SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 145
Downloaden Sie, um offline zu lesen
โครงการพัฒนาศักยภาพองคกรลุมน้ําและเครือขายในการ
   บริหารจัดการน้ํา (คณะกรรมการลุมน้ําแมกลอง)
  ศักยภาพลุมน้ําแมกลองและกลยุทธในการจัดการ
                      ลุมน้ํา
                   10 กุมภาพันธ 2554
                รศ.ดร.บัญชา ขวัญยืน
               คณะกรรมการลุมน้ําทาจีน
       คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน ม.เกษตรศาสตร
                                                   1
หัวขอการบรรยายและแลกเปลี่ยน
     1. ปญหาการจัดการน้ําของประเทศและภาคตะวันตก
     2. ศักยภาพและกลยุทธในการบริหารจัดการลุมน้ําแมกลอง
     3. ประสบการณในการวางกลยุทธในการบริหารจัดการลุม
     น้ําทาจีน
     4. ขอเสนอแนะในการบริหารจัดการน้ําระดับลุมน้ํา และ
     ระดับพืนที่
              ้

                                                      2
บรรเทา
    จรรโลง                                          การเพาะปลูก
                               ภัยแลง
ศาสนา วัฒนธรรม                                                                     อนุรักษดิน
   ประเพณี
                                   น้ําเพื่อสุขภาพ
                                   และสันทนาการ                       น้ําเพื่อ
                                                                     การเกษตร
              น้ํากินน้ําใช
                                                                                     เพาะเลี้ยง
 น้ําเพื่อ                                                                            สัตวน้ํา
การชะลาง
                                     น้ําเพื่อชีวิต                            ปศุสัตว
 หลอเลี้ยง
  ลําน้ํา                                                   อุตสาหกรรม
                     น้ําเพื่อ                                                     การเดินเรือ
                   ระบบนิเวศ
                                         บรรเทา
ดับไฟปา                                 น้ําเสีย                  น้ําเพื่อ
                                                                  การผลิต

        แหลงเชื่อม                    ปองกัน                                        การผลิต
                                      การรุกตัว      การทองเที่ยว
         โยงนิเวศ                                                                     พลังงาน
        บกและทะเล                    ของน้ําเค็ม                                            3
สถานการณน้ําของโลก (โดยดัชนีการขาดแคลนน้ําของสถาบันการจัดการน้ํานานาชาติ IWMI)




                                                ประเทศไทยในป
                                                2568 จะมีการ
                                                ขาดน้ําดาน
                                                เศรษฐศาสตร
5
การแบงชั้นคุณภาพลุมน้ําของประเทศไทย




WSC 1A- เปนปาปองกันบนพื้นทีตนน้ําลําธาร
                                ่
WSC 1B - ลักษณะกายภาพเชนเดียวกันกับ 1A ที่ถูกใชประโยชนไปแลว
WSC 2 - ต่ําลงมาจาก 1A ลาดชันนอยกวา เปนปาเศรษฐกิจ+รักษาตนน้ําลําธาร
WSC 3 - ตอจากลุมน้ําชั้น 2 ลาดเทนอยลง เปนปาเศรษฐกิจ+ไมผล+ไมยืนตน+ทุงหญา+เกษตรอนุรักษอยางเขมขน
WSC 4 - เชิงเขา ลาดเทนอยลง ทําไร ทําสวน ควรมีมาตรการอนุรักษดิน/น้ํา ที่เหมาะสม
WSC 5 - ที่ราบลุม ทํานา พืชชอบน้ํา ชุมชน กิจกรรมอื่น ๆ                                                 6
กลุมลุมน้ําสาละวิน
                                                                                         ลําน้ําสายหลักในแตละลุมน้ําประธาน
                    3                                  กลุมลุมน้ําเจาพระยา-ทาจีน
                                                                                       ความยาวลําน้าสายหลักรวม 87,200 กม.
                                                                                                   ํ
                                                                     กลุมลุมน้ําสาขาแมนาโขง
                                                                                          ้ํ
             1 6 7                                              2
                                                                                                    ลุมน้ําสายหลัก 25 ลุมน้ํา
                         8             9                                                1.สาละวิน             14.แมกลอง
                                                   4                                    2.โขง                 15.ปราจีน
                     11                     12                                          3.กก                  16.บางปะกง
กลุมลุมน้ําแมกลอง                   10
                             13                             5                           4.ชี                  17.โตนเลสาป
                        14                                                              5.มูล                 18.ชายฝงทะเลตะวันออก
                                                                                                                      
                                                  15 17
                                             16                 กลุมลุมน้ําบางปะกง    6.ปง                 19.เพชรบุรี
                         19                       18
                                                                                        7.วัง                 20.ชายฝงทะเลตะวันตก
                                                                                                                      
                         20
                                                       กลุมลุมน้ําชายฝงทะเลอาวไทย 8.ยม                   21.ภาคใตฝงตะวันออก
                                                                                        9.นาน                22.ตาป
                                                                                        10.เจาพระยา          23.ทะเลสาบสงขลา
                                                                                        11.สะแกกรัง           24.ปตตานี
                   22         21
                                                                                        12.ปาสัก             25.ภาคใตฝงตะวันตก
                        25                                                              13.ทาจีน
                                  23
                                             24
                                                                                                                                  7
     กลุมลุมน้ําชายฝงทะเลอันดามัน
ทิศทางลมและรองมรสุม
   ที่พดผานเขามา
       ั
    ในประเทศไทย

    ฝนในลุมน้ําแมกลองขึ้นอยูกับ
    ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต
    คอนขางมาก




                            8
ปริมาณความตองการน้ําในปจจุบัน
                        อุปโภค-บริโภค
                      2,459 ลาน ลบม./ป
  รักษาระบบนิเวศ             4%          อุตสาหกรรม
12,359 ลาน ลบม./ป                   2,369 ลาน ลบม./ป
       18 %                                  3%




                             การเกษตรและการผลิตไฟฟา
                                53,034 ลาน ลบม./ป
                                      75 %
                                                       9
ลุมน้ําทั่วโลกที่ไดรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
                               แมน้ําเจาพระยาไดรับผลกระทบปานกลาง
                               แมน้ําแมกลองก็จะไดรบผลกระทบบาง
                                                      ั




                                      แมน้ําโขงไดรบผลกระทบรุนแรง
                                                    ั




                                                             10
ผลกระทบการเปลียนแปลงภูมอากาศตอ
              ่        ิ
สถานการณน้ํา
- ปริมาณฝนรายเดือน และรายปเปลี่ยนแปลง
- รูปแบบของฝนคือ จํานวนวันที่ฝนตก เวลา และความเขมของ
ฝนเปลี่ยนแปลง
- ปญหาความรุนแรงและแปรปรวนของน้ําเพิ่มขึ้น
 ทําใหเกิดอุทกภัยและปญหาภัยแลงเพิ่มขึ้น
ภาพรวมผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
                  เหตุการณ                                             แนวโนม
             จํานวนวันที่รอนเพิ่มขึ้น                                   เกิดขึ้นแนนอน
             จํานวนวันที่เย็นลดลง

             ชวงแลงยาวนานขึ้น                                          นาจะเกิดขึนสูง
                                                                                    ้

             ฝนตกหนักขึ้น                                               นาจะเกิดขึนสูง
                                                                                   ้
              พื้นที่ไดรับผลกระทบจากภัยแลงมากขึ้น
                                                                        มีโอกาสเกิด
              ผลกระทบจากพายุมากขึ้น                   มีโอกาสเกิด   นิยามโอกาสเกิดเหตุการณ
                                                                    เกิดขึ้นแนนอน : > 99%
              ผลกระทบจากระดับน้ําทะเล                 มีโอกาสเกิด   นาจะเกิดขึนสูง : > 90%
                                                                               ้
                                                                    มีโอกาสเกิด: > 66%

แผนภูมพยากรณปรากฏการณตางๆ และโอกาสทีจะเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ
      ิ                                ่
                                ของ IPCC
(Western Region)




ปริมาณฝนรายปมีแนวโนมลดลง



                                           13
ความทาทายในการบริหารจัดการน้ําในอนาคต
1. การบริหารจัดการน้ําใหเพียงพอแกประชาชนเพื่อการอุปโภคบริโภค
2. การจัดหาน้ําและการบริหารจัดการน้ําเพื่อการเกษตรใหพอเพียง
3. ความตระหนักดานการพัฒนากิจกรรมตางๆ เพื่อกระตุนเศรษฐกิจ
ซึ่งตองอาศัยน้ําทั้งสิ้น
4. การปองกันรักษาระบบนิเวศนและสิ่งแวดลอมควบคูกับการใช
                                                  
ประโยชน
5. ปญหาการผันแปรของน้ําตามฤดูกาลและสถานที่
ความทาทายในการบริหารจัดการน้ําในอนาคต (ตอ)
6. การจัดการกับความเสี่ยง จากการเปลี่ยนแปลงดานกายภาพและสภาพ
ภูมิอากาศ ซึ่งสงผลตอการเกิดความแหงแลง น้ําทวม การปนเปอนของ
น้ําผิวดิน และน้ําใตดนซึ่งจะสงผลกระทบตอความเสียหายของชีวิต
                      ิ
ทรัพยสิน เศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอม
7. การสรางความตระหนักและความเขาใจ ตอมวลชนเพือกระตุนการ
                                                     ่
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
8. การสรางกระแสหรือการผลักดันใหเกิดผลทางการเมือง
9. การทําใหเกิดความรวมมือระหวางภาคการใชน้ําตางๆ รวมทั้งผูใชนา
                                                                   ้ํ
ในภาคสวนเดียวกัน
อุปสรรคในการแกปญหาการขาดแคลนน้ําแลง น้ําทวม และน้ําเสีย
1. การดําเนินงานระบบลุมน้ําและระบบจังหวัดไมสัมพันธกน
                                                      ั
2. การบริหารจัดการระบบลุมน้ําและการจัดการน้ําไมเปนเอกภาพ จึงไม
                           
คอยมีขาดประสิทธิภาพ เนืองจากมีหนวยงานหลักมากและไมประสานกัน
                         ่
3. การขาดอํานาจเบ็ดเสร็จในการแกไขปญหาลุมน้าแบบองครวม
                                             ํ
4. ขาดงบประมาณและการพัฒนาโครงการที่เหมาะสม
สําหรับระบบลุมน้ํา
              
5. ขาดการมีสวนรวมจากทุกภาคสวน คือ ราชการ สวนทองถิ่น และ
ประชาชน
6. ขาดความรู ความเขาใจ และการปรับตัวตามสถานการณ
                                                            16
นโยบายรัฐบาลดาน
 การบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา
(ดัดแปลงจาก ดร.ศิรพงศ หังสพฤกษ)
                  ิ




                                    17
นรม.
นรม.                                                                                                      เหตุการณสําคัญ
คนที่
                 ชื่อ                                    บริหารจัดการ
                                                                                                              ดานน้ํา


                                - พรบ.ควบคุมการเหมืองฝายและพนัง พ.ศ. 2477
                                เพื่อใหเกิดความชัดเจนในการเกณฑแรงงาน การแบงน้ํา ซึ่งมีความ
        พระยามโนปกรณนิติธาดา
 1                              แตกตางจากมังรายศาสตร (นโยบายการจัดการน้ําของชุมชนลานนา)
                                         งจากมั                                           นนา)
            (มิย.75-มิย.76)
                 75-    76)
                                และไดเขามาชวงชิงอํานาจและความเชื่อดั้งเดิมออกไปจากชุมชน
                                เหมืองฝาย




                                                                                                 - 2482 ฝายสินธุกิจปรีชา ลําปาง
          จอมพล แปลก พิบูล      - 2482 ยกเลิกพรบ.ควบคุมการเหมืองฝายและพนัง พ.ศ. 2477
                                             พรบ.                                                - โครงการชลประทานลุมน้ํา
                                                                                                 ลําตะคอง (ฝาย 9 แหง)
                                                                                                    ตะคอง
 2             สงคราม           - พรบ.ชลประทานราษฎร พ.ศ.2482                                    - โครงการชลประทานแมน้ํา
            (ธค.81-สค.87)
             ธค. 81- สค. 87)    - พรบ.ชลประทานหลวง 2485                                          ทาจีน
                                                                                                 - โครงการชลประทานนครนายก




          จอมพล แปลก พิบูล                                                                       - 2495 เขือนเจาพระยา
                                                                                                           ่
                                - พรบ.พลังงานแหงชาติ พ.ศ.2496
 3             สงคราม                                                                            - 2498 ปตร.ปากระวะ สงขลา,
                                                                                                         ปตร.         สงขลา,
           (เมย.91-กย.00)
            เมย. 91- กย. 00)    - สมาชิกกอตั้งองคกร ICID พ.ศ. 2492                             ฝายรัตภูมิ สงขลา, ปตร.โพธิ์พระยา
                                                                                                            สงขลา, ปตร.




