SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 19
น้ำตาลในน้ำอัดลม โครงงานเรื่อง
จัดทำโดย ด . ญ . ณัชชา พุทธรัสสุ เลขที่  10 ม .1/17 ด . ญ . ณัฐริกา คุ้มแก้ว เลขที่  14 ม .1/17 ด . ช . เดชธนภัทร์ จบศรี เลขที่  19 ม .1/17 ด . ช . ธนวัฒน์ ตันทัตสวัสดิ์ เลขที่  21 ม .1/17 ด . ช . ธนเสฏฐ์ วสุศักดิ์ศิริ เลขที่  26 ม .1/17 ด . ญ . ปุณณดา คำพันธุ์ เลขที่  58 ม .1/17 นำเสนอ อ.สุมน คณานิตย์
คำนำ รายงานเล่มนี้ เป็นส่วนหนึ่งของวิชา สุขศึกษาจัดทำขึ้นเพื่อประกอบการเรียนการทดลองหาค่าน้ำตาลในน้ำอัดลม เพื่อที่จะให้คนที่ได้ชมได้อ่านนั้น รู้ถึงระดับน้ำตาลในน้ำอัดลมว่ามีมากน้อยแค่ไหนในแต่ละยี่ห้อ ยี่ห้อไหนมีน้ำตาลมากกว่ากันและน้ำตาลมีโทษและผลดีอย่างไรต่อร่างกาย และวิธีหาระดับน้ำตาลในน้ำอัดลมว่ามีวิธีการหาอย่างไร
สารบัญ หน้า แนวความคิดโครงงาน 1 วัตถุประสงค์ในการจัดทำ 2 อุปกรณ์การทดลอง 3 ขันตอนการทดลอง 4-8 ผลการดำเนินงานที่ได้ 9 โทษและประโยชน์ 10-11 สาระเพิ่มเติม 12 -14
เพื่อให้เราทราบถึงอันตรายในเครื่องดื่มประเภทน้ำอัดลมแต่ละชนิดถ้าเราดื่มเข้าไปมากๆ แล้วจะได้รับอันตรายจากการดื่มเพียงใด จะมีประโยชน์หรือว่าให้โทษมากกว่ากัน แนวความคิดที่จัดทำโครงงาน 1
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],วัตถุประสงค์ในการจัดทำ 2
จัดเตรียมอุปกรณ์ ดังนี้ น้ำอัดลม หม้อ แก๊ซ ช้อน 3 อุปกรณ์ในการทดลอง
1. วางหม้อไว้บนเตา   4 ขั้นตอนการทดลอง
2. เปิดไฟแล้วใส่น้ำอัดลมลงไปในหม้อ  5 ขั้นตอนการทดลอง
3. เปิดไฟให้แรงเพื่อจะให้เดือด   6 ขั้นตอนการทดลอง
4. เมื่อน้ำเดือดแล้วก็ค่อยๆ เบาไฟลงเพื่อให้น้ำแห้ง   7 ขั้นตอนการทดลอง
5. รอจนน้ำแห้งเสร็จแล้วก็ปิดไฟ   6. ใช้ช้อนขูดออกแล้วนำไปชั่งเพื่อหาน้ำหนักของน้ำตาล   7. นำน้ำตาลที่ได้ไปชั่งเพื่อหาค่าปริมาณน้ำตาล  8 ขั้นตอนการทดลอง
มิรินด้า  6  ช้อนชา แป๊บซี่แม็ก  6  ช้อนชา แป๊บซี่   6 ช้อนชา แป๊บซี่โรงเรียน  1 ส่วน 4  ช้อนชา 9 ผลการดำเนินงานที่ได้
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],10 โทษและประโยชน์
ประโยชน์ น้ำตาลทรายหวานอร่อยและยังมีประโยชน์ใช้สอยอื่นๆ ที่ช่วยให้ชีวิตในบ้านของคุณง่ายขึ้นอีกด้วย ทำความสะอาดมือ  :  น้ำตาล เป็นสารที่มีฤทธิ์ในการขัดลอก เพราะฉะนั้นถ้ามือคุณเปื้อนคราบสกปรกโดยเฉพาะคราบมัน ที่ล้างออกได้ยากทั้ง หลาย ลองใช้น้ำตาลทรายถูมือ มันจะช่วยทำความสะอาดได้อย่างหมดจด ดักมด  :   ต้ม น้ำตาลกับน้ำเล็กน้อยจนเป็นน้ำเชื่อมเหนียวๆ แล้วเทน้ำเชื่อมใส่ลงในขวดปากกว้างหรือชาม จากนั้นวางทิ้งไว้ในที่เปิดโล่ง มันจะดึงดูดมดเข้ามาลิ้มรสความหวาน แล้วก็จะตกลงไป บรรเทาอาการลิ้นพอง  :   ถ้าคุณบังเอิญกินอาหารร้อนๆ หรือเครื่องดื่มร้อนจัดเข้าไปจนรู้สึกเหมือนลิ้นแทบพ อง ลองโรยน้ำตาลทรายลงบนลิ้นแล้วอมเอาไว้ชั่วคราว อาการปวดแสบปวดร้อนจะดีขึ้น ฆ่าแมลงสาบ  :   ผสมน้ำตาลทรายกับผงฟูในปริมาณเท่าๆ กัน น้ำตาลทรายจะเรียกให้แมลงสาบเข้ามากิน แล้วผงฟูก็จะทำให้แมลงสาบตาย จับแมลงวัน  :   ต้มน้ำครึ่งลิตรกับน้ำตาลทรายและพริกไทย  ( ราวหนึ่งช้อนชา )  แล้วเทใส่ไว้ในชาม มันจะดึงดูดแมลงวันให้เข้ามา แล้วก็จะตกลงไปตายในน้ำ จุดไฟ  :   ถ้าคุณมีปัญหาในการติดเตาถ่าน ลองโรยน้ำตาลทรายลงไปสักหยิบมือหนึ่งก่อนจุดไฟ น้ำตาลทรายจะช่วยทำให้ไฟติดได้ง่ายขึ้น รักษาความสดของบิสกิต  :   ใส่น้ำตาลทรายเล็กน้อยลงในโหลใส่บิสกิตของคุณ มันจะช่วยดูดซับความชื้นและทำให้บิสกิตคงความกรอบได้ ยาวนานกว่า เค้กสดใหม่   :   โรยน้ำตาลทรายเล็กน้อยลงบนเค้กที่ทำเองที่บ้านในขณะท ี่มันยังร้อนอยู่ เค้กของคุณจะคงความสดใหม่ได้นานขึ้น 11 โทษและประโยชน์
นํ้าตาล น้ำอัดลมส่วนใหญ่ประกอบด้วยน้ำตาลและน้ำเชื่อมจากข้าวโพด ซึ่งมีน้ำตาลประเภทฟรักโทสอยู่ ปริมาณการบริโภคน้ำตาลที่องค์การอนามัยโลกแนะนําอยู่ที่ประมาณ ๘ - ๑๑ ช้อนชาต่อวัน แต่จากการทดสอบของนิตยสาร  UTUSAN KON SUMER   พบว่าเครื่องดื่มที่วางจำหน่ายส่วนใหญ่มีน้ำตาลอยู่กระป๋องละประมาณ ๔ - ๑๕ ช้อนชา    น้ำตาล ๑ ช้อนชามีพลังงาน ๑๖ แคลอรี   ถ้าเราดื่มแป๊ปซี่ ขนาด ๓๒๕ ซีซี มีน้ำตาล ๕ ช้อนชาครึ่ง เราจะได้พลังงาน ๘๘ แคลอรี่ ถ้าดื่มสไปร้ท์ มีน้ำตาล ๖ ช้อนชาครึ่ง น้ำส้ม มิรินด้ามี ๗ ช้อนชาครึ่ง เป็นต้น ยิ่งดื่มมากก็ยิ่งได้มากจึงเป็นสาเหตุของความอ้วนได้อีกประการหนึ่ง   ถ้าดื่มวันละกระป๋องร่างกายก็ได้รับน้ำตาลมากแล้ว   ไม่รวมกับน้ำตาลจากแหล่งอื่นอีก   ซึ่งก็คงไม่น้อยยิ่งดื่มทุกวันแน่นอนว่าสุขภาพย่อมทรุดโทรมลงเรื่อยๆ   เป็นต้นว่า   ฟันผุ   มีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวาน   มีโอกาสเป็นโรคหัวใจ   อาหารไม่ย่อย   และอื่นๆ   โดยเฉลี่ยแล้วน้ำอัดลมให้พลังงานประมาณ ๓๕ - ๔๕ แคลอรีต่อ ๑๐๐ มล . แต่เป็นพลังงานที่เรียกว่า  emptycalory   ในทางโภชนาการถือว่ามีคุณค่าทางอาหารต่ำ เป็นพลังงานที่ได้มาจากน้ำตาลขัดขาวอย่างเดียว ดื่มน้ำอัดลมมากอาจทำให้คุณเป็นโรคกระดูกพรุน มีการศึกษาหลายชิ้นที่ชี้ให้เห็นว่าการดื่มน้ำอัดลมมากเกินไป ไม่ว่าจะแบบมีหรือไม่มีน้ำตาลก็ตาม จะทำให้ร่างกายสูญเสียแร่ธาตุ เช่น แคลเซียม แมกนีเซียม และธาตุรองอื่นๆ ออกไปกับปัสสาวะ ยิ่งสูญเสียแร่ธาตุมากเท่าใดอัตราเสี่ยงต่อการเป็นโรคกระดูกพรุน ข้อเสื่อม  http://sumon-kananit.socialgo.com/magazine/read/_1959.html 12 สาระเพิ่มเติม
