SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 37
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง Fantastic  ㅐㅏ ㅇㄹ 노ㅕㅐㅅㅓㅁ “มหัศจรรย์กระดาษจากใบเตย”
อาจารย์ที่ปรึกษา “อ.กาญดา   วงค์ภักดี” โรงเรียนน้ำพองศึกษา
จัดทำโดย รายชื่อผู้จัดทำ 1.นายวิษณุ	 สุยะมงคล    เลขที่ 7 	2.นายสหรัฐ	 บุญฤทธิ์	เลขที่ 9 	3.นายอณวัตร	       จันทร์เหล่อ  เลขที่ 10 	4.นางสาวจิราภรณ์  จันทร์เพ็ง   เลขที่ 17 	5.นางสาวชลธิชา	ชินบุตร	    เลขที่ 18 	6.นางสาวณัฐชริดา   บัวใหญ่รักษา	เลขที่ 19 	7.นางสาวอรณิชชา   อาบสุวรรณ   เลขที่ 20
+บทคัดย่อ+ จุดมุ่งหมายของโครงงานเพื่อหาสูตรที่เหมาะสมจากกระดาษรีไซเคิลใบเตย  โดยใช้กระดาษหนังสือพิมพ์  กระดาษโรเนียวและกระดาษกล่องเป็นส่วนผสมเพื่อเปรียบเทียบสีที่เหมาะสมการทำกระดาษรีไซเคิล  วัตถุที่ใช้ทดลองได้แก่สีชนิดต่างๆ	นำ (สีผสมอาหาร  สีย้อมผ้า) เยื่อกระดาษต่างๆ(กระดาษโรเนียล กระดาษกล่องและกระดาษหนังสือพิมพ์) ผลการทดลองปรากฎว่ากระดาษรีไซเคิลที่ผลิตจากใบเตยหอมกับกระดาษหนังสือพิมพ์  อัตตราส่วน 200/500 กรัม  เป็นอัตตราส่วนที่เหมาะสมที่สุดในการทำกระดาษรีไซเคิล    รองลงมาคือใบเตยหอมกับกระดาษโรเนียว และใบเตยหอมกับกระดาษกล่องปรากฎว่าสีที่ใช้ในการผสมทำกระดาษษาที่มีคุณภาพดีที่สุดได้แก่  สีย้อมผ้ารองลงมาคือ สีผสมอาหาร ตามลำดับ โดยใช้ปริมาณสีของกระดาษแต่ละประเภทที่เท่ากัน จำนวน 15 กรัม 
+กิตติกรรมประกาศ+ 	คณะผู้จัดทำขอขอบพระคุณผู้ปกครองที่ให้ความสนับสนุนในการใช้สถานที่ในการทำงาน และขอขอบพระคุณอาจารย์ที่ให้คำปรึกษาและให้คำแนะนำ ที่ดีๆสามารถนำมาปรับปรุงโครงงานให้สมบูรณ์แบบ ขอขอบใจเพื่อนที่มีส่วนร่วมในการทำโครงงานในครั้งนี้ จนกระทั้งทำงานสำเร็จด้วยดี
+ที่มาและความสำคัญ+ ใบเตยหอมเป็นพืชสมุนไพร  ในอดีตนิยมนำใบเตยหอม มาประกอบอาหารและทำขนมหวานใช้แต่งกลิ่นเวลาหุงข้าวเจ้าและข้าวเหนียว ใบเตยมักจะขึ้นในที่ชื้นแฉะใกล้น้ำ  มีสีเขียว  รูปเรียวยาวคล้ายหอกและมีกลิ่นหอมเย็น  ไม่มีดอก  ขยายพันธุ์โดยใช้หน่อ  และใบเตยมีจำนวนมากในท้องถิ่นและเป็นพืชที่หาง่ายจึงนำใบเตยมาแปลรูปทำเป็นกระดาษกระดาษรีไซเคิลเป็นกระดาษชนิดหนึ่ง  ที่ทำมาจากกระดาษเหลือใช้  แล้วนำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ได้อย่างมากมาย  เช่น ทำกล่องกระดาษ  ที่คั่นหนังสือ  กระดาษห่อของขวัญ  ปกสมุดไดอารี่  ถุงกระดาษ  ฯลฯใน  คณะผู้จัดทำจึงมีแนวคิดที่จะนำใบเตยมาทำเป็นกระดาษรีไซเคิล  เพราะใบเตยเป็นพืชที่มีเส้นใยสูง  จึงเหมาะอย่างยิ่งที่จะนำมาทำเป็นกระดาษรีไซเคิลเหมือนกับวัสดุธรรมชาติอื่น ๆ
จุดมุ่งหมายของโครงงาน                     1.   เพื่อหาสูตรที่เหมาะสมสำหรับการทำกระดาษรีไซเคิลจากใบเตยหอมโดยใช้กระดาษหนังสือพิมพ์ กระดาษโรเนียว และกระดาษกล่องเป็นส่วนผสม                   2.   เพื่อเปรียบเทียบสีที่เหมาะสมการทำกระดาษรีไซเคิล สมมติฐานของโครงงาน                     ใบเตยสามารถนำมาทำเป็นกระดาษเหมือนกับต้นปอสาได้ ประโยชน์ของโครงงาน  1.   ได้สูตรที่เหมาะสมในการทำกระดาษสาจากใบเตยโดยใช้กระดาษหนังสือพิมพ์กระดาษโรเนียว  และกระดาษกล่องเป็นส่วนผสม 2.   ได้ผลิตภัณฑ์ที่ประดิษฐ์ขึ้นจากกระดาษรีไซเคิล
+ความเป็นมาของกระดาษสา+   การแปรรูปกระดาษเหลือใช้ให้เป็นกระดาษสา  มีมานาน  20  กว่าปีแล้วโดยนายเจริญ  เหล่าปิ่นตา  ได้สืบทอดการทำกระดาษสามาจากคุณทวด  ซึ่งในสมัยก่อนนั้นไม่ได้ทำกันอย่างแพร่หลายเหมือนสมัยนี้  จะทำกันเฉพาะเมื่อต้องการเขียนยันต์ทำไส้เทียนและทำตุงของเชียงใหม่เท่านั้น ตั้งแต่นั้นมาก็ได้มีการทำกระดาษสาจากที่เคยทำสีขาวก็คิดหาวิธีทำเป็นหลายๆสี  และมีลวดลายมากยิ่งขึ้น  ซึ่งได้รับความสนใจจากคนไทยและต่างประเทศเป็นอย่างมาก  ทำให้ท่านมีกำลังใจที่จะผลิตงานศิลปะ  กระดาษสามากยิ่งขึ้น  แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆเช่น กระดาษ  ดอกไม้  ฯลฯ  และยังได้เผยแพร่กระทำกระดาษสาไปยังหมู่บ้านอื่น ๆ และสอนวิธีการทำกระดาษสาให้เพื่อเป็น การอนุรักษ์สืบทอดจากบรรพบุรุษของบ้านต้นเปา  ซึ่งเป็นแหล่งผลิตกระดาษสาดั่งเดิมของเชียงใหม่  โดยในอดีตการทำกระดาษสานั้นเพื่อนำไปใช้ในการผลิตร่มและพัด
+ วิธีการดำเนินงาน +
+ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมวัตถุดิบ+ 	แยกชนิดของกระดาษแล้วตัดเป็นชิ้นเล็กๆ  แล้วนำไปแช่น้ำประมาณ 10 นาทีจากนั้นนำกระดาษไปปั่นแล้วหั่นใบเตยจากนั้นก็นำไปปั่น
+ขั้นตอนที่ 2 การผสมวัตถุดิบ +           นำกระดาษที่ปั่นแล้วผสมกับเยื่อใบเตย 400  ต่อ 200 กรัม
+ขั้นตอนที่ 3 การทำเป็นแผ่นกระดาษ + 	นำกระดาษที่ผสมกับใบเตยใส่ในอ่างหรือภาชนะที่เหมาะสม  ใส่น้ำให้มีระดับพอเหมาะแล้วใช้ไม้พายคนเยื่อในอ่างน้ำให้ทั่ว  เพื่อให้เยื่อลอยตัวและกระจายออกจากกันอย่างสม่ำเสมอ จากนั้นนำแม่พิมพ์สำหรับทำแผ่นกระดาษมาช้อนเยื่อต่อไปซึ่งมีการทำแผ่นได้  2  วิธีคือ          3.1       แบบตัก  ใช้แม่พิมพ์ซึ่งมีลักษณะเป็นตะแกรงไนล่อนขนาดกว้าง  40  ซม.  ยาว  60 ซม.  ( ขนาดตะแกรงขึ้นอยู่กับขนาดกระดาษที่ต้องการ )  ช้อนตักเยื่อเข้าหาตัวยกตะแกรงขึ้นตรง ๆ แล้วเทน้ำออกไปทางด้านหน้าโดยเร็ว  จะช่วยให้กระดาษมีความสม่ำเสมอ          3.2       แบบแตะ มักใช้ตะแกรงที่ทำจากผ้าใยบัวหรือผ้ามุ้ง  ซึ่งมีเนื้อละเอียดและใช้วิธีชั่งน้ำหนักของเยื่อ  เป็นตัวกำหนดความหนาของแผ่นกระดาษ  นำเยื่อใส่ในอ่างน้ำใช้มือแตะเกลี่ยกระจายเยื่อบนแม่พิมพ์ให้สม่ำเสมอ
