SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 8
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1
ถอดความจากการเสวนาในที่ประชุมเวทีสาธารณะเรื่อง “โลกเปลี่ยนขั้วกับอนาคตประเทศไทย: แนวโน้มใหม่ของโลกกับผลจากการปรับยุทธศาสตร์
ของสหรัฐอเมริกาในปี 2015” จัดโดยโครงการคลังปัญญาเพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันอังคารที่ 17
มีนาคม 2558 เวลา 8:30 - 12:00 น. ณ ห้องกมลทิพย์ 3 ชั้น 2 โรงแรม เดอะ สุโกศล กรุงเทพมหานครฯ ภายใต้การสนับสนุนของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง
เสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิสถาบันสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ (สปส.)
โลกเปลี่ยนขั้วกับอนาคตประเทศไทยโลกเปลี่ยนขั้วกับอนาคตประเทศไทย
บทนํา
ในช่วงต้นปี พ.ศ. 2558 ที่ผ่าน ประเทศมหาอํานาจของโลกอย่างสหรัฐอเมริกาได้ประกาศ
ยุทธศาสตร์ความมั่นคงฉบับใหม่ ปี 2015 (National Security Strategy 2015) หรือ รายงานนโยบาย
แห่งชาติที่มีเนื้อหาครอบคลุมในหลากหลายด้าน อาทิ ด้านความมั่นคงทางการทหาร ด้านเศรษฐกิจ
ด้านสังคม ด้านสาธารณสุข ตลอดจนด้านสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ ทางสถาบันคลังปัญญาฯ ได้ตระหนักถึง
ความสําคัญของยุทธศาสตร์ความมั่นคงฉบับใหม่ ปี 2015 ว่าอาจจะส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์
ระหว่างสหรัฐอเมริกาและภูมิภาคต่างๆของโลก รวมถึงประเทศไทย ดังนั้น จึงได้กําหนดจัดประชุม
เวทีสาธารณะ เรื่อง “โลกเปลี่ยนขั้วกับอนาคตประเทศไทย” โดยมีเป้าประสงค์เพื่อศึกษา แลกเปลี่ยน
แนวคิด และสถานการณ์ความเปลี่ยนแปลงของโลกในปัจจุบัน ตลอดจนวิเคราะห์เพื่อหาแนวทางใน
การปรับตัวของไทยให้ทันต่อแนวโน้มที่จะเกิดขึ้น โดยมีรายละเอียดเนื้อหาของการประชุมดังต่อไปนี้
แนวโนมใหมของโลกกับผลจากการปรับยุทธศาสตรของ
สหรัฐอเมริกาในป2015
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจฯ มหาวิทยาลัยรังสิต
อดีตท่านทูตสุรพงษ์ ชัยนาม
รศ. ดร. วิวัฒน์ มุ่งการดี
พลโทเจิดวุธ คราประยูร
ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
อดีตท่านทูตสมปอง สงวนบรรพ์
ฉบับที่ 7 / 2558
POLICYPOLICY BRIEFBRIEF
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
2
1. การขึ้นมามีอํานาจของสหรัฐอเมริกาหลังยุคสงครามเย็น
หลังสิ้นสุดสงครามเย็นโลกทุนนิยมเสรีชัยชนะเหนือฝ่ายตรงข้าม พร้อมกับการขึ้นมามี
บทบาทของสหรัฐอเมริกาในฐานะโลกตะวันตก โดยไม่มีขั้วอํานาจอื่นมาคาน เมื่อเหลือทางเลือก
เดียว จึงเป็นปัจจัยส่งเสริมทําให้สหรัฐอเมริกาอยู่ในภาวะการใช้อํานาจเกินกว่าความจําเป็น โดย
เอกอัครราชทูตสุรพงษ์ ชัยนาม ได้กล่าวถึงการใช้อํานาจของสหรัฐอเมริกาว่า “เป็นการใช้อํานาจเพื่อ
นําไปสู่ความชอบธรรม แทนที่จะใช้ความชอบธรรมให้กลายเป็นอํานาจ”
ทั้งนี้ แนวทางการขยายอํานาจของสหรัฐอเมริกามักกระทําผ่านการใช้อํานาจในรูปแบบอ่อน
(Soft Power) อาทิ สื่อ และเครื่องมือทางการทูต และถ้าหากไม่สําเร็จผล มักดําเนินการต่อด้วยการ
ใช้อํานาจในรูปแบบแข็ง(Hard Power) เช่น อํานาจด้านการทหาร มาตรการการควํ่าบาตร ดังจะที่
กล่าวดังต่อไปนี้
การใช้อํานาจในรูปแบบอ่อน (Soft Power)
การใช้อํานาจในรูปแบบอ่อน (Soft Power) เป็นการใช้อํานาจในรูปแบบของการดึงดูด และ
สร้างอิทธิพลต่อความคิด ซึ่งมักกระทําผ่านการแทรกซึมของสื่อ และรูปแบบทางการทูต โดย
สหรัฐอเมริกามักหยิบยกหลักการที่สร้างขึ้นว่าด้วยสถานะพิเศษ (Exceptionalism) มาเป็นข้ออ้าง
ในการใช้อํานาจในแทรกแซงรัฐอื่น โดยหลักการดังกล่าวมักอ้างถึงการที่สหรัฐอเมริกา มีสถานะ
พิเศษกว่าประเทศอื่นๆในโลกนี้ โดยมีภาระที่ได้รับการดลบันดาลจากพระผู้เป็นเจ้าให้เป็นผู้นําและ
เป็นตัวอย่างของประเทศที่บริสุทธิ์ผุดผ่อง เพราะฉะนั้นจะเห็นได้ว่านโยบายด้านการต่างประเทศของ
สหรัฐอเมริกาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันมักแฝงไปด้วยหลักการดังกล่าวอยู่เสมอ
ทั้งนี้รูปแบบการใช้อํานาจดังกล่าว มักมีจุดประสงค์ในการแทรกแซงกิจการภายในของ
ประเทศอื่น และเพื่อเพิ่มพูนผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศตนเอง ผ่านการยัดเยียดค่านิยม
แบบแผนหรือหลักการต่างๆ ที่ถูกอ้างว่าเป็นค่านิยมสากลและมีจุดประสงค์ในการช่วยปลดแอกมวล
มนุษยชาติให้รอดพ้นจากการกดขี่ ความเหลื่อมลํ้าและปัญหาต่างๆ ยกตัวอย่าง เช่น
ระบอบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมเสรี หลักการปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย หลักสิทธิมนุษยชน
หลักธรรมมาภิบาล หลักนิติธรรม หลักสิทธิเสรีภาพ หลักอิสรภาพ และหลักสันติภาพ เป็นต้น
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
3
การใช้อํานาจในรูปแบบแข็ง (Hard Power)
การใช้อํานาจในรูปแบบแข็ง (Hard Power) อาทิ การใช้อํานาจทางด้านการทหารหรือ
มาตรการการควํ่าบาตร มักจะเกิดขึ้นถ้าหากการใช้อํานาจในรูปแบบอ่อนไม่สําเร็จผล แต่ทั้งนี้หลักการ
แบบแผน หรือค่านิยมสากล ดังที่กล่าวไปในข้างต้น ก็มักจะถูกหยิบยกมาเป็นข้ออ้างเพื่อสร้าง
ความชอบธรรมในการเข้าไปแทรกแซงกิจภายในของประเทศนั้นๆ ว่าเป็นการกระทําเพื่อผลประโยชน์
ส่วนรวมของทั้งโลก มิใช่ของประเทศใดประเทศหนึ่ง ผ่านการใช้อํานาจทางด้านการทหารหรือ
มาตรการการควํ่าบาตร เสมือนเป็นระเบียบหรือวาระโลก(World Order) ซึ่งเกิดขึ้นใน สงครามอ่าว
เปอร์เซีย สงครามอิรัก สงครามอัฟกานิสถาน และสงครามเวียดนาม เป็นต้น
2. วิ เคราะห์ยุทธศาสตร์ความมั่นคง 2015 (National Security Strategy 2015)
ของสหรัฐอเมริกา
2.1. การปรับสมดุลทางด้านการทหาร (Military Rebalance) ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิ ก
แผนยุทธศาสตร์ความมั่นคงฉบับนี้ สหรัฐอเมริกาได้เน้นไปที่แผนการปรับสมดุลทางการทหาร
(Rebalancing) ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ทั้งนี้สหรัฐฯได้มีแผนในการเพิ่มกองกําลังใต้นํ้า โดยใช้เรือดํา
