SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 6
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ถอดความและสรุปจาก การนาเสนอและอภิปราย เรื่อง สหรัฐอเมริกากาลังเสื่อมลงหรือไม่ (ข้อสรุปจาก Prof.Joseph Nye) โดย
อดีตเอกอัครราชทูตสมปอง สงวนบรรพ์ ในวันพฤหัสบดี ที่ 2 มิถุนายน 2559
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
โดย
อดีตเอกอัครราชทูต สมปอง สงวนบรรพ์
ศตวรรษของอเมริกัน
ศตวรรษของอเมริกัน (American Century) Prof.Joseph Nye อ้างว่ามีการใช้มาก่อนแล้วในปี
1941 โดย Henry Luce นักหนังสือพิมพ์ เขาเขียนเรื่อง American Century เพราะต้องการให้คน
อเมริกันยกเลิกลัทธิโดดเดี่ยวตัวเอง (Isolationism) แล้วหันมาสนับสนุนนโยบายการเข้าไปมีส่วนร่วม
และมีบทบาทในโลก จากจุดนี้ Prof. Joseph Nye จึงพิจารณาว่าในอีก 100 ปีข้างหน้า คือปี 2041 จะ
เกิดอะไรขึ้นบ้าง ซึ่งคาว่าศตวรรษของอเมริกันนั้นเป็นสิ่งที่มีอยู่ในหัวใจของคนอเมริกันทุกคน จึงเกิด
ความสงสัยว่า ศตวรรษของอเมริกันนั้นจะล่มสลายลงหรือไม่ โดยก่อนหน้านี้คนอเมริกันเคยเกิดความตื่น
กลัวว่าประเทศของตนจะไปไม่รอดหรือล่มสลายมาแล้วหลายครั้ง ดังนี้
1
เอกสารวิชาการ
ฉบับที่ 4 /2559
อานาจอานาจของ
สหรัฐอเมริกา
กาลังเสื่อมลงหรือไม่
- ปี 1957 เมื่อสหภาพโซเวียตส่งดาวเทียมไปนอกโลกได้สาเร็จ คนอเมริกันก็กลัวว่าจะถูกแซงหน้า
- สมัยก่อตั้งประเทศ เมื่อคนอเมริกันต้องทิ้งโลกเก่า คือยุโรปมาตั้งถิ่นฐานในโลกใหม่ เกิดความ
กลัวว่าตนเองจะไปไม่รอด
- ช่วงทศวรรษ 1980 เศรษฐกิจญี่ปุ่นเติบโตอย่างมาก ประมาณร้อยละ 10 เป็นเวลาหลายปี
ติดต่อกัน
- เกิดวิกฤตเศรษฐกิจโลกในปี 2008 และสหรัฐอเมริกาได้รับผลกระทบอย่างหนัก
เหตุการณ์เหล่านี้ทาให้สหรัฐอเมริกาเกรงว่าศตวรรษของอเมริกาจะสิ้นสุดลงและสหรัฐอเมริกาจะ
ล่มสลายไป แต่สหรัฐก็ผ่านมาได้ทุกครั้ง และตอนนี้ สิ่งที่สหรัฐอเมริกากาลังเผชิญ คือ การกลัวจีนแซง
หน้าไปเป็นมหาอานาจอันดับ 1 ของโลก โดยเฉพาะหลังจากปี 2014 ที่ธนาคารโลกประกาศว่าขนาด
เศรษฐกิจของจีนใหญ่แซงหน้าขนาดเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาแล้ว
Absolute Decline vs. Relative Decline
คาว่าตกต่า (decline) ในมุมมองของ Prof. Joseph Nye ได้แบ่งไว้เป็นสองแบบคือ Absolute
decline หมายถึง ตกต่าจนล่มสลายไปอย่างสิ้นเชิง และ Relative decline หมายถึง เราไม่ได้ถดถอยลง
ไป เพียงแต่ชาติอื่นเดินหน้าได้เร็วกว่า
Prof. Joseph Nye ได้ยกตัวอย่าง Absolute decline คือ เมื่อ 1500 ปีก่อนที่กรุงโรมล่มสลาย
ไม่ได้เกิดจากการล่มสลายที่มีต่างชาติเข้ามาทาลายแต่เกิดจากปัญหาภายใน ความเหลวแหลกและ
ผิดพลาดภายในของตน ซึ่งประเด็นนี้ มีนักวิชาการสหรัฐคนหนึ่ง ออกมาบอกว่า ตอนนี้สหรัฐอเมริกาที่
กาลังมีปัญหาคงต้องมาพิจารณาปัญหาภายในของตนแล้ว
Prof. Joseph Nye มีความเห็นว่าสหรัฐอเมริกาจะไม่ล่มสลายแบบ Absolute decline แน่นอน แต่
หากเป็นในแง่ของ Relative decline มีความเป็นไปได้ โดยปัจจัยที่เขาคาดว่าจะทาให้สหรัฐอเมริกาไม่ล่ม
สลายแบบ Absolute decline มี 5 ปัจจัย ดังนี้
1. พื้นฐานเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกายังเข้มแข็งอยู่มาก ถึงแม้ว่าในช่วงหลังมานี้เศรษฐกิจของ
สหรัฐอเมริกาจะตกลงมา
2. มีจานวนประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของโลก ปัจจุบันจีนมีจานวนประชากรมากเป็นอันดับ 1
ของโลก รองลงมาอันดับ 2 คืออินเดีย โดย UN ได้มีการคาดการณ์ไว้ว่าในปี 2050 จะเกิดการ
เปลี่ยนแปลงด้านจานวนประชากร คืออินเดียจะขึ้นมาเป็นอันดับ 1 และจีนตกลงไปอยู่อันดับ 2 แต่
สหรัฐอเมริกาจะยังคงอยู่อันดับ 3 เช่นเดิม ซึ่งปัจจัยที่ทาให้สหรัฐอเมริกายังคงครองตาแหน่งอันดับ 3 คือ
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
2
นโยบายคุมกาเนิดที่ไม่เข้มงวดและปัจจัยที่สาคัญ คือ สหรัฐอเมริกาต้อนรับผู้อพยพเข้าไปทางานและ
ตั้งถิ่นฐานและสามารถผสมกลมกลืนคนเหล่านั้นเป็นคนอเมริกันได้
3. สหรัฐอเมริกาเพิ่งค้นพบวิธีสกัดก๊าซธรรมชาติจากหินดินดาน (Shale Gas) และคาดว่าในปี
2020 สหรัฐอเมริกาจะไม่ต้องนาเข้าน้ามันจากตะวันออกกลางอีกต่อไป
4. งานวิจัยและพัฒนา (Research and Development) ของสหรัฐอเมริกามีจานวนมาก
โดยเฉพาะด้าน Biotechnology (เทคโนโลยีชีวภาพ) Nanotechnology (นาโนเทคโนโลยี) และ Infor-
mation technology (เทคโนโลยีสารสนเทศ) เพราะศูนย์กลางของเทคโนโลยีสารสนเทศที่สาคัญของ
โลกยังคงอยู่ที่สหรัฐอเมริกา (Silicon Valley) และมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกายังเป็นมหาวิทยาลัยชั้น
นาของโลก ในการจัดอันดับมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดของโลก 20 อันดับ เป็นมหาวิทยาลัยของ
สหรัฐอเมริกา 15 อันดับ โดยที่จีนไม่ติดใน 20 อันดับนี้
5. คนอเมริกันมีวัฒนธรรมการชอบลงทุนและใช้ rule of law ที่เข้มงวด ทาให้การค้าขาย การ
ดาเนินธุรกิจและการลงทุนบริษัทข้ามชาติของอเมริกายังคงเป็นชั้นนาของโลก
จากปัจจัยดังกล่าวข้างต้นมานั้น แสดงให้เห็นว่าสหรัฐอเมริกาจะไม่ประสบปัญหาการล่มสลาย
อย่างสิ้นเชิงแน่นอน
ส่วนด้าน Relative decline ได้เกิดขึ้นแล้ว โดย Prof. Joseph Nye ได้อธิบายว่า เมื่อต้น
ศตวรรษที่ 20 สัดส่วนเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาเป็นร้อยละ 25 ของโลก ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
เพิ่มเป็นร้อยละ 50 ของโลก แต่ในปี 1970 กลับมาเหลือเพียงร้อยละ 25 เท่าเดิม ชี้ให้เห็นว่า เศรษฐกิจ
ของสหรัฐอเมริกาไม่ได้ถดถอย เพราะมันเคยอยู่ที่ร้อยละ 25 มาก่อน ช่วงที่สูงถึงร้อยละ 50 นั้นเป็น
เพราะอยู่ในภาวะสงคราม แต่หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุด ประเทศต่างๆ เช่น เยอรมนี ญี่ปุ่น
อังกฤษ ฝรั่งเศสและประเทศเอเชียอื่นๆ เติบโตขึ้น แต่ที่เติบโตขึ้นได้เป็นเพราะความช่วยเหลือของ
สหรัฐอเมริกา โดยใช้ Marshall Plan ในการให้ความช่วยเหลือประเทศในยุโรป ส่วนประเทศญี่ปุ่นที่
เติบโตในช่วงปี 1970-1980 เพราะได้อานิสงส์จากการดูแลความมั่นคงและได้สิทธิพิเศษต่างๆ จาก
สหรัฐอเมริกา ทั้งหมดที่กล่าวมาคืออานิสงส์ที่สหรัฐอเมริกาให้ต่อโลก ประเทศอื่นๆ รวมทั้งจีนและไทย
ด้วย ดังนั้น นี่จึงชี้ให้เห็นว่า ในขณะที่สหรัฐอเมริกาพัฒนาเศรษฐกิจของตนไปตามปกติ แต่
ประเทศอื่นๆ ก็เติบโตขึ้นมา ทาให้สัดส่วนเศรษฐกิจโลกของสหรัฐลดลง นี่คือ Relative de-
cline หรืออาจเรียกว่า Rise of the rest คือประเทศที่เหลืออื่นๆ ในโลกกาลังโตขึ้นมานั่นเอง
Prof. Joseph Nye ให้ความเห็นว่าจีนจะยังไม่แซงสหรัฐอเมริกาแน่นอน แต่จะเป็นแค่การที่