1 3 เชื่อหรือไม่ว่า เครื่องดื่มรสอร่อยที่คุณชื่นชอบที่วันหนึ่งขอดื่มสัก 1-2  ขวดเพื่อความสดชื่นภายใน 1  ขวดนั้นอาจมีส่วนประกอบของน้ำตาลถึง  12  ช้อนชา   =  48  กรัม   = 196   แคลอรี่ หมายถึงเมื่อคุณดื่มหมด  1  ขวด คุณจะได้น้ำตาลเกินจากข้อกำหนดที่แนะนำให้กินต่อวัน ถึง  2  เท่าตัวทีเดียว เพียงแค่  1  ขวดเท่านั้นยังไม่นับรวมถึงอาหาร  3  มื้อที่คุณซื้อกินอยู่ทุกวัน กล่าวถึงตรงนี้ก็แทบไม่อยากคิดเลยว่าวันหนึ่งๆ คุณจะได้รับน้ำตาลมากเป็นปริมาณเท่าไร องค์การอนามัยโลกได้กำหนดให้ปริมาณน้ำตาลไม่ควรเกินร้อยละ   10  ของปริมาณพลังงานที่ได้รับใน   1  วัน สำหรับคนไทยข้อแนะนำการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของคนไทยก็ได้ระบุไว้ชัดเจนว่า   น้ำมัน   เกลือ   น้ำตาลให้กินแต่น้อยเท่าที่จำเป็น   ทั้งนี้ได้มีการกำหนดปริมาณน้ำตาลว่าไม่ควรเกิน   4, 6  และ   8  ช้อนชา   สำหรับผู้ต้องการพลังงาน   1,600 2,000  และ   2,400  กิโลแคลอรี   ซึ่งเท่ากับประมาณร้อยละ   5  โดยเฉลี่ย   โดยส่วนที่เหลือได้ไว้สำหรับน้ำตาลที่ได้รับจากอาหารอื่นซึ่งไม่ทราบปริมาณ อย่างไรก็ตาม   เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกันจึงแนะนำปริมาณน้ำตาลสำหรับประชากรโดยทั่วไป   คือ   ควรกินไม่เกิน   6  ช้อนชา   หรือ   24  กรัม   ใน   1  วัน   ตัวเลข   6  ช้อนชาต่อวัน   เมื่อรู้แล้วอย่าเพิ่งตกใจหรือยึดติดกับตัวเลขนี้ให้มากนัก   เพราะหลังจากอ่านบทความนี้จบ   เป้าหมายของคุณไม่ได้อยู่การกินน้ำตาลให้ไม่เกิน   6  ช้อนชาต่อวัน   แต่อยู่ที่การลดการกินน้ำตาลต่อวันต่างหาก พึงระลึกไว้เสมอว่าการกินน้ำตาลแม้ลดลงเพียงช้อนเดียวก็สามารถช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคได้แล้วดีกว่าที่คุณจะไม่เริ่มทำอะไรเลยและบอกกับตัวเองว่า   “ ไม่มีทางเป็นไปได้ที่จะกินน้ำตาลให้ไม่เกิน   6  ช้อนชา ”   [  ที่มา ..  นิตยสารหมอชาวบ้าน   ปีที่   29  ฉบับที่   345  มกราคม   2551]  http://www.elib-online.com/doctors51/food_sugar001.html สาระเพิ่มเติม
1 4 ช่วงอายุ ความต้องการพลังงาน ปริมาณน้ำตาลไม่ควร ( กิโลแคลอรี / วัน ) เกิน  ( ช้อนชา / วัน ) เด็กอายุ   6-13  ปี   หญิงวัยทำงานอายุ   25-60  ปี   ผู้สูงอายุ   60  ปีขึ้นไป   1 ,600 4 วัยรุ่นหญิงอายุ   14-25  ปี ชายวัยทำงานอายุ   25-60  ปี   2,000 6 หญิงชายที่ใช้พลังงานมากๆ   เช่น   เกษตรกร   ผู้ใช้แรงงาน   นักกีฬา   2,4000 8 * น้ำตาล   1  ช้อนชา   = 4  กรัม ( น้ำตาล   1  ช้อนชา   เท่ากับ   4  กรัม   ให้พลังงาน   16  แคลอรี่ ) [  ที่มา ..  นิตยสารหมอชาวบ้าน   ปีที่   29  ฉบับที่   345  มกราคม   2551]  http://www.elib-online.com/doctors51/food_sugar001.html สาระเพิ่มเติม
ขอจบการนำเสนอแต่เพียงเท่านี้ ครับ/ค่ะ The End