นํ้า Literal Combat ในการตอบโต้กับยุทธศาสตร์ Anti-Access Area Denial – (A2AD) อันเป็น
ยุทธศาสตร์ทางด้านการทหารของจีนที่กําหนดมาเพื่อรับมือกับสหรัฐอเมริกาโดยเฉพาะ
นอกเหนือจากนี้ สหรัฐอเมริกายังได้มีการปรับและกระจายกองกําลังต่างๆในหลายพื้นที่ พร้อม
ทั้งปรับโยกย้ายหน่วย First Call ที่เป็นกองกําลังปฏิบัติการในอิรักและตะวันออก ก ล า ง ม า ใ ห้
ประจําการ ณ กองบัญชาการภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก ขณะเดียวกันก็เพิ่มขีดความสามารถในการรับมือ
ต่อขีปนาวุธ (missile defense) โดยจัดกองกําลังเข้าไปประจําการที่อลาสก้า และเกาะกวม อันเนื่อง
มากจากความกังวลที่มีต่อขีดความสามารถทางด้านขีปนาวุธของเกาหลีเหนือที่เพิ่มขึ้น
อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาการปรับลดงบประมาณการตั้งรับของกระทรวงกลาโหม (defense
budget) ที่ดูมีแนวโน้มว่าจะน้อยลงไปเรื่อยๆ กอปรกับการจัดสรรงบประมาณ ทางด้านการทหารเพียง
แค่ 1-2% ให้ลงมาที่ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ก็จะเห็นได้ว่าแนวทางการปรับสมดุลทางด้านการทหารของ
สหรัฐอเมริกาในครั้งนี้ ดูมีท่าทีที่อ่อนลงกว่าเดิม และมักมุ่งเน้นไปที่มิติทางด้านการทูตและเศรษฐกิจ
มากกว่ามิติด้านความมั่นคงเหมือนในอดีต
ทั้งนี้ พลโทเจิดวุธ คราประยูร ผู้บัญชาการวิทยาลัยเสนาธิการทหาร(วสท) เห็นว่าการปรับ
โยกย้ายกองกําลังต่างๆ ของสหรัฐอเมริกานั้น น่าจะมีจุดประสงค์หลักเพื่อลดสถานการณ์ความตรึง
เครียดกับจีน และตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ Joint Concept for Access and Maneuver Global Com-
mons อันเป็นยุทธศาสตร์ที่แสดงให้เห็นว่าสหรัฐอเมริกาไม่ได้มีเจตนา ในการพุ่งเป้าการรบไปที่
ประเทศใดประเทศหนึ่ง
2.2 การเพิ่มความแข็งแกร่งของพันธมิตร (strengthening alliances)
จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่า ท่าทีของสหรัฐอเมริกาต่อการใช้ยุทธศาสตร์ทางการทหารมีท่าทีที่
อ่อนลง ทั้งนี้แนวทางการเพิ่มความแข็งแกร่งของพันธมิตร (strengthening alliances) ก็เป็ น
อีกหนึ่งแนวทางที่ถูกนํามาใช้ในแผนยุทธศาสตร์ความมั่นคงฉบับนี้สหรัฐอเมริกามีประเทศพันธมิตรใน
เอเชียแปซิฟิก ได้แก่ ประเทศญี่ปุ่น เกาหลีใต้ออสเตรเลีย ฟิลิปปินส์และไทย โดยพันธมิตรที่มีลงนาม
ในสนธิสัญญา(existing treaty) มีทั้งหมด 4 ประเทศ ส่วนประเทศไทยยังไม่ได้เข้าร่วม อันเนื่องมาก
จากการดําเนินนโยบายแบบเป็นกลาง ทั้งนี้หากวิเคราะห์ดูจะเห็นได้ว่าสหรัฐฯ เพิ่มความร่วมมือด้าน
การตั้งรับทางการทหาร (Defense Cooperation) กับฟิลิปปินส์และออสเตรเลียอย่างชัดเจน ส่วน
สหรัฐฯได้ใช้ญี่ปุ่นเป็นช่องทางเศรษฐกิจ (Trans Pacific Partnership) ที่มีลักษณะคล้ายๆกับ
ข้อตกลงกับการค้าเสรี (Free Trade Agreement) ของเอเชียแปซิฟิก
นอกเหนือจากนี้ สหรัฐฯยังได้ประกาศถึงแนวทางการการให้ความช่วยเหลือในการ ผ ลัก ดัน
ประเทศที่กําลังพัฒนาต่างๆให้ก้าวไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว(Deepening Partnership with Emerging
Powers) โดยล่าสุดสหรัฐฯ เสนอแนวคิด New India Defense Trade Initiative ให้กับอินเดีย เป็น
แนวคิดในการเสนอขายอาวุธยุทโธปกรณ์ทางการทหารที่ทันสมัยที่สุดของ สหรัฐฯ ส่วนอินโดนีเซีย
สหรัฐฯได้เสนอแนวความคิด U.S. – Indo Comprehensive Partnership เพื่อดึงให้อินโดนีเซียเข้ามา
มีส่วนร่วมกับสหรัฐฯมากขึ้น
อย่างไรก็ตาม ทั้งอินเดียและอินโดนีเซีย ดูเหมือนว่ายังคงต้องการดําเนินนโยบายที่เป็นกลาง
และไม่ต้องการเป็นพันธมิตรทางด้านความมั่นคง (security partner) ต่อฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง แต่ทั้งนี้ จาก
ปัญหาเรื่อง กรณีพิพาททะเลจีนใต้ ก็อาจเป็นหนึ่งในปัจจัยสนับสนุนที่ทํา ให้อินเดีย และอินโดนีเซีย
ตลอดจนหลายๆประเทศที่มีปัญหาทางด้านความมั่นคงกับจีน หันมาสนับสนุนสหรัฐอเมริกาก็เป็นได้
3. ความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐอเมริกากับจีน
การที่จีนสามารถพัฒนาเศรษฐกิจได้อย่างก้าวกระโดด จนทําให้วันนี้จีนกลายเป็น
มหาอํานาจทางเศรษฐกิจที่ยิ่งใหญ่ของโลกในปัจจุบัน ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ระบอบอภิมหาอํานาจเพียง
หนึ่งเดียวในอุดมคติของสหรัฐอเมริกากําลังจะสั่นคลอน ทั้งนี้ขีดความสามารถทางด้านการทหารที่
เพิ่มขึ้นของจีน
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
4
จะทําให้จีนกลายเป็นคู่แข่งที่ท้าทายของสหรัฐอเมริกาและประเทศตะวันตกในการเป็นมหาอํานาจของ
โลกได้ในไม่ช้า นอกจากนี้ อีกหนึ่งสิ่งที่สําคัญที่สุดต่อการขึ้นมามีบทบาทของจีน คือ การแสดงให้โลก
เห็นว่าระบอบที่สามารถพัฒนาเศรษฐกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ได้ถูกจํากัดไว้เพียงแค่ในระบอบ
ทุนนิยมเสรีของสหรัฐอเมริกาเท่านั้น ด้วยเหตุนี้ สหรัฐอเมริกาจึงได้ชักจูงให้จีนเข้าร่วมในการเป็น
สมาชิกสถาบันหรือองค์กรระหว่างประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์ในการตีกรอบให้จีนต้องปฏิบัติตาม
ระเบียบสนธิสัญญาและข้อบังคับต่างๆตามที่ได้กําหนดไว้
4. แนวโน้มในอนาคตของสหรัฐอเมริกาและโลก
4.1 การแสวงหาพันธมิตรเพื่อรักษาผลประโยชน์ของตนเอง
แนวโน้มนโยบายของสหรัฐฯในอีก 10 ปีข้างหน้ามีความเป็นไปได้ว่า สหรัฐอเมริกายังคงพุ่ง
เป้าไปที่การแสวงหารัฐบริวาร (Client States) เพื่อใช้ในการส่งเสริมประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจและ
ด้านความมั่นคงให้กับประเทศตนเอง ตลอดจนคานอํานาจกับจีน หรือประเทศที่จะขึ้นมามีบทบาทใน
อนาคต
สิ่งหนึ่งที่สหรัฐฯกังวลมากที่สุด คือ การสั่นคลอนของระบอบทุนนิยมโดยลัทธิชาตินิยมของ
ประเทศต่างๆในประเทศที่กําลังพัฒนาและด้อยพัฒนา ทั้งนี้ ระบอบทุนนิยมเป็นระบอบที่สหรัฐฯ
สามารถใช้ในการกอบโกยหาผลประโยชน์ให้กับชาติตนเองได้มากที่สุด ดังนั้น สหรัฐฯและประเทศ
ตะวันตกจึงหาแนวทางป้องกันการสั่นคลอนของระบอบทุนนิยม ยกตัวอย่าง การสร้างสถาบันการเงิน
ระหว่างประเทศที่มีระเบียบสนธิสัญญาและข้อบังคับต่างๆ โดยสนธิสัญญา เหล่านี้จะเป็นกรอบและ
