SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 53
Downloaden Sie, um offline zu lesen
วันปฏิบัติการเพื่อประชาธิปไตยในประเทศไทย

60 ปี
แห่ง

การกดขี่
และ

คุกคามสิทธิและเสรีภาพ
ใน

ประเทศไทย
จัดทำโดย . . จรรยา ยิ้มประเสริฐ

แอคชั่นเพื่อประชาธิปไตยในประเทศไทย
Action for People’s Democracy in Thialand

(ACT4DEM)
1
คำนำ
ความสำเร็จในการทำรัฐประหารโค่นรัฐสภาของประชาชนเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2549 ที่ตามมาด้วย
การปราบปรามและสังหารประชาชนอย่างเหี้ยมโหดบนท้องถนนเมื่อเดือนเมษายนและพฤษภาคม 2553
จะส่งผลให้เกิดการทำรัฐประหารครั้งที่ 10 พร้อมกับตัวเลขผู้เสียชีวิตที่เพิ่มขึ้นได้อีกหรือไม่?
รายงานฉบับนี้ ได้นำข้อมูลที่กระจัดกระจายอยู่ในที่ต่างๆ เพื่อมาเป็นหลักฐานแสดงให้เห็นถึงความตึง
เครียดที่น่าวิตกกังวลยิ่ง ระหว่างสองขั้วอำนาจในเมืองไทย สถาบันพระมหากษัตริย์กับสถาบันรัฐสภา
ของประชาชน ความตึงเครียด ที่จำเป็นจะต้องหันมาเผชิญความจริงด้วยการใช้เหตุผลโดยปราศจาก
ซึ่งอคติและความลำเพียงจากทุกฝ่าย ถ้าต้องการให้การบริหารบ้านเมืองของไทยจะพัฒนาเติบโตก้าว
หน้าในนามแห่งสันติภาพและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ตรงกลางระหว่างสองขั้วอำนาจที่แข่งขันกันอยู่นี้ มันได้ถูกยึดครองด้วยกองทัพไทยที่ใหญ่โตเกินความ
จำเป็น ที่สนใจเพียงการรักษาไว้ซึ่งอำนาจของเหล่าทัพ ด้วยการเล่นเกมส์ “ปกป้องสถาบัน” จาก
“นักการเมืองคอรัปชั่น”
การตัดสินใจของเราในการลุกมาทำข้อมูลเหล่านี้ หลังจากเหตุการณ์เดือนเมษายนและพฤษภาคม 2553
เพื่อพยายามที่จะเติมเต็มช่องวางของข้อมูลสาธารณะเกี่ยวกับชีวิตวีรชนที่ร่วงหล่นจากการต่อสู้เพือประชา
่
ธิปไตย ได้ค่อยๆ เป็นเครื่องมือตาสว่างไปในท้ายที่สุด - แม้แต่กับนักกิจกรรมเฉพาะกิจ ไม่ใช่เพราะว่า
จำนวนของชีวิตที่ถูกสังหารภายใต้การเมืองบนลงล่าง แต่เพราะว่าความรุนแรงต่อเนื่องของความโหดร้าย
ในการสังหารประชาชนมาตลอด 6 ศตวรรษในเมืองไทยภายใตพระประมุของค์ปัจจุบัน
ในเอกสารชุดนี้เกี่ยวกับ “ดินแดนแห่งรอยยิ้ม” เราได้นำข้อมูลนับตั้งแต่ปี 2490 ที่แสดงให้เห็นว่ามี
ประชาชนกว่า 11,000 คน ที่ถูกสังหารไม่ว่าด้วยวิธีใดวิธีหนึ่ง เนื่องมาจากการต่อสู้เพื่อเรียกร้องการมี
ส่วนร่วมตามกระบวนการประชาธิปไตย
ร่วม 6 ทศวรรษ ผู้กุมอำนาจในเมืองไทยได้ทำทุกวิถีทางที่จะปกปิดร่องรอยของการเข่นฆ่าสังหาร
ประชาชนทางการเมืองด้วยการนิรโทษกรรม และจำเป็นจะต้องทำความเข้าใจว่า ตัวเลข 11,000 คนนี้
อาจจะไม่ถึงครึ่งหรือเพียงหนึ่งในสามของตัวเลขที่แท้จริงของผู้ที่ได้เสียสละเพื่อการเมืองไทย
การพัฒนาอย่างยั่งยืน กับความรุนแรงจากการกระทำของเจ้าหน้าที่รัฐในนามเพื่อปกป้อง “ชาติ(เขตแดน)
ศาสนา(พุทธ) และกษัตริย” มันเข้ากันไม่ได้
์

2
ผู้ปกครองและเจ้าหน้าที่รัฐระดับสูงในประเทศไทย จำเป็นจะต้องเผชิญหน้าหรือถูกทำให้ต้องเผชิญหน้า
กับการเมืองระบอบศักดินาของพวกเขา และประชาคมนานาชาติ จำเป็นจะต้องเข้าใจว่า เช่นเดียวกับพม่า
ถ้าพวกเขาไม่ยอมใส่ใจต่อความจริงเบื้องหลังรอยยิ้ม ความเจ็บปวดเบื้องหลังรอยยิ้มทั้งหลายจะเพิ่มขึ้น
เป็นอย่างมาก
หลังจาก 60 ปี ภายใต้ระบบ “ทหารในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว” ที่ปิดกั้นเสรีภาพอย่างรุนแรง และทำ
การล้างสมองประชาชนด้วยการอัดฉีดความคิด “คนดี” หรือ “คนไทยแท้” ประชาชนในประเทศไทยกำลัง
เผชิญหน้ากับวิกฤติแห่งการจำเป็นต้องสร้างความมั่นใจให้กับตัวเอง จำเป็นจะต้องท้าทายต่อวัฒนธรรมวิถี
แห่งการสยบยอมต่ออำนาจ และการสูญสิ้นความสามารถที่จะพูดความจริง ตามที่คนไทยต่างพูดกันว่า
“ความจริงกินไม่ได้แต่ตายได้”
ข้อมูลทั้งหลายในรายงานชุดนี้ เพื่อแสดงให้เห็นว่า สำหรับประชาชนคนธรรมดา ต่างก็หวาดกลัวต่อการ
ถูกทำให้เป็นเหยื่อทางการเมืองที่นำความตายมาสู่ตัวพวกเขาได้และรวมทั้งเหตุผลว่าทำไมประชนในดิน
แดน “อเมซิงไทยแลนด์” ไม่สามารถพูดความจริง และทำไมข้อมูลในรายงานชุดนี้ จึงไม่เคยถูกนำมารวม
กันไว้อยู่ด้วยกันเช่นนี้มาก่อน
กระนั้นก็ตาม แม้ว่าจะอยู่ภายใต้ 60 ปีแห่งการกดขี่และคุกคามเสรีภาพ การลุกขึ้นสู้ของประชาชนหลังจาก
รัฐประหาร 2549 แสดงให้เห็นว่าขบวนการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยทีได้เริ่มต้นในปี 2475 ที่ยุติระบอบการ
่
เมืองสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ยังคงดำรงอยู่และเข้มแข็งอย่างที่ไม่เคยปรากฎมาก่อน
ก้าวต่อไปในขบวนการสร้าง “ประชาธิปไตยของไทย” คือการต้องยกเลิก “กฎหมายหมิ่นพระบรมเดชา
นุภาพ” ที่ถูกใช้เป็นเครื่องมือของชนชั้นปกครองออกไปให้ได้

จรรยา ยิ้มประเสริฐ
กลุ่มแอคชั่นเพื่อประชาธิปไตยในประเทศไทย (ACT4DEM)
ACT4DEM@gmail.com
5 มกราคม 2554

3
สารบัญ
หน้า
คำนำ

2

ผู้เสียชีวิตจากการเมืองไทย ทั้งการฆาตกรรม และสังหารหมู่ประชาชนนับตั้งแต่ปี 2490 4
นักโทษคดีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ

34

ภาคผนวก
จดหมายจากเรือนจำพิเศษกรุงเทพถึงนายกรัฐมนตรี

48

Thailand: Free Somyot Prueksakasemsuk!