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5Tikaben Phutako
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนTwatchai Tangutairuang
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4Krumatt Sinoupakarn
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงchanon leedee
 
รวมบทความสารคดี
รวมบทความสารคดีรวมบทความสารคดี
รวมบทความสารคดีHahah Cake
 
โครงงานประโยชน์ของผลไม้
โครงงานประโยชน์ของผลไม้โครงงานประโยชน์ของผลไม้
โครงงานประโยชน์ของผลไม้greatzaza007
 
เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5Peerada Ch
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1teerachon
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Taraya Srivilas
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติPhakawat Owat
 
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์ทับทิม เจริญตา
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลGuntima NaLove
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5Nontagan Lertkachensri
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 

Was ist angesagt? (20)

เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 
รวมบทความสารคดี
รวมบทความสารคดีรวมบทความสารคดี
รวมบทความสารคดี
 
โครงงานประโยชน์ของผลไม้
โครงงานประโยชน์ของผลไม้โครงงานประโยชน์ของผลไม้
โครงงานประโยชน์ของผลไม้
 
เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
 
ปก
ปกปก
ปก
 
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 

Andere mochten auch

โครงงานวิทยาศาสตร์หัวหอมเเดง
โครงงานวิทยาศาสตร์หัวหอมเเดงโครงงานวิทยาศาสตร์หัวหอมเเดง
โครงงานวิทยาศาสตร์หัวหอมเเดงnamwan2545
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ดิน
โครงงานวิทยาศาสตร์ ดิน โครงงานวิทยาศาสตร์ ดิน
โครงงานวิทยาศาสตร์ ดิน Nichatcha Aryowong
 