                                                                                                                         18
นรม.
นรม.                                                                                                    เหตุการณสําคัญ
คนที่
                 ชื่อ                                   บริหารจัดการ
                                                                                                            ดานน้ํา


             พจน สารสิน        - เริมโครงการสํารวจเพื่อการพัฒนาลุมน้ําโขงรวมกับ
                                     ่                                                           - 2500 กูเงินธนาคารโลกสราง
 4
           (กย.00-มค.01)
            กย. 00- มค. 01)     สหประชาชาติ (เนนการผลิตไฟฟาจากหลังน้ํา)                       เขื่อนภูมิพล เสร็จ 2507



                                 - แผนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศฉบับที่ 1 (ป พ.ศ. 2504 - พ.ศ.
                                2509) "น้ําไหล ไฟสวาง ทางสะดวก" เนนการใชทางน้ําเพื่อ          - 25 ตุลาคม พ.ศ.2505 เวลา
                                2509)                    ทางสะดวก"
                                                                                                19.00-22.30 น.พายุความเร็วลม
                                                                                                19.00-
        จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต
        จอมพลสฤษดิ         ต   การคมนาคม และเริ่มแนวคิดสรางเขื่อนใหญ 3 เขื่อน
 5                                                                                              180 – 200 กม./ชม.พัดเขาแหลม
                                                                                                           กม./ชม.
          (กพ.02-ธค.06)
           กพ. 02- ธค. 06)       - ใหเทศบาลใชเงินรายไดทําสาธารณูปการโดยอุดหนุนจาก            ตะลุมพุก
                                รัฐบาล/เงินกู
                                   บาล/ กู                                                       - 2506 อางเก็บน้ําเขาเตา
                                 - พรบ.คันและคูน้ํา พ.ศ.2505
                                   พรบ.



                                                                                                2507 เขื่อนภูมิพล
                                                                                                2508 เขื่อนน้ําพุง
                                                                                                2509 เขื่อนแกงกระจาน, อุบล
                                                                                                                 กระจาน,
                                - เรงรัดพัฒนาชนบท / สังคม
                                                                                                รัตน
                                                                                                   น
                                - นโยบายจัดหาน้ําสะอาดและระบบกระจายน้ํา ชป.     ชป.
                                                                                                2512 เขื่อนลําตะคอง, ลําปาว
                                                                                                               ตะคอง,
                                - พรบ.การประปานครหลวง 25 กรกฎาคม 2510
                                   พรบ.
        จอมพล ถนอม กิตติขจร                                                                     2513 เขื่อนลําพระเพลิง
 6                               - พรบ. การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย พ.ศ. 2511
                                   พรบ.
           (ธค.06-ตค.16)
            ธค. 06- ตค. 16)                                                                     2514 เขื่อนสิริกิต, เขื่อนสิรินธร
                                                                                                                  ิ์
                                 - ปญหาการเวนคืนที่ดน    ิ
                                                                                                2515 เขื่อนกิ่วลม, จุฬาภรณ
                                                                                                               ลม,       าภรณ
                                 - บรรจุการสํารวจลุมน้ําโขงโดยความรวมมือกับสหประชาชาติไวใน
                                                                                                2516 เขื่อนน้ําอูน
                                แผนพัฒนาเศีษฐกิจฯ
                                         นาเศี ฐกิ
                                                                                                และเริ่มโครงการปราณบุร, น้ํา
                                                                                                และเริ                         ี
                                                                                                อูน, แมกลองใหญ, หนอง
                                                                                                หวาย, ทาเชียด
                                                                                                หวาย,


         พลตรี มรว. คึกฤทธิ์
               มรว.
 7            ปราโมช            - พรบ.สิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับแรก 2518
                                  พรบ.                                                          2518 เขื่อนดอกกราย
          (มีค.18-มค.19)
               18- มค. 19)
                                                                                                                          19
นรม.
นรม.                                                                                                  เหตุการณสําคัญ
คนที่
                   ชื่อ                                  บริหารจัดการ
                                                                                                          ดานน้ํา

                                   - ใหความสําคัญกับคุณภาพน้ํา
           ธานินทร กรัยวิเชียร
 8
            (ตค.19-ตค.20)
             ตค. 19- ตค. 20)
                                   - พรบ.น้ําบาดาล 23 กรกฏาคม 2520 และกองทุน
                                   พัฒนาน้ําบาดาล

         พล.อ. เกรียงศักดิ์ ชมะ
         พล.                       - พรบ.การประปาสวนภูมิภาค 24 กุมภาพันธ 2522               - น้ําเสียลุมน้ําเจาพระยา
                                                                                                          
 9              นันทน
                    ทน            โดยโอนกิจการประปาสวนภูมิภาคของกรมโยธาธิการ และกิจการการ
                                                             าคของกรมโยธาธิ การ               ทาจีน
           (พย.20-มีค.23)
             พย. 20-    23)        ประปาชนบทของกรมอนามัยไปจัดตั้งเปนรัฐวิสาหกิจ


                                    - รางกฎหมายน้า  ํ                                         - การขัดแยงการใชนาจาก  ้ํ
                                    - ตั้งคณะทํางานเฉพาะกิจดานน้ํา                           การเพิมพื้นที่เกษตรลุมน้ํา
                                                                                                      ่
                                                                                              เจาพระยา
                                    - ตั้ง Eastern Seaboard กําหนดมาบตาพุดเปนนิคม
                                                                                              -การทรุดตัวของดินจากการ
                                   อุตสาหกรรมฯ                                                สูบน้ํา
                                    - เริ่มทําแผนที่ศักยภาพน้าบาดาลรายจังหวัด เสร็จ
                                                             ํ                                 - การบริหารจัดการน้าไมเปน
                                                                                                                      ํ
                                   2544                                                       เอกภาพ
        พลเอก เปรม ติณสูลานนท
                           านนท    - บริหารจัดการน้ําเปนระบบลุมน้ํา                         - พบกาชในอาวไทย
10                                                                                             - ภัยแลงภาคอิสาน
                                                                                                               สาน
            (มีค.23-สค.31)
                 23- สค. 31)        - พัฒนาแหลงน้ําขนาดเล็กและใหประชาชนมีสวน
                                                                                              2523 เขื่อนศรีนครินทร, มูลบน
                                   รวมบริหารจัดการ
                                                                                              2524 เขื่อนกระเสียว, บางลาง
                                                                                                                  ว,
                                    - เพิ่มประสิทธิภาพโครงการที่พัฒนาแลว                     2527 เขื่อนเขาแหลม, หวยหลวง
                                                                                                        นเขาแหลม,
                                                                                              2528 เขื่อนแมงัดสมบูรณชล
                                                                                              2530 เขื่อนรัชชประภา
                                                                                                        นรั ชประภา
                                                                                              2531 เขื่อนคีรีธาร, ทับเสลา
                                                                                                              าร,


                                   - ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการบริหาร                 - 4 พฤศจิกายน 2532 เวลา
                                   จัดการทรัพยากรน้ําแหงชาติ พ.ศ. 2532 กําหนด                08.30 น. พายุไตฝุนเกยเคลื่อน
                                                                                                                      เคลื
        พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ                                                                 เขาสูภาคใตตอนบนดวยความเร็ว
11                                 ประเภทของโครงการพัฒนาแหลงน้ํา
            (สค.31-กพ.34)
             สค. 31- กพ. 34)                                                                  185 กม./ชม.
                                                                                                   กม./ชม.
                                                                                               - ภัยแลง (2534)
                                                                                                          (2534)
                                                                                                                    20
นรม.
นรม.                                                                                                     เหตุการณสําคัญ
คนที่
                 ชื่อ                                   บริหารจัดการ
                                                                                                             ดานน้ํา

                              - โครงการ GMS เปนความรวมมือของ 6 ประเทศ คือ                      2534 เขื่อนลํานางรอง
                              ไทย พมา ลาว กัมพูชา เวียดนาม และจีน (ยูนนาน) ป พ.ศ. 2535
                                                                       นาน)                      ภัยแลงตอเนื่อง (2535)
                                                                                                                  (2535)
          อานันท ปนยารชุน
                     ยารชุ
12                            - พรบ.น้ําบาดาล(ฉบับที่ 2) 2 เมษายน 2535
                                พรบ. บาดาล(
           (มีค.34-มีค.35)
                34-    35)


                              - ลงนามในขอตกลงกรรมาธิการแมน้ําโขง(MRC) 5 เมษายน
                                                                   โขง( MRC)                     ภัยแลง 2536
                              2535                                                               2536 เขื่อนแมกวง, หนองปลา
                                                                                                           นแม วง,
            ชวน หลีกภัย       - การใชมาตรการทางเศรษฐศาสตรในการจัดการน้ํา                       ไหล
13
           (กย.35-กค.38)
            กย. 35- กค. 38)   - การบริหารจัดการน้าเปนระบบลุมน้ําโดยการมีสวนรวมของ
                                                 ํ                                               2537 เขื่อนบางพลวง
                              ประชาชน


                              ตั้งสํานักงานคณะกรรมการน้ําแหงชาติสังกัดสํานัก                    2538 เขื่อนปากมูล
         บรรหาร ศิลปะอาชา     เลขาธิการนายกรัฐมนตรี                                              อุทกภัย (2538, 2539)
                                                                                                          (2538, 2539)
14                                                                                               2539 เขื่อนลําแซะ
          (กค.38-พย.39)
           กค. 38- พย. 39)


                              - แผน 8 เนนคนเปนศูนยกลางการพัฒนา
                              - มติ ครม. 29 เมษายน 2540 ใหชะลอโครงการเขื่อนแกงเสือเตน จ.
                                    ครม.
        พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ
                    ยงใจยุ    แพร เขื่อนโปรงขุนเพชร จ.ชัยภูมิ เขื่อนลําโดมใหญ จ.อุบลราชธานี
15                            เขื่อนรับรอ จ.ชุมพร
          (พย.39-พย.40)
           พย. 39- พย. 40)
                              - เปลียน East Water เปนบริษัทมหาชน
                                    ่


                              - พรบ.กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแก
                                 พรบ.                                                     ก     2541 เขื่อนพระปรงตอนบน
                              องคกรปกครองสวนทองถิน 11 พฤศจิกายน พ.ศ.2542
                                                             ่                                   2542 เขื่อนปาสักชลสิทธิ์
                                                                                                                       ธิ
                              - วิสัยทัศนน้ําแหงชาติ (มติ ครม. 25 กรกฎาคม 2543)
                                                               ครม.                2543)         2543 เขื่อนแมมอก
                                                                                                               มอก
                              - นโยบายน้ําแหงชาติ (มติ ครม. 31 ตุลาคม 2543)
                                                               ครม.             2543)            น้ําทวมหาดใหญ 2543
           ชวน หลีกภัย         - ตั้งอนุกรรมการลุมน้ํานํารอง ปงบน ปงลาง ปาสัก และขยายไป
16
          (พย.40-พย.43)
           พย. 40- พย. 43)    คลองทาตะเภา มูล และบางปะกง
                               - ศึกษาแผนหลัก 25 ลุมน้ํา

                                                                                                                         21
นรม.
นรม.                                                                                          เหตุการณสําคัญ
คนที่
                  ชื่อ                                  บริหารจัดการ
                                                                                                  ดานน้ํา

                                  - ปฏิรูประบบราชการปรับโครงสรางสวนราชการ 3            2444 เขื่อนคลองสียัด
                                  ตุลาคม 2545                                            อุทกภัย (2545)
                                                                                                  (2545)
                                                                                         2547 เขื่อนประแสร
                                                                                                   นประแสร
                                   - ตั้งคณะอนุกรรมการลุมน้ํา 29 คณะ
                                                                                         สึนามิ (26 ธค. 2547)
                                                                                           นามิ (26 ธค. 2547)
                                   - แผนบูรณาการเปนระบบลุมน้ํา                         ภัยแลง (2548)
                                                                                                 (2548)
                                   - รางกระทรวงน้ํา                                     อุทกภัย (2548)
                                                                                                  (2548)
        พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร
              ดร.                  - ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการรับฟงความ       2548 เขื่อนคลองทาดาน
17
            (กพ.44-กย.49)
             กพ. 44- กย. 49)      คิดเห็นของประชาชน 27 กรกฎาคม 2548
                                    - พรบ.น้ําบาดาล(ฉบับที่ 3) 6 มิถุนายน 2546 เก็บคา
                                  อนุรักษน้ําบาดาล




                                  - วาระน้ําแหงชาติ 21 พฤษภาคม 2551                     2550 เขื่อนแควนอย, กิ่ว
                                                                                                          ย,
                                  - พรบ.ปองกันและบรรเทาสาธารณภัย 28 สิงหาคม 2550        คอหมา
                                  - ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการบริหารจัดการ
                                  ทรัพยากรน้ําแหงชาติ พ.ศ. 2550 ยกระดับ
        พลเอก สุรยุทธ จุลานนท
                          านนท
18
           (ตค.49-มค.51)
            ตค. 49- มค. 51)       คณะอนุกรรมการเปนคณะกรรมการลุมน้ํา




            สมัคร สุนทรเวช        - ราง พรบ. น้ําเขาสภาวาระ 2 แตไมครบองคประชุม
19
            (มค.51-กย.51)
             มค. 51- กย. 51)

                                  - ตั้งคณะกรรมการลุมน้ํา 25 คณะ                        2553 ระดับน้ําแมน้ํา
           อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ                                                           โขงลดต่ําสุดรอบ 60 ป
20
            (ธค.51-ปจจุบัน)
             ธค. 51-                                                                     2553 ภาวะน้ําทวม
                                                                                                      22
เปาหมายสําหรับการบริหารจัดการน้ําของ
                 ประเทศไทย
1.ทุกหมูบานมีระบบประปา (การขยายตัวของชุมชน ระบบเดิมใชการ
ไมได)
2.ทุกเมืองหลักและและชุมชนขนาดใหญมีแนวทางและแผนการปองกัน
และบรรเทาอุทกภัย
3.ทุกแหลงน้าหลักมีคณภาพน้ําไมตากวาระดับพอใช
            ํ       ุ           ่ํ
4.ทุกลุมน้ํามีแผนการบริหารจัดการน้ําแบบบูรณาการเปนระบบลุมน้ํา
และมีแผนปฏิบติการในระดับตําบล (หนวยงานและแผนงาน)
                 ั
5.การผลักดันนโยบายไปสูการปฏิบัติ                           23
การจัดการน้ําภาค
ตะวันตก