ประเทศอื่นๆ โตขึ้นมา ในขณะที่สหรัฐอเมริกาเดินไปอย่างปกติ โดยเขาได้วิเคราะห์ไว้ว่าจีนจะยังไม่
แซงหน้าสหรัฐอเมริกาทั้งทางด้านเศรษฐกิจ การทหาร และ soft power ดังนี้
3
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
3
1. ด้านเศรษฐกิจ แม้ว่าตัวเลข GDP รวมของจีนโตกว่าสหรัฐอเมริกา คือ 18 ล้านล้านเหรียญ
สหรัฐต่อ 17 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ และ Purchasing Power Parity หรือ PPP (ความเท่าเทียมกันของ
อานาจซื้อ) ของจีนจะดีกว่าสหรัฐอเมริกา แต่ไม่ได้สะท้อนว่าจีนจะมีอานาจเหนือกว่าสหรัฐ เพราะในแง่
เศรษฐกิจมีอีกหลายประเด็นที่ต้องคานึงถึง เช่น ในแง่ของอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ จีนนั้นยัง
ไม่แซงสหรัฐอเมริกา เพราะดอลลาร์สหรัฐยังคงเป็นสกุลเงินที่แพร่หลายกว่าสกุลหยวนของจีนในวงการ
ค้า การเงินโลกและในด้านเทคโนโลยี อีกทั้งรายได้ต่อหัวของสหรัฐอเมริกาสูงกว่าจีนหลายเท่า มีการ
คาดการณ์ว่าแม้อีก 30 ปีข้างหน้า รายได้ต่อหัวของจีนก็จะยังไม่เท่าสหรัฐอเมริกา ส่วนเรื่องของ
รูปแบบการพัฒนาเทคโนโลยีและ IT ของจีนส่วนใหญ่จะเป็นการเลียนแบบในขณะที่สหรัฐอเมริกา
เป็นไปในทางสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ มีคนอย่างสตีฟ จ็อบ ที่สร้างสรรค์สิ่งใหม่ขึ้นมาให้โลกต้องเลียนแบบ
นอกจากนี้ รูปแบบการเจริญเติบโตของจีนเป็นแบบล้าหลัง การพัฒนาอุตสาหกรรมของจีน
เป็นไปในรูปแบบการพัฒนาเพื่อทดแทนการนาเข้า และการนาเข้าเทคโนโลยีเพื่อผลิตสินค้าส่งออก ซึ่ง
เป็นแบบเก่าในขณะที่สหรัฐอเมริกาก้าวไปไกลกว่านี้แล้ว และจีนประสบปัญหาการกระจายรายได้
ปัญหาประชากร ปัญหาผู้สูงอายุ ปัญหาแรงงานและปัญหาความยากจน รวมทั้งจีนมีข้อจากัดทาง
การเมืองที่ประชาชนยังไม่ค่อยมีส่วนร่วมในการเมือง ดังนั้นเศรษฐกิจจีนจะยังไม่แซงสหรัฐอเมริกาใน
ภาพรวมอย่างแน่นอน
2. ด้านอานาจทางการทหาร สหรัฐอเมริกาใช้งบประมาณในการป้องกันประเทศมากกว่าจีนถึง
4 เท่า แม้ในช่วงหลายปีมานี้ จีนได้เพิ่มงบประมาณในการป้องกันประเทศร้อยละ 10 ต่อปี แต่ก็อีก
หลายปีกว่าจะเท่าสหรัฐอเมริกา ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์ สหรัฐอเมริกายังคงมีความก้าวหน้ากว่าจีนเยอะ
ส่วนอานาจทางการทหาร จีนมีเฉพาะบริเวณ (ทะเลจีนตะวันออก-ทะเลจีนใต้) ในขณะที่สหรัฐอเมริกามี
อานาจทางทหารทั่วโลก
3. ด้าน soft power จีนใช้งบประมาณมหาศาลและเป็นนโยบายหลักของจีนมาหลายปีแล้ว เพื่อ
พยายามที่จะขยายบทบาทด้าน soft power ในโลกเพื่อลดความหวาดกลัวจากประเทศอื่นๆ การที่
ประเทศหนึ่งเติบโตทั้งทางด้านเศรษฐกิจ กาลังทหาร ย่อมสร้างความหวาดกลัวให้แก่เพื่อนบ้านแน่นอน
ดังนั้นจีนจึงพยายามใช้ soft power เพื่อลดความหวาดกลัวนั้น แต่การใช้ soft power ของจีนก็ยังไม่
สามารถเทียบได้กับ soft power ของสหรัฐอเมริกา เพราะว่า soft power ของจีนนั้นมาจากพรรค
คอมมิวนิสต์จีนโดยตรง แต่ soft power ของสหรัฐอเมริกา มาจากองค์กรต่างๆ หลายภาคส่วนทาให้
คนรู้สึกผ่อนคลายมากกว่าและทามาเป็นเวลานานกว่าจีนมากจนเป็นที่ยอมรับ และจีนมีปัญหากับ
เพื่อนบ้าน โดยเฉพาะปัญหาข้อพิพาทเรื่องดินแดนกับเพื่อนบ้านและข้อพิพาทในทะเลจีนใต้ สิ่งเหล่านี้
4
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
4
จะเป็นอุปสรรคในการพัฒนา soft power ของจีน
