น เนื่องจากประเทศตะวันตกต่าง กดดันให้ตุรกีต้องเข้าสู่กระบวนการทางประชาธิปไตย ซึ่งแรงกดดันนี้เป็นส่วน หนึ่งที่ทําให้ตุรกีต้องจัดการเลือกตั้งในปี 1982 ซึ่งได้ประธานาธิบดีที่อยู่ภายใต้ การควบคุมของกองทัพอยู่
  • 22. ช่วงยุคประธานาธิบดีโอซาล  ประธานาธิบดีโอซาล(Özal) ได้รับตําแหน่งในปี 1989 เป็นต้นมา ก็เป็นอีกหนึ่งจุด เปลี่ยนของนโยบายต่างประเทศ โดยที่ในยุคนี้นโยบายต่างประเทศตุรกีเริ่มมีการ กระจายมากยิ่งขึ้น หลังจากสงครามเย็นสิ้นสุดลง ตุรกีเริ่มเข้าไปมีบทบาทในกลุ่ม ประเทศตะวันออกกลาง บอลข่าย คอเคซัส ภูมิภาคทะเลดําและแอฟริกามากขึ้น โดย มองย้อนกลับไปยังอดีตของตุรกี ที่เคยเป็นอาณาจักรออตโตมานที่ยิ่งใหญ่ ความ ต้องการในการก้าวสู่การเป็นผู้นําแห่งภูมิภาคเริ่มกลับมา พร้อมกับนโยบายการพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศ
  • 23. ช่วงยุคพรรคอัค (AK)  จุดเปลี่ยนของการต่างประเทศของตุรกี ที่เริ่มเห็นเด่นชัดและทําให้ตุรกีเข้าสู่การเป็นตัว แสดงที่สําคัญในเวทีระหว่างประเทศคือ ในช่วงเปลี่ยนผ่านอํานาจสู่พรรคยุติธรรมและ พัฒนา หรือพรรคอัค ซึ่งหันมาเน้นการดําเนินนโยบายต่างประเทศเชิงสร้างสรรค์แบบ หลากมิติ จากนโยบายต่างประเทศตุรกีในอดีตเน้นให้ความสําคัญแก่ประเด็นด้านความ มั่นคงในรูปแบบที่เน้นประเด็นการเมืองและเศรษฐกิจเป็นหลัก
  • 24. นโยบายต่างประเทศในปัจจุบัน  เมื่อพรรคอัคเข้ามาบริหารประเทศในเดือนพฤศจิกายน 2002 ตุรกีได้ขยายขอบเขตการ ดําเนินนโยบายต่างประเทศที่เน้นประเทศเพื่อนบ้านและประเทศอื่นๆ นอกเหนือจากตะวันตก มากขึ้น  เมื่อครั้งดาวุดโอก์ลู นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบัน อยู่ในตําแหน่งรัฐมนตรีกระทรวงการ ต่างประเทศ นั่นคือ นโยบายการปราศจากปัญหากับเพื่อนบ้าน (‘zero problems’ with neighbors) และพัฒนาความสัมพันธ์กับภูมิภาคใกล้เคียงและกระจายออกไป  แม้ว่าต่อมาจะเล็งเห็นว่าประเทศเพื่อนบ้านล้วนแล้วแต่มีปัญหาที่ทําให้การไม่มีปัญหากับเพื่อน บ้านนั้นมีความยากลําบาก จึงหันมาใช้ นโยบายการร่วมมือให้มากที่สุดเท่าที่เป็นไปได้  นโยบายต่างประเทศใหม่ของตุรกีนี้ ไม่เน้นการดําเนินความสัมพันธ์ในมิติความมั่นคงเช่นเดิม อีกต่อไป หากแต่ยังให้ความสําคัญต่อประเด็นอื่นๆ เช่น วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สันติภาพและ การช่วยเหลือทางด้านมนุษยธรรม เป็นต้น
