SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 17
Post Cardiac Arrest Care
Can we make it better?
Kanyanat Panta
RN,Surgical Intensive Care Unit
(SICU)
PHRAMONGKUTKLAO HOSPITAL.
ภาวะหัวใจหยุดเต้น คือ เหตุที่ทำาให้เกิดการ
ขาดเลือกหล่อเลี้ยงเซลล์ต่างๆทั่ว
ร่างกาย(complete whole-body
ischemia)เมื่อผู้ป่วยได้รับการช่วยชียวิต
จากการกุ้ชีพระบบไหลเวียนกลับมาทำางาน
ได้(Return of respontaneous
circulation,ROSC)ทำาให้เกิดพยาธิสภาวะ
จาก reperfusion injury เป็นภาวะ post
cardiac arrest ซึ่งทำาให้เสียชีวิตสูงภายใน
24 ชั่วโมงแรก การดูแลผู้ป่วยในช่วงเวลานี้
วัตถุประสงค์เบื้องต้นของการดูแลผู้
ป่วยpost cardiac arrest

เพื่อปรับให้การทำางานของหัวใจและปอดเหมาะสมกับ
สถานการและมีเลือดไหลเวียนไปหล่อเลี้ยงอวัยวะ
สำาคัญได้เพียงพอ

หากเกิดหัวใจหยุดเต้นนอกรพ.ผู้ป่วย 80-90%มักมี
สาเหตุจากภาวะหลอดเลือดอุดตัน
เฉียบพลัน(ACS)ต้องส่งรพศักยภาพสูง

ระหว่างรักษาตัวในรพ ควรเข้า ICU ให้การพยาบาล
โดยgoal-directe care and therapetic
hypothermia

วัตถุประสงค์ต่อมาของการดูแลผู้
ป่วย
post cardic arrest

ควบคุมอุณหภูมิกายเพื่อให้ผู้ป่วยรอด

ตรวจ วินิจฉัย รวมทั้งรักษาภาวะ acute
coronary syndrom

ปรับเครื่องช่วยหายใจให้เหมาะสม เพื่อหลีก
เลี่ยงปอดอักเสบจากการใช้เครื่อง

ลดความเสี่ยงที่จะเกิดกับอวัยวะประคับประคอง
จนฟื้นตัว

ประเมินศักยภาพสมองและพยากรณ์การฟื้น
ตัวอย่างมีเกณฑ์
2010 CPR Guideline
1.มี return of spontaneouse
circulationแล้ว
2 ช่วยหายใจเนื้อเยื่อได้ออกซิเจนพอ
o2sat>94%หากไม่รู้สึกตัวความใส่ท่อช่วย
หายใจ ตรวจวัดหน้าที่แลกเปลี่ยนก๊าชโดย
capnography เริ่มต้นหายใจ RR10-
12b/mและปรับค่า end tidal
carbondioxide ระดับ 35-40 mmHg
3 รักษา MAP>65mmHg or SBP>90mmHg
โดยNNS Ringer lactate เร็วๆผ่านทางหลอด
เลือดดำา หรือ intraosseous 1-2 ลิตร หากไม่
สามารถเปิดหลอดเลือดดำาได้อาจใช้นำ้าเย็น 4
องศาเซลเซียส ให้ยาตีบหลอด
เลือดepinephrine,dopamine,noreepinep
hrine หาสาเหตุ 5H,5T
4 ตรวจประเมินอีกครั้งผู้ป่วยเริ่มตอบสนอง ทำาตามสั่ง
หรือไม่
5.ถ้าไม่ทำาตามสั่งให้เริ่มกระบวนการลดอุณหภูมิ
กาย(induced hypothermia)แล้วตรวจรักษา
ภาวะACSกรณีทั้เกิดSTEMI หรืออยู่ในข่าย acute
MI เช่นมี LBBB
6. กรณีรู้สึกตัว ทำาตามสั่งแต่อยู่ในภาวะSTEMIหรือเข้า
ข่ายacute MI ได้สูงให้ไปรับการตรวจหัวใจฉีดสีดู
หลอดเลือดหัวใจ และขยายหลอดเลือดโคโรนารี
7.เมื่อขยายหลอดเลือดโคโรนารีแบบฉุกเฉินกลับมามี
coronary refusionแล้วหรือวินิจฉัยไม่ได้เกิดจาก
การดูแลผู้ป่วยเกี่ยวกับ
ระบบต่างๆ
Respiration

รักษาค่า PaO2~100mmHg

FiO2 น้อยสุด คือควรตำากว่า <0.6 เลี่ยง
เกิดoxigentoxicity

KeepO2sat>94%

ติดตามABG PaO2/FiO2 ratio

เพื่อประเมินการเกิดacute lung injury

ในขณะใช้ Lung protective ventilation

ด้วยการให้ Tidal volum 6-8 ml/kg เพื่อให้
ได้PaCO2 40-45
Circulation

MAP>65mmHg SBP>90mmHg

ควรมี arterial line

ให้สารนำ้า NSS ringer lactate เร็วๆอาจ
ให้Dopamine 5-10ug/kg/min OR
norepinephrine0.1-
0.5ug/kg/min,epinephrine0.1-0.5ug/kg/min
HEART

เฝ้าระวังการเกิดหัวใจเต้นผิดจังหวะและให้การรักษา
ไม่แนะนำาให้ใช้ antiarrhythmic เพื่อป้องกันการ
เกิด(ยกเว้นแมกนีเซียม ดูจากค่า QT interval)โดย
พยายามแก้ไขสาเหตุ

ดู EKG 12 Lead ,troponin ให้ aspirin,heparin
ส่งตรวจcoronary angiogramร่วมขยายโคโรนารี
ที่อุดตัน(PCI,percutaneous coronary
intervention)