50

ข้อมูลเพิ่มเติม
www.timeupthailand.net
4
ผู้เสียชีวิตจาการเมืองไทย ทั้งการฆาตกรรม และสังหารหมู่ประชาชน นับตั้งแต่ปี 2490
Political assassinations, extra-judicial killings and murders from 1947

นับตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (2411 2453) ได้ขับเคลื่อนสู่การรวมศูนย์อำนาจการเมือง และการ
เก็บภาษีเข้าวังหลวง ประชาชนหลายพันคนต้องสังเวย
ชีวิตในการต่อสู้เพื่อระบอบประชาธิปไตย และเพื่อสิทธิการ
มีตัวแทนในการบริหารบ้านเมือง

แม้แต่ทุกวันนี้ ณ ยามนี้ ในเดือนกันยายน 2554 ยังไม่มีราย
งานที่แน่ชัดจากรัฐบาลเกี่ยวกับว่าเพราะเหตุใดประชาชน
ร่วม 90 คน จึงถูกยิงเสียชีวิตโดยกองทหารไทยเมื่อเดือน
เมษาถึงพฤษภา ปี 2553 รายงานล่าสุดของคณะกรรมการ
อิสระตรวจสอบค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ
(คอป.) ก็เขียนอ้อมไปอ้อมมาไม่ยอมพูดถึงการนำตัว
ผู้กระทำผิดมารับผิดชอบ

นับตั้งแต่การพยายามจะฝังกลบประชาธิปไตยในปี 2490
การบันทึกตัวเลขที่แน่ชัดเกี่ยวกับประชาชนที่ต้องสูญเสีย
ชีวิตเพราะการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยมีเพียงน้อยนิด ภาพ
รวมตัวเลขผู้สูญเสียที่รวบรวมได้จากแหล่งต่างๆ ที่พอจะสืบ
คนได้ชี้ให้เห็นว่า นับตั้งแต่ 2490 ประชาชนสองหมื่นถึง
สามหมื่นคนได้ถูกฆาตกรรม สังหารโหด หรือถูกอุ้มหาย

ยังไม่มีผู้ใดรับผิดชอบต่อการยั่วยุให้ม๊อบรอยัลลิสต์บุกยึด
สนามบินนานาชาติและทำเนียบรัฐบาลจนเสียหาย นปช.
(คนเสื้อแดง) พยายามที่จะยื่นเรื่องฟ้องร้องอดีตนายก
รัฐมนตรีอภิสิทธิ์ ในการอนุญาต “เขตกระสุนจริง” ต่อศาล
อาญาระหว่างประเทศ แต่ประเทศไทยยังไม่ให้สัตยาบัญ
ศาล และดูเหมือนว่าจะยังคงไม่ให้ สัตยาบัญในระยะเวลา
อันใกล้ เมื่อผู้นำหลายคนในเมืองไทยต่างก็มีข้อกล่าวหา
เรื่องการคอรัปชั่นและการละเมิดสิทธิมนุษยชน

ปรากฎการณ์ที่เด่นชัดของการเสียชีวิตจากการเมืองไทย
ทั้งการฆาตกรรม และสังหารหมู่ประชาชน ที่รู้เห็นเป็นใจ
จากรอยัลลิสต์ คือ มันถูกทำให้ลอยหายไปกับสายน้ำเจ้า
พระยาในนามปกป้องพระมหากษัตริย์

ประชาชนในประเทศไทยมีช่องทางไม่มากนักที่จะดึงความ
สนใจของประชาคมโลกมาสุ่ความจริงอันโหดร้ายที่ซ่อนอยู่
หลังฉากแห่งการแสดงอันยิ่งใหญ่อลังการของผู้มีอำนาจ
ในเมืองไทย

การเสียชีวิตทางการเมืองจำนวนมากจะถูกบันทึกว่าเป็น
เพราะอุบัติเหตุรถชนกัน ขัดผลประโยชน์ส่วนตัว หรือฆ่าตัว
ตาย เป็นต้น จากข้อมูลที่สืบค้นได้ ภาพรวมประชาชน และ
นักกิจกรรมเพื่อสังคมที่ถูกสังหารนับตั้งแต่ปี 2490 บ่งชี้
ให้เห็นว่าน่าจะมีจำนวนผู้เสียชีวิตระหว่าง 20-30,000 คน

ทำไมในประเทศที่มีกำลังตำรวจถึงสองแสนนาย และมีราย
งานงบประมาณเพื่อการบริหารประเทศจำนวนมหาศาล
เพียงแค่การจะทำรายงานแบบคลุมเคลืออย่างซื่อสัตย์บ้าง
เกี่ยวกับการใช้อำนาจในทางที่ผิดก็เป็นเรื่องทำได้ยากเย็น?

มีผู้บริสุทธิ์จำนวนมากเท่าใด ที่ถูกเข่นฆ่าตลอดช่วงหลายปี
แห่งความสับสนอลม่านแห่งยุคสงครามเย็น และผลจากการ
ขับเคลื่อนการพัฒนาชนบทโดยการสนับสนุนจากเงินทุน
สหรัฐอเมริกาและธนาคารโลกยามที่ต้องเผชิญหน้ากับการ
ต่อต้านจากชาวบ้านที่ได้รับผลกระทบ รัฐบาลทหารในช่วง
ระยะเวลานี้ไม่ใส่ใจอยู่แล้วที่จะทำการบันทึกจำนวนผู้เสีย
หายและเสียชีวิต และพวกผู้นำทหารเหล่านี้ต่างก็ได้รับ
การนิรโทษกรรม

สิ่งที่น่าทึ่งมากเกี่ยวกับประเทศไทยคือความชำนาญการใน
หมู่เจ้าหน้าที่ระดับสูงที่ใช้อำนาจเบ็ดเสร็จ สามารถปกปิด
พฤติกรรมการฉ้อฉลและการโกหกที่เห็นอย่างโจ่งแจ้ง
และมีความเก่งกาจในการซ่อนข้อเท็จจริง

5
ในความเป็นจริงการรายงานความจริงจากข้าราชการในพระ
บาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไม่สามารถทำได้ เพราะว่ามันจะ
ทำให้ราชอาณาจักรดูเป็นตัวตลก และการรายงานอย่าง
ตรงไปตรงมาของกลไกรัฐฯ จะสร้างความเสื่อมเสียต่อทุก
ฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการดูแลกิจการพระราชสำนัก

สละของคนทำงานทั้งหลายที่สูญเสียไปในการต่อสู้เพื่อ
ความเป็นธรรมและต่อต้านเผด็จการ จำเป็นจะต้องเป็นที่
รับรู้ ได้รับการยกย่องเชิดชู และการนับถือจากสังคม
1973

ประเทศไทยมีอาหารมากมายเกินพอที่จะเลี้ยงทุกคนในประ
เทศ และนอกเหนือจากนั้น ตลอดหลายทศวรรษที่ผ่านมา
ประเทศไทยยังได้รับเงินช่วยเหลือด้านการพัฒนาและเงินกู้
ยืมเพื่อการพัฒนาประเทศจากสถาบันการเงินระหว่างประ
เทศต่างๆ และอีกมากมาย

1973

แต่เพราะเหตุใดประชาชนกว่าครึ่งหนึ่งประเทศยังคงเรียก
ร้องถามหาความยุติธรรม? นี่เป็นคำถามแห่งความจงรัก
ภักดีที่จำต้องถามต่อองค์เอกกษัตริย์ กระนั้นคำถามคำตอบ
ที่ประชาชนได้รับอยู่บ่อยครั้งมักจะเป็นลูกปืนจากกองทัพ
และตำรวจไทย - เช่นเดียวกับทีเกิดขึ้นในปี 2516, 2519,
2535, 2552 และ 2553

1976

คำถาม จึงไม่ได้อยู่ว่าเมื่อไรจึงจะมีการทำการศึกษาวิจัย
อย่างแท้จริงว่าใครฆ่าประชาชน และทำไมถึงฆ่า แต่เป็น
คำถามที่ว่า ทำไมการศึกษาเรื่องนี้จึงเริ่มต้นขึ้นไม่ได้?
เพราะเหตุใดในประเทศที่อุดมสมบูรณ์ในทุกด้าน การลุกขึ้น
เรียกร้องประชาธิปไตยของประชาชนจึงยังเต็มไปด้วยคราบ
เลือดเช่นนี้ในทศวรรษที่ 21

1976

ข้อมูลที่รวบรวมมา ณ ที่นี่ได้บ่งชี้ให้เห็นถึงความเจ็บปวด
อันมากมายที่อยู่เบื้องหน้ารอยยิ้มเยาะความเป็น “คนอื่นใน
ประเทศไทย” มันเป็นความพยายามที่จะบ่งชี้ให้เห็นว่าจำ
เป็นจะต้องมีการสอบสวนว่าภายใต้ฉาบผิวแห่ง “ความเป็น
ไทย” ประวัติศาสตร์ไทยจำนวนมากน้อยแค่ไหนที่จำจะต้อง
ถูกชำระสะสางกันขึ้นมาใหม่
บันทึกชิ้นนี้พยายามที่จะชี้ให้เห็นถึงความจริงว่า ถ้าประเทศ
ไทยต้องการพัฒนาเป็นประเทศที่สันติสุข ชีวิตและการเสีย

1992

6
2491

400

เหตุการณ์ปะทะระหว่างตำรวจและชาวบ้านดุซงญอ ตำบลจะแนะ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส ถูกบันทึกใน
ประวัติศาสตร์ว่าเป็นเหตุการณ์ กบถดุซงญอ ชาวบ้านกว่า 400 คน และตำรวจ 40 คน เสียชีวิตจากการปะทะครั้งนี้
นักประวัติศาสตร์วิเคราะห์ว่า เหตุการณ์ครั้งนี้เกิดจากความเข้าใจผิดของรัฐไทยที่คิดว่าการที่ชาวบ้านรวมตัวฝึกอาวุธ
ป้องกันโจรที่เข้ามาปล้นเป็นการกระด้างกระเดื่องกับรัฐ และได้ใช้กำลังเข้าปราบปรามอย่างโหดร้าย 28 เมษายน 2491