  • 25. นโยบายต่างประเทศในปัจจุบัน (ต่อ)  การดําเนินนโยบายต่างประเทศของตุรกียังมีอีกหนึ่งลักษณะเฉพาะคือ มีความเป็น อิสระ และไม่มีความเป็นศัตรูถาวรในทุกด้าน หากแต่ถ้ามีความจําเป็นที่จะต้องร่วมมือ ในประเด็น ก็จะร่วมมือ และประเด็นใดที่จําเป็นต้องแสดงจุดยืนการต่อต้านโดยเฉพาะ ต่อประเทศมุสลิมและภูมิภาคใกล้เคียง ก็จะต่อต้านอย่างแข็งกร้าว เช่น จุดยืนของตุรกี ต่อจีน แม้ว่าตุรกีจะต่อต้านมาตรการของจีนต่อชาวอุยกูรเติร์กในซินเจียง แต่ก็ยังคงมี การดําเนินนโยบายทางเศรษฐกิจกับจีน
  • 26. นโยบายต่างประเทศในปัจจุบัน (ต่อ)  เสนอแนวทางเลือกในการเป็นประเทศพึ่งพิงที่นอกเหนือจากประเทศตะวันตก ขณะเดียวกันก็เน้นการพัฒนาให้มีมาตรฐานทัดเทียมกับประเทศตะวันตกและ ยุโรป  การนําเอาความเป็นเอเชียและความเป็นมุสลิมกลับมา จึงเริ่มแสดงบทบาทนําใน ประเทศที่มีลักษณะทางวัฒนธรรมใกล้เคียงกันนี้ได้ นอกจากนั้น ความเป็นพรรค การเมืองที่มีนโยบายอยู่บนฐานของความเป็นอิสลาม ทําให้การดําเนินนโยบาย ของพรรคอัคในช่วงหลัง ถูกมองว่าเป็นแนวทาง “นีโอออตโตมาน” ที่ชัดเจนขึ้น กว่ายุคก่อนหน้า ซึ่งออตโตมานเดิมในอดีตเคยเป็นอาณาจักรที่ปกครองโลก มุสลิมมาก่อน ความรู้สึกเช่นนี้จึงถ่ายทอดมาสู่ตุรกีในยุคปัจจุบันที่กําลังแสวงหา จุดยืนที่เป็นผู้นําอีกครั้ง
  • 27. การทูตพหุภาคีต่างๆ  ในกรอบขององค์กรระหว่างประเทศปัจจุบันตุรกีเป็นประเทศสมาชิก OSCE, Council of Europe, OIC, CICA, NATO, G20 เป็นสมาชิกไม่ ถาวรของ UNSC วาระปี 2552-2553  และยังเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มประเทศ MIKTA (เม็กซิโก, อินโดนีเซีย, เกาหลีใต้, ตุรกี และออสเตรเลีย) ที่เกิดขึ้นในปี 2013 จากกลุ่มประเทศที่เป็นสมาชิก G20 เดิม ซึ่งมีเป้าหมายในการคานอํานาจกับประเทศตะวันตก พัฒนาเศรษฐกิจร่วมกัน และก้าว สู่ประเทศที่เป็นอํานาจกลางของโลก  รวมถึงการร่วมมือกันภายใต้กลุ่ม MINT (Mexico, Indonesia, Nigeria, Turkey) เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศร่วมกัน
  • 28. สภาพสังคมตุรกี  ประชากรหลักของประเทศจะนับถือศาสนาอิสลาม แบบสํานักคิดฮานาฟี ในแนวทาง ซุนนี่เป็นส่วนใหญ่ ขณะเดียวกันก็มีผู้คนที่นับถือในแนวคิดอาลาวี และชีอะห์ รวมถึงซู ฟี อยู่จํานวนหนึ่ง โดยที่หากคิดเป็นเปอร์เซ็นต์แล้วมีมุสลิม 99.8% ของประชากร ทั้งหมด และศาสนาอื่นๆ อีกเพียง 0.2%  ประชากรทั้งหมดของประเทศในปี 2014 มีจํานวน 77,695,904 คน โดยที่ ประชาชนมีอัตราส่วนในการอยู่ในเมืองถึง 91.8%ขณะที่อยู่ในหมู่บ้าน 8.2% ของ จํานวนประชากรทั้งหมด โดยที่ประชากร 18.5% อาศัยในเมืองอิสตันบูล ตามด้วย อังการ่า อิสมีร และอันทาเลีย ตามลําดับ
  • 29. สภาพสังคมตุรกี (ต่อ)  ในแง่ของสังคมการเมืองตุรกีเป็นประเทศที่ถือว่าสังคมได้มีการถูกทําให้มีความเป็น ประชาธิปไตย ด้วยกับระบบพรรคหลายพรรคที่เกิดขึ้น การมีการเลือกตั้งได้อย่างอิสระ และก้าวข้ามผ่านอิทธิพลของทหารในการเข้าสู่กรอบทางการเมือง ซึ่งได้เคยเกิดการ ปฏิวัติโดยกองทัพเมื่อปี 1960, 1971, 1980 และครั้งสุดท้ายในปี 1997  กลุ่มเคมาลิสต์ ซึ่งเป็นกลุ่มชาตินิยมได้มีส่วนสําคัญในการสร้างสาธารณรัฐตุรกี และ เน้นความเป็นเติร์ก ในขณะที่กลุ่มอื่นที่มีอยู่ในสังคมตุรกี ไม่ว่าจะเป็นชาวเคิร์ด ชาวอา ลาวี ตลอดจนชาวกรีกและชาวอามาเนียซึ่งไม่ใช่มุสลิมก็ถูกกระบวนการทําให้ กลมกลืนของกลุ่มนี้ ทําให้ความเป็นอื่นที่ปรากฏในสังคมตุรกีไม่เป็นที่ยอมรับใน ช่วงเวลาหนึ่ง กระทั่งนําไปสู่ปัญหาความขัดแย้งภายใน โดยเฉพาะระหว่างชาวเติร์ก และชาวเคิร์ด ซึ่งมีการปะทะกันของอัตลักษณ์ที่ต่างกับภาวะของความเป็นรัฐชาติ
  • 30. สภาพสังคมตุรกี (ต่อ)  ในช่วงก่อนที่พรรคอัคจะเข้าสู่อํานาจแม้ว่ามุสลิมที่ปฏิบัติตามหลักการศาสนาก็ถูกห้าม ไม่ให้ประกอบศาสนกิจในพื้นที่สาธารณะ ด้วยกับแนวคิดที่พยายามจะเปลี่ยนประเทศ ให้เป็นเซคิวล่าร์ หรือ การแยกศาสนาออกจากการเมือง  ด้วยกับบริบทเชื้อชาติเดิมและกระบวนการผสมกลมกลืนนี้ก็ทําให้ปัจจุบันความเป็น มุสลิมของคนตุรกีนั้นมีความแตกต่างกันออกไป นับตั้งแต่ประกอบศาสนกิจอย่าง เคร่งครัด ไปจนถึงการไม่สนใจในหลักการทางศาสนาเลย  ด้วยกับภาวะเช่นนี้จึงทําให้ยังคงมีการต่อสู้ทางอัตลักษณ์ของความเป็นมุสลิมในพื้นที่ สาธารณะ โดยเฉพาะการกีดกันเรื่องการสวมฮิญาบของสตรีชาวมุสลิม ซึ่งได้มีการห้าม ในช่วงเวลาหนึ่ง กระทั่งมีความพยายามเรียกร้องให้มีสิทธิและเสรีภาพในการแสดงอัต ลักษณ์ทางศาสนาในพื้นที่สาธารณะมากขึ้นในช่วงพรรคอัคอยู่ในอํานาจ