 ลุมน้ําภาคตะวันตก




                      24
โครงการชลประทานแม
กลองใหญเปนโครงการ
ชลประทานหลักของ
ภูมิภาค




              25
ภาพการจัดการทรัพยากรน้ําภาคตะวันตกในปจจุบัน
1. ภูมภาคตะวันตกมีน้ําคอนขางพอเพียง แตการใชน้ํายังมี
        ิ
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลไมดีพอ รวมทั้งมีการขาดน้ําเฉพาะพื้นที่
2. การบริหารจัดการน้ํา ยังมีปญหาดานการกระจายตัวหรือความเทา
เทียมในการใชน้ําของผูอยูตนน้ําและทายน้ํา
                              
3. พืนที่ปาตนน้ํายังถูกบุกรุกอยางตอเนือง และจําเปนตองมีโครงการ
      ้                                   ่
อนุรักษตนน้ํา
            
4. มีปญหาดานคุณภาพน้ํา มีแนวโนมแยลง รวมทั้งการปนเปอนของ
น้ําใตดน ิ
5. ยังมีปญหาอุทกภัยในทุกลุมน้ํา ในระดับที่แตกตางกัน
                                
                                                                26
ภาพการจัดการทรัพยากรน้ําภาคตะวันตกในปจจุบัน
6. มีปญหาการกัดเซาะชายฝง เชน ลุมน้ําทาจีน ลุมน้ําชายฝงทะเล
                                   
ตะวันตก
7. มีปญหาการพังทลายและการสูญเสียหนาดินจาการปลูกพืชในที่ลาด
ชัน
8. ปญหาการทรุดตัวของแผนดินจาการใชน้ําใตดนเกินศักยภาพในลุม
                                               ิ
น้ําทาจีน และแมกลอง




                                                               27
การบูรณาการรวมกันระหวางลุมน้ําในภูมิภาค
                           
- การใชน้ําตนทุนรวมกันควรมีการแลกเปลี่ยนขอมูล และการ
วางแผนรวมกัน เชน การใชนาและการผันน้ําจากลุมน้ําแมกลอง
                             ้ํ
ไปสูลุมน้ําทาจีน
      
- ลุมน้ําที่มีระบบหรือคลองเชื่อมตอกันควรมีการทํางานบริหาร
จัดการรวมกัน ทั้งในดานปริมาณ และคุณภาพ
- ควรสรางความชัดเจนรวมกันในการจัดการพื้นที่ ซึ่งการแบง
การบริหารงานดวยระบบจังหวัดจะมีความแตกตางจากระบบ
ชลศาสตร

                                                      28
จังหวัด    พื้นที่   % ของ
                               (ตร.กม.) พื้นที่ลุมน้ํา
                    กาญจนบุรี 17,745.17
                       ตาก      4,974.69
                                            57.55%
                                            16.13%
                                                                 2. ลุมน้ําแมกลอง
จ.ตาก                 ราชบุรี   4,571.14    14.82%
                     อุทัยธานี
                    สุพรรณบุรี
                                2,338.99
                                  598.83
                                             7.59%
                                             1.94%               30,836 ตร.กม. (19.27 ลานไร)
                   สมุทรสงคราม
                    สมุทรสาคร
                                  201.40
                                  167.57
                                             0.65%
                                             0.54%
                                                                 9 จังหวัด 11 ลุมน้ําสาขา
  จ.อุทัยธานี        นครปฐม       237.75     0.77%
                     เพชรบุรี        0.46    0.00%
                               30,836.00 100.00%

          จ.สุพรรณบุรี                                    ลําดับที่ กลุมลุมน้ํายอย          ลุมน้ํายอย           พื้นที่   % ของ
                                                                                                                    (ตร.กม.) พื้นที่ลุมน้ํา
                                                             1     แมน้ําแควนอย       1.1 แมน้ําแควนอยตอนบน       4,802.00   15.57%
                                                                                        1.2 แมน้ําแควนอยตอนลาง     3,508.00   11.38%
                                                                                        1.3 หวยปลอก                    946.00   3.07%

   จ.กาญจนบุรี                                               2     แมน้ําแควใหญ
                                                                                   รวมแมน้ําแควนอย
                                                                                        2.1 แมน้ําแควใหญตอนบน
                                                                                                                      9,256.00
                                                                                                                      5,070.00
                                                                                                                                 30.02%
                                                                                                                                 16.44%
                                                                                        2.2 แมน้ําแควใหญตอนลาง     3,692.00   11.97%
                                                                                        2.3 หวยขาแขง                2,476.00    8.03%

                           จ.นครปฐม                                                     2.4 หวยแมจัน
                                                                                        2.5 หวยแมละมุง
                                                                                                                         864.00
                                                                                                                        686.00
                                                                                                                                  2.80%
                                                                                                                                  2.22%
                จ.ราชบุรี จ.สมุทรสาคร                                              รวมแมน้ําแควใหญ                 12,788.00   41.47%
                                                             3     ลําภาชี              ลําภาชี                       2,664.00    8.64%
                         จ.สมุทรสงคราม                       4     หวยตะเพิน           หวยตะเพิน                    2,479.00    8.04%

                    จ.เพชรบุรี                               5     ที่ราบแมน้ําแมกลอง ที่ราบแมน้ําแมกลอง
                                                                                    รวมทั้งหมด
                                                                                                                      3,649.00   11.83%
                                                                                                                    30,836.0029100.00%
สภาพทรัพยากรน้ําในลุมน้ําแมกลอง
1. พื้นที่ปาตนน้ํายังถูกบุกรุกอยางตอเนื่อง และจําเปนตองมีโครงการ
อนุรักษและฟนฟูปาตนน้ํา
2. มีปญหาอุทกภัยในลักษณะน้ําทวมฉับพลันในลุมน้ําลําภาชี และลุม     
น้ําลําตะเพิน รวมถึงพื้นที่ลมน้ําแควนอยทายเขื่อนวชิราลงกรณ
                               ุ
3. ปริมาณน้ําตนทุนพอเพียง ทําใหการใชน้ําระดับแปลงนามี
ประสิทธิภาพต่ํา ในอนาคตอาจมีปญหาการขาดแคลน
                                      
4. มีการขาดน้ําในลุมน้ําสาขาและพื้นที่ตนน้ํา โดยเฉพาะบริเวณดาน
ตะวันออกเฉียงเหนือ (เขตลุมน้ําทาจีน อ.เลาขวัญ และ อ.หวยกระเจา)
                                  
5. การใชน้ําเพื่อการเกษตรในเขตชลประทาน ยังมีประสิทธิภาพต่ํา
6 มีปญหาดานคุณภาพน้ําบริเวณตอนลางและปากแมน้ํา
                                                                  30
ลักษณะที่สําคัญบางประการการลุมน้าแมกลอง
                                 ํ
     1. การใชนาหลัก คือ การชลประทาน และการผลิต
                 ้ํ
     ไฟฟาพลังน้ํา
     2. การผันน้ําจากลุมน้ําแมกลองไปสนับสนุนลุมน้ํา
     ขางเคียง (น.ทาจีน น.เจาพระยา)
     4. จําเปนตองปกปองนิเวศนปากแมน้ํา
     5. การเกิดแผนดินทรุดบริเวณปากแมน้ําจากการใชน้ําใต
                                                       ใต
     ดินมากเกินศักยภาพ
     6. มลภาวะจากภาคเกษตรกรรมมาก (การเพาะปลูก การ
     เลี้ยงสัตว และการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา)
                                                        31
ปริมาณน้ําฝน
        ลุมน้ําแมกลอง




ปริมาณน้ําทาเฉลี่ยรายป 14,400 ลาน ลบ.ม.


                                   ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ย 1,377
                                          มม./ป              32
ภูมิอากาศ
ขอมูลภูมิอากาศทีสําคัญของลุมน้าแมกลอง ซึ่งแตละรายการจะเปน
                   ่              ํ
คาเฉลียสูงสุด คาเฉลี่ยต่าสุด และคาเฉลี่ยเปนรายป
       ่                  ํ

ขอมูลภูมิอากาศที่สําคัญ

 ขอมูลภูมิอากาศที่สําคัญ      หนวย       คาสูงสุดรายป   คาต่ําสุดรายป   คาเฉลี่ยรายป

อุณหภูมิ                    องศาเซลเซียส        28.0             23.3              26.4
ความชื้นสัมพัทธ             เปอรเซ็นต        81.0             68.6              76.1
ความเร็วลม                       นอต           2.6              0.6               1.4
เมฆปกคลุม                        0-10           6.0              5.3               5.7
ปริมาณการระเหยจากถาด          มิลลิเมตร       1,905.1          1,301.9           1,555.1
ปริมาณการคายระเหยของ
                             มิลลิเมตร        1,886.9          1,484.8           1,708.9
พืชอางอิง
เดือน     ปริมาณน้ําฝน   ปริมาณน้ําทา
                                        (มิลลิเมตร)   (ลาน ลบ.ม.)
                              เม.ย.        65.2          139.5
                              พ.ค.        172.4          300.8
                              มิ.ย.       152.0         1,053.5
                              ก.ค.        177.0         2,163.4
ปริมาณฝนและน้ําทารายเดือน
                              ส.ค.        194.0         3,880.1
                              ก.ย.        247.6         2,902.6
                              ต.ค.        216.5         2,481.9
                              พ.ย.         55.8         1,066.5
                              ธ.ค.         5.7           481.2
                              ม.ค.         4.4           302.0
                              ก.พ.         12.8          194.1
                             มี..ค.        30.3          163.9
                             ฤดูฝน       1,159.6        12,782.2
                             ฤดูแลง      174.2         2,347.3
                              ทั้งป     1,333.8        15,129.5      34
100%
                                                               17                               14
                         90%          22
                                                                                 34                                34                                        31                     30
                         80%                                                                                                                                                                          45

                         70%                              คาเฉลี่ยพื้นที่ปาไมทั้งลุม63 ํา 66%
                                                                                        น้                                                                                                                                      54



   พื้นที่ปาไมใน       60%
                         50%
                                                                                                                                                                                                                                                        94


   ลุมน้ําแมกลอง       40%          78
                                                               83                               86
                                                                                                                                                             69                     70
                                                                                 66                                66
                         30%                                                                                                                                                                          55
มีปญหาปาไมถกบุกรุก
              ู          20%                                                                                                               37
                                                                                                                                                                                                                                46


                         10%
                                                                                                                                                                                                                                                               6
                          0%




                                                                                                                                                       7.แมน้ํา แควน อยตอนบน




                                                                                                                                                                                               9.แมน้ํา แควน อยตอนลาง
                                1.แมน้ํา แควใหญต อนบน




                                                                                                            5.แมน้ํา แควใหญต อนลาง




                                                                                                                                                                                                                                                 11.ที่ราบแมน้ํา แมก ลอง
                                                                                                                                                                                                                           10.ลุมน้ํา ลําภาชี
                                                                              3.หวยแมจัน




                                                                                                                                                                                 8.หวยปลอก
                                                                                                                                        6.หวยตะเพิน
                                                             2.หวยแมละมุง




                                                                                             4.หวยขาแขง
                พื้นที่อื่นๆ
                พื้นที่ปาไม


               พื้นที่ปาเศรษฐกิจ (E)                                                        14%                                                3% พื้นที่ปาเกษตรกรรม (A)
                                                            พื้นที่ปาอนุรักษ (C)                                                        83%
                                                                                                                                                                                                                                                                             35
พื้นที่อื่นๆ
                  (ปศุสัตว ประมง แหลงน้ํา)
                  0.86 ลานไร
        ทีอยูอาศัย            พื้นที่เกษตรน้ําฝน
        0.37 ลานไร           3.83 ลานไร
              1.92%4.46% 19.88%
       66.37%
พื้นที่ปาไม 12.79 ลานไร
                                       7.37%


                               พื้นที่ชลประทาน
                               1.42 ลานไร


      การใชที่ดิน
                                         36
เขื่อนชิราลงกรณ   เขื่อนศรีนครินทร
                                                              การพัฒนาแหลงน้ําใน
                                                                           ลุมน้ํา

                                                                จํานวน           ความจุอางเก็บน้ํา      พื้นที่
                                       โครงการ                 โครงการ          รวม          ใชงาน รับประโยชน
                                                                            (ลาน ลบ.ม.) (ลาน ลบ.ม.) (ลานไร)
                            1. โครงการขนาดใหญและขนาดกลาง               6       26,744.8      13,423.8   1.143
                            2. โครงการขนาดเล็กของ ชป.                 191          151.1          151.1  0.244
                            3. โครงการสูบน้ําดวยไฟฟา                 49               -              - 0.075
                                               รวม                    246       26,895.9      13,574.9   1.462

 เขื่อนแมกลอง และ                                  โครงการชลประทานแมกลองใหญ
โครงการชลประทาน                                        โครงการสงน้ํา       พื้นที่โครงการ   พื้นที่ชลประทาน
                                                       และบํารุงรักษา              (ไร)             (ไร)
     แมกลองใหญ
                                                   1 พนมทวน                       344,357            302,935
                                                   2 สองพี่นอง                   380,000            307,000
                                                   3 บางเลน                       369,000            295,200
                                                   4 กําแพงแสน                    316,000            252,800
                                                   5 นครปฐม                       428,000            364,200
                                                   6 นครชุม                       295,420            265,900
                                                   7 ราชบุรีฝงซาย              310,000            257,850
                                                   8 ดําเนินสะดวก                 157,560            126,000
                                                   9 ราชบุรีฝงขวา               314,600            242,200
                                                  10 ทามะกา                      346,000            295,600
                                                                                                          37
                                                     รวม                        3,260,937          2,709,685
การไฟฟาฝายผลิต
    เขื่อนเก็บน้ําวชิราลงกรณ                     เขื่อนเก็บน้ําศรีนครินทร                         เขื่อนทดน้ําทาทุงนา

    ความจุเก็บกักปกติ 8,860 ลาน ม3.            ความจุเก็บกักปกติ 17,745 ลาน ม3.
    น้ําใชการ        5,849 ลาน ม3.            น้ําใชการ        7,470 ลาน ม3.                ความจุเก็บกักปกติ 50 ลาน ม3.
   น้ําไหลเขาอางฯ 5,161 ลาน ม3.              น้ําไหลเขาอางฯ 4,457 ลาน ม3.