รักษ์สุดา
รักษ์สุดารักษ์สุดา
รักษ์สุดาruksuda
 
สารคาเฟอีนเร่งรากจากเมล็ดกาแฟ
สารคาเฟอีนเร่งรากจากเมล็ดกาแฟสารคาเฟอีนเร่งรากจากเมล็ดกาแฟ
สารคาเฟอีนเร่งรากจากเมล็ดกาแฟBen Sirawan
 
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุดโครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุดJoy Jantima
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดพัน พัน
 

Andere mochten auch (7)

โครงงานวิทยาศาสตร์หัวหอมเเดง
โครงงานวิทยาศาสตร์หัวหอมเเดงโครงงานวิทยาศาสตร์หัวหอมเเดง
โครงงานวิทยาศาสตร์หัวหอมเเดง
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ดิน
โครงงานวิทยาศาสตร์ ดิน โครงงานวิทยาศาสตร์ ดิน
โครงงานวิทยาศาสตร์ ดิน
 
รักษ์สุดา
รักษ์สุดารักษ์สุดา
รักษ์สุดา
 
สารคาเฟอีนเร่งรากจากเมล็ดกาแฟ
สารคาเฟอีนเร่งรากจากเมล็ดกาแฟสารคาเฟอีนเร่งรากจากเมล็ดกาแฟ
สารคาเฟอีนเร่งรากจากเมล็ดกาแฟ
 
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุดโครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 

Ähnlich wie โครงงานการทดลองน้ำอัดลม B

คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชนคู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชนUtai Sukviwatsirikul
 
Final project
Final projectFinal project
Final projectlooknam7
 
1 aug-2008-siriporn(1)
1 aug-2008-siriporn(1)1 aug-2008-siriporn(1)
1 aug-2008-siriporn(1)giftsairudee
 
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)Jittys Supat
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน 54321_
 
เรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวานเรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวาน54321_
 
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)Wan Ngamwongwan
 
โรคจากการสูบบุหรี
โรคจากการสูบบุหรีโรคจากการสูบบุหรี
โรคจากการสูบบุหรีWan Ngamwongwan
 
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยchooyart
 
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยchooyart
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003maprang1962
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003maprang1962
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003maprang1962
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มากโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มากfainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่fainaja
 

Ähnlich wie โครงงานการทดลองน้ำอัดลม B (20)

Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
Dm
DmDm
Dm
 
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชนคู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
1 aug-2008-siriporn(1)
1 aug-2008-siriporn(1)1 aug-2008-siriporn(1)
1 aug-2008-siriporn(1)
 
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
เรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวานเรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวาน
 
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
 
C-Moocy
C-MoocyC-Moocy
C-Moocy
 
โรคจากการสูบบุหรี
โรคจากการสูบบุหรีโรคจากการสูบบุหรี
โรคจากการสูบบุหรี
 
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
 
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มากโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
 