เครื่องมือในการกํากับและแทรกแซงการดําเนินการของประเทศสมาชิกต่างๆ
4.2 สหรัฐอเมริกาจะเข้าสู่ภาวะถดถอย
ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ อธิการวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลังรังสิตเห็นว่า
ขณะนี้สถานะทางเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกามีภาวะถดถอย จากเดิมที่เศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกามี
GDP อยู่ที่ 50% ของโลก แต่ ณ ขณะนี้ อยู่ที่ 20-25% ของโลกและกําลังจะถดถอยลงไปเรื่อยๆ
ขณะเดียวกัน สหรัฐฯก็ยังเป็นลูกหนี้รายใหญ่ที่สุดในโลกอีกด้วย โดยงบประมาณที่สหรัฐฯต้องใช้ใน
การจ่ายคืนหนี้สูงเท่ากับงบประมาณของกระทรวงกลาโหม เพราะฉะนั้นคาดการณ์ว่าสหรัฐอเมริกาคง
ไม่สามารถเพิ่มงบประมาณทางด้านการทหารได้มากกว่านี้
4.3 โลกจะเข้าสู่ภาวะหลายขั้วอํานาจ
จากที่กล่าวไปในข้างต้น จะเห็นไว้ว่าสหรัฐอเมริกากําลังจะเข้าสู่ภาวะถดถอย ทั้งนี้
ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์และอดีตเอกอัครราชทูต สุรพงศ์ ชัยนาม เห็นตรงกันว่า
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
5
สหรัฐฯ ควรปรับเปลี่ยนแนวความคิดในการเป็นอภิมหาอํานาจเพียงหนึ่งเดียวในโลก มาสู่
แนวความคิดที่ว่าโลกควรจะมีหลายขั้วอํานาจ โดยอํานาจในด้านต่างๆนั้น ต้องไม่ตกอยู่ใน มื อ ข อ ง
กลุ่มบุคคลใดบุคคลหนึ่ง เพื่อสร้างความความสมดุลและเกิดการถ่วงดุลอํานาจอย่างเท่าเทียมกัน
5. ข้อเสนอแนะต่อแนวทางการปรับเปลี่ยนนโยบายการต่างประเทศของไทย
5.1 กําหนดนโยบาย Omni-directional policy โดยแยกยุทธศาสตร์ความมั่นคงและ
เศรษฐกิจให้ออกจากกันอย่างชัดเจน
ไทยควรกําหนดนโยบาย Omni-directional policy หรือนโยบายที่ไปสู่ทุกทิศทางที่ใช้อยู่ใน
ปัจจุบันให้มีความชัดเจนมากขึ้น และควรเป็นแนวทางที่สามารถแสวงหาพร้อมกับรักษาผลประโยชน์
แห่งชาติเอาไว้ให้ได้มากที่สุด ยกตัวอย่าง กรณีของประเทศออสเตรเลียและเกาหลีใต้ที่แยก
ยุทธศาสตร์ทางด้านความมั่นคงและเศรษฐกิจออกจากกันอย่างชัดเจน ทําให้ถึงแม้ด้านความมั่นคงจะ
เป็นพันธมิตรกับสหรัฐอเมริกา แต่ด้านเศรษฐกิจก็ยังสามารถค้าขายกับจีนได้ เป็นต้น
5.2 กําหนดนโยบายการต่างประเทศให้มีความหลากหลายมากขึ้น
ในรอบสิบปีที่ผ่านมา มีหลายประเทศที่มีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่สูงขึ้นอย่างเห็น
ได้ชัด โดยอันดับหนึ่ง คือประเทศอิควิเตอเรียลกีนี ซึ่งอยู่ในทวีปแอฟริกาโตมีอัตราการเติบโตสูงสุดอยู่
ที่ 18.5% ต่อปี อันดับสอง คือ อาเซอไบจัน 15.9% ต่อปี อันดับสาม คือ เตอร์กเมนิสถาน 14.4%
ต่อปี อันดับสี่คือมาเก๊า 13.6% ต่อปี อันดับห้าคือกาตาร์ 13.5% ต่อปี อันดับหกคืออัฟกานิสถาน
13.2% ต่อปี
ข้อสังเกตที่น่าสนใจจะเห็นว่า ประเทศไทยกับประเทศดังกล่าวข้างต้นแทบจะไม่มี
ความสัมพันธ์อย่างแนบชิดกัน ดังนั้นสิ่งที่ประเทศไทยควรให้ความสําคัญ คือ การปรับเปลี่ยนนโยบาย
การต่างประเทศให้มีความหลากหลายและเปิดกว้างมากยิ่งขึ้น ไม่ใช่สนใจแต่ประเทศตะวันตกเพียง
อย่างเดียว
5.3 ควรกําหนดนโยบายที่คํานึงถึงผลประโยชน์แห่งชาติเป็นตัวตั้ง
อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าไทยจะดําเนินนโยบายไปในทิศทางใด สิ่งที่สําคัญที่สุด คือ การ คํานึงถึง
ผลประโยชน์แห่งชาติสูงสุด ซึ่งไทยควรเข้าใจถึงความชอบธรรมของอํานาจอธิปไตยในการบริหารงาน
ภายในประเทศ ไม่ว่าไทยจะเผชิญกับแรงกดดันจากภายในและภายนอกประเทศขนาดไหน
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
6
6. สรุป
จากที่กล่าวทั้งหมดข้างต้น จะเห็นได้ถึงการเปลี่ยนแปลงของบทบาทและสถานะของขั้วอํานาจ
หลักในโลก สิ่งหนึ่งที่แสดงให้เห็น คือ แบบแผนหรือวาทกรรมสากลที่สหรัฐอเมริกาพยายามยัดเยียด
ให้ประเทศต่างๆได้ใช้นั้น ไม่ได้สัมฤทธิ์ผลเสมอไป ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบการปกครองแบบ
ประชาธิปไตยและเศรษฐกิจแบบทุนนิยมเสรี ทั้งนี้เราจะเห็นได้ว่า ถึงแม้จะมีการใช้ระบอบ
ประชาธิปไตยในประเทศนั้นๆจริง แต่ในหลากหลายครั้งผู้คนในประเทศนั้นก็ยังขาดความเป็นนัก
ประชาธิปไตย (Democracy without Democrat) ทําให้กลายเป็นประชาธิปไตยในแบบที่ไม่สมบูรณ์
นอกเหนือจากนี้ เรายังได้เห็นถึงประสบการณ์อันล้มเหลว ที่เกิดจากการนําหรือถูกยัดเยียดแบบแผน
ของสหรัฐอเมริกามาใช้ในหลายๆประเทศ อาทิ ภาวะสงครามครามกลางเมือง ภาวะขาดแคลนอาหาร
ภาวะเศรษฐกิจตกตํ่า เป็นต้น
ขณะนี้สหรัฐอเมริกากําลังเผชิญกับการต่อต้านอาณานิคมสมัยใหม่(anti-colonialist move-
ment) รวมถึงภาวะชาตินิยมของประเทศกําลังพัฒนาและด้อยพัฒนา ทั้งนี้ภายใต้สภาวการณ์ดังกล่าว
ไทยควรริเริ่มในการปรับเปลี่ยนนโยบายความมั่นคงและการต่างประเทศให้ก้าวทันต่อความ
เปลี่ยนแปลงของโลกที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากนี้ สหรัฐอเมริกาควรจะทําความเข้าใจต่อการ
เปลี่ยนแปลงของโลก โดยการแบ่งอํานาจในโลกด้วยการสร้างระเบียบโลกแบบใหม่ ที่ไม่ได้ผูกขาดแต่
ตะวันตก แต่ให้มีการผสมผสานความเป็นตะวันตกและตะวันออก สู่การเป็นโลกที่มีความเป็นพหุนิยม
มากขึ้น
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
7
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 8
เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ผู้อํานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล
ถอดความและเรียบเรียง: นางสาวอนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล
บันทึกเทปการประชุม: นายพิพัฒพงศ์ ชูประสิทธิ์
ผู้ประสานงาน: อ.อารณีย์ วิวัฒนาภรณ์ นางพัชร์พิชา เคียงธนสมบัติ
ปีที่พิมพ์: เมษายน 2558
สํานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ
ที่อยู่ติดต่อ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต52/347 พหลโยธิน 87 ตําบลหลักหก อําเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000
โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900
โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