Echocardiogram diagnosis global
stunning,wall motion abnormality from MI
Neurological

ตรวจ GCS,pain stimuli,light reflex,corneal
reflex,spontaneous eye movement,gag
reflex,cough reflex

ถ้าไม่รู้สุกตัว EEG อาจมีการชักแอบแฝง(non-
convulsive siezure) หากชักให้ยากันชัก

CTเพื่อแยกความผิดปกติเกิดจากสมอง

รักษาอุณหภูมิ ไม่ให้เกิน 37 องศาเซลเซียส

Therapetic hypothermia

หากจำาเป็นให้ยา sedate เพื่อป้องกันมีshivering
Metabolic

ติดตามค่า Blood lactate เพื่อให้แน่ใจว่าได้รับ
ออกซิเจนเพียงพอ

หลีกเลี่ยง K ตำ่า <3.5 mq/L

Serum Cr prevent AKIต้องให้มีปริมาณเลือดไหล
เวียนเหมาะสม(euvolemia)พิจาณาทำา renal
replacement therapy

Serum glucose Keep 144-180mg/dL

เลี่ยง hypotonic prevent brain edema
Therapeutic Hypothermia
แนะนำาให้ทำาเพื่อช่วยปกป้องสมองและอวัยวะอื่นๆ ลด
อัตราการขาดเลือด ลดภาวะสมองบวม ลดความดันใน
กะโหลกศีรษะ ลดการรั่วของสารนำ้า blood brain
barrier ลดการหลังสารกระตุ้นการอักเสบ
ควรหลีกเลี่ยงการทำา active rewarming ในผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว
ที่เกิดภาวะ mild hypothermia(อุณหภูมิมากกว่า 32 'C
เอง)ภายหลัง ROSC
The goal is to reduce the core body temperature to the 32-
34°C as quickly as possible. Once in the Emergency
Departmen

ภาวะพบบ่อยTherapeutic Hypothermia เช่น
bradycardia,low
cardiacoutput,vasocostriction,Hyperglycemia

แต่ภาวะ Hyperthemia หลังหัวใจหยุดเต้นอาจเกิด
การกระตุ้นหลั่ง inflammatory cytokines
คล้ายsepsis หาก BT>37.6'C survial outcome ไม่
ดีใน American Heart Association Guideline for
Cardiopulmonary Resuscitation and
Eemergency Cardiovascula Care จึงแนะนำาให้
ทำาการป้องกัน Hyperthermia
อ้างอิง

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลChutchavarn Wongsaree
 
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรัง
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรังUpdate การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรัง
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรังChutchavarn Wongsaree
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...Dr.Suradet Chawadet
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...Utai Sukviwatsirikul
 
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลการอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลChutchavarn Wongsaree
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการUtai Sukviwatsirikul
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57Sirinoot Jantharangkul
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Aphisit Aunbusdumberdor
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)piyarat wongnai
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟูคู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟูUtai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 

Was ist angesagt? (20)

Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
 
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรัง
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรังUpdate การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรัง
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรัง
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
 
Shock
ShockShock
Shock
 
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลการอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
 
EKG in ACLS
EKG in ACLSEKG in ACLS
EKG in ACLS
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟูคู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
Diabetic ketoacidosis
Diabetic ketoacidosisDiabetic ketoacidosis
Diabetic ketoacidosis
 

Andere mochten auch

Post resuscitation care
Post resuscitation carePost resuscitation care
Post resuscitation careKane Guthrie
 
Post resuscitation care
Post resuscitation  carePost resuscitation  care
Post resuscitation carejenraajesh
 
Debbie's Cardiac Meds Presentation Final Nn
Debbie's Cardiac Meds Presentation Final NnDebbie's Cardiac Meds Presentation Final Nn
Debbie's Cardiac Meds Presentation Final Nnguestf41297
 
Cardiac output
Cardiac outputCardiac output
Cardiac outputatsmp
 
Cardiac Electrophysiology
Cardiac ElectrophysiologyCardiac Electrophysiology
Cardiac ElectrophysiologyTeleClinEd
 
Post–Cardiac Arrest Care
Post–Cardiac Arrest CarePost–Cardiac Arrest Care
Post–Cardiac Arrest CareSun Yai-Cheng
 
Head injury types, clinical manifestations, diagnosis and management
Head injury  types, clinical manifestations, diagnosis and managementHead injury  types, clinical manifestations, diagnosis and management
Head injury types, clinical manifestations, diagnosis and managementVibha Amblihalli
 

Andere mochten auch (7)

Post resuscitation care
Post resuscitation carePost resuscitation care
Post resuscitation care
 
Post resuscitation care
Post resuscitation  carePost resuscitation  care
Post resuscitation care
 
Debbie's Cardiac Meds Presentation Final Nn
Debbie's Cardiac Meds Presentation Final NnDebbie's Cardiac Meds Presentation Final Nn
Debbie's Cardiac Meds Presentation Final Nn
 
Cardiac output
Cardiac outputCardiac output
Cardiac output
 
Cardiac Electrophysiology
Cardiac ElectrophysiologyCardiac Electrophysiology
Cardiac Electrophysiology
 
Post–Cardiac Arrest Care
Post–Cardiac Arrest CarePost–Cardiac Arrest Care
Post–Cardiac Arrest Care
 
Head injury types, clinical manifestations, diagnosis and management
Head injury  types, clinical manifestations, diagnosis and managementHead injury  types, clinical manifestations, diagnosis and management
Head injury types, clinical manifestations, diagnosis and management
 

Post cardiac arrest care can we make it better?