2492

6

หลังจากจอมพล ป.ปราบกบถวังหลวงได้ ก็มีการส่งหน่วยล่าสัมหาร ตามสังหารแกนนำผู้มีส่วนร่วมในเหตุการณ์
ผุ้สนับสนุนปรีดคนสำคัญ 5 คน เสียชีวิตในขณะที่ยังถูกใส่กุญแกมือ และอีกหนึ่งท่านถูกสังหารตามยคำสั่งของ
ี
พลตำรวจเองเผ่า ศรียานนท์ 28 กุมภาพันธ์ - 1 มีนาคม
นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์

ถูกยิง อดีต ส.ส.จังหวัดอุบลราชธานี พรรคสหชีพ และเป็นอดีตรัฐมนตรี 6 สมัย

นายถวิล อุดล

ถูกยิง อดีต ส.ส.จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นอดีตรัฐมนตรีในสมัยรัฐบาลทวี บุณยเกตุ

นายจำลอง ดาวเรือง

ถูกยิง อดีต ส.ส.จังหวัดมหาสารคาม

ดร.ทองเปลว ชลภูมิ

ถูกยิง อดีต ส.ส.จังหวัดนครนายก และเลขาธิการพรรคแนวร่วมรัฐธรรมนูญ

พันตรีโผน อินทรทัต

ถูกตำรวจยิง รอง ผอ.โรงงานยาสูบ โฆษกคณะปฏิวัติ(กบถวังหลวง) 2492

พ.ต.อ บรรจงศักดิ์ ชีพเป็นสุข ถูกยิง ผู้บังคับการตำรวจสันติบาลที่เข้าร่วมในเหตุการณ์กบถวังหลวงปี 2492

2495

6

เตียง ศิริขันท์ รัฐมนตรีและแกนนำพรรคสหชีพ และพวกรวม 5 คน ถูกเชิญตัวไปสอบสวนที่สันติบาล ก่อนที่จะถูก
สังหารโหดที่บ้านเช่า ที่เขตพระโขนงทีละคน และนำศพไปเผาทำลายที่ตำบลแก่งเสิ้ยน อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี
เตียง ศิริขนท์
ั
ถูกฆ่ารัดคอและเผาศพทิ้ง
นายสง่า ประจักษ์วงศ์
ถูกสังหารโหด
นายชาญ บุนนาค
ถูกสังหารโหด
นายน้อย บุนนาค
ถูกสังหารโหด
นายผ่อง เขียววิจิตร
ถูกสังหารโหด

อดีตรัฐมนตรีและหัวหน้าพรรคสหชีพ
พนักงานขับรถ
ลูกน้องคนสนิทของนายปรีดี พนมยงค์

2496
อารีย์ ลีวีระ

1
ถูกยิงเสียชีวิตที่เรือนพัก เขาเป็นเจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ "สยามนิกร" และ
"พิมพ์ไทย" อดีตนายกสมาคมหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย 2 สมัย(ระหว่าง พ.ศ.
2491 – 2494) ถูกยิงโดยตำรวจยศสิบโท และพลตำรวจอีก 4 นาย จากกองกำกับ
การจังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งอ้างคำสั่งของ พ.ต.ท. ศิริชัย กระจ่างวงศ์ ซึ่งเป็นหนึ่งในนาย
ตำรวจอัศวินแหวนเพชร ลูกน้องของ พล.ต.อ. เผ่า ศรียานนท์
7
2497

4

ฮัจญีสุหลง

ผู้นำมุสลิมจากปัตตานี ท่ีตั้งคำถามกับนโยบาย “เชื้อชาติไทยนิยม” ของรัฐไทย
เขาถูกจับกุมในปี 2491 และได้รับการปล่อยตัวในปี 2495
วันที่ 13 สิงหาคม 2497 ฮัจยีสุหลงกับ เพื่อนอีก 2 คน และนายอาห์มัด โต๊ะมีนา
ลูกชายคนโต เดินทางไปพบตำรวจสันติบาลที่จังหวัดสงขลาตามคำสั่ง
ซึ่งลูกชายไปช่วยเป็นล่ามเท่านั้น แต่ได้หายสาบสูญไปทั้งหมด ต่อมาจึงได้ทราบจาก
คณะกรรมการสะสางคดี นี้ซึ่งแต่งตั้งโดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายกรัฐมนตรีว่า
“นาย ฮัจยีสุหลง กับพวก 2 คน และลูกชาย ได้ถูกตำรวจฆ่าตายในวันนั้นเอง
โดยรัดคอตาย แล้งผ่าศพผูกเสาซีเมนต์ ไปทิ้งทะเลสาบสงขลา”

2498

3

17 กุมภาพันธ์ ประหารชีวิตโดยการยิงเป้า เพื่อปิดคดีลอบปลงพระชนม์ของในหลวงอานันท์เมื่อเดือนมิถุนายน 2489
สามคนที่ถูกประหารชีวิตได้แก่
เฉลียว ประทุมรส
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกคณะราษฎร เพื่อนสนิทของปรีดี
ชิต สิงหเสนี
มหาดเล็กห้องพระบรรทมในหลวงอานันท์
บุศย์ ปัทมศริน
มหาดเล็กห้องพระบรรทมในหลวงอานันท์

2502

ปีที่จอมพลสฤษดิ์มอบอำนาจสิทธิ์ในการฆ่าให้กับตัวเอง

13

ศิลา วงศ์สิน

ถูกตัดสินประหารชีวิตด้วยมาตรา 17 เขาเป็นแกนนำกบถผีบุญที่โชคชัย โคราช 20 มิถุนายน

ชาวบ้าน 11 คน

ถูกตำรวจยิงเสียเสียชีวิตเมื่อเข้าไปจับตัวศิลา และกวาดล้างหมู่บ้านในข้อหาเป็นกบถผีบุญ
20 มิถุนายน

ศุภชัย ศรีสติ

ถูกตัดสินประหารด้วยมาตรา 17 ที่ประกาศโดยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัตน์ เขาเป็นแกนนำ
กรรมกรที่กล้าท้าทายอำนาจเผด็จการสฤษดิ์อย่างกล้าหาญ 30 มิถุนายน

2504

2

ครอง จันดาวงศ์

ถูกประหารชีวิตด้วยการยิงเป้า ด้วยข้อกล่าวหามีการกระทำอันเป็นคอมมิวนิสต์
ครูครอง เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากจังหวัดสกลนคร และเป็นเพื่อนสนิทของ
เตียง ศิริขันธุ์ พรรคสหชีพ ที่ถูกสังหารโหดในปี 2495 31 พฤษภาคม

ทองพันธ์ สุทธิมาศ

ถูกยิงเป้า ทองพันธ์เป็นครูประชาบาลเพื่อร่วมอุดมการณ์กับครูครอง เขาถูกจับกุม
พร้อมกับครองและชาวบ้านภูพานอีก 148 คน ในข้อหามีการกระทำอันเป็นคอมมิวนิสต์
31 พฤษภาคม

ครองกับทองพันธ์ถูกประหารชีวิต คนอื่นๆ ถูกตัดสินจำคุกคนละ 5 ปี ภรรยาและลูกของครองถูกจับกุมด้วยเช่นกัน
ในขณะที่ลูกสองคนของเขาหลบหนีไปต่างประเทศ
8
2505

1

รวม วงพันธ์

ถูกยิงเป้า เขาเป็นนักจัดตั้งพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย เขาเปล่งเสียงก่อน
กระสุนจะสังหารเขาว่า"จักรพรรดินิยมอเมริกาและเผด็จการสฤษดิ์ จงพินาศ
!!!...ประชาชนไทย จงเจริญ จงเจริญ !!!...." 24 เมษายน

2509

1

จิตร ภูมิศักดิ์

ถูกยิงโดยตำรวจที่หมู่บ้านเชิงเขาภูพาน เขาเป็นนักคิด นักเขียน นักแปล กวีที่มีชื่อเสียง
ผลงานและบทเพลงที่เขาแต่งยังเป็นงานวรรณกรรมร่วมสมัยอยู่จนถึงปัจจุบัน 5 พฤษภาคม