The Turkish Genocide of the Armenians 1915
The Turkish Genocide of the Armenians 1915The Turkish Genocide of the Armenians 1915
The Turkish Genocide of the Armenians 1915Peter Hammond
 
EU Enlargement and Turkey’s Application for Membership v3
EU Enlargement and Turkey’s Application for Membership v3EU Enlargement and Turkey’s Application for Membership v3
EU Enlargement and Turkey’s Application for Membership v3David Bucur
 
The Armenian Genocide
The Armenian GenocideThe Armenian Genocide
The Armenian Genocideguest0db4d65
 
Gender issues in educational administration
Gender issues in educational administration Gender issues in educational administration
Gender issues in educational administration Muhammad Rehman
 
Muslim Pioneers in Management
Muslim Pioneers in ManagementMuslim Pioneers in Management
Muslim Pioneers in ManagementYaser AlHindi
 
The Armenian Genocide
The  Armenian GenocideThe  Armenian Genocide
The Armenian GenocideSmartyGuy
 
The armenian genocide
The armenian genocideThe armenian genocide
The armenian genocideIsrael Fans
 
Turkey & European Union
Turkey & European UnionTurkey & European Union
Turkey & European Unionymb
 
From Turkey - The European Union
From Turkey -  The European UnionFrom Turkey -  The European Union
From Turkey - The European UnionFilipe
 
System of Government under the Holy Prophet Muhammad (PBUH) by Syed Abul A'al...
System of Government under the Holy Prophet Muhammad (PBUH) by Syed Abul A'al...System of Government under the Holy Prophet Muhammad (PBUH) by Syed Abul A'al...
System of Government under the Holy Prophet Muhammad (PBUH) by Syed Abul A'al...Muhammad Nabeel Musharraf
 
Islamic perspectives in administration and human relation (
Islamic perspectives in administration and human relation (Islamic perspectives in administration and human relation (
Islamic perspectives in administration and human relation (Zuza Zakaria
 
THE ROLE OF CYPRUS CONFLICT IN TURKEY’S EUROPEAN UNION MEMBERSHİP NEGOTIATION...
THE ROLE OF CYPRUS CONFLICT IN TURKEY’S EUROPEAN UNION MEMBERSHİP NEGOTIATION...THE ROLE OF CYPRUS CONFLICT IN TURKEY’S EUROPEAN UNION MEMBERSHİP NEGOTIATION...
THE ROLE OF CYPRUS CONFLICT IN TURKEY’S EUROPEAN UNION MEMBERSHİP NEGOTIATION...İzmir University of Economics
 
State Policy Of Prophet Muhammad (Sm.)
State Policy Of Prophet Muhammad (Sm.)State Policy Of Prophet Muhammad (Sm.)
State Policy Of Prophet Muhammad (Sm.)sanjida2222
 
Research in_public_administration_-an_islamic_perspective
 Research in_public_administration_-an_islamic_perspective Research in_public_administration_-an_islamic_perspective
Research in_public_administration_-an_islamic_perspectiveNurshap Syafiqa
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ ประถม ปี 2557 รอบที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ ประถม ปี 2557 รอบที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ ประถม ปี 2557 รอบที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ ประถม ปี 2557 รอบที่ 1sawed kodnara
 