                                                กรมชลประทาน
                                                  เขื่อนทดน้ําแมกลอง
                                                                                         ควบคุมระดับเก็บกัก +22.50 ม.รทก.
                                                                                         ระบายน้ําทายเขือน ≥ 70 ม3/วินาที
                                                                                                         ่

                                               การใชน้ํารวม 14,394 ลาน ม3/ป




การเกษตรกรรม                          ผันลงทาจีน ผลักดันน้ําเค็ม การประปานครหลวง
ฤดูฝน 5,109ลาน ม3/ป (2.7 ลานไร) ไมเกิน 1,890 ลาน ม3/ป     ไมต่ํากวา 2,200 ลาน ม3/ป      ไมเกิน 1,260 ลาน ม3/ป
                                                                                                                         38
ฤดูแลง 2,105ลาน ม3/ป (2.7 ลานไร)
สมดุลของน้ําทั้งลุมน้ําแมกลอง (เขื่อนแมกลอง)
แหลงน้ํา
ปลอยจากอางเก็บน้ํา                                     9,967
side flow    (น้ําไหลลงทายเขื่อน)                       4,427
ไหลเขาเขื่อนแมกลอง                                   14,394


การใชน้ํา                                        สภาพปจจุบัน เต็มประสิทธิภาพ
น้ําผันเขาระบบชลประทาน (ม.ค.-มิ.ย.)                     5,109                     5,109
น้ําผันเขาระบบชลประทาน (ก.ค.-ธ.ค.)                      2,105                     2,105
น้ํานอยสุดเพื่อปองกันการรุกตัวน้ําเค็ม                 2,200                     2,200
ผันไปแมน้ําทาจีน                                          709                    1,890
ผันไปเพื่อผลิตน้ําประปา กทม.                                300                    1,419
รวมปริมาณการใชน้ําทั้งป                              10,423                    12,723
ระบายลงทะเล (รักษาระบบนิเวศน)                           3,971                     1,671
ใชน้ํามากกวาที่ปลอยจากอางเก็บน้ํา (เก็บกัก)             456                    2,756
                                                     ใชขอมูลเฉลี่ย 2536-2549 - หนวย: ลาน ลบ.ม.
                                                         
บัญชีน้ําลุมน้ําแมกลองป 2550
ปริมาณน้ําตนทุน (ลานลูกบาศกเมตร) (ขอมูลถึงป 2549)
ก) ปริมาณน้ําที่ถูกควบคุม                         9900
ข) ปริมาณน้ําที่ไมถูกควบคุม                      4400
                 รวมน้ําตนทุนทั้งหมด             14300
        การใชน้ํา (ลานลูกบาศกเมตร)
ก) โครงการแมกลองใหญ (รวมอุปโภค-บริโภค) 7200
ข) สิ่งแวดลอม                                    2200
ค) ผันน้ําสูลุมน้ําทาจีน
                                                 700
ง) ผันน้ําเพื่อ กปน.                              300
                 รวมการใชน้ําทั้งหมด             10400
                                                          40
บัญชีน้ําลุมน้ําแมกลองอนาคต
ปริมาณน้ําตนทุน (ลานลูกบาศกเมตร) (ขอมูลถึงป 2549)
ก) ปริมาณน้ําที่ถูกควบคุม                         9900
ข) ปริมาณน้ําที่ไมถูกควบคุม                      4400
                 รวมน้ําตนทุนทั้งหมด             14300
        การใชน้ํา (ลานลูกบาศกเมตร) (อนาคต)
ก) โครงการแมกลองใหญ (รวมอุปโภค-บริโภค) 7200
ข) สิ่งแวดลอม                                    2200
ค) ผันน้ําสูลุมน้ําทาจีน
                                                 1900
ง) ผันน้ําเพื่อ กปน.                              1400
                 รวมการใชน้ําทั้งหมด             12700
                                                          41
สรุปวาแมน้ําแมกลองเปนลุมน้ําที่กําลังปด คือยังมีนาเหลือนอยมาก
                                                       ้ํ
ในอนาคตอันใกลจะขาดแคลนน้ํา
                                                                 42
(7 กพ. 2554)                     ปริมาณน้ําในอางทั้งหมด (ลาน ลบ.เมตร)

                                             คิดเปน %    คิดเปน %
                                              ของน้ํา      ของน้ํา
                    ปริมาณน้ํา ใชงานได     ใชงานได     เต็มอาง     รับไดอก
                                                                               ี

เขื่อนศรีนครินทร    13,863.00    3,598.00        48.10         78.12    3,882.10

เขื่อนวชิราลงกรณ      4,293.41    1,281.41        21.91         48.46    4,566.59
เขื่อนทาทุงนา          46.56       17.61        67.52         84.61        8.47

                                                                           43
สรุปสถานการณนาในปจจุบัน
                               ้ํ
1. ลุมน้ําแมกลองในภาพรวมทั้งลุมน้ํามีศักยภาพของทรัพยากรน้ําเพียงพอ
สําหรับความตองการใชน้ําในพื้นที่ลุมน้ํา
2. ปจจุบัน เขือนศรีนครินทรและเขือนวชิราลงกรณ ควบคุมปริมาณน้ําในลุม
                  ่                  ่
น้ําไดถึง รอยละ65 ทําใหมีปริมาณน้ํา เพียงพอสําหรับการใชน้ํานอกลุมน้ํา
เต็มศักยภาพตามแผน ( เพื่อการชลประทานฤดูแลงของโครงการเจาพระยา
ฝงตะวันตกตอนลาง ขับดันน้ําทะเล และเพื่อผลิตน้ําประปาสําหรับ
กรุงเทพมหานครและปริมณฑล)
3. พื้นที่ลุมน้ําหวยตะเพิน และลําภาชี มีสภาพขาดแคลนน้ําเนื่องจากสภาพ
ฝน สภาพพื้นที่ และความเหมาะสมในการสรางอางเก็บน้ําที่มอยูในพื้นที่
                                                            ี
4. พื้นที่ราบแมน้ําแมกลองมีปริมาณความตองการน้ําสูงที่สุด โดยในเขต
โครงการชลประทานแมกลองใหญไมประสบปญหาการขาดแคลนน้ํา สวน
พื้นที่นอกเขตชลประทาน มีสภาพขาดแคลนน้ําเพื่อการเกษตร เนืองจากขาด ่
แหลงกักเก็บน้ํา และการพัฒนาระบบกระจายน้ําใหทั่วถึงทุกพื้นที่
สรุปสถานการณนาในอนาคต
                                 ้ํ
1. ความตองการใชน้ําในอนาคต มีปริมาณน้ําประมาณรอยละ 78 ของ
ปริมาณ น้ําทาในลุมน้ําและมีปริมาณใกลเคียงกับคาเฉลี่ยของปริมาณน้ํา
ตนทุน ทรัพยากรน้ําของลุมน้ําแมกลองจึงมีศักยภาพเพียงพอเฉพาะในปทมี    ี่
ปริมาณน้ําในเกณฑ ปกติหรือมาก เทานั้น
2. การพัฒนาโครงการตอไปในอนาคต ทั้งการใชน้ําในพื้นที่ลุมน้ําแมกลอง
และการ ผันน้ําออกนอกลุมน้ํา คําถามสําคัญที่ตองตอบมิใชคาถามวา ”ลุมน้ํา
                                                           ํ
แมกลองมีน้ําพอหรือไม” แตเปนคําถามวา ” จะจัดสรรน้ําใหกับกิจกรรมการ
ใชน้ําตาง ๆ อยางไร ”
3. ลุมน้ําลําภาชี หวยตะเพิน และ แควนอยตอนลาง ยังมีพนที่ศักยภาพ
                                                        ื้
สําหรับการพัฒนาแหลงเก็บกักน้ํา แตเปนโครงการขนาดเล็ก ทําใหชวย
บรรเทาปญหาการขาดแคลนน้ําในพื้นที่ไดในระดับหนึ่ง
4. โครงการดานการบริหารจัดการน้ํา อาทิ การเพิมประสิทธิภาพการใชน้ํา /
                                                 ่
การสงน้ํา ซึ่งชวยลดการสูญเสียน้ํา เปนโครงการที่มีความจําเปนเรงดวน
                                                   มี
โดยเฉพาะในพื้นที่ลุมน้ําสาขาที่ราบแมน้ําแมกลอง
คุณภาพน้ํา




             46
47
48
สมุทรสงคราม




อ.บานโปง

  อ.ทามะกา

แหลงของน้ําเสีย ?
                     49
50
51
52
33.3%




                          62.5%
        สวนใหญคุณภาพน้ําพอใช



                             53
แหลงมลพิษลุมน้ําภาคตะวันตก




                               54
55
56
57
น้ําเสียจากการเพะปลูก
ไมไดมีการตรวจวัดและประเมินเปนทางการ อยางไรก็ดี
1. งานวิจัยของภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน ม.เกษตรศาสตรพบวา น้ําเสีย
ที่ระบายจากโครงการชลประทานทามะกา มีการปนเปอนจากปุยเคมีสูงมาก
โดยเฉพาะอยางยิ่ง ไนเตรทจากการใชปุยยูเรีย
2. งานวิจัยของภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน ม.เกษตรศาสตรยังพบวา การ
เพาะเลี้ยงสัตวน้ําที่โครงการพนมทวน ซึ่งไมมีการพักน้ําและบําบัดน้ําเสีย
กอใหเกิดผลกระทบตอคุณภาพน้ําอยางมาก


                                                                     58
มีความเสี่ยงจากปญหาคุณภาพน้ํา
                            59
60
61
62
ลุมน้ําแมกลองมีฝน
นอยกวาปกติ
โดยเฉพาะอยางยิ่ง
แควนอย




                      63
64
สถานภาพการพัฒนาและการใชนําของลุมนําแมกลอง
1. การขยายพืนที่ชลประทานเพิ่มเติมทําไดจํากัด ยกเวน
               ้
พัฒนาลุมน้ํายอย (ลําภาชี ลําตะเพิน) หรือทายเขื่อน (แคว
นอย)
2. มีประเด็นการผันน้ําจากเขื่อนศรีนครินทรสูลุมน้ํายอยที่
                                                        ยที
ขาดแคลนและลุมน้ําใกลเคียง
3. ปญหาคุณภาพน้ํา และการรักษาระบบนิเวศนบริเวณปาก
แมน้ําแมกลอง
4. เปนแหลงน้ําตนทุนทั้งของบริเวณภาคตะวันตกและภาค
กลาง
5. ตองประหยัดน้ําหรือเพิ่มประสิทธิภาพการชลประทาน       65
ลุมน้ําสาขาแมน้ําแควนอยตอนบน
                                                                ประเด็นปญหา ลุมน้ําแควนอย
            อําเภอสังขละบุรี                                  1. ปญหาปาตนน้ําลําธาร
                                                                  เสื่อมโทรม
                                     เขื่อนวชิราลงกรณ
                                                              2. ปญหาขาดแคลนน้ํา
ประเทศเมียนมาร

                                         อําเภอทองผาภูมิ                              กลุมลุมน้ําสาขาแมน้ําแควนอย
                                                                              รหัส               ลุมน้ําสาขา      พื้นที่รับน้ําฝน
                                                                          ลุมน้ําสาขา                                (ตร.กม.)
                                                                               1           แมน้ําแควนอยตอนบน          4,802
    ลุมน้ําสาขาหวยปลอก
                      ลอก                                                      2                 หวยปลอก               946
                                                                               3          แมน้ําแควนอยตอนลาง         3,508
                                                                                                     รวม                9,256
                                                                    อําเภอไทรโยค
                      ลุมน้ําสาขาแมน้ําแควนอยตอนลาง                  แมน้ําแควนอย
                                                                                            อําเภอเมืองกาญจนบุรี

                                                                                   อําเภอดานมะขามเตี้ย
                                                                                                                        66
ประเด็นปญหา ลุมน้ําแควใหญ
                                                                        อําเภออุมผาง จังหวัดตาก
                                   ลุมน้ําสาขาหวยแมจัน


                   ประเทศเมียนมาร

                                                        ลุมน้ําสาขาแมน้ําแควใหญตอนบน                         ลุมน้ําสาขาหวยแมละมุง
1. ปญหาปาตนน้ําลําธาร
   เสื่อมโทรม
2. ปญหาขาดแคลนน้ํา
3. ปญหาคุณภาพน้ํา                                                                                                    ลุมน้ําสาขาหวยขาแขง
     กลุมลุมน้ําสาขาแมน้ําแควใหญ                                 เขื่อนศรีนครินทร             อําเภอศรีสวัสดิ์
    รหัส            ลุมน้ําสาขา         พื้นที่รับน้ําฝน
ลุมน้ําสาขา                                 (ตร.กม.)
                                                                                                        ลุมน้ําสาขาแมน้ําแควใหญตอนลาง
       1       แมน้ําแควใหญตอนบน             5,070                          เขื่อนทาทุงนา
                                                                                         