2514 – 2416

3,000

ชาวบ้าน 3,000 กว่าคนที่จังหวัดพัทลุง ถูกสังหารอย่างเหี้ยมโหดโดยทหารไทย บางคนถูกเผาทั้งเป็น
ในถังน้ำมัน หรือจับใส่ถงผลักลงจากเฮลิคอปเตอร์ หรือผลักลงมาจากยอดเขา
ุ
2 กุมภาพันธ์ 2519 นายพินิจ จารุสมบัติ รองเลขาธิการฝ่ายการเมือง ศูนย์นิสิตฯ พร้อมด้วยผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์
เดินทางไปพิสูจน์กรณีชาวบ้านหลายอำเภอในจังหวัดพัทลุง ถูก กอ.ปค.(กองอำนวยการป้องกัน และปราบปรามคอมมิวนิสต์)
สังหารโหดกว่า 3 พันศพ เมื่อก่อนเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ชาวบ้านด่านโลดและหมู่บ้านใกล้เคียงยืนยันว่าเป็นความจริง
4 กุมภาพันธ์ 2519 พันเอกหาญ พงศ์สิฏานนท์ ผู้ช่วยฝ่ายอำนวยการ ศูนย์อำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน (กอ.รมน.)
ยอมรับว่ามีการฆ่าชาวพัทลุงประมาณ 3,000 คน ในหลายอำเภอ โดยเอาน้ำมันราดจุดไฟเผา ซึ่งรู้จักกันในชื่อ "ถีบลงเขา
เผาลงถังแดง"

การใช้กำลังปราบปรามนักศึกษา วันที่ 13-15 ตุลาคม 2516

77

มีผู้เสียชีวิต 77 คน บาดเจ็บ 857 คน
การสังหารโหดครั้งนี้แทบจะเป็นครั้งเดียวที่การจัดทำข้อมูลการเข่นฆ่าประชาชนที่ใกล้เคียงความจริงมากที่สุด สถาบัน
พระมหากษัตริย์ถูกบีบให้ต้องยอมรับว่าผู้เสียชีวิตเป็นวีรชนที่ต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย และพวกเขาเป็นประชาชนกลุ่ม
เดียวที่ถูกสังหารหมู่ที่ได้รับการพระราชทานเพลิงศพ ข้อมูลจากเวบไซด์ อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา
นางชูศรี พักตร์ผ่อง

อายุ 42 ปี พับถุงกระดาษขาย ไปตามหาบุตรที่เชิงสะพานบางลำพู
ขณะที่วิ่งหลบกระสุนปืนจากเฮลิคอปเตอร์ ได้หกล้ม และศีรษะฟาดพื้นอย่างแรง
เสียชีวิตขณะถูกนำส่งโรงพยาบาล

น.ส.หนูผิน พรหมจรรย์

เสียชีวิตจากอุบัติเหตุรถชนกัน อายุ 17 ปี นักศึกษา ป.กศ. ชั้นปีที่ 1
วิทยาลัยครูนครศรีธรรมราช นั่งรถสองแถวเล็กไปร่วมเรียกร้องรัฐธรรมนูญ รถชนกัน
ถูกกระแทกที่บริเวณศีรษะส่วนหน้า เมื่อวันที่ 15 ตุลาคมที่ตำบลท่างิ้ว อำเภอเมือง
จังหวัดนครศรีธรรมราช

นายคธากร ชีพธำรง

ถูกตำรวจยิง อายุ 18 ปี นักเรียนปีที่ 4 พาณิชยการเซนต์จอห์น
9
นายคง เงียบตะคุ

ถูกกระสุนปืนเข้าบริเวณคอด้านหลัง ขณะยืนดูเหตุการณ์อยู่ที่หน้าต่างชั้นบนของร้าน
อายุ 28 ปี ลูกจ้างคนงาน

นายคงไฮ้ แซ่จึง

ถูกยิงด้วย M16 ที่สะโพกด้านซ้ายทะลุหน้าท้องเสียชีวิตในวันที่ 16 ตุลาคม 2516
ลูกจ้างคนขับรถยนต์ อายุ 27 ปี

นายจีระ บุญมาก

ถูกยิงกระสุนปืนเจาะเข้าที่ขมับด้านซ้าย เขาเป็นผู้ถือธงชาติเดินเข้าไปขอร้องไม่ให้
ทหารยิงนักเรียน นักศึกษา และประชาชนบริเวณหน้ากรมประชาสัมพันธ์
เขาเป็นนักศึกษาปริญญาโทสถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และ พนักงานการ
ไฟฟ้าส่วนภูมิภาค อายุ 29 ปี

นายจำรัส ประเสริฐฤทธิ์

ถูกยิงที่บริเวณสะพานผ่านฟ้าลีลาศ ขณะที่กำลังไปช่วยเด็กนักเรียนที่ถือธงชาติ
เขาเป็นผู้ช่วยช่าง สังกัดโรงเบ็ดเตล็ด แผนกผลิตกองซ่อมรถพ่วงการรถไฟแห่ง
ประเทศไทย อายุ 47 ปี

นายเจี่ยเซ้ง แซ่ฉั่ว

ถูกยิงหน้ากรมประชาสัมพันธ์ ช่างซ่อมเครื่องยนต์ อายุ 17 ปี

นายจันทรครุป หงษ์ทอง

ถูกยิงทางด้านหลัง เป็นนักเรียนชั้นปีที่ 1 โรงเรียนช่างกลบางซ่อน อายุ 16 ปี

นายฉ่อง จ่ายพัฒน์

ถูกทหารยิงกระสุนเข้าเหนือคิ้วทะลุศีรษะด้านหลัง ช่างแก้เครื่องยนต์ ได้นำข้าวห่อ
ไปบริจาคให้นักศึกษาที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อายุ 50 ปี

นายชูศักดิ์ ไชยยุทะนันท์

ถูกยิงหน้าโรงเรียนเพาะช่าง นักเรียนชั้น ม. 2 โรงเรียนสิงหราชพิทยาคม อายุ 15 ปี

นายชัยศิลป์ ลาดศิลา

ถูกยิงที่หน้าอก หน้าสำนักงานกองสลาก ช่างวิทยุ และโทรคมนาคมของสถานีวิทยุ
1 ปณ. และเป็นนักศึกษาคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง อายุ 25 ปี

นายชีวิน ชัยโตษะ

ถูกยิงที่หน้าป้อมพระกาฬ นักเรียนชั้นปีที่ ๒ แผนกช่างกลโรงงาน โรงเรียนช่างกล
พระนครเหนือ อายุ 18 ปี

นายไชยยศ จันทรโชติ

ถูกกระสุนปืนในขณะขับรถเมล์ขาว พุ่งเข้าชนรถถัง ช่างเชื่อมเรือ อายุ 16 ปี

นายดนัย กรณ์แก้ว

ถูกกระสุนปืนจากเฮลิคอปเตอร์ พนักงานขายไอศครีม บริษัทฟอร์โมส จำกัด
ขณะวิ่งหนีไปทางบางลำพู อายุ 24 ปี

นายตือตี๋ แซ่ตั้ง

ถูกยิงใต้รักแร้ซ้าย ช่างปูพื้นปาเก้ อายุ 24 ปี

นายถนอม ปานเอี่ยม

ถูกยิง บริเวณสะพานผ่านฟ้าลีลาศ กุ๊กทำอาหารประจำโรงแรม อายุ 19 ปี

นายทอง จันทราช

ถูกยิงบริเวณหน้าโรงเรียนเพาะช่างพาหุรัด ลูกจ้างขับรถยนต์ อายุ 40 ปี

นายธาดา ศิริขันธ์

ถูกยิงทะลุที่ซี่โครง เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2516 ขณะดื่มฉลองที่ประชาชนได้รับชัยชนะ
ระหว่างดื่มพูดถึง 3 ทรราช ทำให้ชาย 4 คนในร้านไม่พอใจ และลุกขึ้นชักปืนยิง
10
บริเวณถนนวิสุทธิกษัตริย์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาช่างยนต์วิทยาลัยเอเชียอาคเนย์
อายุ 22 ปี
นายนิยม อุปพันธ์

ถูกยิงกระสุนเข้ากะโหลกศีรษะข้างขวาหลังใบหู และกระสุนฝังใน --เสียชีวิตที่โรงพยาบาลศิริราช เขาเป็นนักเรียนน ม. 5 แผนกช่างไฟฟ้าโรงเรียน
ช่างกลบางซ่อน เข้าร่วมในหน่วย "ฟันเฟือง" อายุ 20 ปี

นายนพ พรหมเจริญ

ถูกยิงกะโหลกศีรษะแตกหน้ากรมประชาสัมพันธ์ กรรมกรท่าเรือ อายุ 40 ปี

นายนิติกร กีรติภากร

ถูกตีและถูกแก๊สน้ำตา ที่บริเวณหน้าพระราชวังสวนจิตร และได้ถูกล้อมอยู่ใน
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หลังจากเหตุการณ์มีอาการประสาทหลอน
และเป็นลมตลอดมา เสียชีวิตวันที่ 21 พฤศจิกายน 2516 จากอาการหัวใจวาย
นักเรียนชั้นม.2 โรงเรียนอำนวยศิลป์พระนคร อายุ 16 ปี