Andere mochten auch (18)

The Turkish Genocide of the Armenians 1915
The Turkish Genocide of the Armenians 1915The Turkish Genocide of the Armenians 1915
The Turkish Genocide of the Armenians 1915
 
Armenian genocide
Armenian genocide Armenian genocide
Armenian genocide
 
The armenian-genocide
The armenian-genocideThe armenian-genocide
The armenian-genocide
 
EU Enlargement and Turkey’s Application for Membership v3
EU Enlargement and Turkey’s Application for Membership v3EU Enlargement and Turkey’s Application for Membership v3
EU Enlargement and Turkey’s Application for Membership v3
 
The Armenian Genocide
The Armenian GenocideThe Armenian Genocide
The Armenian Genocide
 
Gender issues in educational administration
Gender issues in educational administration Gender issues in educational administration
Gender issues in educational administration
 
Muslim Pioneers in Management
Muslim Pioneers in ManagementMuslim Pioneers in Management
Muslim Pioneers in Management
 
The Armenian Genocide
The  Armenian GenocideThe  Armenian Genocide
The Armenian Genocide
 
The armenian genocide
The armenian genocideThe armenian genocide
The armenian genocide
 
Turkey & European Union
Turkey & European UnionTurkey & European Union
Turkey & European Union
 
From Turkey - The European Union
From Turkey -  The European UnionFrom Turkey -  The European Union
From Turkey - The European Union
 
Visa policy
Visa policyVisa policy
Visa policy
 
System of Government under the Holy Prophet Muhammad (PBUH) by Syed Abul A'al...
System of Government under the Holy Prophet Muhammad (PBUH) by Syed Abul A'al...System of Government under the Holy Prophet Muhammad (PBUH) by Syed Abul A'al...
System of Government under the Holy Prophet Muhammad (PBUH) by Syed Abul A'al...
 
Islamic perspectives in administration and human relation (
Islamic perspectives in administration and human relation (Islamic perspectives in administration and human relation (
Islamic perspectives in administration and human relation (
 
THE ROLE OF CYPRUS CONFLICT IN TURKEY’S EUROPEAN UNION MEMBERSHİP NEGOTIATION...
THE ROLE OF CYPRUS CONFLICT IN TURKEY’S EUROPEAN UNION MEMBERSHİP NEGOTIATION...THE ROLE OF CYPRUS CONFLICT IN TURKEY’S EUROPEAN UNION MEMBERSHİP NEGOTIATION...
THE ROLE OF CYPRUS CONFLICT IN TURKEY’S EUROPEAN UNION MEMBERSHİP NEGOTIATION...
 
State Policy Of Prophet Muhammad (Sm.)
State Policy Of Prophet Muhammad (Sm.)State Policy Of Prophet Muhammad (Sm.)
State Policy Of Prophet Muhammad (Sm.)
 
Research in_public_administration_-an_islamic_perspective
 Research in_public_administration_-an_islamic_perspective Research in_public_administration_-an_islamic_perspective
Research in_public_administration_-an_islamic_perspective
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ ประถม ปี 2557 รอบที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ ประถม ปี 2557 รอบที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ ประถม ปี 2557 รอบที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ ประถม ปี 2557 รอบที่ 1
 

Mehr von Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

Mehr von Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

โลกเปลี่ยนขั้วกับอนาคตประเทศไทย : แนวโน้มใหม่ของโลกกับผลจากการปรับยุทธศาสตร์ของสหรัฐอเม