ลีกวนยู อดีตผู้นาสิงคโปร์เคยพบปะแลกเปลี่ยนกับ Prof. Joseph Nye ว่าจุดเด่นของ
สหรัฐอเมริกา คือ เป็นประเทศที่สามารถดึงดูดผู้ที่มีความสามารถจากทั่วโลกให้เข้าไปอาศัย
และทางานที่นั่นได้ ดังนั้น จากสิ่งที่กล่าวมาเบื้องต้นทั้งหมด Prof. Joseph Nye มีความเห็นว่าในแง่
ของ Relative decline จีนจะยังไม่แซงหน้าสหรัฐอเมริกาอย่างแน่นอน
บทสรุปของ Prof. Joseph Nye
Prof. Joseph Nye เสนอว่าจีนกับสหรัฐอเมริกาต้องร่วมมือกันในการแก้ปัญหาภัยคุกคามข้าม
ชาติ (transnational threats) เช่น ปัญหาโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ปัญหาภัย
พิบัติ ปัญหาการก่อการร้ายและปัญหาผู้อพยพ หากจีนกับสหรัฐอเมริกาสามารถร่วมมือกันได้จะเกิด
ประโยชน์มาก โดยเฉพาะจีน เพราะระบบโลกปัจจุบัน เป็นระบบโลกที่เอื้อให้จีนได้ประโยชน์ หากจีน
พยายามทาอะไรที่เปลี่ยนระบบโลก จะส่งผลเสียต่อจีนมากกว่าผลดี
ในขณะที่ประเทศอื่นๆ กาลังพัฒนาก้าวหน้าขึ้น ซึ่งหมายความว่า ระบบโลกจะเปลี่ยนจากการ
ที่สหรัฐอเมริกาเคยเป็นที่หนึ่งแต่เพียงผู้เดียวในโลก มาสู่ระบบ Multipolarism หรือสภาวะไม่มีขั้ว ซึ่ง
เป็นผลดีต่อโลก เพราะเป็นระบบที่เอื้อให้ทุกประเทศร่วมมือกัน และในสภาวะนี้ไม่มีประเทศใดที่
สามารถอยู่ได้ด้วยตัวเองหรือทางานเพื่อแก้ปัญหาโลกได้ตามลาพัง ดังนั้นแนวโน้มโลกในอนาคต
คือ ประเทศต่างๆ ในโลก จะร่วมมือกันและพึ่งพากันมากขึ้น
บทสรุปที่ Prof. Joseph Nye ต้องการบอกแก่คนอเมริกัน คือไม่ต้องกลัว เพราะในอดีตที่ผ่าน
มาเมื่อมีประเทศหนึ่งที่เติบโตและเริ่มขยายอานาจขึ้นมา จะไปสร้างความกลัวให้แก่ประเทศอื่น
ดังเช่น กรีกโตขึ้นมาแล้วไปสร้างความกลัวให้สปาตาร์ หรือเยอรมนีเติบโตขึ้นมาแล้วไปสร้างความ
กลัวให้อังกฤษ จึงเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 แต่ในประเด็นนี้ มีข้อโต้แย้งว่า แท้จริงแล้ว สหภาพโซเวียต
โตขึ้นจึงไปสร้างความกลัวให้กับเยอรมนี เยอรมนีจึงเริ่มสงครามโลกครั้งที่ 2 เพราะฉะนั้นคน
อเมริกันไม่ต้องไปกลัวการเติบโตของจีน เพราะความกลัวจะทาให้เรามีปฏิกิริยาในทางลบ
อาจเกิดการสู้รบกันทาให้โลกวุ่นวาย การเติบโตของจีนนั้นเป็นการเติบโตตามธรรมชาติ เป็น
ธรรมดาที่ต้องเติบโต และสหรัฐอเมริกาไม่ได้ล่มสลาย จึงไม่จาเป็นต้องกลัวการเติบโตของจีน
ในทานองเดียวกัน เราคนไทย ไม่ต้องไปกลัวการเติบโตของเวียดนามหรือการเติบโตของเมียน
มาร์ แต่เราต้องร่วมมือกับเขา เข้าหาเขาและทางานร่วมกับเขาเพื่อพัฒนาภูมิภาคของเรา นี่คือสิ่งที่เรา
คนไทยควรเรียนรู้
5สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 5
6
ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล
ผู้บรรยาย : อดีตเอกอัครราชทูตสมปอง สงวนบรรพ์
ผู้สรุปและจัดรูปเล่ม : น.ส.ปลายฟ้า บุนนาค
อ้างอิงปก : http://www.theipinionsjournal.com/wp-content/
uploads/2011/03/roseb.jpg
http://imrussia.org/images/stories/Books/American_Century/american-
decline-cover.jpg
ปีที่พิมพ์: กรกฎาคม 2559
สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ
เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ที่อยู่ติดต่อ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000
โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900
โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 6