นายบรรพต ฉิมวารี

ไปร่วมเดินขบวน หกล้มหัวฟาดบาทวิถี แล้วมีคนล้มทับ แต่สามารถกลับถึงบ้าน
และได้เสียชีวิตเนื่องจากเส้นโลหิตในสมองแตกในวันรุ่งขึ้น (15 ต.ค,) นักศึกษา
ภาคค่ำชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยา อายุ 25 ปี
ถูกยิงบริเวณอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ลูกจ้างทำงานโรงแรมอายุ 18 ปี

นายบัญทม ภู่ทอง

นายประเสริฐ วิโรจน์ธนะชัย ถูกยิงด้วย M 16 ที่บริเวณสะพานผ่านฟ้าลีลาศขณะไปช่วยน้องที่ถูกยิงด้วย M 16
จึงถูกยิงไปด้วย รวมทั้งนายสมควร แซ่โง้ว เพื่อนที่วิ่ง ตามมาจะเข้าช่วยก็ถูกยิงที่ท้อง
และหน้าอก นักเรียนชั้นปีที่ 4โรงเรียนช่างฝีมือ ปัญจวิทยา อายุ 19 ปี
นายประสาน วิโรจน์ธนะชัย ถูกยิงด้วยเอ็ม 16 ที่คอและหน้าอก นักเรียนโรงเรียนภาษาศาสตร์ อายุ 17 ปี
นายประเสริฐ เดชมี

ถูกยิงเสียชีวิต กำลังจะศึกษาต่อ อายุ 19 ปี

นายประยงค์ ดวงพลอย

ถูกยิงที่สมอง เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม หน้าสถานีตำรวจสมุทรปราการ
พนักงานขับรถรับจ้างสองแถว อาย ุ21 ปี

นายประณต แซ่ลิ้ม

ถูกยิง ลูกจ้างทำเป็ดย่าง ส่งตามภัตตาคาร อายุ 28 ปี

นายประยุทธ แจ่มสุนทร

ถูกยิงที่หลังขณะเอาน้ำไปให้นักศึกษาที่สะพานผ่านฟ้าลีลาศ นักเรียนชั้นม. 4 โรงเรียน
ผดุงศิษย์พิทยา อายุ 17 ปี

นายประวัติ ภัสรากุล

ถูกยิงหน้าอกทะลุหัวใจ เสียชีวิตทันที อายุ 18 ปี ค้าขาย

นายประสพชัย สมส่วน

ถูกยิงที่หน้าท้องทะลุหลัง ขณะที่กำลังนั่งอยู่บนรถดับเพลิงที่ยึดมาได้
พร้อมกับกลุ่มนักเรียนได้ขับรถมุ่งไปทางบางเขน เพื่อไปบริจาคโลหิตที่โรงพยาบาล
ภูมิพลฯ ขณะที่รถผ่านบริเวณหน้ากรมป่าไม้บางเขต นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม จังหวัดนนทบุรี อายุ 15 ปี

นายพูลสุข พงษ์งาม

ถูกยิงที่บริเวณสะพานผ่านฟ้าลีลาศ กระสุนเข้าหน้าอกขวา ถูกปอดแล้วทะลุเอวซ้าย
นักเรียนชั้นปีที่ 2 แผนกช่างยนต์ โรงเรียนช่างกลวิทยา อายุ 20 ปี
11
นายพันธุ์สิริ เกิดสุข

ถูกยิงที่รักแร้ซ้ายไปทะลุซี่โครงขวา พลฯ สำรองพิเศษกำลังรอติดยศ
(นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) อายุ 28 ปี

นายมณเฑียร ผ่องศรี

ถูกยิง บริเวณเชิงสะพานพระปิ่นเกล้าฯ กระสุนเข้าตรงขมับทะลุท้ายทอย
นักเรียนชั้นปีที่ 1 ของโรงเรียนช่างกลนนทบุรี อายุ 20 ปี

สามเณรมนตรี โล่ห์สุวรรณ

ถูกยิงศีรษะจากเฮลิคอปเตอร์ ที่บริเวณวัดบวรนิเวศ เป็นสามเณรที่กำลังศึกษาบาลี
มัธยมสาธิต วัดบางแพรกเหนือ จังหวัดนนทบุรี อายุ 15 ปี

นายมงคล ปิ่นแสงจันทร์

ถูกยิงบริเวณหน้าโรงเรียนเพาะช่าง อยู่ชั้นม. 2 โรงเรียนอำนวยศิลป์ธนบุรี อายุ 15 ปี

นายรัตน์ งอนจันทึก

ถูกยิงที่ศีรษะและหน้าอก พนักงานขับรถบรรทุก 10 ล้อ อายุ 40 ปี

นายเรียม กองกันยา

ถูกยิง บริเวณใกล้หัวถนนนครสวรรค์ โดยตำรวจนครบาลนางเลิ้ง ในขณะขับรถให้
นักเรียน และบาดเจ็บสาหัส ได้คลานไปหลบกระสุนบริเวณใกล้ๆ กัน เจ้าหน้าที่ตำรวจ
ประกาศให้ผู้ที่ไม่ใช่พวกก่อการจลาจลออกมา นายเรียมจึงได้คลานออกมา และถูกยิง
เสียชีวิตทันที เขาเป็นคนขับรถสามล้อเครื่อง อายุ27 ปี

นายเลิศ คงลักษณ์

ถูกไฟคลอก เนื่องจากสำนักงานกองติดตามผลการปฏิบัติราชการ (ก.ต.ป.)
ถูกประชาชนเผาเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2516 เขาลูกจ้างสำนักงาน ก.ต.ป. อายุ 46 ปี

นายวิจิน บุญส่งศรี

ถูกยิงสะบักขวา เป็นช่างเครื่อง อายุ 19 ปี

นายวิชัย สุภากรรม

ถูกยิงที่สะพานผ่านฟ้าลีลาศ คนงานโรงงานทอผ้า อายุ 18 ปี

นายวิเชียร พร้อมพาณิชย์

ผูกคอตายเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2517 เพราะสติฟั่นเฟือนหลังจากได้ไป
ช่วยรักษาผู้บาดเจ็บ บริเวณกรมประชาสัมพันธ์ เขาเป็นนักศึกษาแพทย์ปีที่ 6
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อายุ 25 ปี
นายศิลบุญ โรจนแสงสุวรรณ ถูกยิงที่หน้าอกขวา บนดาดฟ้าตึกของบริษัทเดินอากาศไทย พ่อค้าขายอาหารสด
อายุ 18 ปี
นายสมควร แซ่โง้ว
นายสมชาย เกิดมณี

ถูกยิงที่ศีรษะด้านหลัง เนื่องจากจะเข้าไปช่วย นายประเสริฐ และนายประสาน
วิโรจน์ธนะชัย เขาทำงานเป็นช่างซ่อมรถยนต์ และขับรถรับจ้าง อายุ 18 ปี
ถูกยิง หน้าโรงภาพยนตร์เฉลิมไทย แผนกช่างวิทยุ โรงเรียนช่างกลนนทบุรี อายุ 20 ปี

นายสุรพงษ์ บุญรอดค้ำ

ถูกยิง บริเวณหน้ากองบัญชาการตำรวจนครบาลผ่านฟ้า โดนกระสุนเข้าที่หน้าอก 2
นัด ศีรษะ 1 นัด พนักงานขายผ้า อายุ 16 ปี

นายสุดที ปิยะวงศ์

ถูกยิงที่ขมับ รับจ้างทำลังไม้ อายุ 26 ปี

นายสมเกียรติ เพชรเพ็ง

ถูกยิง ที่บริเวณใกล้โรงพยาบาลศิริราช เป็นลูกจ้างขายแก๊ส อายุ 19 ปี

นายสุรินทร์ ศรีวีระวานิชกุล ถูกยิงที่โคนขาขวาด้วยปืนเอ็ม 16 บริเวณบางลำพู พนักขายแก๊ส อายุ 20 ปี

12
นายสุภาพ แซ่หว่อง

ถูกยิง หน้ากรมประชาสัมพันธ์จากเฮลิคอปเตอร์ โดยกระสุนเจาะเข้าที่ไหปลาร้า
ทะลุสะโพก อายุ 16 ปี ช่างตัดเสื้อ

นายเสวี วิเศษสุวรรณ

รับประทานอาหารเป็นพิษ อาหารนี้มีผู้นำไปบริจาค บริเวณท่าช้างวังหลวง เมื่อวันที่
13-14 ตุลาคม 2516 นักเรียนชั้นปีที่ 2 ของโรงเรียนอาชีวศิลป์ อายุ 18 ปี

นายสุกิจ ทองประสูตร

ได้ไปทำการช่วยระดมคนไปร่วมต่อสู้ทางฝั่งธนบุรี แต่ประสบอุบัติเหตุ
รถที่นั่งไปชนกับสิบล้อ ถึงแก่ความตายบริเวณถนนเพชรเกษม นักเรียนชั้นม. 1
โรงเรียนเสสะเวชวิทยา อายุ 18 ปี