  • 1. 1 ถอดความจากการเสวนาในที่ประชุมเวทีสาธารณะเรื่อง “โลกเปลี่ยนขั้วกับอนาคตประเทศไทย: แนวโน้มใหม่ของโลกกับผลจากการปรับยุทธศาสตร์ ของสหรัฐอเมริกาในปี 2015” จัดโดยโครงการคลังปัญญาเพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันอังคารที่ 17 มีนาคม 2558 เวลา 8:30 - 12:00 น. ณ ห้องกมลทิพย์ 3 ชั้น 2 โรงแรม เดอะ สุโกศล กรุงเทพมหานครฯ ภายใต้การสนับสนุนของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง เสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิสถาบันสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ (สปส.) โลกเปลี่ยนขั้วกับอนาคตประเทศไทยโลกเปลี่ยนขั้วกับอนาคตประเทศไทย บทนํา ในช่วงต้นปี พ.ศ. 2558 ที่ผ่าน ประเทศมหาอํานาจของโลกอย่างสหรัฐอเมริกาได้ประกาศ ยุทธศาสตร์ความมั่นคงฉบับใหม่ ปี 2015 (National Security Strategy 2015) หรือ รายงานนโยบาย แห่งชาติที่มีเนื้อหาครอบคลุมในหลากหลายด้าน อาทิ ด้านความมั่นคงทางการทหาร ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสาธารณสุข ตลอดจนด้านสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ ทางสถาบันคลังปัญญาฯ ได้ตระหนักถึง ความสําคัญของยุทธศาสตร์ความมั่นคงฉบับใหม่ ปี 2015 ว่าอาจจะส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์ ระหว่างสหรัฐอเมริกาและภูมิภาคต่างๆของโลก รวมถึงประเทศไทย ดังนั้น จึงได้กําหนดจัดประชุม เวทีสาธารณะ เรื่อง “โลกเปลี่ยนขั้วกับอนาคตประเทศไทย” โดยมีเป้าประสงค์เพื่อศึกษา แลกเปลี่ยน แนวคิด และสถานการณ์ความเปลี่ยนแปลงของโลกในปัจจุบัน ตลอดจนวิเคราะห์เพื่อหาแนวทางใน การปรับตัวของไทยให้ทันต่อแนวโน้มที่จะเกิดขึ้น โดยมีรายละเอียดเนื้อหาของการประชุมดังต่อไปนี้ แนวโนมใหมของโลกกับผลจากการปรับยุทธศาสตรของ สหรัฐอเมริกาในป2015 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจฯ มหาวิทยาลัยรังสิต อดีตท่านทูตสุรพงษ์ ชัยนาม รศ. ดร. วิวัฒน์ มุ่งการดี พลโทเจิดวุธ คราประยูร ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ อดีตท่านทูตสมปอง สงวนบรรพ์ ฉบับที่ 7 / 2558 POLICYPOLICY BRIEFBRIEF วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 2. โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 2 1. การขึ้นมามีอํานาจของสหรัฐอเมริกาหลังยุคสงครามเย็น หลังสิ้นสุดสงครามเย็นโลกทุนนิยมเสรีชัยชนะเหนือฝ่ายตรงข้าม พร้อมกับการขึ้นมามี บทบาทของสหรัฐอเมริกาในฐานะโลกตะวันตก โดยไม่มีขั้วอํานาจอื่นมาคาน เมื่อเหลือทางเลือก เดียว จึงเป็นปัจจัยส่งเสริมทําให้สหรัฐอเมริกาอยู่ในภาวะการใช้อํานาจเกินกว่าความจําเป็น โดย เอกอัครราชทูตสุรพงษ์ ชัยนาม ได้กล่าวถึงการใช้อํานาจของสหรัฐอเมริกาว่า “เป็นการใช้อํานาจเพื่อ นําไปสู่ความชอบธรรม แทนที่จะใช้ความชอบธรรมให้กลายเป็นอํานาจ” ทั้งนี้ แนวทางการขยายอํานาจของสหรัฐอเมริกามักกระทําผ่านการใช้อํานาจในรูปแบบอ่อน (Soft Power) อาทิ สื่อ และเครื่องมือทางการทูต และถ้าหากไม่สําเร็จผล มักดําเนินการต่อด้วยการ ใช้อํานาจในรูปแบบแข็ง(Hard Power) เช่น อํานาจด้านการทหาร มาตรการการควํ่าบาตร ดังจะที่ กล่าวดังต่อไปนี้ การใช้อํานาจในรูปแบบอ่อน (Soft Power) การใช้อํานาจในรูปแบบอ่อน (Soft Power) เป็นการใช้อํานาจในรูปแบบของการดึงดูด และ สร้างอิทธิพลต่อความคิด ซึ่งมักกระทําผ่านการแทรกซึมของสื่อ และรูปแบบทางการทูต โดย สหรัฐอเมริกามักหยิบยกหลักการที่สร้างขึ้นว่าด้วยสถานะพิเศษ (Exceptionalism) มาเป็นข้ออ้าง ในการใช้อํานาจในแทรกแซงรัฐอื่น โดยหลักการดังกล่าวมักอ้างถึงการที่สหรัฐอเมริกา มีสถานะ พิเศษกว่าประเทศอื่นๆในโลกนี้ โดยมีภาระที่ได้รับการดลบันดาลจากพระผู้เป็นเจ้าให้เป็นผู้นําและ เป็นตัวอย่างของประเทศที่บริสุทธิ์ผุดผ่อง เพราะฉะนั้นจะเห็นได้ว่านโยบายด้านการต่างประเทศของ สหรัฐอเมริกาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันมักแฝงไปด้วยหลักการดังกล่าวอยู่เสมอ ทั้งนี้รูปแบบการใช้อํานาจดังกล่าว มักมีจุดประสงค์ในการแทรกแซงกิจการภายในของ ประเทศอื่น และเพื่อเพิ่มพูนผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศตนเอง ผ่านการยัดเยียดค่านิยม แบบแผนหรือหลักการต่างๆ ที่ถูกอ้างว่าเป็นค่านิยมสากลและมีจุดประสงค์ในการช่วยปลดแอกมวล มนุษยชาติให้รอดพ้นจากการกดขี่ ความเหลื่อมลํ้าและปัญหาต่างๆ ยกตัวอย่าง เช่น ระบอบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมเสรี หลักการปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย หลักสิทธิมนุษยชน หลักธรรมมาภิบาล หลักนิติธรรม หลักสิทธิเสรีภาพ หลักอิสรภาพ และหลักสันติภาพ เป็นต้น
  • 3. โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 3 การใช้อํานาจในรูปแบบแข็ง (Hard Power) การใช้อํานาจในรูปแบบแข็ง (Hard Power) อาทิ การใช้อํานาจทางด้านการทหารหรือ มาตรการการควํ่าบาตร มักจะเกิดขึ้นถ้าหากการใช้อํานาจในรูปแบบอ่อนไม่สําเร็จผล แต่ทั้งนี้หลักการ แบบแผน หรือค่านิยมสากล ดังที่กล่าวไปในข้างต้น ก็มักจะถูกหยิบยกมาเป็นข้ออ้างเพื่อสร้าง ความชอบธรรมในการเข้าไปแทรกแซงกิจภายในของประเทศนั้นๆ ว่าเป็นการกระทําเพื่อผลประโยชน์ ส่วนรวมของทั้งโลก มิใช่ของประเทศใดประเทศหนึ่ง ผ่านการใช้อํานาจทางด้านการทหารหรือ มาตรการการควํ่าบาตร เสมือนเป็นระเบียบหรือวาระโลก(World Order) ซึ่งเกิดขึ้นใน สงครามอ่าว เปอร์เซีย สงครามอิรัก สงครามอัฟกานิสถาน และสงครามเวียดนาม เป็นต้น 2. วิ เคราะห์ยุทธศาสตร์ความมั่นคง 2015 (National Security Strategy 2015) ของสหรัฐอเมริกา 2.1. การปรับสมดุลทางด้านการทหาร (Military Rebalance) ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิ ก แผนยุทธศาสตร์ความมั่นคงฉบับนี้ สหรัฐอเมริกาได้เน้นไปที่แผนการปรับสมดุลทางการทหาร (Rebalancing) ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ทั้งนี้สหรัฐฯได้มีแผนในการเพิ่มกองกําลังใต้นํ้า โดยใช้เรือดํา นํ้า Literal Combat