+ขั้นตอนที่ 4 การลอกกระดาษ + 	นำตะแกรงไปตากแดดประมาณ  1 - 3  ชั่วโมง  กระดาษสาจะแห้งติดกันเป็นแผ่น จึงลอกกระดาษสาออกจากแม่พิมพ์   สามารถทำกระดาษสาได้ประมาณ 10  แผ่น และกระดาษสาที่ได้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง  มีการตัดแปลงมาใช้ทำสิ่งของต่าง ๆ มากขึ้น  แต่เดิมส่วนใหญ่ใช้ทำร่ม  ว่าว  กระดาษห่อของ  กระดาษแบบเสื้อ  กระดาษที่ใช้เขียนพุทธประวัติ คัมภีร์  ฯลฯ  เป็นต้น  ปัจจุบันนำมาใช้อย่างกว้างขวาง  เช่น  สมุดจดที่อยู่  เบอร์โทรศัพท์  กระดาษเขียนจดหมายพร้อมซอง           บัตรอวยพรต่าง ๆ ดอกไม้ประดิษฐ์  โคมไฟ  กระดาษเช็ดมือ  กระดาษชำระใช้ซับเลือด  กระดาษห่อเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์  
+ทำการทดลอง +
วัสดุและ วัสดุ  อุปกรณ์ อุปกรณ์ที่ใช้ในโครงงานวิทยาศาสตร์  เรื่อง  กระดาษสาหรือกระดาษรีไซเคิลจากใบเตย  มีดังนี้          1.   มีด  11.   กะละมัง          2.   กระดาษหนังสือพิมพ์12.   สีโปสเตอร์          3.   กรรไกร  13.   สีย้อมผ้า          4.   กระดาษโรเนียว14.   ผ้าขาวบาง          5.   เครื่องปั่น  15.   สีผสมอาหาร          6.   กระดาษกล่อง  16.   กระชอน          7.   ปลั๊กไฟ                  17.   หม้อ          8.   ตะแกรงไนล่อน ( เฟรม )18.   เตาไฟ          9.   อ่างน้ำ    19.   เครื่องชั่ง          10.   กะละมัง20.   พืชที่ใช้							ทดลอง  ได้แก่  ใบเตยหอม          
วิธีการทดลอง             วิธีการทดลอง  แบ่งออกเป็น  3  ขั้นตอน ขั้นตอนที่  1  การหาสูตรที่เหมาะสมในการทำกระดาษสาจากใบเตยหอม                      ขั้นตอนที่  2  ทดลองชนิดของสีที่ติดได้ดีกับกระดาษสาที่ผลิตจากใบเตยหอมขั้นตอนที่  3 การนำกระดาษสาที่ผลิตไปแปรรูปใช้ประโยชน์
ขั้นตอนที่  1  การหาสูตรที่เหมาะสมในการทำกระดาษสาจากใบเตยหอม  การทดลองแบ่งออกเป็น  4  กลุ่ม            กลุ่มที่  1  ใบเตยหอม + กระดาษโรเนียว          กลุ่มที่  2  ใบเตยหอม  + กระดาษกล่อง          กลุ่มที่  3  ใบเตยหอม  + กระดาษหนังสือพิมพ์          กลุ่มที่  4  กลุ่มควบคุมใบเตยหอม
กลุ่มที่ 1 ใบเตยหอม 200 กรัม + กระดาษหนังสือพิมพ์ 400 กรัม  วิธีทำ           1.   นำใบเตยหอมจำนวน 2,000 กรัม มาล้างน้ำให้สะอาด จากนั้นนำใบเตยหอมมาหั่นเป็นชิ้นเล็กๆยาวประมาณ 2-3 เซนติเมตร          2.   นำใบเตยหอมที่หั่นแล้วมาปั่นให้ละเอียดจนเกิดใย ซึ่งใช้เวลาในการปั่นประมาณ  3  นาที          3.   นำใบเตยหอมที่ปั่นแล้วมาผสมกับกระดาษโรเนียวที่เตรียมไว้ในอัตราส่วน2000 : 5000  ( ใบเตย 2000 กรัม กระดาษโรเนียว 5000 กรัม ) จากนั้นก็นำไปปั่นต่อประมาณ 5 นาที         
          4.   เมื่อปั่นเสร็จแล้วนำส่วนผสมที่ได้ไปใส่ตระแกรงไนล่อนขนาดกว้าง 30 เซนติเมตร ยาว 45 เซนติเมตร ( ขนาดตระแกรงขึ้นอยู่กับกระดาษที่ต้องการ ) จากนั้นนำไปร่อนในอ่างน้ำเพื่อให้เยื่อลอยตัวและกระจายตัวออกจากกันอย่างสม่ำเสมอ          5.   นำตะแกรงไนล่อนไปตากแดดประมาณ 1 วัน กระดาษสาจะแห้งติดกันเป็นแผ่นจึงลอกกระดาษสาออกจากตะแกรงไนล่อน
บันทึกผลการทดลอง                     1. ด้านละเอียดและหยาบของเส้นใยและเนื้อเยื่อของกระดาษ          2. ความเหนียวของกระดาษสา บันทึกโดยชุดทดลองแรงดึงต้านทานโดยการใช้แรต้านทานกับกระดาษ โดยเพิ่มนำหนักถุงทรายทีละ 100 กรัม          3. การดูดซับโดยใช้น้ำมันพืชหยดลงบนกระดาษแล้ว ดูการกระจายเป็นเส้นผ่านศูนย์กลางน้ำมันที่กระจายตัวบนกระดาษที่ซับน้ำมันไว้
กลุ่มที่ 1 ใบเตยหอม 200 กรัม + กระดาษหนังสือพิมพ์ 400 กรัม  วิธีทำ           1.   นำใบเตยหอมจำนวน 2,000 กรัม มาล้างน้ำให้สะอาด จากนั้นนำใบเตยหอมมาหั่นเป็นชิ้นเล็กๆยาวประมาณ 2-3 เซนติเมตร          2.   นำใบเตยหอมที่หั่นแล้วมาปั่นให้ละเอียดจนเกิดใย ซึ่งใช้เวลาในการปั่นประมาณ  3  นาที          3.   นำใบเตยหอมที่ปั่นแล้วมาผสมกับกระดาษโรเนียวที่เตรียมไว้ในอัตราส่วน2000 : 5000  ( ใบเตย 2000 กรัม กระดาษโรเนียว 5000 กรัม ) จากนั้นก็นำไปปั่นต่อประมาณ 5 นาที         
          4.   เมื่อปั่นเสร็จแล้วนำส่วนผสมที่ได้ไปใส่ตระแกรงไนล่อนขนาดกว้าง 30 เซนติเมตร ยาว 45 เซนติเมตร ( ขนาดตระแกรงขึ้นอยู่กับกระดาษที่ต้องการ ) จากนั้นนำไปร่อนในอ่างน้ำเพื่อให้เยื่อลอยตัวและกระจายตัวออกจากกันอย่างสม่ำเสมอ          5.   นำตะแกรงไนล่อนไปตากแดดประมาณ 1 วัน กระดาษสาจะแห้งติดกันเป็นแผ่นจึงลอกกระดาษสาออกจากตะแกรงไนล่อน บันทึกผลการทดลอง                     1. ด้านละเอียดและหยาบของเส้นใยและเนื้อเยื่อของกระดาษ          2. ความเหนียวของกระดาษสา บันทึกโดยชุดทดลองแรงดึงต้านทานโดยการใช้แรต้านทานกับกระดาษ โดยเพิ่มนำหนักถุงทรายทีละ 100 กรัม          3. การดูดซับโดยใช้น้ำมันพืชหยดลงบนกระดาษแล้ว ดูการกระจายเป็นเส้นผ่านศูนย์กลางน้ำมันที่กระจายตัวบนกระดาษที่ซับน้ำมันไว้
กลุ่มที่ 2 ใบเตย 200 กรัม + กระดาษกล่อง 400 กรัมทำการทดลองและบันทึกผลการทดลองแบบเดียวกับกลุ่มที่ 1 แต่แตกต่างกันตรงที่ใช้กระดาษกล่องแทนกระดาษโรเนียว             กลุ่มที่ 3 ใบเตย 200 กรัม + กระดาษหนังสือพิมพ์ 400 กรัมทำการทดลองและบันทึกผลการทดลองแบบเดียวกับกลุ่มที่ 1 แต่แตกต่างกันตรงที่ใช้กระดาษหนังสือพิมพ์แทนกระดาษโรเนียว             กลุ่มที่ 4 กลุ่มควบคุมใบเตย 200 กรัม ทำการทดลองและบันทึกผลการทดลองแบบเดียวกับกลุ่มที่ 1 แต่แตกต่างกันตรงที่ใช้ใบเตยหอมอย่างเดียว