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von Klangpanya

Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKlangpanya
 
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfการบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfKlangpanya
 
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfรร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfKlangpanya
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfKlangpanya
 
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....Klangpanya
 
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิชประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิชKlangpanya
 
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีKlangpanya
 

Mehr von Klangpanya (20)

Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdf
 
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfการบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
 
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfรร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
 
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
 
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิชประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
 
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
 

อำนาจของสหรัฐอเมริกากำลังเสื่อมลงหรือไม่? (ข้อสรุปจาก Prof. Joseph Nye)

  • 1. ถอดความและสรุปจาก การนาเสนอและอภิปราย เรื่อง สหรัฐอเมริกากาลังเสื่อมลงหรือไม่ (ข้อสรุปจาก Prof.Joseph Nye) โดย อดีตเอกอัครราชทูตสมปอง สงวนบรรพ์ ในวันพฤหัสบดี ที่ 2 มิถุนายน 2559 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต โดย อดีตเอกอัครราชทูต สมปอง สงวนบรรพ์ ศตวรรษของอเมริกัน ศตวรรษของอเมริกัน (American Century) Prof.Joseph Nye อ้างว่ามีการใช้มาก่อนแล้วในปี 1941 โดย Henry Luce นักหนังสือพิมพ์ เขาเขียนเรื่อง American Century เพราะต้องการให้คน อเมริกันยกเลิกลัทธิโดดเดี่ยวตัวเอง (Isolationism) แล้วหันมาสนับสนุนนโยบายการเข้าไปมีส่วนร่วม และมีบทบาทในโลก จากจุดนี้ Prof. Joseph Nye จึงพิจารณาว่าในอีก 100 ปีข้างหน้า คือปี 2041 จะ เกิดอะไรขึ้นบ้าง ซึ่งคาว่าศตวรรษของอเมริกันนั้นเป็นสิ่งที่มีอยู่ในหัวใจของคนอเมริกันทุกคน จึงเกิด ความสงสัยว่า ศตวรรษของอเมริกันนั้นจะล่มสลายลงหรือไม่ โดยก่อนหน้านี้คนอเมริกันเคยเกิดความตื่น กลัวว่าประเทศของตนจะไปไม่รอดหรือล่มสลายมาแล้วหลายครั้ง ดังนี้ 1 เอกสารวิชาการ ฉบับที่ 4 /2559 อานาจอานาจของ สหรัฐอเมริกา กาลังเสื่อมลงหรือไม่
  • 2. - ปี 1957 เมื่อสหภาพโซเวียตส่งดาวเทียมไปนอกโลกได้สาเร็จ คนอเมริกันก็กลัวว่าจะถูกแซงหน้า - สมัยก่อตั้งประเทศ เมื่อคนอเมริกันต้องทิ้งโลกเก่า คือยุโรปมาตั้งถิ่นฐานในโลกใหม่ เกิดความ กลัวว่าตนเองจะไปไม่รอด - ช่วงทศวรรษ 1980 เศรษฐกิจญี่ปุ่นเติบโตอย่างมาก ประมาณร้อยละ 10 เป็นเวลาหลายปี ติดต่อกัน - เกิดวิกฤตเศรษฐกิจโลกในปี 2008 และสหรัฐอเมริกาได้รับผลกระทบอย่างหนัก เหตุการณ์เหล่านี้ทาให้สหรัฐอเมริกาเกรงว่าศตวรรษของอเมริกาจะสิ้นสุดลงและสหรัฐอเมริกาจะ ล่มสลายไป แต่สหรัฐก็ผ่านมาได้ทุกครั้ง และตอนนี้ สิ่งที่สหรัฐอเมริกากาลังเผชิญ คือ การกลัวจีนแซง หน้าไปเป็นมหาอานาจอันดับ 1 ของโลก โดยเฉพาะหลังจากปี 2014 ที่ธนาคารโลกประกาศว่าขนาด เศรษฐกิจของจีนใหญ่แซงหน้าขนาดเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาแล้ว Absolute