  • 31. ปัญหาและข้อท้าทาย  สําหรับ ภายในประเทศ ตุรกียังคงเผชิญกับความไม่มั่นคงของการเมืองภายใน ไม่ว่า จากความขัดแย้งระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนรัฐบาลและฝ่ายที่สนับสนุนพรรคฝ่ายค้าน กลุ่มอิสลามมิสต์และกลุ่มเซคคิวล่าริสต์รวมไปถึงกลุ่มเคมาลิสต์และกลุ่มชาตินิยมที่ ยังคงมีการปะทะการตลอดมา  ปัญหาความขัดแย้งระหว่างชาวเติร์กและชาวเคิร์ด  การว่างงานซึ่งในเดือนพฤษภาคม 2015 ตุรกีมีอัตราการว่างงานอยู่ที่ 9.3%  แรงกดดันและอิทธิพลจากต่างชาติ โดยเฉพาะมหาอํานาจ อย่างสหรัฐอเมริกา  ภัยจากกลุ่ม ISIS, สงครามในซีเรีย, กลุ่มติดอาวุธเคิร์ดที่อยู่ในอิรักและซีเรีย, ความ พยายามในการขึ้นมามีบทบาทของชีอะห์และอิหร่าน เป็นต้น
  • 32. บทสรุป  ตุรกีวางตําแหน่งแห่งที่ของตนภายใต้กรอบประเทศอํานาจขนาดกลางมาตั้งแต่หลัง สงครามโลกครั้งที่ 2  แต่อิทธิพลของตุรกีในฐานะประเทศอํานาจขนาดกลางผันผวนตามพลวัตของการเมือง ภายในประเทศและการเมืองระหว่างประเทศ  ปัจจุบันการเมืองตุรกีมีเสถียรภาพทางการเมืองมากพอสมควร ไม่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิด รัฐประหารแม้จะมีกองกําลังขนาดใหญ่และมีอุตสาหกรรมด้านอาวุธเป็นของตัวเอง  นอกจากนั้นตุรกียังประสบกับความท้าทายจากภาวะการเมืองภายในและการเมือง ระหว่างประเทศ แต่ก็ดูเหมือนว่าตุรกีจะสามารถก้าวข้ามไปได้ด้วยฐานของสังคมที่เป็น ประชาธิปไตย
  • 33.  ในด้านเศรษฐกิจตุรกีจัดอยู่ในประเทศที่มีรายได้ปานกลางระดับสูงและมีอัตราการ เติบโตเศรษฐกิจต่อเนื่องมาหลายปี แม้ในปี 2014 จะประสบปัญหาเศรษฐกิจชะลอตัว แต่ตุรกีมีจุดแข็งในด้านโครงสร้างพื้นฐานทางคมนาคมและเป็นชุดเชื่อมต่อระหว่างทวีป เอเชียและยุโรปทั้งในด้านการค้า การท่องเที่ยวและมิติทางภูมิรัฐศาสตร์  นอกจากนั้นตุรกียังมีนโยบายต่างประเทศที่เอื้อต่อการสร้างมิตรกับประเทศเพื่อนบ้าน ดําเนินนโยบายเชิงสร้างสรรค์กับทุกภูมิภาคและเป็นอิสระจากตะวันตกมากขึ้น  การเข้ามาบริหารประเทศของพรรค AK แม้ว่าจะเผชิญกับข้อท้าทายมากมาย แต่ก็ นับได้ว่าเป็นอีกหนึ่งมิติใหม่ในการหล่อรวมพลังทางการเมืองกับค่านิยมแบบอิสลามบน เส้นทางกระบวนการสร้างประชาธิปไตยโดยเน้นการพัฒนาด้านเศรษฐกิจเป็นหลัก ทั้งนี้ตุรกีได้ก้าวมาเป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่และเป็นประเทศมุสลิมหนึ่งเดียวที่ CIA จัดให้เป็นประเทศพัฒนาแล้ว