ขั้นตอนที่  2  ทดลองชนิดของสีที่ติดได้ดีกับกระดาษสาที่ผลิตจากใบเตยหอม การทดลองแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม          กลุ่มที่ 1 สีโปสเตอร์                     กลุ่มที่ 2 สีผสมอาหาร          กลุ่มที่ 3 สีย้อมผ้า    วิธีการทดลอง            ใช้กลุ่มการทดลองที่ดีที่สุดขั้นตอนที่  2  มาทดลองย้อมสีชนิดต่างๆ          
การย้อมสี           1.   นำเยื่อกระดาษใส่ลงไปในนำสีที่เตรียมไว้          2.   การเตรียมนำสีเตรียมได้โดยใช้นำสี  15  กรัม  ต้มในน้ำ  2 ลิตร            3.   นำเยื่อกระดาษแต่ละกลุ่มมาแช่น้ำสีทิ้งไว้  15  นาที  แล้วนำมาเตรียมไว้เพื่อนำไปใส่ตะแกรงไนล่อนแล้วร่อนในน้ำสี          4.   จากกนั้นก็นำไปตากแดดไว้ประมาณ  1  วัน  บันทึกผลการทดลอง            บันทึกลักษณะสีที่ติด การกระจายของสีบนเยื่อกระดาษที่ผลิต  ขั้นตอนที่ 3 การนำกระดาษสาที่ผลิตไปแปรรูปใช้ประโยชน์ การนำกระดาษที่ผลิตไปแปรรูปใช้ประโยชน์  เช่น  นำไปทำกล่องกระดาษทิชชู  จัดบอร์ด  ทำดอกไม้  การ์ดอวยพรต่างๆ  ที่ขั้นหนังสือ  ถุงกระดาษ  ฯลฯ 
  ขั้นตอนที่ 3 การนำกระดาษสาที่ผลิตไปแปรรูปใช้ประโยชน์           การนำกระดาษที่ผลิตไปแปรรูปใช้ประโยชน์  เช่น  นำไปทำกล่องกระดาษทิชชู  จัดบอร์ด  ทำดอกไม้  การ์ดอวยพรต่างๆ  ที่ขั้นหนังสือ  ถุงกระดาษ  ฯลฯ  ผลการทดลอง ตอนที่  1  การหาสูตรที่เหมาะสมการทำกระดาษสารีไซเคิล           จากการทดลองคณะผู้จัดทำได้ทำการทดลองหาสูตรที่เหมาะสมกับการทำกระดาษสา  ได้ใช้กระดาษโรเนียว  กระดาษกล่องและกระดาษหนังสือพิมพ์  โดยมีใบเตยหอมเป็นตัวควบคุม   ผลการทดลองปรากฏ  ดังตาราง  1
ตาราง  1  แสดงผลการทดลองการผสมใบเตยหอมกับกระดาษชนิดต่าง ๆ
จากตาราง  1  พบว่า  กระดาษสารีไซเคิลที่ทำจากใบเตยหอมกับกระดาษหนังสือพิมพ์   อัตราส่วน  200  :  400  กรัม  มีคุณภาพดีที่สุด  รองลงมา  คือ  ใบเตยหอมกับกระดาษโรเนียว  และใบเตยหอมผสมกระดาษกล่อง ตามลำดับโดยใช้ใบเตยหอมเป็นตัวควบคุม  ( control )    
เกณฑ์การทดลองการผสมใบเตยหอมกับกระดาษชนิดต่าง ๆ            ดีมาก   หมายถึง   เยื่อกระดาษมีเนื้อละเอียด  ผิวเรียบสม่ำเสมอมีการจับตัว และประสานยึดแน่นเป็นเนื้อเดียวกัน          ดี    หมายถึง   เยื่อกระดาษส่วนใหญ่มีเนื้อละเอียด  ผิวเรียบสม่ำเสมอมีการจับตัวและประสานยึดแน่นเป็นเนื้อเดียวกัน          พอใช้  หมายถึง   เยื่อกระดาษบางส่วนมีเนื้อละเอียด  ผิวเรียบสม่ำเสมอมีการจับตัว และประสานยึดแน่นเป็นเนื้อเดียวกัน          ปรับปรุง  หมายถึง   เยื่อกระดาษเนื้อไม่ละเอียด  ผิวไม่เรียบ  ไม่มีการจับตัว และประสานยึดแน่นเป็นเนื้อเดียวกัน
ตอนที่  2 การเปรียบเทียบสีที่เหมาะสมการทำกระดาษสารีไซเคิล                    จากการทดลองคณะผู้จัดทำได้ทำการทดลองเพื่อเปรียบเทียบสีที่เหมาะสมการทำกระดาษสา  ผลการทดลองปรากฏ  ดังตาราง  2 จากตาราง  2  พบว่า  สีที่ใช้ผสมในการทำกระดาษสากระดาษสาที่มีคุณภาพดีที่สุด  ได้แก่  สีย้อมผ้า  รองลงมาคือ  สีผสมอาหาร  ตามลำดับ 
เกณฑ์การเปรียบเทียบสีที่เหมาะสมการทำกระดาษสารีไซเคิล ดีมาก           หมายถึง     เนื้อสีกับเยื่อกระดาษผสมเป็นเนื้อเดียวกัน  มากกว่า ร้อยละ  95ดี                 หมายถึง     เนื้อสีกับเยื่อกระดาษผสมเป็นเนื้อเดียวกัน  ร้อยละ  85 พอใช้          หมายถึง     เนื้อสีกับเยื่อกระดาษผสมเป็นเนื้อเดียวกัน  ร้อยละ  65 ปรับปรุง      หมายถึง     เนื้อสีกับเยื่อกระดาษผสมเป็นเนื้อเดียวกัน  น้อยกว่า ร้อยละ  50
สรุปผล
จุดมุ่งหมายของโครงงาน                     1.   เพื่อหาสูตรที่เหมาะสมสำหรับการทำกระดาษรีไซเคิลจากใบเตยหอมโดยใช้กระดาษหนังสือพิมพ์ กระดาษโรเนียว และกระดาษกล่องเป็นส่วนผสม                   2.   เพื่อเปรียบเทียบสีที่เหมาะสมการทำกระดาษรีไซเคิล วัสดุที่ใช้ทดลอง           1.   สีชนิดต่าง ๆ  ได้แก่                    1.1    สีย้อมผ้า                    1.2    สีผสมอาหาร          2.   เยื่อกระดาษต่าง ๆ                    2.1    กระดาษโรเนียว                    2.2    กระดาษกล่อง                    2.3    กระดาษหนังสือพิมพ์
ระยะเวลาที่ทำโครงงาน       ระยะเวลาที่ทำการโครงงาน  ได้แก่  วันที่ 13  พฤศจิกายน  2553 -  30  ธันวาคม  2553 ตัวแปรที่ทำการโครงงาน            1.   ตัวแปรต้น   ได้แก่ อัตราส่วนของใบเตย          2.   ตัวแปรตาม  ได้แก่คุณภาพของกระดาษสารีไซเคิล                    
สรุปผลการทดลอง            1.   กระดาษสาที่ผลิตจากใบเตยหอมกับกระดาษหนังสือพิมพ์               อัตราส่วน  200  : 500  กรัม  เป็นอัตราส่วนที่เหมาะสมที่สุดในการทำเป็นกระดาษสา  รองลงมาคือ  ใบเตยหอมกับกระดาษโรเนียว  และใบเตยหอมกับกระดาษกล่อง  ตามลำดับโดยใช้ใบเตยหอมเป็นตัวควบคุม ( control )           2.   สีที่เหมาะสมการทำกระดาษสาที่มีคุณภาพดีที่สุด  ได้แก่  สีย้อมผ้า  รองลงมาคือ  สีผสมอาหาร  ตามลำดับ  โดยใช้ปริมาณสีของกระดาษแต่ละประเภทที่เท่ากัน  จำนวน  15  กรัม  
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง Fantastic  “มหัศจรรย์กระดาษจากใบเตย