นายสุพจนา จิตตลดากร

ถูกกระสุนปืนจากเฮลิคอปเตอร์ ที่บริเวณมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยกระสุนถูก
ที่ศีรษะ ไหปลาร้า และตามร่างกายอีกหลายแห่ง นักเรียนชั้นม. 1 โรงเรียน
ดุสิตพาณิชยการ อายุ 16 ปี

นายสุรศักดิ์ พวงทอง

ถูกยิงที่หน้ากรมประชาสัมพันธ์ โดยกระสุนปืนกลรถถัง เจาะเข้าระหว่างเข่าซ้าย
ทะลุเข่าขวา เสียชีวิตที่โรงพยาบาลกลางวันที่ 27 ตุลาคม 2516 ลูกจ้างบริษัทเอกชน
อายุ 25 ปี

นายสาโรจน์ วาระเสถียร

ถูกลอบทำร้ายหลังจากกลับจากไปดูประชาชนบุกเข้าเผากองบัญชาการตำรวจ
นครบาลผ่านฟ้า หัวหน้าแผนกจัดส่ง องค์การเภสัชกรรม อายุ 48 ปี

นายสุพจน์ เหรียญสกุลอยู่ดี ถูกยิงกระสุนเข้าท้ายทอยทะลุเบ้าตา จนตกลงไปในคลอง บริเวณสะพานผ่านฟ้าลีลาศ
เนื่องจากจะเข้าไปช่วยชายข้างเคียงที่ถูกยิง ช่างทำเฟอร์นิเจอร์ อายุ 19 ปี
นายสมเด็จ วิรุฬผล

ถูกยิงทางด้านหลัง ทะลุอกและขาทั้ง 2 ข้าง จากทหาร-ตำรวจในกองบัญชาการตำรวจ
นครบาลผ่านฟ้า ชั้นปีที่ 1 คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อายุ 18 ปี

นายสาย ฤทธิ์วานิช

ถูกกระสุนปืนเข้าทางด้านหลังทะลุหน้าท้อง ขณะที่ผ่านไปหน้ากรมประชาสัมพันธ์
เป็นช่างไม้ อายุ 44 ปี

นายแสวง พันธ์บัว

ถูกยิง ที่หน้าผาก หน้ากรมสรรพากร เพราะไปช่วยนักเรียนหญิงที่ถูกแก๊สน้ำตา อายุ
รับจ้างทั่วไป 16 ปี

ด.ช. สมพงษ์ แซ่เตียว

ถูกยิง บริเวณบางลำพู ขณะไปร่วมในเหตุการณ์ เป็นนักเรียนม. 1 โรงเรียนวัด
มกุฎษัตริยารามอายุ 14 ปี

นายสมพงษ์ พลอยเรืองรัศมี ถูกแทงสีข้างซ้ายเข้าทรวงอกขณะเข้าแย่งปืนจากทหาร ใกล้กองบัญชาการตำรวจ
นครบาลผ่านฟ้า นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าฯ อายุ 20 ปี
นายอภิสิทธิ์ พรศิริเลิศกิจ

ถูกยิงบริเวณขมับข้างซ้าย ขณะออกไปตามหาเพื่อน ที่บริเวณใกล้สะพาน
ผ่านฟ้าลีลาศ พนักงานขายอุปกรณ์วิทยุ อายุ 18 ปี

นายอรรณพ ดิษฐสุวรรณ

ถูกยิงโดยปืนกลรถถัง ที่สนามหลวง ทำงานกับหนังเร่ฉายต่างจังหวัด อายุ 17 ปี

นายเอนก ปฏิการสุนทร

ถูกยิงขณะบุกเข้ายึดกองบัญชาการนครบาลผ่านฟ้า เจ้าของร้านขายอาหาร อายุ 41 ปี
13
นายเอี่ยมซวง แซ่โกย

ถูกยิงเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2516 บริเวณหน้าโรงแรมรัตนโกสินทร
และเสียชีวิตที่โรงพยาบาลศิริราช ลูกจ้าง อายุ 22 ปี

วีรชนนิรนาม

(สตรี)ถูกยิงที่อกทะลุหลัง ตกลงไปน้ำเสียชีวิตทันที ขณะไปร่วมเดินขบวนเรียกร้อง
รัฐธรรมนูญ บริเวณเชิงสะพานพระปิ่นเกล้าฯ (ศพไม่มีญาติ)

วีรชนนิรนาม

(บุรุษ) ถูกยิงที่สีข้างซ้าย บริเวณหน้ากองบัญชาการตำรวจนครบาลผ่านฟ้า

ไม่มีข้อมูล
ไม่มีข้อมูล
ไม่มีข้อมูล
ไม่มีข้อมูล
ไม่มีข้อมูล
ไม่มีข้อมูล
ไม่มีข้อมูล
ไม่มีข้อมูล

2517-2519
หลังจากวิกฤติน้ำมันขาดแคลนทั่วโลก ราคาน้ำมันแพงขึ้นมาก จนส่งผลกระทบต่อคนยากคนจนในประเทศไทย ในขณะ
ที่ความต้องการเงินในวิถีการส่งเสริมระบบเศรษฐกิจเงินตราของรัฐบาล ก็เพิ่มสูงขึ้นเป็นอย่างมากเช่นกันหลังจากเหตุ
การณ์ตุลาคม 2516 ขบวนการแรงงานเริ่มจัดตั้งอย่างเข็มแข็ง ในปี 2517 มีการสไตรค์กว่า 700 ครั้ง และพรบ. แรงงาน
สัมพันธ์ได้ประกาศใช้ในปี 2518 เกษตรกรรายย่อยเองก็เริ่มรวมตัวในระดับจังหวัด และเคลื่อนขบวนเข้ามาประท้วงที่
กรุงเทพกันหลายครั้ง ทั้งเรื่องราคาข้าวตกต่ำ เรื่องปุ๋ยเรื่องยาฆ่าแมลง และเงินกู้เพื่อการเกษตร เป็นต้น ทั้งหลายทั้ง
ปวงเหล่านี้เป็นสิ่งที่ทหารในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไม่อาจรับได้ พวกเขาจึงจับมือกับพวกนายทุนและนายทหาร
เหยียบย่ำไปบนรัฐบาลพลเรือนที่น้ำท่วมปากไปกับความกลัวลัทธิคอมมิวนิสต์ และทำการกวาดล้างผู้นำกรรมกร นัก
ศึกษา และชาวนาชาวไร่ อย่างเหี้ยมโหด ด้วยเหตุผลที่ชัดเจนอยู่แล้ว การบันทึกตัวเลขของการฆาตกรรม สังหารประชา
ชนในช่วงนี้กระจัดกระจาย และมีการสร้างเรืองปิดบังข้อเท็จจริง แกนนำชาวนาชาวไร่หลายสิบคนถูกสังหาร มีนักวิชา
การที่พยายามรวบรวมรายชื่อแกนนำที่เสียชีวิต อยู่บ้างเช่นกัน อาทิ ดร. สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ และข้อมูลที่มีก็ไม่ครอบ
คลุมความเหี้ยมโหดแห่งยุคสมัยนั้นได้

2517
ชาวบ้าน 3 คน

4
ถูกสังหารอย่างเหี้ยมโหดที่อำเภอนาทราย จังหวัดหนองคาย บ้านเรือนชาวบ้าน
1,500 หลังคาเรือนถูกเผาวอดทั้งหมู่บ้านด้วยฝีมือเจ้าหน้าที่รัฐที่อ้างว่าหมู่บ้านนี้
เป็นหมู่บ้านคอมมิวนิสต์ 13 มกราคม
14
ชวินทร์ สระคำ

เสียชีวิตจากรถของเขาถูกรถบันทึกพุ่งชน อดีตสส. ร้อยเอ็ด ผู้เขียนเรื่องเปิดหน้ากาก
CIA ในปี 2516 จนส่งผลสะเทือนของการลุกฮือขับไล่ฐานทัพอเมริกาออกจากไทย
และการต่อต้านสงครามเวียดนาม เขาเสียชีวิตอย่างมีเงื่อนงำเมื่อ 16 มิถุนายน 2517
เมื่อรถของเขาถูกรถบรรทุกชน เขาเสียชีวิตทันทีในวัย 41 ปี - ผู้คนลงความเห็นว่า
เขาถูก CIA สังหาร

2518
ชาวมุสลิม 5 คน

5
ในระหว่างเดินทางกลับบ้านที่อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส รถปิ๊กอัพของชาวมุสลิม
5 คน ผู้ใหญ่ 4 เด็ก 1 ถูกทหารเรียกให้จอดและตรวจค้นที่ระหว่างรอยต่ออำเภอ
บาเจาะและอำเภอสายบุรี ไม่กี่วันต่อมา มีการพบศพผู้ใหญ่ทั้ง 5 คนลอยขึ้นมา
ในแม่น้ำ 29 พฤศจิกายน