ในการตอบโต้กับยุทธศาสตร์ Anti-Access Area Denial – (A2AD) อันเป็น ยุทธศาสตร์ทางด้านการทหารของจีนที่กําหนดมาเพื่อรับมือกับสหรัฐอเมริกาโดยเฉพาะ นอกเหนือจากนี้ สหรัฐอเมริกายังได้มีการปรับและกระจายกองกําลังต่างๆในหลายพื้นที่ พร้อม ทั้งปรับโยกย้ายหน่วย First Call ที่เป็นกองกําลังปฏิบัติการในอิรักและตะวันออก ก ล า ง ม า ใ ห้ ประจําการ ณ กองบัญชาการภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก ขณะเดียวกันก็เพิ่มขีดความสามารถในการรับมือ ต่อขีปนาวุธ (missile defense) โดยจัดกองกําลังเข้าไปประจําการที่อลาสก้า และเกาะกวม อันเนื่อง มากจากความกังวลที่มีต่อขีดความสามารถทางด้านขีปนาวุธของเกาหลีเหนือที่เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาการปรับลดงบประมาณการตั้งรับของกระทรวงกลาโหม (defense budget) ที่ดูมีแนวโน้มว่าจะน้อยลงไปเรื่อยๆ กอปรกับการจัดสรรงบประมาณ ทางด้านการทหารเพียง แค่ 1-2% ให้ลงมาที่ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ก็จะเห็นได้ว่าแนวทางการปรับสมดุลทางด้านการทหารของ สหรัฐอเมริกาในครั้งนี้ ดูมีท่าทีที่อ่อนลงกว่าเดิม และมักมุ่งเน้นไปที่มิติทางด้านการทูตและเศรษฐกิจ มากกว่ามิติด้านความมั่นคงเหมือนในอดีต
  • 4. ทั้งนี้ พลโทเจิดวุธ คราประยูร ผู้บัญชาการวิทยาลัยเสนาธิการทหาร(วสท) เห็นว่าการปรับ โยกย้ายกองกําลังต่างๆ ของสหรัฐอเมริกานั้น น่าจะมีจุดประสงค์หลักเพื่อลดสถานการณ์ความตรึง เครียดกับจีน และตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ Joint Concept for Access and Maneuver Global Com- mons อันเป็นยุทธศาสตร์ที่แสดงให้เห็นว่าสหรัฐอเมริกาไม่ได้มีเจตนา ในการพุ่งเป้าการรบไปที่ ประเทศใดประเทศหนึ่ง 2.2 การเพิ่มความแข็งแกร่งของพันธมิตร (strengthening alliances) จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่า ท่าทีของสหรัฐอเมริกาต่อการใช้ยุทธศาสตร์ทางการทหารมีท่าทีที่ อ่อนลง ทั้งนี้แนวทางการเพิ่มความแข็งแกร่งของพันธมิตร (strengthening alliances) ก็เป็ น อีกหนึ่งแนวทางที่ถูกนํามาใช้ในแผนยุทธศาสตร์ความมั่นคงฉบับนี้สหรัฐอเมริกามีประเทศพันธมิตรใน เอเชียแปซิฟิก ได้แก่ ประเทศญี่ปุ่น เกาหลีใต้ออสเตรเลีย ฟิลิปปินส์และไทย โดยพันธมิตรที่มีลงนาม ในสนธิสัญญา(existing treaty) มีทั้งหมด 4 ประเทศ ส่วนประเทศไทยยังไม่ได้เข้าร่วม อันเนื่องมาก จากการดําเนินนโยบายแบบเป็นกลาง ทั้งนี้หากวิเคราะห์ดูจะเห็นได้ว่าสหรัฐฯ เพิ่มความร่วมมือด้าน การตั้งรับทางการทหาร (Defense Cooperation) กับฟิลิปปินส์และออสเตรเลียอย่างชัดเจน ส่วน สหรัฐฯได้ใช้ญี่ปุ่นเป็นช่องทางเศรษฐกิจ (Trans Pacific Partnership) ที่มีลักษณะคล้ายๆกับ ข้อตกลงกับการค้าเสรี (Free Trade Agreement) ของเอเชียแปซิฟิก นอกเหนือจากนี้ สหรัฐฯยังได้ประกาศถึงแนวทางการการให้ความช่วยเหลือในการ ผ ลัก ดัน ประเทศที่กําลังพัฒนาต่างๆให้ก้าวไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว(Deepening Partnership with Emerging Powers) โดยล่าสุดสหรัฐฯ เสนอแนวคิด New India Defense Trade Initiative ให้กับอินเดีย เป็น แนวคิดในการเสนอขายอาวุธยุทโธปกรณ์ทางการทหารที่ทันสมัยที่สุดของ สหรัฐฯ ส่วนอินโดนีเซีย สหรัฐฯได้เสนอแนวความคิด U.S. – Indo Comprehensive Partnership เพื่อดึงให้อินโดนีเซียเข้ามา มีส่วนร่วมกับสหรัฐฯมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ทั้งอินเดียและอินโดนีเซีย ดูเหมือนว่ายังคงต้องการดําเนินนโยบายที่เป็นกลาง และไม่ต้องการเป็นพันธมิตรทางด้านความมั่นคง (security partner) ต่อฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง แต่ทั้งนี้ จาก ปัญหาเรื่อง กรณีพิพาททะเลจีนใต้ ก็อาจเป็นหนึ่งในปัจจัยสนับสนุนที่ทํา ให้อินเดีย และอินโดนีเซีย ตลอดจนหลายๆประเทศที่มีปัญหาทางด้านความมั่นคงกับจีน หันมาสนับสนุนสหรัฐอเมริกาก็เป็นได้ 3. ความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐอเมริกากับจีน การที่จีนสามารถพัฒนาเศรษฐกิจได้อย่างก้าวกระโดด จนทําให้วันนี้จีนกลายเป็น มหาอํานาจทางเศรษฐกิจที่ยิ่งใหญ่ของโลกในปัจจุบัน ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ระบอบอภิมหาอํานาจเพียง หนึ่งเดียวในอุดมคติของสหรัฐอเมริกากําลังจะสั่นคลอน ทั้งนี้ขีดความสามารถทางด้านการทหารที่ เพิ่มขึ้นของจีน โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 4
  • 5. จะทําให้จีนกลายเป็นคู่แข่งที่ท้าทายของสหรัฐอเมริกาและประเทศตะวันตกในการเป็นมหาอํานาจของ โลกได้ในไม่ช้า นอกจากนี้ อีกหนึ่งสิ่งที่สําคัญที่สุดต่อการขึ้นมามีบทบาทของจีน คือ การแสดงให้โลก เห็นว่าระบอบที่สามารถพัฒนาเศรษฐกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ได้ถูกจํากัดไว้เพียงแค่ในระบอบ ทุนนิยมเสรีของสหรัฐอเมริกาเท่านั้น ด้วยเหตุนี้ สหรัฐอเมริกาจึงได้ชักจูงให้จีนเข้าร่วมในการเป็น สมาชิกสถาบันหรือองค์กรระหว่างประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์ในการตีกรอบให้จีนต้องปฏิบัติตาม ระเบียบสนธิสัญญาและข้อบังคับต่างๆตามที่ได้กําหนดไว้ 4. แนวโน้มในอนาคตของสหรัฐอเมริกาและโลก 4.1 การแสวงหาพันธมิตรเพื่อรักษาผลประโยชน์ของตนเอง แนวโน้มนโยบายของสหรัฐฯในอีก 10 ปีข้างหน้ามีความเป็นไปได้ว่า สหรัฐอเมริกายังคงพุ่ง เป้าไปที่การแสวงหารัฐบริวาร (Client States) เพื่อใช้ในการส่งเสริมประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจและ ด้านความมั่นคงให้กับประเทศตนเอง ตลอดจนคานอํานาจกับจีน หรือประเทศที่จะขึ้นมามีบทบาทใน อนาคต สิ่งหนึ่งที่สหรัฐฯกังวลมากที่สุด คือ การสั่นคลอนของระบอบทุนนิยมโดยลัทธิชาตินิยมของ ประเทศต่างๆในประเทศที่กําลังพัฒนาและด้อยพัฒนา ทั้งนี้ ระบอบทุนนิยมเป็นระบอบที่สหรัฐฯ สามารถใช้ในการกอบโกยหาผลประโยชน์ให้กับชาติตนเองได้มากที่สุด ดังนั้น สหรัฐฯและประเทศ ตะวันตกจึงหาแนวทางป้องกันการสั่นคลอนของระบอบทุนนิยม ยกตัวอย่าง การสร้างสถาบันการเงิน