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงพัน พัน
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกพัน พัน
 
แนวข้อสอบo-netการงานอาชีพและเทคโนโลยีประถม6
แนวข้อสอบo-netการงานอาชีพและเทคโนโลยีประถม6แนวข้อสอบo-netการงานอาชีพและเทคโนโลยีประถม6
แนวข้อสอบo-netการงานอาชีพและเทคโนโลยีประถม6คงศักดิ์ วิเวกวิน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนมChok Ke
 
โครงงานคอม 54
โครงงานคอม 54โครงงานคอม 54
โครงงานคอม 54pattarawarin
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าโครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าChok Ke
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติ
ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติ
ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติpanida428
 

Was ist angesagt? (20)

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
M6 144 60_3
M6 144 60_3M6 144 60_3
M6 144 60_3
 
Plant ser 126_60_1
Plant ser 126_60_1Plant ser 126_60_1
Plant ser 126_60_1
 
โครงงานกลุ่มที่ 9
โครงงานกลุ่มที่ 9โครงงานกลุ่มที่ 9
โครงงานกลุ่มที่ 9
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60
 
M6 144 60_1
M6 144 60_1M6 144 60_1
M6 144 60_1
 
M6 144 60_8
M6 144 60_8M6 144 60_8
M6 144 60_8
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
 
Bastard teak (Herbarium)
Bastard teak (Herbarium)Bastard teak (Herbarium)
Bastard teak (Herbarium)
 
แนวข้อสอบo-netการงานอาชีพและเทคโนโลยีประถม6
แนวข้อสอบo-netการงานอาชีพและเทคโนโลยีประถม6แนวข้อสอบo-netการงานอาชีพและเทคโนโลยีประถม6
แนวข้อสอบo-netการงานอาชีพและเทคโนโลยีประถม6
 
Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 
รายงานเชิงวิชาการสีย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
รายงานเชิงวิชาการสีย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดรายงานเชิงวิชาการสีย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
รายงานเชิงวิชาการสีย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
โครงงานคอม 54
โครงงานคอม 54โครงงานคอม 54
โครงงานคอม 54
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าโครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติ
ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติ
ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติ
 
ขยะ
ขยะขยะ
ขยะ
 

Andere mochten auch

Napoleon - your brand management cat!
Napoleon - your brand management cat!Napoleon - your brand management cat!
Napoleon - your brand management cat!NapoleonCat.com
 
Community Meth Symposium
Community Meth SymposiumCommunity Meth Symposium
Community Meth SymposiumDerek Douglas
 
6 Ways a New Phone System can make your Life Easier
6 Ways a New Phone System can make your Life Easier6 Ways a New Phone System can make your Life Easier
6 Ways a New Phone System can make your Life EasierDigium
 
Improving software economics - Top 10 principles of achieving agility at scale
Improving software economics - Top 10 principles of achieving agility at scaleImproving software economics - Top 10 principles of achieving agility at scale
Improving software economics - Top 10 principles of achieving agility at scaleIBM Rational software
 
Combined evaluation
Combined evaluationCombined evaluation
Combined evaluationmitchello44
 
What CFOs should ask their software development leaders
What CFOs should ask their software development leadersWhat CFOs should ask their software development leaders
What CFOs should ask their software development leadersIBM Rational software
 
ΑΝΝΑ ΦΡΑΝΚ. ΚΕΙΜΕΝΑ ΝΕΟΕΛΛΗΝΙΚΗΣ ΛΟΓΟΤΕΧΝΙΑΣ. ΥΠΕΥΘΥΝΗ ΚΑΘΗΓΗΤΡΙΑ: ΖΑΡΚΟΓΙΑΝΝ...
ΑΝΝΑ ΦΡΑΝΚ. ΚΕΙΜΕΝΑ ΝΕΟΕΛΛΗΝΙΚΗΣ ΛΟΓΟΤΕΧΝΙΑΣ. ΥΠΕΥΘΥΝΗ ΚΑΘΗΓΗΤΡΙΑ: ΖΑΡΚΟΓΙΑΝΝ...ΑΝΝΑ ΦΡΑΝΚ. ΚΕΙΜΕΝΑ ΝΕΟΕΛΛΗΝΙΚΗΣ ΛΟΓΟΤΕΧΝΙΑΣ. ΥΠΕΥΘΥΝΗ ΚΑΘΗΓΗΤΡΙΑ: ΖΑΡΚΟΓΙΑΝΝ...
ΑΝΝΑ ΦΡΑΝΚ. ΚΕΙΜΕΝΑ ΝΕΟΕΛΛΗΝΙΚΗΣ ΛΟΓΟΤΕΧΝΙΑΣ. ΥΠΕΥΘΥΝΗ ΚΑΘΗΓΗΤΡΙΑ: ΖΑΡΚΟΓΙΑΝΝ...Εύα Ζαρκογιάννη
 
Final other website annotation
Final other website annotationFinal other website annotation
Final other website annotationmitchello44
 
Planning and design for smarter cities
Planning and design for smarter citiesPlanning and design for smarter cities
Planning and design for smarter citiesIBM Rational software
 
Tbs Outbound Ivr 3
Tbs Outbound Ivr 3Tbs Outbound Ivr 3
Tbs Outbound Ivr 3sohandavid
 
Lecture 12
Lecture 12Lecture 12
Lecture 12giskende
 
Nepali calendar-2070-bs
Nepali calendar-2070-bsNepali calendar-2070-bs
Nepali calendar-2070-bsRaj Silwal
 
The evolving role of IT managers and CIOs
The evolving role of IT managers and CIOsThe evolving role of IT managers and CIOs
The evolving role of IT managers and CIOsIBM Rational software
 
What's new in Rational Team Concert 3.0
What's new in Rational Team Concert 3.0What's new in Rational Team Concert 3.0
What's new in Rational Team Concert 3.0IBM Rational software
 
Social media airing your literacy laundry
Social media airing your literacy laundrySocial media airing your literacy laundry
Social media airing your literacy laundryBonnie Zink
 
Servicios publicos accesibles para todos-JC Valero
Servicios publicos accesibles para todos-JC ValeroServicios publicos accesibles para todos-JC Valero
Servicios publicos accesibles para todos-JC ValeroJCCM1925
 
Διαθεματική εργασία στο μάθημα των Αρχαίων Ελληνικών: Διατροφή και σύγχρονοι ...
Διαθεματική εργασία στο μάθημα των Αρχαίων Ελληνικών: Διατροφή και σύγχρονοι ...Διαθεματική εργασία στο μάθημα των Αρχαίων Ελληνικών: Διατροφή και σύγχρονοι ...
Διαθεματική εργασία στο μάθημα των Αρχαίων Ελληνικών: Διατροφή και σύγχρονοι ...Εύα Ζαρκογιάννη
 

Andere mochten auch (20)

Napoleon - your brand management cat!
Napoleon - your brand management cat!Napoleon - your brand management cat!
Napoleon - your brand management cat!
 