โครงงานการทดลองน้ำอัดลม B

  • 2. จัดทำโดย ด . ญ . ณัชชา พุทธรัสสุ เลขที่ 10 ม .1/17 ด . ญ . ณัฐริกา คุ้มแก้ว เลขที่ 14 ม .1/17 ด . ช . เดชธนภัทร์ จบศรี เลขที่ 19 ม .1/17 ด . ช . ธนวัฒน์ ตันทัตสวัสดิ์ เลขที่ 21 ม .1/17 ด . ช . ธนเสฏฐ์ วสุศักดิ์ศิริ เลขที่ 26 ม .1/17 ด . ญ . ปุณณดา คำพันธุ์ เลขที่ 58 ม .1/17 นำเสนอ อ.สุมน คณานิตย์
  • 3. คำนำ รายงานเล่มนี้ เป็นส่วนหนึ่งของวิชา สุขศึกษาจัดทำขึ้นเพื่อประกอบการเรียนการทดลองหาค่าน้ำตาลในน้ำอัดลม เพื่อที่จะให้คนที่ได้ชมได้อ่านนั้น รู้ถึงระดับน้ำตาลในน้ำอัดลมว่ามีมากน้อยแค่ไหนในแต่ละยี่ห้อ ยี่ห้อไหนมีน้ำตาลมากกว่ากันและน้ำตาลมีโทษและผลดีอย่างไรต่อร่างกาย และวิธีหาระดับน้ำตาลในน้ำอัดลมว่ามีวิธีการหาอย่างไร
  • 4. สารบัญ หน้า แนวความคิดโครงงาน 1 วัตถุประสงค์ในการจัดทำ 2 อุปกรณ์การทดลอง 3 ขันตอนการทดลอง 4-8 ผลการดำเนินงานที่ได้ 9 โทษและประโยชน์ 10-11 สาระเพิ่มเติม 12 -14
  • 6.
  • 7. จัดเตรียมอุปกรณ์ ดังนี้ น้ำอัดลม หม้อ แก๊ซ ช้อน 3 อุปกรณ์ในการทดลอง
  • 8. 1. วางหม้อไว้บนเตา 4 ขั้นตอนการทดลอง
  • 12. 5. รอจนน้ำแห้งเสร็จแล้วก็ปิดไฟ 6. ใช้ช้อนขูดออกแล้วนำไปชั่งเพื่อหาน้ำหนักของน้ำตาล 7. นำน้ำตาลที่ได้ไปชั่งเพื่อหาค่าปริมาณน้ำตาล 8 ขั้นตอนการทดลอง
  • 13. มิรินด้า 6 ช้อนชา แป๊บซี่แม็ก 6 ช้อนชา แป๊บซี่ 6 ช้อนชา แป๊บซี่โรงเรียน 1 ส่วน 4 ช้อนชา 9 ผลการดำเนินงานที่ได้
  • 14.
  • 15. ประโยชน์ น้ำตาลทรายหวานอร่อยและยังมีประโยชน์ใช้สอยอื่นๆ ที่ช่วยให้ชีวิตในบ้านของคุณง่ายขึ้นอีกด้วย ทำความสะอาดมือ : น้ำตาล เป็นสารที่มีฤทธิ์ในการขัดลอก เพราะฉะนั้นถ้ามือคุณเปื้อนคราบสกปรกโดยเฉพาะคราบมัน ที่ล้างออกได้ยากทั้ง หลาย ลองใช้น้ำตาลทรายถูมือ มันจะช่วยทำความสะอาดได้อย่างหมดจด ดักมด : ต้ม น้ำตาลกับน้ำเล็กน้อยจนเป็นน้ำเชื่อมเหนียวๆ แล้วเทน้ำเชื่อมใส่ลงในขวดปากกว้างหรือชาม จากนั้นวางทิ้งไว้ในที่เปิดโล่ง มันจะดึงดูดมดเข้ามาลิ้มรสความหวาน แล้วก็จะตกลงไป บรรเทาอาการลิ้นพอง : ถ้าคุณบังเอิญกินอาหารร้อนๆ หรือเครื่องดื่มร้อนจัดเข้าไปจนรู้สึกเหมือนลิ้นแทบพ อง ลองโรยน้ำตาลทรายลงบนลิ้นแล้วอมเอาไว้ชั่วคราว อาการปวดแสบปวดร้อนจะดีขึ้น ฆ่าแมลงสาบ : ผสมน้ำตาลทรายกับผงฟูในปริมาณเท่าๆ กัน น้ำตาลทรายจะเรียกให้แมลงสาบเข้ามากิน แล้วผงฟูก็จะทำให้แมลงสาบตาย จับแมลงวัน : ต้มน้ำครึ่งลิตรกับน้ำตาลทรายและพริกไทย ( ราวหนึ่งช้อนชา ) แล้วเทใส่ไว้ในชาม มันจะดึงดูดแมลงวันให้เข้ามา แล้วก็จะตกลงไปตายในน้ำ จุดไฟ : ถ้าคุณมีปัญหาในการติดเตาถ่าน ลองโรยน้ำตาลทรายลงไปสักหยิบมือหนึ่งก่อนจุดไฟ น้ำตาลทรายจะช่วยทำให้ไฟติดได้ง่ายขึ้น รักษาความสดของบิสกิต : ใส่น้ำตาลทรายเล็กน้อยลงในโหลใส่บิสกิตของคุณ มันจะช่วยดูดซับความชื้นและทำให้บิสกิตคงความกรอบได้ ยาวนานกว่า เค้กสดใหม่ : โรยน้ำตาลทรายเล็กน้อยลงบนเค้กที่ทำเองที่บ้านในขณะท ี่มันยังร้อนอยู่ เค้กของคุณจะคงความสดใหม่ได้นานขึ้น 11 โทษและประโยชน์
  • 16. นํ้าตาล น้ำอัดลมส่วนใหญ่ประกอบด้วยน้ำตาลและน้ำเชื่อมจากข้าวโพด ซึ่งมีน้ำตาลประเภทฟรักโทสอยู่ ปริมาณการบริโภคน้ำตาลที่องค์การอนามัยโลกแนะนําอยู่ที่ประมาณ ๘ - ๑๑ ช้อนชาต่อวัน แต่จากการทดสอบของนิตยสาร UTUSAN KON SUMER พบว่าเครื่องดื่มที่วางจำหน่ายส่วนใหญ่มีน้ำตาลอยู่กระป๋องละประมาณ ๔ - ๑๕ ช้อนชา   น้ำตาล ๑ ช้อนชามีพลังงาน ๑๖ แคลอรี ถ้าเราดื่มแป๊ปซี่ ขนาด ๓๒๕ ซีซี มีน้ำตาล ๕ ช้อนชาครึ่ง เราจะได้พลังงาน ๘๘ แคลอรี่ ถ้าดื่มสไปร้ท์ มีน้ำตาล ๖ ช้อนชาครึ่ง น้ำส้ม มิรินด้ามี ๗ ช้อนชาครึ่ง เป็นต้น ยิ่งดื่มมากก็ยิ่งได้มากจึงเป็นสาเหตุของความอ้วนได้อีกประการหนึ่ง ถ้าดื่มวันละกระป๋องร่างกายก็ได้รับน้ำตาลมากแล้ว ไม่รวมกับน้ำตาลจากแหล่งอื่นอีก ซึ่งก็คงไม่น้อยยิ่งดื่มทุกวันแน่นอนว่าสุขภาพย่อมทรุดโทรมลงเรื่อยๆ เป็นต้นว่า ฟันผุ มีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวาน มีโอกาสเป็นโรคหัวใจ อาหารไม่ย่อย และอื่นๆ โดยเฉลี่ยแล้วน้ำอัดลมให้พลังงานประมาณ ๓๕ - ๔๕ แคลอรีต่อ ๑๐๐ มล . แต่เป็นพลังงานที่เรียกว่า emptycalory ในทางโภชนาการถือว่ามีคุณค่าทางอาหารต่ำ เป็นพลังงานที่ได้มาจากน้ำตาลขัดขาวอย่างเดียว ดื่มน้ำอัดลมมากอาจทำให้คุณเป็นโรคกระดูกพรุน มีการศึกษาหลายชิ้นที่ชี้ให้เห็นว่าการดื่มน้ำอัดลมมากเกินไป ไม่ว่าจะแบบมีหรือไม่มีน้ำตาลก็ตาม จะทำให้ร่างกายสูญเสียแร่ธาตุ เช่น แคลเซียม แมกนีเซียม และธาตุรองอื่นๆ ออกไปกับปัสสาวะ ยิ่งสูญเสียแร่ธาตุมากเท่าใดอัตราเสี่ยงต่อการเป็นโรคกระดูกพรุน ข้อเสื่อม http://sumon-kananit.socialgo.com/magazine/read/_1959.html 12 สาระเพิ่มเติม