ระหว่างประเทศที่มีระเบียบสนธิสัญญาและข้อบังคับต่างๆ โดยสนธิสัญญา เหล่านี้จะเป็นกรอบและ เครื่องมือในการกํากับและแทรกแซงการดําเนินการของประเทศสมาชิกต่างๆ 4.2 สหรัฐอเมริกาจะเข้าสู่ภาวะถดถอย ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ อธิการวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลังรังสิตเห็นว่า ขณะนี้สถานะทางเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกามีภาวะถดถอย จากเดิมที่เศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกามี GDP อยู่ที่ 50% ของโลก แต่ ณ ขณะนี้ อยู่ที่ 20-25% ของโลกและกําลังจะถดถอยลงไปเรื่อยๆ ขณะเดียวกัน สหรัฐฯก็ยังเป็นลูกหนี้รายใหญ่ที่สุดในโลกอีกด้วย โดยงบประมาณที่สหรัฐฯต้องใช้ใน การจ่ายคืนหนี้สูงเท่ากับงบประมาณของกระทรวงกลาโหม เพราะฉะนั้นคาดการณ์ว่าสหรัฐอเมริกาคง ไม่สามารถเพิ่มงบประมาณทางด้านการทหารได้มากกว่านี้ 4.3 โลกจะเข้าสู่ภาวะหลายขั้วอํานาจ จากที่กล่าวไปในข้างต้น จะเห็นไว้ว่าสหรัฐอเมริกากําลังจะเข้าสู่ภาวะถดถอย ทั้งนี้ ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์และอดีตเอกอัครราชทูต สุรพงศ์ ชัยนาม เห็นตรงกันว่า โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 5
  • 6. สหรัฐฯ ควรปรับเปลี่ยนแนวความคิดในการเป็นอภิมหาอํานาจเพียงหนึ่งเดียวในโลก มาสู่ แนวความคิดที่ว่าโลกควรจะมีหลายขั้วอํานาจ โดยอํานาจในด้านต่างๆนั้น ต้องไม่ตกอยู่ใน มื อ ข อ ง กลุ่มบุคคลใดบุคคลหนึ่ง เพื่อสร้างความความสมดุลและเกิดการถ่วงดุลอํานาจอย่างเท่าเทียมกัน 5. ข้อเสนอแนะต่อแนวทางการปรับเปลี่ยนนโยบายการต่างประเทศของไทย 5.1 กําหนดนโยบาย Omni-directional policy โดยแยกยุทธศาสตร์ความมั่นคงและ เศรษฐกิจให้ออกจากกันอย่างชัดเจน ไทยควรกําหนดนโยบาย Omni-directional policy หรือนโยบายที่ไปสู่ทุกทิศทางที่ใช้อยู่ใน ปัจจุบันให้มีความชัดเจนมากขึ้น และควรเป็นแนวทางที่สามารถแสวงหาพร้อมกับรักษาผลประโยชน์ แห่งชาติเอาไว้ให้ได้มากที่สุด ยกตัวอย่าง กรณีของประเทศออสเตรเลียและเกาหลีใต้ที่แยก ยุทธศาสตร์ทางด้านความมั่นคงและเศรษฐกิจออกจากกันอย่างชัดเจน ทําให้ถึงแม้ด้านความมั่นคงจะ เป็นพันธมิตรกับสหรัฐอเมริกา แต่ด้านเศรษฐกิจก็ยังสามารถค้าขายกับจีนได้ เป็นต้น 5.2 กําหนดนโยบายการต่างประเทศให้มีความหลากหลายมากขึ้น ในรอบสิบปีที่ผ่านมา มีหลายประเทศที่มีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่สูงขึ้นอย่างเห็น ได้ชัด โดยอันดับหนึ่ง คือประเทศอิควิเตอเรียลกีนี ซึ่งอยู่ในทวีปแอฟริกาโตมีอัตราการเติบโตสูงสุดอยู่ ที่ 18.5% ต่อปี อันดับสอง คือ อาเซอไบจัน 15.9% ต่อปี อันดับสาม คือ เตอร์กเมนิสถาน 14.4% ต่อปี อันดับสี่คือมาเก๊า 13.6% ต่อปี อันดับห้าคือกาตาร์ 13.5% ต่อปี อันดับหกคืออัฟกานิสถาน 13.2% ต่อปี ข้อสังเกตที่น่าสนใจจะเห็นว่า ประเทศไทยกับประเทศดังกล่าวข้างต้นแทบจะไม่มี ความสัมพันธ์อย่างแนบชิดกัน ดังนั้นสิ่งที่ประเทศไทยควรให้ความสําคัญ คือ การปรับเปลี่ยนนโยบาย การต่างประเทศให้มีความหลากหลายและเปิดกว้างมากยิ่งขึ้น ไม่ใช่สนใจแต่ประเทศตะวันตกเพียง อย่างเดียว 5.3 ควรกําหนดนโยบายที่คํานึงถึงผลประโยชน์แห่งชาติเป็นตัวตั้ง อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าไทยจะดําเนินนโยบายไปในทิศทางใด สิ่งที่สําคัญที่สุด คือ การ คํานึงถึง ผลประโยชน์แห่งชาติสูงสุด ซึ่งไทยควรเข้าใจถึงความชอบธรรมของอํานาจอธิปไตยในการบริหารงาน ภายในประเทศ ไม่ว่าไทยจะเผชิญกับแรงกดดันจากภายในและภายนอกประเทศขนาดไหน โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 6
  • 7. 6. สรุป จากที่กล่าวทั้งหมดข้างต้น จะเห็นได้ถึงการเปลี่ยนแปลงของบทบาทและสถานะของขั้วอํานาจ หลักในโลก สิ่งหนึ่งที่แสดงให้เห็น คือ แบบแผนหรือวาทกรรมสากลที่สหรัฐอเมริกาพยายามยัดเยียด ให้ประเทศต่างๆได้ใช้นั้น ไม่ได้สัมฤทธิ์ผลเสมอไป ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบการปกครองแบบ ประชาธิปไตยและเศรษฐกิจแบบทุนนิยมเสรี ทั้งนี้เราจะเห็นได้ว่า ถึงแม้จะมีการใช้ระบอบ ประชาธิปไตยในประเทศนั้นๆจริง แต่ในหลากหลายครั้งผู้คนในประเทศนั้นก็ยังขาดความเป็นนัก ประชาธิปไตย (Democracy without Democrat) ทําให้กลายเป็นประชาธิปไตยในแบบที่ไม่สมบูรณ์ นอกเหนือจากนี้ เรายังได้เห็นถึงประสบการณ์อันล้มเหลว ที่เกิดจากการนําหรือถูกยัดเยียดแบบแผน ของสหรัฐอเมริกามาใช้ในหลายๆประเทศ อาทิ ภาวะสงครามครามกลางเมือง ภาวะขาดแคลนอาหาร ภาวะเศรษฐกิจตกตํ่า เป็นต้น ขณะนี้สหรัฐอเมริกากําลังเผชิญกับการต่อต้านอาณานิคมสมัยใหม่(anti-colonialist move- ment) รวมถึงภาวะชาตินิยมของประเทศกําลังพัฒนาและด้อยพัฒนา ทั้งนี้ภายใต้สภาวการณ์ดังกล่าว ไทยควรริเริ่มในการปรับเปลี่ยนนโยบายความมั่นคงและการต่างประเทศให้ก้าวทันต่อความ เปลี่ยนแปลงของโลกที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากนี้ สหรัฐอเมริกาควรจะทําความเข้าใจต่อการ เปลี่ยนแปลงของโลก โดยการแบ่งอํานาจในโลกด้วยการสร้างระเบียบโลกแบบใหม่ ที่ไม่ได้ผูกขาดแต่ ตะวันตก แต่ให้มีการผสมผสานความเป็นตะวันตกและตะวันออก สู่การเป็นโลกที่มีความเป็นพหุนิยม มากขึ้น โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 7
  • 8. โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 8 เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ผู้อํานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล ถอดความและเรียบเรียง: นางสาวอนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล บันทึกเทปการประชุม: นายพิพัฒพงศ์ ชูประสิทธิ์ ผู้ประสานงาน: อ.อารณีย์ วิวัฒนาภรณ์ นางพัชร์พิชา เคียงธนสมบัติ ปีที่พิมพ์: เมษายน 2558 สํานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ ที่อยู่ติดต่อ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต52/347 พหลโยธิน 87 ตําบลหลักหก อําเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064