Community Meth Symposium
Community Meth SymposiumCommunity Meth Symposium
Community Meth Symposium
 
6 Ways a New Phone System can make your Life Easier
6 Ways a New Phone System can make your Life Easier6 Ways a New Phone System can make your Life Easier
6 Ways a New Phone System can make your Life Easier
 
Improving software economics - Top 10 principles of achieving agility at scale
Improving software economics - Top 10 principles of achieving agility at scaleImproving software economics - Top 10 principles of achieving agility at scale
Improving software economics - Top 10 principles of achieving agility at scale
 
Combined evaluation
Combined evaluationCombined evaluation
Combined evaluation
 
What CFOs should ask their software development leaders
What CFOs should ask their software development leadersWhat CFOs should ask their software development leaders
What CFOs should ask their software development leaders
 
ΑΝΝΑ ΦΡΑΝΚ. ΚΕΙΜΕΝΑ ΝΕΟΕΛΛΗΝΙΚΗΣ ΛΟΓΟΤΕΧΝΙΑΣ. ΥΠΕΥΘΥΝΗ ΚΑΘΗΓΗΤΡΙΑ: ΖΑΡΚΟΓΙΑΝΝ...
ΑΝΝΑ ΦΡΑΝΚ. ΚΕΙΜΕΝΑ ΝΕΟΕΛΛΗΝΙΚΗΣ ΛΟΓΟΤΕΧΝΙΑΣ. ΥΠΕΥΘΥΝΗ ΚΑΘΗΓΗΤΡΙΑ: ΖΑΡΚΟΓΙΑΝΝ...ΑΝΝΑ ΦΡΑΝΚ. ΚΕΙΜΕΝΑ ΝΕΟΕΛΛΗΝΙΚΗΣ ΛΟΓΟΤΕΧΝΙΑΣ. ΥΠΕΥΘΥΝΗ ΚΑΘΗΓΗΤΡΙΑ: ΖΑΡΚΟΓΙΑΝΝ...
ΑΝΝΑ ΦΡΑΝΚ. ΚΕΙΜΕΝΑ ΝΕΟΕΛΛΗΝΙΚΗΣ ΛΟΓΟΤΕΧΝΙΑΣ. ΥΠΕΥΘΥΝΗ ΚΑΘΗΓΗΤΡΙΑ: ΖΑΡΚΟΓΙΑΝΝ...
 
Final other website annotation
Final other website annotationFinal other website annotation
Final other website annotation
 
Planning and design for smarter cities
Planning and design for smarter citiesPlanning and design for smarter cities
Planning and design for smarter cities
 
Tbs Outbound Ivr 3
Tbs Outbound Ivr 3Tbs Outbound Ivr 3
Tbs Outbound Ivr 3
 
The camping trip
The camping tripThe camping trip
The camping trip
 
Hanke esittely-siiliset14042011
Hanke esittely-siiliset14042011Hanke esittely-siiliset14042011
Hanke esittely-siiliset14042011
 
Lecture 12
Lecture 12Lecture 12
Lecture 12
 
Nepali calendar-2070-bs
Nepali calendar-2070-bsNepali calendar-2070-bs
Nepali calendar-2070-bs
 
The evolving role of IT managers and CIOs
The evolving role of IT managers and CIOsThe evolving role of IT managers and CIOs
The evolving role of IT managers and CIOs
 
What's new in Rational Team Concert 3.0
What's new in Rational Team Concert 3.0What's new in Rational Team Concert 3.0
What's new in Rational Team Concert 3.0
 
Cracks, cómo se hacen
Cracks, cómo se hacen   Cracks, cómo se hacen
Cracks, cómo se hacen
 
Social media airing your literacy laundry
Social media airing your literacy laundrySocial media airing your literacy laundry
Social media airing your literacy laundry
 
Servicios publicos accesibles para todos-JC Valero
Servicios publicos accesibles para todos-JC ValeroServicios publicos accesibles para todos-JC Valero
Servicios publicos accesibles para todos-JC Valero
 
Διαθεματική εργασία στο μάθημα των Αρχαίων Ελληνικών: Διατροφή και σύγχρονοι ...
Διαθεματική εργασία στο μάθημα των Αρχαίων Ελληνικών: Διατροφή και σύγχρονοι ...Διαθεματική εργασία στο μάθημα των Αρχαίων Ελληνικών: Διατροφή και σύγχρονοι ...
Διαθεματική εργασία στο μάθημα των Αρχαίων Ελληνικών: Διατροφή και σύγχρονοι ...
 

Ähnlich wie โครงงานวิทย์ Fastastic มหัศจรรย์กระดาษจากใบเตย

E bookวัสดุธรรมชาติ
E bookวัสดุธรรมชาติE bookวัสดุธรรมชาติ
E bookวัสดุธรรมชาติkhuwawa
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11Mint Zy
 
เรื่อง การพับกระดาษ
เรื่อง การพับกระดาษเรื่อง การพับกระดาษ
เรื่อง การพับกระดาษbskkru
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ningjaa
 
ใบงานที่11
ใบงานที่11ใบงานที่11
ใบงานที่11Opp Phurinat
 
Random 130819040345-phpapp01 (2)(1)
Random 130819040345-phpapp01 (2)(1)Random 130819040345-phpapp01 (2)(1)
Random 130819040345-phpapp01 (2)(1)Adison Malasri
 
ใบงานที่สิบเอ็ด
ใบงานที่สิบเอ็ดใบงานที่สิบเอ็ด
ใบงานที่สิบเอ็ดNoot Ting Tong
 
นำเสนอบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร12 15พ.ย.53
นำเสนอบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร12 15พ.ย.53นำเสนอบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร12 15พ.ย.53
นำเสนอบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร12 15พ.ย.53Kawilaanukul
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบBiobiome
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบBiobiome
 
นำเสนอบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร12 15พ.ย.53
นำเสนอบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร12 15พ.ย.53นำเสนอบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร12 15พ.ย.53
นำเสนอบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร12 15พ.ย.53Kawilaanukul
 
ดอกมะลิ
ดอกมะลิดอกมะลิ
ดอกมะลิpaunphet
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชHataitip Suwanachote
 
วิธีทำโต๊ะแกนกระดาษ
วิธีทำโต๊ะแกนกระดาษวิธีทำโต๊ะแกนกระดาษ
วิธีทำโต๊ะแกนกระดาษNutchuda Somphun
 

Ähnlich wie โครงงานวิทย์ Fastastic มหัศจรรย์กระดาษจากใบเตย (20)

ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
E bookวัสดุธรรมชาติ
E bookวัสดุธรรมชาติE bookวัสดุธรรมชาติ
E bookวัสดุธรรมชาติ
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
เรื่อง การพับกระดาษ
เรื่อง การพับกระดาษเรื่อง การพับกระดาษ
เรื่อง การพับกระดาษ
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
ใบงานที่11
ใบงานที่11ใบงานที่11
ใบงานที่11
 
Random 130819040345-phpapp01 (2)(1)
Random 130819040345-phpapp01 (2)(1)Random 130819040345-phpapp01 (2)(1)
Random 130819040345-phpapp01 (2)(1)
 
ใบงานที่สิบเอ็ด
ใบงานที่สิบเอ็ดใบงานที่สิบเอ็ด
ใบงานที่สิบเอ็ด
 
นำเสนอบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร12 15พ.ย.53
นำเสนอบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร12 15พ.ย.53นำเสนอบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร12 15พ.ย.53
นำเสนอบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร12 15พ.ย.53
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
 
ใบความรู้ สง่ากล่องเอนกประสงค์
ใบความรู้ สง่ากล่องเอนกประสงค์ใบความรู้ สง่ากล่องเอนกประสงค์
ใบความรู้ สง่ากล่องเอนกประสงค์
 
นำเสนอบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร12 15พ.ย.53
นำเสนอบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร12 15พ.ย.53นำเสนอบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร12 15พ.ย.53
นำเสนอบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร12 15พ.ย.53
 
34355599
3435559934355599
34355599
 
ดอกมะลิ
ดอกมะลิดอกมะลิ
ดอกมะลิ
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืช
 