2519

74

สนอง บัญชา

ถูกยิงเสียชีวิต ผู้นำกรรมกรของบริษัทเหมืองแร่เทมโก้ ที่จังหวัดพังงา
ถูกยิงเสียชีวิตขณะเติมน้ำมันรถมอเตอร์ไซค์ 25 มกราคม

นายบุญมา สมประสิทธิ์

ถูกยิงเสียชีวิต กรรมการสหพันธ์ชาวนาชาวไร่จังหวัดอ่างทอง กุมภาพันธ์

ดร.บุญสนอง บุณโยทยาน

เสียชีวิตด้วยกระสุนปืนของผู้ลอบสังหาร อาจารย์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ
เลขาธิการพรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย บุญสนองเป็นทั้งนักวิชาการผู้ปราดเปรื่อง
และนักต่อสู้เพื่ออุดมการณ์ทางการเมืองผู้ไม่เคยย่อท้อ เขาเป็นหนึ่งในนักสังคมศาสตร์
เพียงไม่กี่คนที่มีความสามารถโดดเด่นทั้งในเชิงแนวคิดและการปฏิบัติ 28 กุมภาพันธ์

นายนิสิต จิรโสภณ

ถูกผลักตกรถไฟเสียชีวิตที่ อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ นักศึกษาจากมหาวิทยา
ลัยเชียงใหม่ เดินทางไปทำข่าวการต่อสู้ของประชาชนที่นครศรีธรรมราช 1 เมษายน

นายเฮียง ลิ้นมาก

ถูกยิงเสียชีวิต ผู้แทนชาวนาสุรินทร์ 5 เมษายน

นายอ้าย ธงโต

ถูกลอบยิงเสียชีวิต กรรมการสหพันธ์ชาวนาชาวไร่บ้านต้นธง จังหวัดลำพูน
10 เมษายน

นายประเสริฐ โฉมอมฤต

ถูกลอบยิงเสียชีวิต ประธานสหพันธ์ชาวนาชาวไร่ บ้านฟ่อนหมู่ ต.หนองควาย --อ.หางดง จ.เชียงใหม่ 18 เมษายน

นายโง่น ลาววงศ์

ถูกลอบทำร้ายเสียชีวิต กรรมการหมู่บ้านหนองบัวบาน จังหวัดอุดรธานี 21 เมษายน

นายเจริญ ดังนอก

ถูกยิงที่ อ.ชุมพวง กรรมการชาวนาจังหวัดนครราชสีมา

นายถวิล (ไม่ทราบนามสกุล) ถูกยิงเสียชีวิต ผู้นำชาวนาจังหวัดพิจิตร
นายมงคล สุขหนุน

ถูกยิงเสียชีวิต ผู้นำชาวนานครสวรรค์ 5 พฤษภาคม

นายเกลี้ยง ใหม่เอี่ยม

ถูกลอบยิง รองประธานสหพันธ์ชาวนาชาวไร่ อ.ห้างฉัตร จ.ลำปาง 20 พฤษภาคม
15
นายถวิล มุ่งธัญญา

ถูกยิงเสียชีวิต ตัวแทนชาวนาจังหวัดนครราชสีมา 26 พฤษภาคม

นายพุฒ ปงลังกา

ถูกยิงเสียชีวิต ผู้นำชาวนาเชียงราย 22 มิถุนายน

นายมานะ อินทะสุริยะ

ถูกลอบยิง ขณะที่กำลังติดโปสเตอร์ชักชวนให้ประชาชน จังหวัดนครราชสีมา
ร่วมใจต่อต้านฐานทัพอเมริกา เนื่องในวันชาติอเมริกา 4 กรกฎาคม นักเรียนโรงเรียน
ราชสีมาวิทยาลัย จังหวัดนครราชสีมา 1 กรกฎาคม

นายจา จักรวาล

รองประธานสหพันธ์ชาวนาชาวไร่บ้านดง อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 3 กรกฎาคม

นายประสาท ศิริม่วง

ถูกยิงเสียชีวิต ตัวแทนชาวนาจังหวัดสุรินทร์ 8 กรกฎาคม

นายบุญพา ปัญโญใหญ่

ถูกลอบยิงเสียชีวิตที่จังหวัดลำพูน กรรมการสหพันธ์ชาวนาชาวไร่แห่งประเทศไทย
14 กรกฎาคม

นายบุญทา โยธา

ถูกยิงเสียชีวิตที่ลำพูน 18 กรกฎาคม

นายเกลี้ยง ใหม่เอี่ยม

ถูกลอบยิงเสียชีวิตที่บ้านสันกำแพง ต.เมืองตาก อ.ห้างฉัตร จ.ลำปาง
รองประธานสหพันธ์ชาวนาชาวไร่ อ.ห้างฉัตร จ.ลำปาง 22 กรกฎาคม

น.ส.สำราญ คำกลั่น

พนักงานโรงงานกระเบื้องยางวัฒนาวินิลไทล์ อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร
ถูกหัวหน้ายามโรงงานยิงเสียชีวิต เนื่องจากประท้วงโรงงานที่ปลดพนักงานอย่าง
ไม่เป็นธรรม 26 กรกฎาคม

นายอินถา ศรีบุญเรือง

ถูกคนร้ายสองคนบุกยิงตายคาที่ ณ บ้านพัก รองประธานสหพันธ์ชาวนาชาวไร่
แห่งประเทศไทย และประธานสหพันธ์ชาวนาชาวไร่ภาคเหนือ 30 กรกฎาคม

นายสวัสดิ์ ตาถาวรรณ

ถูกลอบยิงถึงแก่ชีวิต รองประธานสหพันธ์ชาวนาชาวไร่ บ้านแม่ร้อยเงิน อ.ดอยสะเก็ด
จังหวัดเชียงใหม่ 4 สิงหาคม

นายอ้าย สิทธิ

หายตัวไปพร้อมกับ

นายมี สวนพลู

หายตัวไปพร้อมกับ

นายตา สิทธิ

หายตัวไปพร้อมกับ

นายต๋า แก้วประเสริฐ

หายตัวไปพร้อมกับ

นายตา อินตะคำ

ประธานและกรรมการสหพันธ์ชาวนาชาวไร่ของเขตต่าง ๆ ใน อ.ฝาง จ.เชียงใหม่
ทั้ง 5 คน ได้หายจากบ้านอย่างลึกลับ ญาติสงสัยว่าถูกฆ่าตายแล้วนำศพไปซ่อน
และเข้าแจ้งความกับตำรวจ อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ เมื่อวันที่ 3 เมษายน ตำรวจติดตาม
หาตัวไม่พบ ทั้ง 5 คนได้ถือว่าหายสาบสูญไป 7 สิงหาคม

นายพุฒ ทรายดำ

ถูกลอบยิงแต่ไม่ตาย แต่ถูกคนร้ายตามไปยิงซ้ำ ถึงที่เตียงในโรงพยาบาล
ต่อหน้าแพทย์ จนเสียชีวิต ชาวนา ต.แม่บอน อ.ฝาง 11 สิงหาคม

นายช้วน เนียมวีระ

ถูกลอบยิงเสียชีวิต กรรมการสหพันธ์ชาวนาชาวไร่ อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี 12 สิงหาคม
16
เสียชีวิต 15 ราย

จากเหตุการณ์ระเบิดกลางหมู่ประชาชนที่ประท้วงการย้ายผู้ว่าราชการจังหวัดพังงา
บาดเจ็บ 17 ราย 29 กันยายน

นายนวล กาวิโล

ถูกระเบิดเสียชีวิตขณะที่ปะทะกับฝ่ายเหมืองที่ ต.เสริใขวา อ.เสริมงาม จ.ลำปาง
ผู้นำชาวนาแม่เลียง 12 ตุลาคม

ผู้เสียชีวิต 15 ราย

เสียชีวิตจากการปะทะกันระว่างชาวบ้านและชาวเหมืองที่บ้านแม่เลียง ต.เสริมขวา
อ.เสริมงาม จ.ลำพูน เนื่องจากทางเหมืองปล่อยน้ำเสียจนทำการเพาะปลูกไม่ได้
13 ตุลาคม

นายบุญรัตน์ ใจเย็น

ถูกลอบยิงเสียชีวิต รองประธานสหพันธ์ชาวนาชาวไร่บ้านหนองป่าแสะ อ.สารภี
จังหวัดเชียงใหม่ 19 ตุลาคม