       2             หวยแมละมุง               686
                                                                                                             แมน้ําแควใหญ
     3                หวยแมจัน              864
     4                หวยขาแขง             2,476                                                                               อําเภอเมืองกาญจนบุรี
     5         แมน้ําแควใหญตอนลาง         3,692
                       รวม                  12,788                                             แมน้ําแควนอย                                  67
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ (6)

อีบุ๊ค ทำไมต้องค้านเขื่อนแม่วงก์
อีบุ๊ค ทำไมต้องค้านเขื่อนแม่วงก์อีบุ๊ค ทำไมต้องค้านเขื่อนแม่วงก์
อีบุ๊ค ทำไมต้องค้านเขื่อนแม่วงก์
 
ทำไมต้องค้านเขื่อนแม่วงก์
ทำไมต้องค้านเขื่อนแม่วงก์ทำไมต้องค้านเขื่อนแม่วงก์
ทำไมต้องค้านเขื่อนแม่วงก์
 
Water resorch
Water resorchWater resorch
Water resorch
 
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์
 
ชุดที่ 1 ส่งเนต
ชุดที่ 1 ส่งเนตชุดที่ 1 ส่งเนต
ชุดที่ 1 ส่งเนต
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
 

Mehr von สถาบันราชบุรีศึกษา

นำเสนอผลการประเมินผลกระทบจากพื้นที่ CHA
นำเสนอผลการประเมินผลกระทบจากพื้นที่ CHAนำเสนอผลการประเมินผลกระทบจากพื้นที่ CHA
นำเสนอผลการประเมินผลกระทบจากพื้นที่ CHA
สถาบันราชบุรีศึกษา
 
การประเมินผลพื้นที่ทุ่นระเบิดในไทย ตอน 2
การประเมินผลพื้นที่ทุ่นระเบิดในไทย ตอน 2การประเมินผลพื้นที่ทุ่นระเบิดในไทย ตอน 2
การประเมินผลพื้นที่ทุ่นระเบิดในไทย ตอน 2
สถาบันราชบุรีศึกษา
 
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
สถาบันราชบุรีศึกษา
 

Mehr von สถาบันราชบุรีศึกษา (20)

โครงสร้างสถาบัน think tank กองทัพบก
โครงสร้างสถาบัน think tank กองทัพบกโครงสร้างสถาบัน think tank กองทัพบก
โครงสร้างสถาบัน think tank กองทัพบก
 
กรอบแนวคิดการจัดตั้ง think tank กองทัพบก
กรอบแนวคิดการจัดตั้ง think tank กองทัพบกกรอบแนวคิดการจัดตั้ง think tank กองทัพบก
กรอบแนวคิดการจัดตั้ง think tank กองทัพบก
 
Homeroom ep2 fake news
Homeroom ep2 fake newsHomeroom ep2 fake news
Homeroom ep2 fake news
 
Homeroom ep 8 ssdri management review
Homeroom ep 8 ssdri management reviewHomeroom ep 8 ssdri management review
Homeroom ep 8 ssdri management review
 
นำเสนอผลการประเมินผลกระทบจากพื้นที่ CHA
นำเสนอผลการประเมินผลกระทบจากพื้นที่ CHAนำเสนอผลการประเมินผลกระทบจากพื้นที่ CHA
นำเสนอผลการประเมินผลกระทบจากพื้นที่ CHA
 
การประเมินผลพื้นที่ทุ่นระเบิดในไทย ตอน 2
การประเมินผลพื้นที่ทุ่นระเบิดในไทย ตอน 2การประเมินผลพื้นที่ทุ่นระเบิดในไทย ตอน 2
การประเมินผลพื้นที่ทุ่นระเบิดในไทย ตอน 2
 
พระราชบัญญัติกฎอัยการศึก 2457
พระราชบัญญัติกฎอัยการศึก 2457พระราชบัญญัติกฎอัยการศึก 2457
พระราชบัญญัติกฎอัยการศึก 2457
 
วิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบต่างๆ
วิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบต่างๆวิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบต่างๆ
วิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบต่างๆ
 
การวิจัยการประเมินผลกระทบจากพื้นที่อันตรายที่ยืนยันว่ามีทุ่นระเบิดที่เหลืออยู...
การวิจัยการประเมินผลกระทบจากพื้นที่อันตรายที่ยืนยันว่ามีทุ่นระเบิดที่เหลืออยู...การวิจัยการประเมินผลกระทบจากพื้นที่อันตรายที่ยืนยันว่ามีทุ่นระเบิดที่เหลืออยู...
การวิจัยการประเมินผลกระทบจากพื้นที่อันตรายที่ยืนยันว่ามีทุ่นระเบิดที่เหลืออยู...
 
แนะนำการรายงานตามที่กำหนดไว้ใน Nmas
แนะนำการรายงานตามที่กำหนดไว้ใน Nmasแนะนำการรายงานตามที่กำหนดไว้ใน Nmas
แนะนำการรายงานตามที่กำหนดไว้ใน Nmas
 
การพัฒนาเทคนิคและวิธีการปรับลดพื้นที่ 2014
การพัฒนาเทคนิคและวิธีการปรับลดพื้นที่  2014การพัฒนาเทคนิคและวิธีการปรับลดพื้นที่  2014
การพัฒนาเทคนิคและวิธีการปรับลดพื้นที่ 2014
 
การแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิด
การแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิดการแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิด
การแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิด
 
การปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี Land release 2014
การปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี Land release 2014การปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี Land release 2014
การปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี Land release 2014
 
การปฏิบัติงานเก็บกู้ทุ่นระเบิดในประเทศไทย 2014
การปฏิบัติงานเก็บกู้ทุ่นระเบิดในประเทศไทย 2014การปฏิบัติงานเก็บกู้ทุ่นระเบิดในประเทศไทย 2014
การปฏิบัติงานเก็บกู้ทุ่นระเบิดในประเทศไทย 2014
 
ผลงาน TMAC ด้านการกวาดล้างฯ ปีงบประมาณ 2556
ผลงาน TMAC ด้านการกวาดล้างฯ ปีงบประมาณ 2556 ผลงาน TMAC ด้านการกวาดล้างฯ ปีงบประมาณ 2556
ผลงาน TMAC ด้านการกวาดล้างฯ ปีงบประมาณ 2556
 
สถานการณ์ทุ่นระเบิดในประเทศไทยสำหรับสื่อมวลชน
สถานการณ์ทุ่นระเบิดในประเทศไทยสำหรับสื่อมวลชนสถานการณ์ทุ่นระเบิดในประเทศไทยสำหรับสื่อมวลชน
สถานการณ์ทุ่นระเบิดในประเทศไทยสำหรับสื่อมวลชน
 
ประชุมประจำเดือน สปป. 1 ก.ค.2556
ประชุมประจำเดือน สปป. 1 ก.ค.2556ประชุมประจำเดือน สปป. 1 ก.ค.2556
ประชุมประจำเดือน สปป. 1 ก.ค.2556
 
ประชุมประจำเดือน สปป. 26 เม.ย.2556
ประชุมประจำเดือน สปป. 26 เม.ย.2556ประชุมประจำเดือน สปป. 26 เม.ย.2556
ประชุมประจำเดือน สปป. 26 เม.ย.2556
 
การจัดทำยุทธศาสตร์การดำเนินงานทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรม พ.ศ.2557 2561 28032556
การจัดทำยุทธศาสตร์การดำเนินงานทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรม พ.ศ.2557 2561 28032556การจัดทำยุทธศาสตร์การดำเนินงานทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรม พ.ศ.2557 2561 28032556
การจัดทำยุทธศาสตร์การดำเนินงานทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรม พ.ศ.2557 2561 28032556
 