วิธีทำโต๊ะแกนกระดาษ
วิธีทำโต๊ะแกนกระดาษวิธีทำโต๊ะแกนกระดาษ
วิธีทำโต๊ะแกนกระดาษ
 
ใบความรู้สวนขวด
ใบความรู้สวนขวดใบความรู้สวนขวด
ใบความรู้สวนขวด
 

โครงงานวิทย์ Fastastic มหัศจรรย์กระดาษจากใบเตย

  • 1. โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง Fantastic ㅐㅏ ㅇㄹ 노ㅕㅐㅅㅓㅁ “มหัศจรรย์กระดาษจากใบเตย”
  • 2. อาจารย์ที่ปรึกษา “อ.กาญดา วงค์ภักดี” โรงเรียนน้ำพองศึกษา
  • 3. จัดทำโดย รายชื่อผู้จัดทำ 1.นายวิษณุ สุยะมงคล เลขที่ 7 2.นายสหรัฐ บุญฤทธิ์ เลขที่ 9 3.นายอณวัตร จันทร์เหล่อ เลขที่ 10 4.นางสาวจิราภรณ์ จันทร์เพ็ง เลขที่ 17 5.นางสาวชลธิชา ชินบุตร เลขที่ 18 6.นางสาวณัฐชริดา บัวใหญ่รักษา เลขที่ 19 7.นางสาวอรณิชชา อาบสุวรรณ เลขที่ 20
  • 4. +บทคัดย่อ+ จุดมุ่งหมายของโครงงานเพื่อหาสูตรที่เหมาะสมจากกระดาษรีไซเคิลใบเตย โดยใช้กระดาษหนังสือพิมพ์ กระดาษโรเนียวและกระดาษกล่องเป็นส่วนผสมเพื่อเปรียบเทียบสีที่เหมาะสมการทำกระดาษรีไซเคิล วัตถุที่ใช้ทดลองได้แก่สีชนิดต่างๆ นำ (สีผสมอาหาร สีย้อมผ้า) เยื่อกระดาษต่างๆ(กระดาษโรเนียล กระดาษกล่องและกระดาษหนังสือพิมพ์) ผลการทดลองปรากฎว่ากระดาษรีไซเคิลที่ผลิตจากใบเตยหอมกับกระดาษหนังสือพิมพ์ อัตตราส่วน 200/500 กรัม เป็นอัตตราส่วนที่เหมาะสมที่สุดในการทำกระดาษรีไซเคิล รองลงมาคือใบเตยหอมกับกระดาษโรเนียว และใบเตยหอมกับกระดาษกล่องปรากฎว่าสีที่ใช้ในการผสมทำกระดาษษาที่มีคุณภาพดีที่สุดได้แก่ สีย้อมผ้ารองลงมาคือ สีผสมอาหาร ตามลำดับ โดยใช้ปริมาณสีของกระดาษแต่ละประเภทที่เท่ากัน จำนวน 15 กรัม 
  • 5. +กิตติกรรมประกาศ+ คณะผู้จัดทำขอขอบพระคุณผู้ปกครองที่ให้ความสนับสนุนในการใช้สถานที่ในการทำงาน และขอขอบพระคุณอาจารย์ที่ให้คำปรึกษาและให้คำแนะนำ ที่ดีๆสามารถนำมาปรับปรุงโครงงานให้สมบูรณ์แบบ ขอขอบใจเพื่อนที่มีส่วนร่วมในการทำโครงงานในครั้งนี้ จนกระทั้งทำงานสำเร็จด้วยดี
  • 6. +ที่มาและความสำคัญ+ ใบเตยหอมเป็นพืชสมุนไพร  ในอดีตนิยมนำใบเตยหอม มาประกอบอาหารและทำขนมหวานใช้แต่งกลิ่นเวลาหุงข้าวเจ้าและข้าวเหนียว ใบเตยมักจะขึ้นในที่ชื้นแฉะใกล้น้ำ  มีสีเขียว  รูปเรียวยาวคล้ายหอกและมีกลิ่นหอมเย็น  ไม่มีดอก  ขยายพันธุ์โดยใช้หน่อ  และใบเตยมีจำนวนมากในท้องถิ่นและเป็นพืชที่หาง่ายจึงนำใบเตยมาแปลรูปทำเป็นกระดาษกระดาษรีไซเคิลเป็นกระดาษชนิดหนึ่ง  ที่ทำมาจากกระดาษเหลือใช้  แล้วนำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ได้อย่างมากมาย  เช่น ทำกล่องกระดาษ  ที่คั่นหนังสือ  กระดาษห่อของขวัญ  ปกสมุดไดอารี่  ถุงกระดาษ  ฯลฯใน  คณะผู้จัดทำจึงมีแนวคิดที่จะนำใบเตยมาทำเป็นกระดาษรีไซเคิล  เพราะใบเตยเป็นพืชที่มีเส้นใยสูง  จึงเหมาะอย่างยิ่งที่จะนำมาทำเป็นกระดาษรีไซเคิลเหมือนกับวัสดุธรรมชาติอื่น ๆ
  • 7. จุดมุ่งหมายของโครงงาน                    1.   เพื่อหาสูตรที่เหมาะสมสำหรับการทำกระดาษรีไซเคิลจากใบเตยหอมโดยใช้กระดาษหนังสือพิมพ์ กระดาษโรเนียว และกระดาษกล่องเป็นส่วนผสม                   2.   เพื่อเปรียบเทียบสีที่เหมาะสมการทำกระดาษรีไซเคิล สมมติฐานของโครงงาน                    ใบเตยสามารถนำมาทำเป็นกระดาษเหมือนกับต้นปอสาได้ ประโยชน์ของโครงงาน 1.   ได้สูตรที่เหมาะสมในการทำกระดาษสาจากใบเตยโดยใช้กระดาษหนังสือพิมพ์กระดาษโรเนียว  และกระดาษกล่องเป็นส่วนผสม 2.   ได้ผลิตภัณฑ์ที่ประดิษฐ์ขึ้นจากกระดาษรีไซเคิล
  • 8. +ความเป็นมาของกระดาษสา+   การแปรรูปกระดาษเหลือใช้ให้เป็นกระดาษสา  มีมานาน  20  กว่าปีแล้วโดยนายเจริญ  เหล่าปิ่นตา  ได้สืบทอดการทำกระดาษสามาจากคุณทวด  ซึ่งในสมัยก่อนนั้นไม่ได้ทำกันอย่างแพร่หลายเหมือนสมัยนี้  จะทำกันเฉพาะเมื่อต้องการเขียนยันต์ทำไส้เทียนและทำตุงของเชียงใหม่เท่านั้น ตั้งแต่นั้นมาก็ได้มีการทำกระดาษสาจากที่เคยทำสีขาวก็คิดหาวิธีทำเป็นหลายๆสี  และมีลวดลายมากยิ่งขึ้น  ซึ่งได้รับความสนใจจากคนไทยและต่างประเทศเป็นอย่างมาก  ทำให้ท่านมีกำลังใจที่จะผลิตงานศิลปะ  กระดาษสามากยิ่งขึ้น  แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆเช่น กระดาษ  ดอกไม้  ฯลฯ  และยังได้เผยแพร่กระทำกระดาษสาไปยังหมู่บ้านอื่น ๆ และสอนวิธีการทำกระดาษสาให้เพื่อเป็น การอนุรักษ์สืบทอดจากบรรพบุรุษของบ้านต้นเปา  ซึ่งเป็นแหล่งผลิตกระดาษสาดั่งเดิมของเชียงใหม่  โดยในอดีตการทำกระดาษสานั้นเพื่อนำไปใช้ในการผลิตร่มและพัด
  • 10. +ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมวัตถุดิบ+ แยกชนิดของกระดาษแล้วตัดเป็นชิ้นเล็กๆ แล้วนำไปแช่น้ำประมาณ 10 นาทีจากนั้นนำกระดาษไปปั่นแล้วหั่นใบเตยจากนั้นก็นำไปปั่น
  • 11. +ขั้นตอนที่ 2 การผสมวัตถุดิบ +           นำกระดาษที่ปั่นแล้วผสมกับเยื่อใบเตย 400 ต่อ 200 กรัม
  • 12. +ขั้นตอนที่ 3 การทำเป็นแผ่นกระดาษ + นำกระดาษที่ผสมกับใบเตยใส่ในอ่างหรือภาชนะที่เหมาะสม  ใส่น้ำให้มีระดับพอเหมาะแล้วใช้ไม้พายคนเยื่อในอ่างน้ำให้ทั่ว  เพื่อให้เยื่อลอยตัวและกระจายออกจากกันอย่างสม่ำเสมอ จากนั้นนำแม่พิมพ์สำหรับทำแผ่นกระดาษมาช้อนเยื่อต่อไปซึ่งมีการทำแผ่นได้  2  วิธีคือ          3.1       แบบตัก  ใช้แม่พิมพ์ซึ่งมีลักษณะเป็นตะแกรงไนล่อนขนาดกว้าง  40  ซม.  ยาว  60 ซม.  ( ขนาดตะแกรงขึ้นอยู่กับขนาดกระดาษที่ต้องการ )  ช้อนตักเยื่อเข้าหาตัวยกตะแกรงขึ้นตรง ๆ แล้วเทน้ำออกไปทางด้านหน้าโดยเร็ว  จะช่วยให้กระดาษมีความสม่ำเสมอ          3.2       แบบแตะ มักใช้ตะแกรงที่ทำจากผ้าใยบัวหรือผ้ามุ้ง  ซึ่งมีเนื้อละเอียดและใช้วิธีชั่งน้ำหนักของเยื่อ  เป็นตัวกำหนดความหนาของแผ่นกระดาษ  นำเยื่อใส่ในอ่างน้ำใช้มือแตะเกลี่ยกระจายเยื่อบนแม่พิมพ์ให้สม่ำเสมอ