  • 17. 1 3 เชื่อหรือไม่ว่า เครื่องดื่มรสอร่อยที่คุณชื่นชอบที่วันหนึ่งขอดื่มสัก 1-2 ขวดเพื่อความสดชื่นภายใน 1 ขวดนั้นอาจมีส่วนประกอบของน้ำตาลถึง 12 ช้อนชา = 48 กรัม = 196 แคลอรี่ หมายถึงเมื่อคุณดื่มหมด 1 ขวด คุณจะได้น้ำตาลเกินจากข้อกำหนดที่แนะนำให้กินต่อวัน ถึง 2 เท่าตัวทีเดียว เพียงแค่ 1 ขวดเท่านั้นยังไม่นับรวมถึงอาหาร 3 มื้อที่คุณซื้อกินอยู่ทุกวัน กล่าวถึงตรงนี้ก็แทบไม่อยากคิดเลยว่าวันหนึ่งๆ คุณจะได้รับน้ำตาลมากเป็นปริมาณเท่าไร องค์การอนามัยโลกได้กำหนดให้ปริมาณน้ำตาลไม่ควรเกินร้อยละ 10 ของปริมาณพลังงานที่ได้รับใน 1 วัน สำหรับคนไทยข้อแนะนำการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของคนไทยก็ได้ระบุไว้ชัดเจนว่า น้ำมัน เกลือ น้ำตาลให้กินแต่น้อยเท่าที่จำเป็น ทั้งนี้ได้มีการกำหนดปริมาณน้ำตาลว่าไม่ควรเกิน 4, 6 และ 8 ช้อนชา สำหรับผู้ต้องการพลังงาน 1,600 2,000 และ 2,400 กิโลแคลอรี ซึ่งเท่ากับประมาณร้อยละ 5 โดยเฉลี่ย โดยส่วนที่เหลือได้ไว้สำหรับน้ำตาลที่ได้รับจากอาหารอื่นซึ่งไม่ทราบปริมาณ อย่างไรก็ตาม เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกันจึงแนะนำปริมาณน้ำตาลสำหรับประชากรโดยทั่วไป คือ ควรกินไม่เกิน 6 ช้อนชา หรือ 24 กรัม ใน 1 วัน ตัวเลข 6 ช้อนชาต่อวัน เมื่อรู้แล้วอย่าเพิ่งตกใจหรือยึดติดกับตัวเลขนี้ให้มากนัก เพราะหลังจากอ่านบทความนี้จบ เป้าหมายของคุณไม่ได้อยู่การกินน้ำตาลให้ไม่เกิน 6 ช้อนชาต่อวัน แต่อยู่ที่การลดการกินน้ำตาลต่อวันต่างหาก พึงระลึกไว้เสมอว่าการกินน้ำตาลแม้ลดลงเพียงช้อนเดียวก็สามารถช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคได้แล้วดีกว่าที่คุณจะไม่เริ่มทำอะไรเลยและบอกกับตัวเองว่า “ ไม่มีทางเป็นไปได้ที่จะกินน้ำตาลให้ไม่เกิน 6 ช้อนชา ” [ ที่มา .. นิตยสารหมอชาวบ้าน ปีที่ 29 ฉบับที่ 345 มกราคม 2551] http://www.elib-online.com/doctors51/food_sugar001.html สาระเพิ่มเติม
  • 18. 1 4 ช่วงอายุ ความต้องการพลังงาน ปริมาณน้ำตาลไม่ควร ( กิโลแคลอรี / วัน ) เกิน ( ช้อนชา / วัน ) เด็กอายุ 6-13 ปี หญิงวัยทำงานอายุ 25-60 ปี ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป 1 ,600 4 วัยรุ่นหญิงอายุ 14-25 ปี ชายวัยทำงานอายุ 25-60 ปี 2,000 6 หญิงชายที่ใช้พลังงานมากๆ เช่น เกษตรกร ผู้ใช้แรงงาน นักกีฬา 2,4000 8 * น้ำตาล 1 ช้อนชา = 4 กรัม ( น้ำตาล 1 ช้อนชา เท่ากับ 4 กรัม ให้พลังงาน 16 แคลอรี่ ) [ ที่มา .. นิตยสารหมอชาวบ้าน ปีที่ 29 ฉบับที่ 345 มกราคม 2551] http://www.elib-online.com/doctors51/food_sugar001.html สาระเพิ่มเติม