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
 

ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ

  • 1. โครงการพัฒนาศักยภาพองคกรลุมน้ําและเครือขายในการ บริหารจัดการน้ํา (คณะกรรมการลุมน้ําแมกลอง) ศักยภาพลุมน้ําแมกลองและกลยุทธในการจัดการ ลุมน้ํา 10 กุมภาพันธ 2554 รศ.ดร.บัญชา ขวัญยืน คณะกรรมการลุมน้ําทาจีน คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน ม.เกษตรศาสตร 1
  • 2. หัวขอการบรรยายและแลกเปลี่ยน 1. ปญหาการจัดการน้ําของประเทศและภาคตะวันตก 2. ศักยภาพและกลยุทธในการบริหารจัดการลุมน้ําแมกลอง 3. ประสบการณในการวางกลยุทธในการบริหารจัดการลุม น้ําทาจีน 4. ขอเสนอแนะในการบริหารจัดการน้ําระดับลุมน้ํา และ ระดับพืนที่ ้ 2
  • 3. บรรเทา จรรโลง การเพาะปลูก ภัยแลง ศาสนา วัฒนธรรม อนุรักษดิน ประเพณี น้ําเพื่อสุขภาพ และสันทนาการ น้ําเพื่อ การเกษตร น้ํากินน้ําใช เพาะเลี้ยง น้ําเพื่อ สัตวน้ํา การชะลาง น้ําเพื่อชีวิต ปศุสัตว หลอเลี้ยง ลําน้ํา อุตสาหกรรม น้ําเพื่อ การเดินเรือ ระบบนิเวศ บรรเทา ดับไฟปา น้ําเสีย น้ําเพื่อ การผลิต แหลงเชื่อม ปองกัน การผลิต การรุกตัว การทองเที่ยว โยงนิเวศ พลังงาน บกและทะเล ของน้ําเค็ม 3
  • 5. 5
  • 6. การแบงชั้นคุณภาพลุมน้ําของประเทศไทย WSC 1A- เปนปาปองกันบนพื้นทีตนน้ําลําธาร ่ WSC 1B - ลักษณะกายภาพเชนเดียวกันกับ 1A ที่ถูกใชประโยชนไปแลว WSC 2 - ต่ําลงมาจาก 1A ลาดชันนอยกวา เปนปาเศรษฐกิจ+รักษาตนน้ําลําธาร WSC 3 - ตอจากลุมน้ําชั้น 2 ลาดเทนอยลง เปนปาเศรษฐกิจ+ไมผล+ไมยืนตน+ทุงหญา+เกษตรอนุรักษอยางเขมขน WSC 4 - เชิงเขา ลาดเทนอยลง ทําไร ทําสวน ควรมีมาตรการอนุรักษดิน/น้ํา ที่เหมาะสม WSC 5 - ที่ราบลุม ทํานา พืชชอบน้ํา ชุมชน กิจกรรมอื่น ๆ 6
  • 7. กลุมลุมน้ําสาละวิน ลําน้ําสายหลักในแตละลุมน้ําประธาน 3 กลุมลุมน้ําเจาพระยา-ทาจีน ความยาวลําน้าสายหลักรวม 87,200 กม. ํ กลุมลุมน้ําสาขาแมนาโขง ้ํ 1 6 7 2 ลุมน้ําสายหลัก 25 ลุมน้ํา 8 9 1.สาละวิน 14.แมกลอง 4 2.โขง 15.ปราจีน 11 12 3.กก 16.บางปะกง กลุมลุมน้ําแมกลอง 10 13 5 4.ชี 17.โตนเลสาป 14 5.มูล 18.ชายฝงทะเลตะวันออก  15 17 16 กลุมลุมน้ําบางปะกง 6.ปง 19.เพชรบุรี 19 18 7.วัง 20.ชายฝงทะเลตะวันตก  20 กลุมลุมน้ําชายฝงทะเลอาวไทย 8.ยม 21.ภาคใตฝงตะวันออก 9.นาน 22.ตาป 10.เจาพระยา 23.ทะเลสาบสงขลา 11.สะแกกรัง 24.ปตตานี 22 21 12.ปาสัก 25.ภาคใตฝงตะวันตก 25 13.ทาจีน 23 24 7 กลุมลุมน้ําชายฝงทะเลอันดามัน
  • 8. ทิศทางลมและรองมรสุม ที่พดผานเขามา ั ในประเทศไทย ฝนในลุมน้ําแมกลองขึ้นอยูกับ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต คอนขางมาก 8
  • 9. ปริมาณความตองการน้ําในปจจุบัน อุปโภค-บริโภค 2,459 ลาน ลบม./ป รักษาระบบนิเวศ 4% อุตสาหกรรม 12,359 ลาน ลบม./ป 2,369 ลาน ลบม./ป 18 % 3% การเกษตรและการผลิตไฟฟา 53,034 ลาน ลบม./ป 75 % 9
  • 10. ลุมน้ําทั่วโลกที่ไดรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ แมน้ําเจาพระยาไดรับผลกระทบปานกลาง แมน้ําแมกลองก็จะไดรบผลกระทบบาง ั แมน้ําโขงไดรบผลกระทบรุนแรง ั 10
  • 11. ผลกระทบการเปลียนแปลงภูมอากาศตอ ่ ิ สถานการณน้ํา - ปริมาณฝนรายเดือน และรายปเปลี่ยนแปลง - รูปแบบของฝนคือ จํานวนวันที่ฝนตก เวลา และความเขมของ ฝนเปลี่ยนแปลง - ปญหาความรุนแรงและแปรปรวนของน้ําเพิ่มขึ้น ทําใหเกิดอุทกภัยและปญหาภัยแลงเพิ่มขึ้น
  • 12. ภาพรวมผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เหตุการณ แนวโนม จํานวนวันที่รอนเพิ่มขึ้น เกิดขึ้นแนนอน จํานวนวันที่เย็นลดลง ชวงแลงยาวนานขึ้น นาจะเกิดขึนสูง ้ ฝนตกหนักขึ้น นาจะเกิดขึนสูง ้ พื้นที่ไดรับผลกระทบจากภัยแลงมากขึ้น มีโอกาสเกิด ผลกระทบจากพายุมากขึ้น มีโอกาสเกิด นิยามโอกาสเกิดเหตุการณ เกิดขึ้นแนนอน : > 99% ผลกระทบจากระดับน้ําทะเล มีโอกาสเกิด นาจะเกิดขึนสูง : > 90% ้ มีโอกาสเกิด: > 66% แผนภูมพยากรณปรากฏการณตางๆ และโอกาสทีจะเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ ิ ่ ของ IPCC
  • 14. ความทาทายในการบริหารจัดการน้ําในอนาคต 1. การบริหารจัดการน้ําใหเพียงพอแกประชาชนเพื่อการอุปโภคบริโภค 2. การจัดหาน้ําและการบริหารจัดการน้ําเพื่อการเกษตรใหพอเพียง 3. ความตระหนักดานการพัฒนากิจกรรมตางๆ เพื่อกระตุนเศรษฐกิจ ซึ่งตองอาศัยน้ําทั้งสิ้น 4. การปองกันรักษาระบบนิเวศนและสิ่งแวดลอมควบคูกับการใช  ประโยชน 5. ปญหาการผันแปรของน้ําตามฤดูกาลและสถานที่
  • 15. ความทาทายในการบริหารจัดการน้ําในอนาคต (ตอ) 6. การจัดการกับความเสี่ยง จากการเปลี่ยนแปลงดานกายภาพและสภาพ ภูมิอากาศ ซึ่งสงผลตอการเกิดความแหงแลง น้ําทวม การปนเปอนของ น้ําผิวดิน และน้ําใตดนซึ่งจะสงผลกระทบตอความเสียหายของชีวิต ิ ทรัพยสิน เศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอม 7. การสรางความตระหนักและความเขาใจ ตอมวลชนเพือกระตุนการ ่ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม 8. การสรางกระแสหรือการผลักดันใหเกิดผลทางการเมือง 9. การทําใหเกิดความรวมมือระหวางภาคการใชน้ําตางๆ รวมทั้งผูใชนา ้ํ ในภาคสวนเดียวกัน
  • 16. อุปสรรคในการแกปญหาการขาดแคลนน้ําแลง น้ําทวม และน้ําเสีย 1. การดําเนินงานระบบลุมน้ําและระบบจังหวัดไมสัมพันธกน ั 2. การบริหารจัดการระบบลุมน้ําและการจัดการน้ําไมเปนเอกภาพ จึงไม  คอยมีขาดประสิทธิภาพ เนืองจากมีหนวยงานหลักมากและไมประสานกัน ่ 3. การขาดอํานาจเบ็ดเสร็จในการแกไขปญหาลุมน้าแบบองครวม ํ 4. ขาดงบประมาณและการพัฒนาโครงการที่เหมาะสม สําหรับระบบลุมน้ํา  5. ขาดการมีสวนรวมจากทุกภาคสวน คือ ราชการ สวนทองถิ่น และ ประชาชน 6. ขาดความรู ความเขาใจ และการปรับตัวตามสถานการณ 16
  • 18. นรม. นรม. เหตุการณสําคัญ คนที่ ชื่อ บริหารจัดการ ดานน้ํา - พรบ.ควบคุมการเหมืองฝายและพนัง พ.ศ. 2477 เพื่อใหเกิดความชัดเจนในการเกณฑแรงงาน การแบงน้ํา ซึ่งมีความ พระยามโนปกรณนิติธาดา 1 แตกตางจากมังรายศาสตร (นโยบายการจัดการน้ําของชุมชนลานนา) งจากมั นนา) (มิย.75-มิย.76) 75- 76) และไดเขามาชวงชิงอํานาจและความเชื่อดั้งเดิมออกไปจากชุมชน เหมืองฝาย - 2482 ฝายสินธุกิจปรีชา ลําปาง จอมพล แปลก พิบูล - 2482 ยกเลิกพรบ.ควบคุมการเหมืองฝายและพนัง พ.ศ. 2477 พรบ. - โครงการชลประทานลุมน้ํา ลําตะคอง (ฝาย 9 แหง) ตะคอง 2 สงคราม - พรบ.ชลประทานราษฎร พ.ศ.2482 - โครงการชลประทานแมน้ํา (ธค.81-สค.87) ธค. 81- สค. 87) - พรบ.ชลประทานหลวง 2485 ทาจีน - โครงการชลประทานนครนายก จอมพล แปลก พิบูล - 2495 เขือนเจาพระยา ่ - พรบ.พลังงานแหงชาติ พ.ศ.2496 3 สงคราม - 2498 ปตร.ปากระวะ สงขลา, ปตร. สงขลา, (เมย.91-กย.00) เมย. 91- กย. 00) - สมาชิกกอตั้งองคกร ICID พ.ศ. 2492 ฝายรัตภูมิ สงขลา, ปตร.โพธิ์พระยา สงขลา, ปตร. 18
  • 19. นรม. นรม. เหตุการณสําคัญ คนที่ ชื่อ บริหารจัดการ ดานน้ํา พจน สารสิน - เริมโครงการสํารวจเพื่อการพัฒนาลุมน้ําโขงรวมกับ ่ - 2500 กูเงินธนาคารโลกสราง 4 (กย.00-มค.01) กย. 00- มค. 01) สหประชาชาติ (เนนการผลิตไฟฟาจากหลังน้ํา) เขื่อนภูมิพล เสร็จ 2507 - แผนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศฉบับที่ 1 (ป พ.ศ. 2504 - พ.ศ. 2509) "น้ําไหล ไฟสวาง ทางสะดวก" เนนการใชทางน้ําเพื่อ - 25 ตุลาคม พ.ศ.2505 เวลา 2509) ทางสะดวก" 19.00-22.30 น.พายุความเร็วลม 19.00- จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต จอมพลสฤษดิ ต การคมนาคม และเริ่มแนวคิดสรางเขื่อนใหญ 3 เขื่อน 5 180 – 200 กม./ชม.พัดเขาแหลม กม./ชม. (กพ.02-ธค.06) กพ. 02- ธค. 06) - ใหเทศบาลใชเงินรายไดทําสาธารณูปการโดยอุดหนุนจาก ตะลุมพุก รัฐบาล/เงินกู บาล/ กู - 2506 อางเก็บน้ําเขาเตา - พรบ.คันและคูน้ํา พ.ศ.2505 พรบ. 2507 เขื่อนภูมิพล 2508 เขื่อนน้ําพุง 2509 เขื่อนแกงกระจาน, อุบล กระจาน, - เรงรัดพัฒนาชนบท / สังคม รัตน น - นโยบายจัดหาน้ําสะอาดและระบบกระจายน้ํา ชป. ชป. 2512 เขื่อนลําตะคอง, ลําปาว ตะคอง, - พรบ.การประปานครหลวง 25 กรกฎาคม 2510 พรบ. จอมพล ถนอม กิตติขจร 2513 เขื่อนลําพระเพลิง 6 - พรบ. การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย พ.ศ. 2511 พรบ. (ธค.06-ตค.16) ธค. 06- ตค. 16) 2514 เขื่อนสิริกิต, เขื่อนสิรินธร ิ์ - ปญหาการเวนคืนที่ดน ิ 2515 เขื่อนกิ่วลม, จุฬาภรณ ลม, าภรณ - บรรจุการสํารวจลุมน้ําโขงโดยความรวมมือกับสหประชาชาติไวใน 2516 เขื่อนน้ําอูน แผนพัฒนาเศีษฐกิจฯ นาเศี ฐกิ และเริ่มโครงการปราณบุร, น้ํา และเริ ี อูน, แมกลองใหญ, หนอง หวาย, ทาเชียด หวาย, พลตรี มรว. คึกฤทธิ์ มรว. 7 ปราโมช - พรบ.สิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับแรก 2518 พรบ. 2518 เขื่อนดอกกราย (มีค.18-มค.19) 18- มค. 19) 19