  • 13. +ขั้นตอนที่ 4 การลอกกระดาษ + นำตะแกรงไปตากแดดประมาณ  1 - 3  ชั่วโมง  กระดาษสาจะแห้งติดกันเป็นแผ่น จึงลอกกระดาษสาออกจากแม่พิมพ์   สามารถทำกระดาษสาได้ประมาณ 10  แผ่น และกระดาษสาที่ได้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง  มีการตัดแปลงมาใช้ทำสิ่งของต่าง ๆ มากขึ้น  แต่เดิมส่วนใหญ่ใช้ทำร่ม  ว่าว  กระดาษห่อของ  กระดาษแบบเสื้อ  กระดาษที่ใช้เขียนพุทธประวัติ คัมภีร์  ฯลฯ  เป็นต้น  ปัจจุบันนำมาใช้อย่างกว้างขวาง  เช่น  สมุดจดที่อยู่  เบอร์โทรศัพท์  กระดาษเขียนจดหมายพร้อมซอง บัตรอวยพรต่าง ๆ ดอกไม้ประดิษฐ์  โคมไฟ  กระดาษเช็ดมือ  กระดาษชำระใช้ซับเลือด  กระดาษห่อเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์  
  • 15. วัสดุและ วัสดุ  อุปกรณ์ อุปกรณ์ที่ใช้ในโครงงานวิทยาศาสตร์  เรื่อง  กระดาษสาหรือกระดาษรีไซเคิลจากใบเตย  มีดังนี้          1.   มีด  11.   กะละมัง          2.   กระดาษหนังสือพิมพ์12.   สีโปสเตอร์          3.   กรรไกร  13.   สีย้อมผ้า          4.   กระดาษโรเนียว14.   ผ้าขาวบาง          5.   เครื่องปั่น  15.   สีผสมอาหาร          6.   กระดาษกล่อง  16.   กระชอน          7.   ปลั๊กไฟ                  17.   หม้อ          8.   ตะแกรงไนล่อน ( เฟรม )18.   เตาไฟ          9.   อ่างน้ำ    19.   เครื่องชั่ง          10.   กะละมัง20.   พืชที่ใช้ ทดลอง  ได้แก่  ใบเตยหอม          
  • 16. วิธีการทดลอง            วิธีการทดลอง  แบ่งออกเป็น  3  ขั้นตอน ขั้นตอนที่  1  การหาสูตรที่เหมาะสมในการทำกระดาษสาจากใบเตยหอม ขั้นตอนที่  2  ทดลองชนิดของสีที่ติดได้ดีกับกระดาษสาที่ผลิตจากใบเตยหอมขั้นตอนที่  3 การนำกระดาษสาที่ผลิตไปแปรรูปใช้ประโยชน์
  • 17. ขั้นตอนที่  1  การหาสูตรที่เหมาะสมในการทำกระดาษสาจากใบเตยหอม การทดลองแบ่งออกเป็น  4  กลุ่ม            กลุ่มที่  1  ใบเตยหอม + กระดาษโรเนียว          กลุ่มที่  2  ใบเตยหอม  + กระดาษกล่อง          กลุ่มที่  3  ใบเตยหอม  + กระดาษหนังสือพิมพ์          กลุ่มที่  4  กลุ่มควบคุมใบเตยหอม
  • 18. กลุ่มที่ 1 ใบเตยหอม 200 กรัม + กระดาษหนังสือพิมพ์ 400 กรัม วิธีทำ           1.   นำใบเตยหอมจำนวน 2,000 กรัม มาล้างน้ำให้สะอาด จากนั้นนำใบเตยหอมมาหั่นเป็นชิ้นเล็กๆยาวประมาณ 2-3 เซนติเมตร          2.   นำใบเตยหอมที่หั่นแล้วมาปั่นให้ละเอียดจนเกิดใย ซึ่งใช้เวลาในการปั่นประมาณ  3  นาที          3.   นำใบเตยหอมที่ปั่นแล้วมาผสมกับกระดาษโรเนียวที่เตรียมไว้ในอัตราส่วน2000 : 5000  ( ใบเตย 2000 กรัม กระดาษโรเนียว 5000 กรัม ) จากนั้นก็นำไปปั่นต่อประมาณ 5 นาที         
  • 19.           4.   เมื่อปั่นเสร็จแล้วนำส่วนผสมที่ได้ไปใส่ตระแกรงไนล่อนขนาดกว้าง 30 เซนติเมตร ยาว 45 เซนติเมตร ( ขนาดตระแกรงขึ้นอยู่กับกระดาษที่ต้องการ ) จากนั้นนำไปร่อนในอ่างน้ำเพื่อให้เยื่อลอยตัวและกระจายตัวออกจากกันอย่างสม่ำเสมอ          5.   นำตะแกรงไนล่อนไปตากแดดประมาณ 1 วัน กระดาษสาจะแห้งติดกันเป็นแผ่นจึงลอกกระดาษสาออกจากตะแกรงไนล่อน
  • 20. บันทึกผลการทดลอง            1. ด้านละเอียดและหยาบของเส้นใยและเนื้อเยื่อของกระดาษ          2. ความเหนียวของกระดาษสา บันทึกโดยชุดทดลองแรงดึงต้านทานโดยการใช้แรต้านทานกับกระดาษ โดยเพิ่มนำหนักถุงทรายทีละ 100 กรัม          3. การดูดซับโดยใช้น้ำมันพืชหยดลงบนกระดาษแล้ว ดูการกระจายเป็นเส้นผ่านศูนย์กลางน้ำมันที่กระจายตัวบนกระดาษที่ซับน้ำมันไว้
  • 21. กลุ่มที่ 1 ใบเตยหอม 200 กรัม + กระดาษหนังสือพิมพ์ 400 กรัม วิธีทำ           1.   นำใบเตยหอมจำนวน 2,000 กรัม มาล้างน้ำให้สะอาด จากนั้นนำใบเตยหอมมาหั่นเป็นชิ้นเล็กๆยาวประมาณ 2-3 เซนติเมตร          2.   นำใบเตยหอมที่หั่นแล้วมาปั่นให้ละเอียดจนเกิดใย ซึ่งใช้เวลาในการปั่นประมาณ  3  นาที          3.   นำใบเตยหอมที่ปั่นแล้วมาผสมกับกระดาษโรเนียวที่เตรียมไว้ในอัตราส่วน2000 : 5000  ( ใบเตย 2000 กรัม กระดาษโรเนียว 5000 กรัม ) จากนั้นก็นำไปปั่นต่อประมาณ 5 นาที         
  • 22.           4.   เมื่อปั่นเสร็จแล้วนำส่วนผสมที่ได้ไปใส่ตระแกรงไนล่อนขนาดกว้าง 30 เซนติเมตร ยาว 45 เซนติเมตร ( ขนาดตระแกรงขึ้นอยู่กับกระดาษที่ต้องการ ) จากนั้นนำไปร่อนในอ่างน้ำเพื่อให้เยื่อลอยตัวและกระจายตัวออกจากกันอย่างสม่ำเสมอ          5.   นำตะแกรงไนล่อนไปตากแดดประมาณ 1 วัน กระดาษสาจะแห้งติดกันเป็นแผ่นจึงลอกกระดาษสาออกจากตะแกรงไนล่อน บันทึกผลการทดลอง            1. ด้านละเอียดและหยาบของเส้นใยและเนื้อเยื่อของกระดาษ          2. ความเหนียวของกระดาษสา บันทึกโดยชุดทดลองแรงดึงต้านทานโดยการใช้แรต้านทานกับกระดาษ โดยเพิ่มนำหนักถุงทรายทีละ 100 กรัม          3. การดูดซับโดยใช้น้ำมันพืชหยดลงบนกระดาษแล้ว ดูการกระจายเป็นเส้นผ่านศูนย์กลางน้ำมันที่กระจายตัวบนกระดาษที่ซับน้ำมันไว้
  • 23. กลุ่มที่ 2 ใบเตย 200 กรัม + กระดาษกล่อง 400 กรัมทำการทดลองและบันทึกผลการทดลองแบบเดียวกับกลุ่มที่ 1 แต่แตกต่างกันตรงที่ใช้กระดาษกล่องแทนกระดาษโรเนียว            กลุ่มที่ 3 ใบเตย 200 กรัม + กระดาษหนังสือพิมพ์ 400 กรัมทำการทดลองและบันทึกผลการทดลองแบบเดียวกับกลุ่มที่ 1 แต่แตกต่างกันตรงที่ใช้กระดาษหนังสือพิมพ์แทนกระดาษโรเนียว            กลุ่มที่ 4 กลุ่มควบคุมใบเตย 200 กรัม ทำการทดลองและบันทึกผลการทดลองแบบเดียวกับกลุ่มที่ 1 แต่แตกต่างกันตรงที่ใช้ใบเตยหอมอย่างเดียว