Decline vs. Relative Decline คาว่าตกต่า (decline) ในมุมมองของ Prof. Joseph Nye ได้แบ่งไว้เป็นสองแบบคือ Absolute decline หมายถึง ตกต่าจนล่มสลายไปอย่างสิ้นเชิง และ Relative decline หมายถึง เราไม่ได้ถดถอยลง ไป เพียงแต่ชาติอื่นเดินหน้าได้เร็วกว่า Prof. Joseph Nye ได้ยกตัวอย่าง Absolute decline คือ เมื่อ 1500 ปีก่อนที่กรุงโรมล่มสลาย ไม่ได้เกิดจากการล่มสลายที่มีต่างชาติเข้ามาทาลายแต่เกิดจากปัญหาภายใน ความเหลวแหลกและ ผิดพลาดภายในของตน ซึ่งประเด็นนี้ มีนักวิชาการสหรัฐคนหนึ่ง ออกมาบอกว่า ตอนนี้สหรัฐอเมริกาที่ กาลังมีปัญหาคงต้องมาพิจารณาปัญหาภายในของตนแล้ว Prof. Joseph Nye มีความเห็นว่าสหรัฐอเมริกาจะไม่ล่มสลายแบบ Absolute decline แน่นอน แต่ หากเป็นในแง่ของ Relative decline มีความเป็นไปได้ โดยปัจจัยที่เขาคาดว่าจะทาให้สหรัฐอเมริกาไม่ล่ม สลายแบบ Absolute decline มี 5 ปัจจัย ดังนี้ 1. พื้นฐานเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกายังเข้มแข็งอยู่มาก ถึงแม้ว่าในช่วงหลังมานี้เศรษฐกิจของ สหรัฐอเมริกาจะตกลงมา 2. มีจานวนประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของโลก ปัจจุบันจีนมีจานวนประชากรมากเป็นอันดับ 1 ของโลก รองลงมาอันดับ 2 คืออินเดีย โดย UN ได้มีการคาดการณ์ไว้ว่าในปี 2050 จะเกิดการ เปลี่ยนแปลงด้านจานวนประชากร คืออินเดียจะขึ้นมาเป็นอันดับ 1 และจีนตกลงไปอยู่อันดับ 2 แต่ สหรัฐอเมริกาจะยังคงอยู่อันดับ 3 เช่นเดิม ซึ่งปัจจัยที่ทาให้สหรัฐอเมริกายังคงครองตาแหน่งอันดับ 3 คือ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 2
  • 3. นโยบายคุมกาเนิดที่ไม่เข้มงวดและปัจจัยที่สาคัญ คือ สหรัฐอเมริกาต้อนรับผู้อพยพเข้าไปทางานและ ตั้งถิ่นฐานและสามารถผสมกลมกลืนคนเหล่านั้นเป็นคนอเมริกันได้ 3. สหรัฐอเมริกาเพิ่งค้นพบวิธีสกัดก๊าซธรรมชาติจากหินดินดาน (Shale Gas) และคาดว่าในปี 2020 สหรัฐอเมริกาจะไม่ต้องนาเข้าน้ามันจากตะวันออกกลางอีกต่อไป 4. งานวิจัยและพัฒนา (Research and Development) ของสหรัฐอเมริกามีจานวนมาก โดยเฉพาะด้าน Biotechnology (เทคโนโลยีชีวภาพ) Nanotechnology (นาโนเทคโนโลยี) และ Infor- mation technology (เทคโนโลยีสารสนเทศ) เพราะศูนย์กลางของเทคโนโลยีสารสนเทศที่สาคัญของ โลกยังคงอยู่ที่สหรัฐอเมริกา (Silicon Valley) และมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกายังเป็นมหาวิทยาลัยชั้น นาของโลก ในการจัดอันดับมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดของโลก 20 อันดับ เป็นมหาวิทยาลัยของ สหรัฐอเมริกา 15 อันดับ โดยที่จีนไม่ติดใน 20 อันดับนี้ 5. คนอเมริกันมีวัฒนธรรมการชอบลงทุนและใช้ rule of law ที่เข้มงวด ทาให้การค้าขาย การ ดาเนินธุรกิจและการลงทุนบริษัทข้ามชาติของอเมริกายังคงเป็นชั้นนาของโลก จากปัจจัยดังกล่าวข้างต้นมานั้น แสดงให้เห็นว่าสหรัฐอเมริกาจะไม่ประสบปัญหาการล่มสลาย อย่างสิ้นเชิงแน่นอน ส่วนด้าน Relative decline ได้เกิดขึ้นแล้ว โดย Prof. Joseph Nye ได้อธิบายว่า เมื่อต้น ศตวรรษที่ 20 สัดส่วนเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาเป็นร้อยละ 25 ของโลก ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เพิ่มเป็นร้อยละ 50 ของโลก แต่ในปี 1970 กลับมาเหลือเพียงร้อยละ 25 เท่าเดิม ชี้ให้เห็นว่า เศรษฐกิจ ของสหรัฐอเมริกาไม่ได้ถดถอย เพราะมันเคยอยู่ที่ร้อยละ 25 มาก่อน ช่วงที่สูงถึงร้อยละ 50 นั้นเป็น เพราะอยู่ในภาวะสงคราม แต่หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุด ประเทศต่างๆ เช่น เยอรมนี ญี่ปุ่น อังกฤษ ฝรั่งเศสและประเทศเอเชียอื่นๆ เติบโตขึ้น แต่ที่เติบโตขึ้นได้เป็นเพราะความช่วยเหลือของ สหรัฐอเมริกา โดยใช้ Marshall Plan ในการให้ความช่วยเหลือประเทศในยุโรป ส่วนประเทศญี่ปุ่นที่ เติบโตในช่วงปี 1970-1980 เพราะได้อานิสงส์จากการดูแลความมั่นคงและได้สิทธิพิเศษต่างๆ จาก สหรัฐอเมริกา ทั้งหมดที่กล่าวมาคืออานิสงส์ที่สหรัฐอเมริกาให้ต่อโลก ประเทศอื่นๆ รวมทั้งจีนและไทย ด้วย ดังนั้น นี่จึงชี้ให้เห็นว่า ในขณะที่สหรัฐอเมริกาพัฒนาเศรษฐกิจของตนไปตามปกติ แต่ ประเทศอื่นๆ ก็เติบโตขึ้นมา ทาให้สัดส่วนเศรษฐกิจโลกของสหรัฐลดลง นี่คือ Relative de- cline หรืออาจเรียกว่า Rise of the rest คือประเทศที่เหลืออื่นๆ ในโลกกาลังโตขึ้นมานั่นเอง Prof. Joseph Nye ให้ความเห็นว่าจีนจะยังไม่แซงสหรัฐอเมริกาแน่นอน แต่จะเป็นแค่การที่ ประเทศอื่นๆ โตขึ้นมา ในขณะที่สหรัฐอเมริกาเดินไปอย่างปกติ โดยเขาได้วิเคราะห์ไว้ว่าจีนจะยังไม่ แซงหน้าสหรัฐอเมริกาทั้งทางด้านเศรษฐกิจ การทหาร และ soft power ดังนี้ 3 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 3
  • 4. 1. ด้านเศรษฐกิจ แม้ว่าตัวเลข GDP รวมของจีนโตกว่าสหรัฐอเมริกา คือ 18 ล้านล้านเหรียญ สหรัฐต่อ 17 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ และ Purchasing Power Parity หรือ PPP (ความเท่าเทียมกันของ อานาจซื้อ) ของจีนจะดีกว่าสหรัฐอเมริกา แต่ไม่ได้สะท้อนว่าจีนจะมีอานาจเหนือกว่าสหรัฐ เพราะในแง่ เศรษฐกิจมีอีกหลายประเด็นที่ต้องคานึงถึง เช่น ในแง่ของอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ จีนนั้นยัง ไม่แซงสหรัฐอเมริกา เพราะดอลลาร์สหรัฐยังคงเป็นสกุลเงินที่แพร่หลายกว่าสกุลหยวนของจีนในวงการ ค้า การเงินโลกและในด้านเทคโนโลยี อีกทั้งรายได้ต่อหัวของสหรัฐอเมริกาสูงกว่าจีนหลายเท่า มีการ คาดการณ์ว่าแม้อีก 30 ปีข้างหน้า รายได้ต่อหัวของจีนก็จะยังไม่เท่าสหรัฐอเมริกา ส่วนเรื่องของ รูปแบบการพัฒนาเทคโนโลยีและ IT ของจีนส่วนใหญ่จะเป็นการเลียนแบบในขณะที่สหรัฐอเมริกา เป็นไปในทางสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ มีคนอย่างสตีฟ จ็อบ ที่สร้างสรรค์สิ่งใหม่ขึ้นมาให้โลกต้องเลียนแบบ นอกจากนี้ รูปแบบการเจริญเติบโตของจีนเป็นแบบล้าหลัง การพัฒนาอุตสาหกรรมของจีน เป็นไปในรูปแบบการพัฒนาเพื่อทดแทนการนาเข้า และการนาเข้าเทคโนโลยีเพื่อผลิตสินค้าส่งออก ซึ่ง เป็นแบบเก่าในขณะที่สหรัฐอเมริกาก้าวไปไกลกว่านี้แล้ว และจีนประสบปัญหาการกระจายรายได้ ปัญหาประชากร ปัญหาผู้สูงอายุ ปัญหาแรงงานและปัญหาความยากจน รวมทั้งจีนมีข้อจากัดทาง การเมืองที่ประชาชนยังไม่ค่อยมีส่วนร่วมในการเมือง ดังนั้นเศรษฐกิจจีนจะยังไม่แซงสหรัฐอเมริกาใน ภาพรวมอย่างแน่นอน 2. ด้านอานาจทางการทหาร สหรัฐอเมริกาใช้งบประมาณในการป้องกันประเทศมากกว่าจีนถึง 4 เท่า แม้ในช่วงหลายปีมานี้ จีนได้เพิ่มงบประมาณในการป้องกันประเทศร้อยละ 10 ต่อปี แต่ก็อีก หลายปีกว่าจะเท่าสหรัฐอเมริกา ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์ สหรัฐอเมริกายังคงมีความก้าวหน้ากว่าจีนเยอะ ส่วนอานาจทางการทหาร จีนมีเฉพาะบริเวณ (ทะเลจีนตะวันออก-ทะเลจีนใต้) ในขณะที่สหรัฐอเมริกามี อานาจทางทหารทั่วโลก 3. ด้าน soft power จีนใช้งบประมาณมหาศาลและเป็นนโยบายหลักของจีนมาหลายปีแล้ว เพื่อ พยายามที่จะขยายบทบาทด้าน soft power ในโลกเพื่อลดความหวาดกลัวจากประเทศอื่นๆ การที่ ประเทศหนึ่งเติบโตทั้งทางด้านเศรษฐกิจ กาลังทหาร ย่อมสร้างความหวาดกลัวให้แก่เพื่อนบ้านแน่นอน ดังนั้นจีนจึงพยายามใช้ soft power เพื่อลดความหวาดกลัวนั้น แต่การใช้ soft power ของจีนก็ยังไม่ สามารถเทียบได้กับ soft power ของสหรัฐอเมริกา เพราะว่า soft power ของจีนนั้นมาจากพรรค คอมมิวนิสต์จีนโดยตรง แต่ soft power ของสหรัฐอเมริกา มาจากองค์กรต่างๆ หลายภาคส่วนทาให้ คนรู้สึกผ่อนคลายมากกว่าและทามาเป็นเวลานานกว่าจีนมากจนเป็นที่ยอมรับ และจีนมีปัญหากับ เพื่อนบ้าน โดยเฉพาะปัญหาข้อพิพาทเรื่องดินแดนกับเพื่อนบ้านและข้อพิพาทในทะเลจีนใต้ สิ่งเหล่านี้ 4 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 4