  • 20. นรม. นรม. เหตุการณสําคัญ คนที่ ชื่อ บริหารจัดการ ดานน้ํา - ใหความสําคัญกับคุณภาพน้ํา ธานินทร กรัยวิเชียร 8 (ตค.19-ตค.20) ตค. 19- ตค. 20) - พรบ.น้ําบาดาล 23 กรกฏาคม 2520 และกองทุน พัฒนาน้ําบาดาล พล.อ. เกรียงศักดิ์ ชมะ พล. - พรบ.การประปาสวนภูมิภาค 24 กุมภาพันธ 2522 - น้ําเสียลุมน้ําเจาพระยา  9 นันทน ทน โดยโอนกิจการประปาสวนภูมิภาคของกรมโยธาธิการ และกิจการการ าคของกรมโยธาธิ การ ทาจีน (พย.20-มีค.23) พย. 20- 23) ประปาชนบทของกรมอนามัยไปจัดตั้งเปนรัฐวิสาหกิจ - รางกฎหมายน้า ํ - การขัดแยงการใชนาจาก ้ํ - ตั้งคณะทํางานเฉพาะกิจดานน้ํา การเพิมพื้นที่เกษตรลุมน้ํา ่ เจาพระยา - ตั้ง Eastern Seaboard กําหนดมาบตาพุดเปนนิคม -การทรุดตัวของดินจากการ อุตสาหกรรมฯ สูบน้ํา - เริ่มทําแผนที่ศักยภาพน้าบาดาลรายจังหวัด เสร็จ ํ - การบริหารจัดการน้าไมเปน ํ 2544 เอกภาพ พลเอก เปรม ติณสูลานนท านนท - บริหารจัดการน้ําเปนระบบลุมน้ํา - พบกาชในอาวไทย 10 - ภัยแลงภาคอิสาน สาน (มีค.23-สค.31) 23- สค. 31) - พัฒนาแหลงน้ําขนาดเล็กและใหประชาชนมีสวน 2523 เขื่อนศรีนครินทร, มูลบน รวมบริหารจัดการ 2524 เขื่อนกระเสียว, บางลาง ว, - เพิ่มประสิทธิภาพโครงการที่พัฒนาแลว 2527 เขื่อนเขาแหลม, หวยหลวง นเขาแหลม, 2528 เขื่อนแมงัดสมบูรณชล 2530 เขื่อนรัชชประภา นรั ชประภา 2531 เขื่อนคีรีธาร, ทับเสลา าร, - ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการบริหาร - 4 พฤศจิกายน 2532 เวลา จัดการทรัพยากรน้ําแหงชาติ พ.ศ. 2532 กําหนด 08.30 น. พายุไตฝุนเกยเคลื่อน เคลื พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เขาสูภาคใตตอนบนดวยความเร็ว 11 ประเภทของโครงการพัฒนาแหลงน้ํา (สค.31-กพ.34) สค. 31- กพ. 34) 185 กม./ชม. กม./ชม. - ภัยแลง (2534) (2534) 20
  • 21. นรม. นรม. เหตุการณสําคัญ คนที่ ชื่อ บริหารจัดการ ดานน้ํา - โครงการ GMS เปนความรวมมือของ 6 ประเทศ คือ 2534 เขื่อนลํานางรอง ไทย พมา ลาว กัมพูชา เวียดนาม และจีน (ยูนนาน) ป พ.ศ. 2535 นาน) ภัยแลงตอเนื่อง (2535) (2535) อานันท ปนยารชุน ยารชุ 12 - พรบ.น้ําบาดาล(ฉบับที่ 2) 2 เมษายน 2535 พรบ. บาดาล( (มีค.34-มีค.35) 34- 35) - ลงนามในขอตกลงกรรมาธิการแมน้ําโขง(MRC) 5 เมษายน โขง( MRC) ภัยแลง 2536 2535 2536 เขื่อนแมกวง, หนองปลา นแม วง, ชวน หลีกภัย - การใชมาตรการทางเศรษฐศาสตรในการจัดการน้ํา ไหล 13 (กย.35-กค.38) กย. 35- กค. 38) - การบริหารจัดการน้าเปนระบบลุมน้ําโดยการมีสวนรวมของ ํ 2537 เขื่อนบางพลวง ประชาชน ตั้งสํานักงานคณะกรรมการน้ําแหงชาติสังกัดสํานัก 2538 เขื่อนปากมูล บรรหาร ศิลปะอาชา เลขาธิการนายกรัฐมนตรี อุทกภัย (2538, 2539) (2538, 2539) 14 2539 เขื่อนลําแซะ (กค.38-พย.39) กค. 38- พย. 39) - แผน 8 เนนคนเปนศูนยกลางการพัฒนา - มติ ครม. 29 เมษายน 2540 ใหชะลอโครงการเขื่อนแกงเสือเตน จ. ครม. พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ยงใจยุ แพร เขื่อนโปรงขุนเพชร จ.ชัยภูมิ เขื่อนลําโดมใหญ จ.อุบลราชธานี 15 เขื่อนรับรอ จ.ชุมพร (พย.39-พย.40) พย. 39- พย. 40) - เปลียน East Water เปนบริษัทมหาชน ่ - พรบ.กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแก พรบ. ก 2541 เขื่อนพระปรงตอนบน องคกรปกครองสวนทองถิน 11 พฤศจิกายน พ.ศ.2542 ่ 2542 เขื่อนปาสักชลสิทธิ์ ธิ - วิสัยทัศนน้ําแหงชาติ (มติ ครม. 25 กรกฎาคม 2543) ครม. 2543) 2543 เขื่อนแมมอก มอก - นโยบายน้ําแหงชาติ (มติ ครม. 31 ตุลาคม 2543) ครม. 2543) น้ําทวมหาดใหญ 2543 ชวน หลีกภัย - ตั้งอนุกรรมการลุมน้ํานํารอง ปงบน ปงลาง ปาสัก และขยายไป 16 (พย.40-พย.43) พย. 40- พย. 43) คลองทาตะเภา มูล และบางปะกง - ศึกษาแผนหลัก 25 ลุมน้ํา 21
  • 22. นรม. นรม. เหตุการณสําคัญ คนที่ ชื่อ บริหารจัดการ ดานน้ํา - ปฏิรูประบบราชการปรับโครงสรางสวนราชการ 3 2444 เขื่อนคลองสียัด ตุลาคม 2545 อุทกภัย (2545) (2545) 2547 เขื่อนประแสร นประแสร - ตั้งคณะอนุกรรมการลุมน้ํา 29 คณะ สึนามิ (26 ธค. 2547) นามิ (26 ธค. 2547) - แผนบูรณาการเปนระบบลุมน้ํา ภัยแลง (2548) (2548) - รางกระทรวงน้ํา อุทกภัย (2548) (2548) พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร ดร. - ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการรับฟงความ 2548 เขื่อนคลองทาดาน 17 (กพ.44-กย.49) กพ. 44- กย. 49) คิดเห็นของประชาชน 27 กรกฎาคม 2548 - พรบ.น้ําบาดาล(ฉบับที่ 3) 6 มิถุนายน 2546 เก็บคา อนุรักษน้ําบาดาล - วาระน้ําแหงชาติ 21 พฤษภาคม 2551 2550 เขื่อนแควนอย, กิ่ว ย, - พรบ.ปองกันและบรรเทาสาธารณภัย 28 สิงหาคม 2550 คอหมา - ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ําแหงชาติ พ.ศ. 2550 ยกระดับ พลเอก สุรยุทธ จุลานนท านนท 18 (ตค.49-มค.51) ตค. 49- มค. 51) คณะอนุกรรมการเปนคณะกรรมการลุมน้ํา สมัคร สุนทรเวช - ราง พรบ. น้ําเขาสภาวาระ 2 แตไมครบองคประชุม 19 (มค.51-กย.51) มค. 51- กย. 51) - ตั้งคณะกรรมการลุมน้ํา 25 คณะ 2553 ระดับน้ําแมน้ํา อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ โขงลดต่ําสุดรอบ 60 ป 20 (ธค.51-ปจจุบัน) ธค. 51- 2553 ภาวะน้ําทวม 22
  • 23. เปาหมายสําหรับการบริหารจัดการน้ําของ ประเทศไทย 1.ทุกหมูบานมีระบบประปา (การขยายตัวของชุมชน ระบบเดิมใชการ ไมได) 2.ทุกเมืองหลักและและชุมชนขนาดใหญมีแนวทางและแผนการปองกัน และบรรเทาอุทกภัย 3.ทุกแหลงน้าหลักมีคณภาพน้ําไมตากวาระดับพอใช ํ ุ ่ํ 4.ทุกลุมน้ํามีแผนการบริหารจัดการน้ําแบบบูรณาการเปนระบบลุมน้ํา และมีแผนปฏิบติการในระดับตําบล (หนวยงานและแผนงาน) ั 5.การผลักดันนโยบายไปสูการปฏิบัติ 23
  • 26. ภาพการจัดการทรัพยากรน้ําภาคตะวันตกในปจจุบัน 1. ภูมภาคตะวันตกมีน้ําคอนขางพอเพียง แตการใชน้ํายังมี ิ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลไมดีพอ รวมทั้งมีการขาดน้ําเฉพาะพื้นที่ 2. การบริหารจัดการน้ํา ยังมีปญหาดานการกระจายตัวหรือความเทา เทียมในการใชน้ําของผูอยูตนน้ําและทายน้ํา  3. พืนที่ปาตนน้ํายังถูกบุกรุกอยางตอเนือง และจําเปนตองมีโครงการ ้ ่ อนุรักษตนน้ํา  4. มีปญหาดานคุณภาพน้ํา มีแนวโนมแยลง รวมทั้งการปนเปอนของ น้ําใตดน ิ 5. ยังมีปญหาอุทกภัยในทุกลุมน้ํา ในระดับที่แตกตางกัน  26
  • 27. ภาพการจัดการทรัพยากรน้ําภาคตะวันตกในปจจุบัน 6. มีปญหาการกัดเซาะชายฝง เชน ลุมน้ําทาจีน ลุมน้ําชายฝงทะเล  ตะวันตก 7. มีปญหาการพังทลายและการสูญเสียหนาดินจาการปลูกพืชในที่ลาด ชัน 8. ปญหาการทรุดตัวของแผนดินจาการใชน้ําใตดนเกินศักยภาพในลุม ิ น้ําทาจีน และแมกลอง 27
  • 28. การบูรณาการรวมกันระหวางลุมน้ําในภูมิภาค  - การใชน้ําตนทุนรวมกันควรมีการแลกเปลี่ยนขอมูล และการ วางแผนรวมกัน เชน การใชนาและการผันน้ําจากลุมน้ําแมกลอง ้ํ ไปสูลุมน้ําทาจีน  - ลุมน้ําที่มีระบบหรือคลองเชื่อมตอกันควรมีการทํางานบริหาร จัดการรวมกัน ทั้งในดานปริมาณ และคุณภาพ - ควรสรางความชัดเจนรวมกันในการจัดการพื้นที่ ซึ่งการแบง การบริหารงานดวยระบบจังหวัดจะมีความแตกตางจากระบบ ชลศาสตร 28
  • 29. จังหวัด พื้นที่ % ของ (ตร.กม.) พื้นที่ลุมน้ํา กาญจนบุรี 17,745.17 ตาก 4,974.69 57.55% 16.13% 2. ลุมน้ําแมกลอง จ.ตาก ราชบุรี 4,571.14 14.82% อุทัยธานี สุพรรณบุรี 2,338.99 598.83 7.59% 1.94% 30,836 ตร.กม. (19.27 ลานไร) สมุทรสงคราม สมุทรสาคร 201.40 167.57 0.65% 0.54% 9 จังหวัด 11 ลุมน้ําสาขา จ.อุทัยธานี นครปฐม 237.75 0.77% เพชรบุรี 0.46 0.00% 30,836.00 100.00% จ.สุพรรณบุรี ลําดับที่ กลุมลุมน้ํายอย ลุมน้ํายอย พื้นที่ % ของ (ตร.กม.) พื้นที่ลุมน้ํา 1 แมน้ําแควนอย 1.1 แมน้ําแควนอยตอนบน 4,802.00 15.57% 1.2 แมน้ําแควนอยตอนลาง 3,508.00 11.38% 1.3 หวยปลอก 946.00 3.07% จ.กาญจนบุรี 2 แมน้ําแควใหญ รวมแมน้ําแควนอย 2.1 แมน้ําแควใหญตอนบน 9,256.00 5,070.00 30.02% 16.44% 2.2 แมน้ําแควใหญตอนลาง 3,692.00 11.97% 2.3 หวยขาแขง 2,476.00 8.03% จ.นครปฐม 2.4 หวยแมจัน 2.5 หวยแมละมุง 864.00 686.00 2.80% 2.22% จ.ราชบุรี จ.สมุทรสาคร รวมแมน้ําแควใหญ 12,788.00 41.47% 3 ลําภาชี ลําภาชี 2,664.00 8.64% จ.สมุทรสงคราม 4 หวยตะเพิน หวยตะเพิน 2,479.00 8.04% จ.เพชรบุรี 5 ที่ราบแมน้ําแมกลอง ที่ราบแมน้ําแมกลอง รวมทั้งหมด 3,649.00 11.83% 30,836.0029100.00%
  • 30. สภาพทรัพยากรน้ําในลุมน้ําแมกลอง 1. พื้นที่ปาตนน้ํายังถูกบุกรุกอยางตอเนื่อง และจําเปนตองมีโครงการ อนุรักษและฟนฟูปาตนน้ํา 2. มีปญหาอุทกภัยในลักษณะน้ําทวมฉับพลันในลุมน้ําลําภาชี และลุม  น้ําลําตะเพิน รวมถึงพื้นที่ลมน้ําแควนอยทายเขื่อนวชิราลงกรณ ุ 3. ปริมาณน้ําตนทุนพอเพียง ทําใหการใชน้ําระดับแปลงนามี ประสิทธิภาพต่ํา ในอนาคตอาจมีปญหาการขาดแคลน  4. มีการขาดน้ําในลุมน้ําสาขาและพื้นที่ตนน้ํา โดยเฉพาะบริเวณดาน ตะวันออกเฉียงเหนือ (เขตลุมน้ําทาจีน อ.เลาขวัญ และ อ.หวยกระเจา)  5. การใชน้ําเพื่อการเกษตรในเขตชลประทาน ยังมีประสิทธิภาพต่ํา 6 มีปญหาดานคุณภาพน้ําบริเวณตอนลางและปากแมน้ํา 30
  • 31. ลักษณะที่สําคัญบางประการการลุมน้าแมกลอง ํ 1. การใชนาหลัก คือ การชลประทาน และการผลิต ้ํ ไฟฟาพลังน้ํา 2. การผันน้ําจากลุมน้ําแมกลองไปสนับสนุนลุมน้ํา ขางเคียง (น.ทาจีน น.เจาพระยา) 4. จําเปนตองปกปองนิเวศนปากแมน้ํา 5. การเกิดแผนดินทรุดบริเวณปากแมน้ําจากการใชน้ําใต ใต ดินมากเกินศักยภาพ 6. มลภาวะจากภาคเกษตรกรรมมาก (การเพาะปลูก การ เลี้ยงสัตว และการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา) 31
  • 32. ปริมาณน้ําฝน ลุมน้ําแมกลอง ปริมาณน้ําทาเฉลี่ยรายป 14,400 ลาน ลบ.ม. ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ย 1,377 มม./ป 32
  • 33. ภูมิอากาศ ขอมูลภูมิอากาศทีสําคัญของลุมน้าแมกลอง ซึ่งแตละรายการจะเปน ่ ํ คาเฉลียสูงสุด คาเฉลี่ยต่าสุด และคาเฉลี่ยเปนรายป ่ ํ ขอมูลภูมิอากาศที่สําคัญ ขอมูลภูมิอากาศที่สําคัญ หนวย คาสูงสุดรายป คาต่ําสุดรายป คาเฉลี่ยรายป อุณหภูมิ องศาเซลเซียส 28.0 23.3 26.4 ความชื้นสัมพัทธ เปอรเซ็นต 81.0 68.6 76.1 ความเร็วลม นอต 2.6 0.6 1.4 เมฆปกคลุม 0-10 6.0 5.3 5.7 ปริมาณการระเหยจากถาด มิลลิเมตร 1,905.1 1,301.9 1,555.1 ปริมาณการคายระเหยของ มิลลิเมตร 1,886.9 1,484.8 1,708.9 พืชอางอิง