  • 24. ขั้นตอนที่  2  ทดลองชนิดของสีที่ติดได้ดีกับกระดาษสาที่ผลิตจากใบเตยหอม การทดลองแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม          กลุ่มที่ 1 สีโปสเตอร์                     กลุ่มที่ 2 สีผสมอาหาร          กลุ่มที่ 3 สีย้อมผ้า   วิธีการทดลอง           ใช้กลุ่มการทดลองที่ดีที่สุดขั้นตอนที่  2  มาทดลองย้อมสีชนิดต่างๆ          
  • 25. การย้อมสี           1.   นำเยื่อกระดาษใส่ลงไปในนำสีที่เตรียมไว้          2.   การเตรียมนำสีเตรียมได้โดยใช้นำสี  15  กรัม  ต้มในน้ำ  2 ลิตร            3.   นำเยื่อกระดาษแต่ละกลุ่มมาแช่น้ำสีทิ้งไว้  15  นาที  แล้วนำมาเตรียมไว้เพื่อนำไปใส่ตะแกรงไนล่อนแล้วร่อนในน้ำสี          4.   จากกนั้นก็นำไปตากแดดไว้ประมาณ  1  วัน บันทึกผลการทดลอง            บันทึกลักษณะสีที่ติด การกระจายของสีบนเยื่อกระดาษที่ผลิต ขั้นตอนที่ 3 การนำกระดาษสาที่ผลิตไปแปรรูปใช้ประโยชน์ การนำกระดาษที่ผลิตไปแปรรูปใช้ประโยชน์  เช่น  นำไปทำกล่องกระดาษทิชชู  จัดบอร์ด  ทำดอกไม้  การ์ดอวยพรต่างๆ  ที่ขั้นหนังสือ  ถุงกระดาษ  ฯลฯ 
  • 26.   ขั้นตอนที่ 3 การนำกระดาษสาที่ผลิตไปแปรรูปใช้ประโยชน์           การนำกระดาษที่ผลิตไปแปรรูปใช้ประโยชน์  เช่น  นำไปทำกล่องกระดาษทิชชู  จัดบอร์ด  ทำดอกไม้  การ์ดอวยพรต่างๆ  ที่ขั้นหนังสือ  ถุงกระดาษ  ฯลฯ  ผลการทดลอง ตอนที่  1  การหาสูตรที่เหมาะสมการทำกระดาษสารีไซเคิล           จากการทดลองคณะผู้จัดทำได้ทำการทดลองหาสูตรที่เหมาะสมกับการทำกระดาษสา  ได้ใช้กระดาษโรเนียว  กระดาษกล่องและกระดาษหนังสือพิมพ์  โดยมีใบเตยหอมเป็นตัวควบคุม   ผลการทดลองปรากฏ  ดังตาราง  1
  • 28. จากตาราง  1  พบว่า  กระดาษสารีไซเคิลที่ทำจากใบเตยหอมกับกระดาษหนังสือพิมพ์   อัตราส่วน  200  :  400  กรัม  มีคุณภาพดีที่สุด  รองลงมา  คือ  ใบเตยหอมกับกระดาษโรเนียว  และใบเตยหอมผสมกระดาษกล่อง ตามลำดับโดยใช้ใบเตยหอมเป็นตัวควบคุม ( control )    
  • 29. เกณฑ์การทดลองการผสมใบเตยหอมกับกระดาษชนิดต่าง ๆ           ดีมาก   หมายถึง   เยื่อกระดาษมีเนื้อละเอียด  ผิวเรียบสม่ำเสมอมีการจับตัว และประสานยึดแน่นเป็นเนื้อเดียวกัน          ดี    หมายถึง   เยื่อกระดาษส่วนใหญ่มีเนื้อละเอียด  ผิวเรียบสม่ำเสมอมีการจับตัวและประสานยึดแน่นเป็นเนื้อเดียวกัน          พอใช้  หมายถึง   เยื่อกระดาษบางส่วนมีเนื้อละเอียด  ผิวเรียบสม่ำเสมอมีการจับตัว และประสานยึดแน่นเป็นเนื้อเดียวกัน          ปรับปรุง  หมายถึง   เยื่อกระดาษเนื้อไม่ละเอียด  ผิวไม่เรียบ  ไม่มีการจับตัว และประสานยึดแน่นเป็นเนื้อเดียวกัน
  • 30. ตอนที่  2 การเปรียบเทียบสีที่เหมาะสมการทำกระดาษสารีไซเคิล                    จากการทดลองคณะผู้จัดทำได้ทำการทดลองเพื่อเปรียบเทียบสีที่เหมาะสมการทำกระดาษสา  ผลการทดลองปรากฏ  ดังตาราง  2 จากตาราง  2  พบว่า  สีที่ใช้ผสมในการทำกระดาษสากระดาษสาที่มีคุณภาพดีที่สุด  ได้แก่  สีย้อมผ้า  รองลงมาคือ  สีผสมอาหาร  ตามลำดับ 
  • 31. เกณฑ์การเปรียบเทียบสีที่เหมาะสมการทำกระดาษสารีไซเคิล ดีมาก           หมายถึง     เนื้อสีกับเยื่อกระดาษผสมเป็นเนื้อเดียวกัน  มากกว่า ร้อยละ  95ดี                 หมายถึง     เนื้อสีกับเยื่อกระดาษผสมเป็นเนื้อเดียวกัน  ร้อยละ  85 พอใช้          หมายถึง     เนื้อสีกับเยื่อกระดาษผสมเป็นเนื้อเดียวกัน  ร้อยละ  65 ปรับปรุง      หมายถึง     เนื้อสีกับเยื่อกระดาษผสมเป็นเนื้อเดียวกัน  น้อยกว่า ร้อยละ  50
  • 33. จุดมุ่งหมายของโครงงาน                    1.   เพื่อหาสูตรที่เหมาะสมสำหรับการทำกระดาษรีไซเคิลจากใบเตยหอมโดยใช้กระดาษหนังสือพิมพ์ กระดาษโรเนียว และกระดาษกล่องเป็นส่วนผสม                   2.   เพื่อเปรียบเทียบสีที่เหมาะสมการทำกระดาษรีไซเคิล วัสดุที่ใช้ทดลอง           1.   สีชนิดต่าง ๆ  ได้แก่                    1.1    สีย้อมผ้า                    1.2    สีผสมอาหาร          2.   เยื่อกระดาษต่าง ๆ                    2.1    กระดาษโรเนียว                    2.2    กระดาษกล่อง                    2.3    กระดาษหนังสือพิมพ์
  • 34. ระยะเวลาที่ทำโครงงาน      ระยะเวลาที่ทำการโครงงาน  ได้แก่  วันที่ 13 พฤศจิกายน 2553 -  30 ธันวาคม 2553 ตัวแปรที่ทำการโครงงาน           1.   ตัวแปรต้น ได้แก่ อัตราส่วนของใบเตย          2.   ตัวแปรตาม  ได้แก่คุณภาพของกระดาษสารีไซเคิล                    
  • 35. สรุปผลการทดลอง           1.   กระดาษสาที่ผลิตจากใบเตยหอมกับกระดาษหนังสือพิมพ์  อัตราส่วน  200  : 500  กรัม  เป็นอัตราส่วนที่เหมาะสมที่สุดในการทำเป็นกระดาษสา  รองลงมาคือ  ใบเตยหอมกับกระดาษโรเนียว  และใบเตยหอมกับกระดาษกล่อง  ตามลำดับโดยใช้ใบเตยหอมเป็นตัวควบคุม ( control )           2.   สีที่เหมาะสมการทำกระดาษสาที่มีคุณภาพดีที่สุด  ได้แก่  สีย้อมผ้า  รองลงมาคือ  สีผสมอาหาร  ตามลำดับ  โดยใช้ปริมาณสีของกระดาษแต่ละประเภทที่เท่ากัน  จำนวน  15  กรัม  
  • 36.
  • 37. โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง Fantastic “มหัศจรรย์กระดาษจากใบเตย