  • 5. จะเป็นอุปสรรคในการพัฒนา soft power ของจีน ลีกวนยู อดีตผู้นาสิงคโปร์เคยพบปะแลกเปลี่ยนกับ Prof. Joseph Nye ว่าจุดเด่นของ สหรัฐอเมริกา คือ เป็นประเทศที่สามารถดึงดูดผู้ที่มีความสามารถจากทั่วโลกให้เข้าไปอาศัย และทางานที่นั่นได้ ดังนั้น จากสิ่งที่กล่าวมาเบื้องต้นทั้งหมด Prof. Joseph Nye มีความเห็นว่าในแง่ ของ Relative decline จีนจะยังไม่แซงหน้าสหรัฐอเมริกาอย่างแน่นอน บทสรุปของ Prof. Joseph Nye Prof. Joseph Nye เสนอว่าจีนกับสหรัฐอเมริกาต้องร่วมมือกันในการแก้ปัญหาภัยคุกคามข้าม ชาติ (transnational threats) เช่น ปัญหาโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ปัญหาภัย พิบัติ ปัญหาการก่อการร้ายและปัญหาผู้อพยพ หากจีนกับสหรัฐอเมริกาสามารถร่วมมือกันได้จะเกิด ประโยชน์มาก โดยเฉพาะจีน เพราะระบบโลกปัจจุบัน เป็นระบบโลกที่เอื้อให้จีนได้ประโยชน์ หากจีน พยายามทาอะไรที่เปลี่ยนระบบโลก จะส่งผลเสียต่อจีนมากกว่าผลดี ในขณะที่ประเทศอื่นๆ กาลังพัฒนาก้าวหน้าขึ้น ซึ่งหมายความว่า ระบบโลกจะเปลี่ยนจากการ ที่สหรัฐอเมริกาเคยเป็นที่หนึ่งแต่เพียงผู้เดียวในโลก มาสู่ระบบ Multipolarism หรือสภาวะไม่มีขั้ว ซึ่ง เป็นผลดีต่อโลก เพราะเป็นระบบที่เอื้อให้ทุกประเทศร่วมมือกัน และในสภาวะนี้ไม่มีประเทศใดที่ สามารถอยู่ได้ด้วยตัวเองหรือทางานเพื่อแก้ปัญหาโลกได้ตามลาพัง ดังนั้นแนวโน้มโลกในอนาคต คือ ประเทศต่างๆ ในโลก จะร่วมมือกันและพึ่งพากันมากขึ้น บทสรุปที่ Prof. Joseph Nye ต้องการบอกแก่คนอเมริกัน คือไม่ต้องกลัว เพราะในอดีตที่ผ่าน มาเมื่อมีประเทศหนึ่งที่เติบโตและเริ่มขยายอานาจขึ้นมา จะไปสร้างความกลัวให้แก่ประเทศอื่น ดังเช่น กรีกโตขึ้นมาแล้วไปสร้างความกลัวให้สปาตาร์ หรือเยอรมนีเติบโตขึ้นมาแล้วไปสร้างความ กลัวให้อังกฤษ จึงเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 แต่ในประเด็นนี้ มีข้อโต้แย้งว่า แท้จริงแล้ว สหภาพโซเวียต โตขึ้นจึงไปสร้างความกลัวให้กับเยอรมนี เยอรมนีจึงเริ่มสงครามโลกครั้งที่ 2 เพราะฉะนั้นคน อเมริกันไม่ต้องไปกลัวการเติบโตของจีน เพราะความกลัวจะทาให้เรามีปฏิกิริยาในทางลบ อาจเกิดการสู้รบกันทาให้โลกวุ่นวาย การเติบโตของจีนนั้นเป็นการเติบโตตามธรรมชาติ เป็น ธรรมดาที่ต้องเติบโต และสหรัฐอเมริกาไม่ได้ล่มสลาย จึงไม่จาเป็นต้องกลัวการเติบโตของจีน ในทานองเดียวกัน เราคนไทย ไม่ต้องไปกลัวการเติบโตของเวียดนามหรือการเติบโตของเมียน มาร์ แต่เราต้องร่วมมือกับเขา เข้าหาเขาและทางานร่วมกับเขาเพื่อพัฒนาภูมิภาคของเรา นี่คือสิ่งที่เรา คนไทยควรเรียนรู้ 5สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 5
  • 6. 6 ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล ผู้บรรยาย : อดีตเอกอัครราชทูตสมปอง สงวนบรรพ์ ผู้สรุปและจัดรูปเล่ม : น.ส.ปลายฟ้า บุนนาค อ้างอิงปก : http://www.theipinionsjournal.com/wp-content/ uploads/2011/03/roseb.jpg http://imrussia.org/images/stories/Books/American_Century/american- decline-cover.jpg ปีที่พิมพ์: กรกฎาคม 2559 สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ที่อยู่ติดต่อ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 6