  • 34. เดือน ปริมาณน้ําฝน ปริมาณน้ําทา (มิลลิเมตร) (ลาน ลบ.ม.) เม.ย. 65.2 139.5 พ.ค. 172.4 300.8 มิ.ย. 152.0 1,053.5 ก.ค. 177.0 2,163.4 ปริมาณฝนและน้ําทารายเดือน ส.ค. 194.0 3,880.1 ก.ย. 247.6 2,902.6 ต.ค. 216.5 2,481.9 พ.ย. 55.8 1,066.5 ธ.ค. 5.7 481.2 ม.ค. 4.4 302.0 ก.พ. 12.8 194.1 มี..ค. 30.3 163.9 ฤดูฝน 1,159.6 12,782.2 ฤดูแลง 174.2 2,347.3 ทั้งป 1,333.8 15,129.5 34
  • 35. 100% 17 14 90% 22 34 34 31 30 80% 45 70% คาเฉลี่ยพื้นที่ปาไมทั้งลุม63 ํา 66% น้ 54 พื้นที่ปาไมใน 60% 50% 94 ลุมน้ําแมกลอง 40% 78 83 86 69 70 66 66 30% 55 มีปญหาปาไมถกบุกรุก ู 20% 37 46 10% 6 0% 7.แมน้ํา แควน อยตอนบน 9.แมน้ํา แควน อยตอนลาง 1.แมน้ํา แควใหญต อนบน 5.แมน้ํา แควใหญต อนลาง 11.ที่ราบแมน้ํา แมก ลอง 10.ลุมน้ํา ลําภาชี 3.หวยแมจัน 8.หวยปลอก 6.หวยตะเพิน 2.หวยแมละมุง 4.หวยขาแขง พื้นที่อื่นๆ พื้นที่ปาไม พื้นที่ปาเศรษฐกิจ (E) 14% 3% พื้นที่ปาเกษตรกรรม (A) พื้นที่ปาอนุรักษ (C) 83% 35
  • 36. พื้นที่อื่นๆ (ปศุสัตว ประมง แหลงน้ํา) 0.86 ลานไร ทีอยูอาศัย พื้นที่เกษตรน้ําฝน 0.37 ลานไร 3.83 ลานไร 1.92%4.46% 19.88% 66.37% พื้นที่ปาไม 12.79 ลานไร 7.37% พื้นที่ชลประทาน 1.42 ลานไร การใชที่ดิน 36
  • 37. เขื่อนชิราลงกรณ เขื่อนศรีนครินทร การพัฒนาแหลงน้ําใน ลุมน้ํา จํานวน ความจุอางเก็บน้ํา พื้นที่ โครงการ โครงการ รวม ใชงาน รับประโยชน (ลาน ลบ.ม.) (ลาน ลบ.ม.) (ลานไร) 1. โครงการขนาดใหญและขนาดกลาง 6 26,744.8 13,423.8 1.143 2. โครงการขนาดเล็กของ ชป. 191 151.1 151.1 0.244 3. โครงการสูบน้ําดวยไฟฟา 49 - - 0.075 รวม 246 26,895.9 13,574.9 1.462 เขื่อนแมกลอง และ โครงการชลประทานแมกลองใหญ โครงการชลประทาน โครงการสงน้ํา พื้นที่โครงการ พื้นที่ชลประทาน และบํารุงรักษา (ไร) (ไร) แมกลองใหญ 1 พนมทวน 344,357 302,935 2 สองพี่นอง 380,000 307,000 3 บางเลน 369,000 295,200 4 กําแพงแสน 316,000 252,800 5 นครปฐม 428,000 364,200 6 นครชุม 295,420 265,900 7 ราชบุรีฝงซาย 310,000 257,850 8 ดําเนินสะดวก 157,560 126,000 9 ราชบุรีฝงขวา 314,600 242,200 10 ทามะกา 346,000 295,600 37 รวม 3,260,937 2,709,685
  • 38. การไฟฟาฝายผลิต เขื่อนเก็บน้ําวชิราลงกรณ เขื่อนเก็บน้ําศรีนครินทร เขื่อนทดน้ําทาทุงนา ความจุเก็บกักปกติ 8,860 ลาน ม3. ความจุเก็บกักปกติ 17,745 ลาน ม3. น้ําใชการ 5,849 ลาน ม3. น้ําใชการ 7,470 ลาน ม3. ความจุเก็บกักปกติ 50 ลาน ม3. น้ําไหลเขาอางฯ 5,161 ลาน ม3. น้ําไหลเขาอางฯ 4,457 ลาน ม3. กรมชลประทาน เขื่อนทดน้ําแมกลอง ควบคุมระดับเก็บกัก +22.50 ม.รทก. ระบายน้ําทายเขือน ≥ 70 ม3/วินาที ่ การใชน้ํารวม 14,394 ลาน ม3/ป การเกษตรกรรม ผันลงทาจีน ผลักดันน้ําเค็ม การประปานครหลวง ฤดูฝน 5,109ลาน ม3/ป (2.7 ลานไร) ไมเกิน 1,890 ลาน ม3/ป ไมต่ํากวา 2,200 ลาน ม3/ป ไมเกิน 1,260 ลาน ม3/ป 38 ฤดูแลง 2,105ลาน ม3/ป (2.7 ลานไร)
  • 39. สมดุลของน้ําทั้งลุมน้ําแมกลอง (เขื่อนแมกลอง) แหลงน้ํา ปลอยจากอางเก็บน้ํา 9,967 side flow (น้ําไหลลงทายเขื่อน) 4,427 ไหลเขาเขื่อนแมกลอง 14,394 การใชน้ํา สภาพปจจุบัน เต็มประสิทธิภาพ น้ําผันเขาระบบชลประทาน (ม.ค.-มิ.ย.) 5,109 5,109 น้ําผันเขาระบบชลประทาน (ก.ค.-ธ.ค.) 2,105 2,105 น้ํานอยสุดเพื่อปองกันการรุกตัวน้ําเค็ม 2,200 2,200 ผันไปแมน้ําทาจีน 709 1,890 ผันไปเพื่อผลิตน้ําประปา กทม. 300 1,419 รวมปริมาณการใชน้ําทั้งป 10,423 12,723 ระบายลงทะเล (รักษาระบบนิเวศน) 3,971 1,671 ใชน้ํามากกวาที่ปลอยจากอางเก็บน้ํา (เก็บกัก) 456 2,756 ใชขอมูลเฉลี่ย 2536-2549 - หนวย: ลาน ลบ.ม. 
  • 40. บัญชีน้ําลุมน้ําแมกลองป 2550 ปริมาณน้ําตนทุน (ลานลูกบาศกเมตร) (ขอมูลถึงป 2549) ก) ปริมาณน้ําที่ถูกควบคุม 9900 ข) ปริมาณน้ําที่ไมถูกควบคุม 4400 รวมน้ําตนทุนทั้งหมด 14300 การใชน้ํา (ลานลูกบาศกเมตร) ก) โครงการแมกลองใหญ (รวมอุปโภค-บริโภค) 7200 ข) สิ่งแวดลอม 2200 ค) ผันน้ําสูลุมน้ําทาจีน  700 ง) ผันน้ําเพื่อ กปน. 300 รวมการใชน้ําทั้งหมด 10400 40
  • 41. บัญชีน้ําลุมน้ําแมกลองอนาคต ปริมาณน้ําตนทุน (ลานลูกบาศกเมตร) (ขอมูลถึงป 2549) ก) ปริมาณน้ําที่ถูกควบคุม 9900 ข) ปริมาณน้ําที่ไมถูกควบคุม 4400 รวมน้ําตนทุนทั้งหมด 14300 การใชน้ํา (ลานลูกบาศกเมตร) (อนาคต) ก) โครงการแมกลองใหญ (รวมอุปโภค-บริโภค) 7200 ข) สิ่งแวดลอม 2200 ค) ผันน้ําสูลุมน้ําทาจีน  1900 ง) ผันน้ําเพื่อ กปน. 1400 รวมการใชน้ําทั้งหมด 12700 41
  • 43. (7 กพ. 2554) ปริมาณน้ําในอางทั้งหมด (ลาน ลบ.เมตร) คิดเปน % คิดเปน % ของน้ํา ของน้ํา ปริมาณน้ํา ใชงานได ใชงานได เต็มอาง รับไดอก ี เขื่อนศรีนครินทร 13,863.00 3,598.00 48.10 78.12 3,882.10 เขื่อนวชิราลงกรณ 4,293.41 1,281.41 21.91 48.46 4,566.59 เขื่อนทาทุงนา 46.56 17.61 67.52 84.61 8.47 43
  • 44. สรุปสถานการณนาในปจจุบัน ้ํ 1. ลุมน้ําแมกลองในภาพรวมทั้งลุมน้ํามีศักยภาพของทรัพยากรน้ําเพียงพอ สําหรับความตองการใชน้ําในพื้นที่ลุมน้ํา 2. ปจจุบัน เขือนศรีนครินทรและเขือนวชิราลงกรณ ควบคุมปริมาณน้ําในลุม ่ ่ น้ําไดถึง รอยละ65 ทําใหมีปริมาณน้ํา เพียงพอสําหรับการใชน้ํานอกลุมน้ํา เต็มศักยภาพตามแผน ( เพื่อการชลประทานฤดูแลงของโครงการเจาพระยา ฝงตะวันตกตอนลาง ขับดันน้ําทะเล และเพื่อผลิตน้ําประปาสําหรับ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล) 3. พื้นที่ลุมน้ําหวยตะเพิน และลําภาชี มีสภาพขาดแคลนน้ําเนื่องจากสภาพ ฝน สภาพพื้นที่ และความเหมาะสมในการสรางอางเก็บน้ําที่มอยูในพื้นที่ ี 4. พื้นที่ราบแมน้ําแมกลองมีปริมาณความตองการน้ําสูงที่สุด โดยในเขต โครงการชลประทานแมกลองใหญไมประสบปญหาการขาดแคลนน้ํา สวน พื้นที่นอกเขตชลประทาน มีสภาพขาดแคลนน้ําเพื่อการเกษตร เนืองจากขาด ่ แหลงกักเก็บน้ํา และการพัฒนาระบบกระจายน้ําใหทั่วถึงทุกพื้นที่
  • 45. สรุปสถานการณนาในอนาคต ้ํ 1. ความตองการใชน้ําในอนาคต มีปริมาณน้ําประมาณรอยละ 78 ของ ปริมาณ น้ําทาในลุมน้ําและมีปริมาณใกลเคียงกับคาเฉลี่ยของปริมาณน้ํา ตนทุน ทรัพยากรน้ําของลุมน้ําแมกลองจึงมีศักยภาพเพียงพอเฉพาะในปทมี ี่ ปริมาณน้ําในเกณฑ ปกติหรือมาก เทานั้น 2. การพัฒนาโครงการตอไปในอนาคต ทั้งการใชน้ําในพื้นที่ลุมน้ําแมกลอง และการ ผันน้ําออกนอกลุมน้ํา คําถามสําคัญที่ตองตอบมิใชคาถามวา ”ลุมน้ํา  ํ แมกลองมีน้ําพอหรือไม” แตเปนคําถามวา ” จะจัดสรรน้ําใหกับกิจกรรมการ ใชน้ําตาง ๆ อยางไร ” 3. ลุมน้ําลําภาชี หวยตะเพิน และ แควนอยตอนลาง ยังมีพนที่ศักยภาพ ื้ สําหรับการพัฒนาแหลงเก็บกักน้ํา แตเปนโครงการขนาดเล็ก ทําใหชวย บรรเทาปญหาการขาดแคลนน้ําในพื้นที่ไดในระดับหนึ่ง 4. โครงการดานการบริหารจัดการน้ํา อาทิ การเพิมประสิทธิภาพการใชน้ํา / ่ การสงน้ํา ซึ่งชวยลดการสูญเสียน้ํา เปนโครงการที่มีความจําเปนเรงดวน มี โดยเฉพาะในพื้นที่ลุมน้ําสาขาที่ราบแมน้ําแมกลอง
  • 47. 47
  • 48. 48
  • 50. 50
  • 51. 51
  • 52. 52
  • 53. 33.3% 62.5% สวนใหญคุณภาพน้ําพอใช 53
  • 55. 55
  • 56. 56
  • 57. 57
  • 58. น้ําเสียจากการเพะปลูก ไมไดมีการตรวจวัดและประเมินเปนทางการ อยางไรก็ดี 1. งานวิจัยของภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน ม.เกษตรศาสตรพบวา น้ําเสีย ที่ระบายจากโครงการชลประทานทามะกา มีการปนเปอนจากปุยเคมีสูงมาก โดยเฉพาะอยางยิ่ง ไนเตรทจากการใชปุยยูเรีย 2. งานวิจัยของภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน ม.เกษตรศาสตรยังพบวา การ เพาะเลี้ยงสัตวน้ําที่โครงการพนมทวน ซึ่งไมมีการพักน้ําและบําบัดน้ําเสีย กอใหเกิดผลกระทบตอคุณภาพน้ําอยางมาก 58
  • 60. 60
  • 61. 61
  • 62. 62
  • 64. 64
  • 65. สถานภาพการพัฒนาและการใชนําของลุมนําแมกลอง 1. การขยายพืนที่ชลประทานเพิ่มเติมทําไดจํากัด ยกเวน ้ พัฒนาลุมน้ํายอย (ลําภาชี ลําตะเพิน) หรือทายเขื่อน (แคว นอย) 2. มีประเด็นการผันน้ําจากเขื่อนศรีนครินทรสูลุมน้ํายอยที่ ยที ขาดแคลนและลุมน้ําใกลเคียง 3. ปญหาคุณภาพน้ํา และการรักษาระบบนิเวศนบริเวณปาก แมน้ําแมกลอง 4. เปนแหลงน้ําตนทุนทั้งของบริเวณภาคตะวันตกและภาค กลาง 5. ตองประหยัดน้ําหรือเพิ่มประสิทธิภาพการชลประทาน 65
  • 66. ลุมน้ําสาขาแมน้ําแควนอยตอนบน ประเด็นปญหา ลุมน้ําแควนอย อําเภอสังขละบุรี 1. ปญหาปาตนน้ําลําธาร เสื่อมโทรม เขื่อนวชิราลงกรณ 2. ปญหาขาดแคลนน้ํา ประเทศเมียนมาร อําเภอทองผาภูมิ กลุมลุมน้ําสาขาแมน้ําแควนอย รหัส ลุมน้ําสาขา พื้นที่รับน้ําฝน ลุมน้ําสาขา (ตร.กม.) 1 แมน้ําแควนอยตอนบน 4,802 ลุมน้ําสาขาหวยปลอก ลอก 2 หวยปลอก 946 3 แมน้ําแควนอยตอนลาง 3,508 รวม 9,256 อําเภอไทรโยค ลุมน้ําสาขาแมน้ําแควนอยตอนลาง แมน้ําแควนอย อําเภอเมืองกาญจนบุรี อําเภอดานมะขามเตี้ย 66
  • 67. ประเด็นปญหา ลุมน้ําแควใหญ อําเภออุมผาง จังหวัดตาก ลุมน้ําสาขาหวยแมจัน ประเทศเมียนมาร ลุมน้ําสาขาแมน้ําแควใหญตอนบน ลุมน้ําสาขาหวยแมละมุง 1. ปญหาปาตนน้ําลําธาร เสื่อมโทรม 2. ปญหาขาดแคลนน้ํา 3. ปญหาคุณภาพน้ํา ลุมน้ําสาขาหวยขาแขง กลุมลุมน้ําสาขาแมน้ําแควใหญ เขื่อนศรีนครินทร อําเภอศรีสวัสดิ์ รหัส ลุมน้ําสาขา พื้นที่รับน้ําฝน ลุมน้ําสาขา (ตร.กม.) ลุมน้ําสาขาแมน้ําแควใหญตอนลาง 1 แมน้ําแควใหญตอนบน 5,070 เขื่อนทาทุงนา  2 หวยแมละมุง 686 แมน้ําแควใหญ 3 หวยแมจัน 864 4 หวยขาแขง 2,476 อําเภอเมืองกาญจนบุรี 5 แมน้ําแควใหญตอนลาง 3,692 รวม 12,788 แมน้ําแควนอย 67