เสียชีวิต 12 คน

จากเหตุการณ์ระเบิดลงที่ปัตตานี 13 ธันวาคม

วีรชนที่เสียชีวิตจากการสังหารโหด 6 ตุลาคม 2519

42

หลายร้อยคนได้รับบาดเจ็บ ถูกจับกุม 3,154 คน นักศึกษานับพันคนหนีเข้าป่า
ผู้เสียชีวิตตัวเลขทางการ 42 คน (ที่ประมาณการจากกลุ่ม 6 ตุลาคม 2519 คือ 530 คน)
ระบุได้ 31 คน ระบุไม่ได้ 10 คน หาศพไม่พบ 1
ยังมีรายชื่อผู้เสียชีวิตหลายคน จากความรุนแรงที่เริ่มปะทุก่อนถึง 6 ตุลาคม 2519 ที่จะทยอยนำมาเพิ่มเติม
มีการมอบให้ญาติไปจัดการตามประเพณี 30 คน ชาย 26 คน หญิง 4 คน
นางสาวภรณี จุลละครินทร์ ถูกกระสุนปืน
นางสาววิมลวรรณ รุ่งทองใบสุรีย์ ถูกกระสุนปืน
นางสาวอรุณี ขำบุญเกิด
ถูกกระสุนปืน
นายอับดุลรอเฮง สาตา
ถูกกระสุนปืน
นายมนู วิทยาภรณ์
ถูกกระสุนปืน
นายสุรสิทธิ์ สุภาภา
ถูกกระสุนปืน
นายสัมพันธ์ เจริญสุข
ถูกกระสุนปืน
นายสุวิทย์ ทองประหลาด
ถูกกระสุนปืน
นายบุนนาค สมัครสมาน
ถูกกระสุนปืน
นายอภิสิทธิ์ ไทยนิยม
ถูกกระสุนปืน
นายวีระพล โอภาสพิไล
ถูกกระสุนปืน
นายสุพจน์ พันธุ์กาฬสินธุ์
ถูกกระสุนปืน
นายยุทธนา บูรศิริรักษ์
ถูกกระสุนปืน
นายภูมิศักดิ์ ศิระศุภฤกษ์ชัย ถูกกระสุนปืน
17
นางสาววัชรี เพชรสุ่น
ถูกกระสุนปืน
นายดนัยศักดิ์ เอี่ยมคง
ถูกกระสุนปืน
นายไพบูลย์ เลาหจีรพันธ์
ถูกกระสุนปืน
นายชัยพร อมรโรจนาวงศ์ ถูกกระสุนปืน
นายอัจฉริยะ ศรีสวาท
ถูกกระสุนปืน
นายสมชาย ปิยะสกุลศักดิ์ ถูกกระสุนปืน
นายวิสุทธิ์ พงษ์พานิช
ถูกกระสุนปืน
นายสุพล พาน หรือ บุญทะพาน ถูกกระสุนปืน
นายศิริพงษ์ มัณตะเสถียร ถูกกระสุนปืน
นายวสันต์ บุญรักษ์
ถูกกระสุนปืน
นายเนาวรัตน์ ศิริรังษี
ถูกกระสุนปืน
นายพงษ์พันธ์ เพรามธุรส
ถูกระเบิด
นายอนุวัตร อ่างแก้ว
ถูกระเบิด
นายวิชิตชัย อมรกุล
ถูกของแข็งมีคม ถูกรัดคอ
นายปรีชา แซ่เซีย
ถูกของแข็ง อาวุธหลายชนิด และถูกรัดคอ
นายวันชาติ ศรีจันทร์สุข
ผูกคอตายที่สถานีตำรวจนครบาลบางเขน
นายสงวนพันธุ์ ซุ่นเซ้ง
จมน้ำ
ไม่ทราบชื่อ แยกเพศไม่ได้ ถูกเผา
ไม่ทราบชื่อ แยกเพศไม่ได้ ถูกเผา
ไม่ทราบชื่อ แยกเพศไม่ได้ ถูกเผา
ไม่ทราบชื่อ แยกเพศไม่ได้ ถูกเผา
ไม่ทราบชื่อ
ไม่ทราบชื่อ
ไม่ทราบชื่อ
ไม่ทราบชื่อ
ไม่ทราบชื่อ
ไม่ทราบชื่อ
รายชื่อเหล่านี้ยังไม่นับรวมถึงผู้สูญหายอีกจำนวนมากซึ่งส่วนใหญ่ติดตาม หาศพไม่พบหรือมีการทำลายศพ โดยเฉพาะ
นายจารุพงษ์ ทองสินธุ์ นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่โดนคนของรัฐลากคอที่สนามฟุตบอล

2519 – 2532 - ไม่มีข้อมูล
2533
ธนาวุฒิ คลิ้งเชื้อ

1
นักศึกษารามคำแหง ตอนนั้นอยู่ในตำแหน่งประธานชมรมนักศึกษาและเยาวชน 14
จังหวัดภาคใต้ เผาตัวตายประท้วงรัฐบาลชาติชาย ชุณหะวัณ เพราะเชื่อว่า รัฐบาล
18
พล.อ.ชาติชายปกครองประเทศคล้ายเผด็จการ ปิดกั้นสิทธิเสรีภาพในการแสดงออก
ในระบอบประชาธิปไตย อีกกระแสว่าเพราะเขาอยู่ในอิทธิพลแนวคิดทางการเมือง
ของกลุ่มประเสริฐ ทรัพย์สุนทร 14 ตุลาคม

2534 รัฐประหาร
ทนง โพธิ์อ่าน

1
หายสาปสูญ เขาเป็นประธานสภาแรงงาน และรองประธานภาคพื้นเอเชียแปชิฟิก
ของสมาพันธ์แรงงานเสรีแรงงานระหว่างประเทศหรือ ICFTU วันที่ 14 มิถุนายน 2534
เขานำขบวนการแรงงานประท้วงการออกประกาศคณะรัฐประหาร 2534 หรือ รสช.
ฉบับที่ 54 ในวัน 19 มิถนายน เขาหายตัวไปอย่างลึกลับไร้ร่องรอย ขบวนการแรงงาน
ยังติดตามคดีทนง โพธิ์อ่านอยู่จนถึงบัดนี้

2535 เหตุการ์พฤษภาเลือด

44

เหตุการณ์พฤษภาเลือดระหว่างวันที่ 17-19 พฤษภาคม 2535 มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 44 ราย ทั้งนี้ 38 ราย
จากกระสุนปืน มีผู้บาดเจ็บทั้งสิ้น 736 คน และมีการรายงานตัวเลขผู้สูญหายร่วม 70 คน
1. กฤษฎา เนียมมีศรี ถูกตีและถูกกระสุนปืน
2. กิตติกรณ์ เขียวบริบูรณ์ ถูกกระสุน
3. กิตติพงษ์ สุปิงคลัด ถูกกระสุน
4. เกรียงไกร จารุสาร ถูกกระสุน
5. กอบกุล สินธุสิงห
ถูกกระสุน
6. จักรพันธ์ อัมราช
ถูกกระสุน
7. จักราวุธ นามตะ
ถูกกระสุน
8. ชัยรัตน์ ณ นคร
ถูกกระสุน
9. ซี้ฮง แซ่เตีย
ถูกกระสุน
10. ณรงค์ ธงทอง
ถูกกระสุน
11. ทวีศักดิ์ ปานะถึก
ถูกกระสุน
12. นคร สอนปัญญา
ถูกกระสุน
13. บุญมี วงษ์สิงโต
ถูกกระสุน
14. บุญคง ทันนา
ถูกกระสุน
15. ปรัชญา ศรีสะอาด ถูกกระสุน
16. ประสงค์ ทิพย์พิมล ถูกกระสุน
17. ปรีดา เอี่ยมสำอางค์ ถูกกระสุน
18. พิพัฒน์ สุริยากุล
ถูกกระสุน
19. ภูวนาท วิศาลธรกุล ถูกกระสุน
20. ภิรมย์ รามขาว
ถูกกระสุน
21. มะยูนัน ยีดัม
ถูกกระสุน
22. มนัส นนทศิริ
ถูกกระสุน
19
23. วีระ จิตติชานนท์
ถูกกระสุน
24. วงเดือน บัวจันทร์
ถูกกระสุน
25. วีรชัย อัศวพิทยานนท์ ถูกกระสุน
26. ศรากร แย้มประนิตย์ ถูกกระสุน
27. สมชาย สุธีรัตน์
ถูกกระสุน
28. สำรวม ตรีเข้ม
ถูกกระสุน
29. สาโรจน์ ยามินทร์
ถูกกระสุน
30. สมเพชร เจริญเนตร ถูกกระสุน
31. สุชาต พาป้อ
ถูกกระสุน
32. สมาน กลิ่นภู่
ถูกกระสุน
33. สัญญา เพ็งสา
ถูกกระสุน
34. หนู แก้วภมร
ถูกกระสุน
35. อภิวัฒน์ มาสขาว
ถูกกระสุน
36. เอกพจน์ จารุกิจไพศาล ถูกกระสุน
37. เฉลิมพล สังข์เอม
สมองบอบช้ำ
38. ทวี มวยดี
ถูกตีศีรษะ
39. บุญมี แสงสุ่ม
40. สุรพันธ์ ชูช่วย
41. เอียน นิวมีเก้น
42. ไม่มีรายละเอียด
43. ไม่มีรายละเอียด
44. ไม่มีรายละเอียด

2536
2537

??

นางสุชาดา คำฟูบุตร

1
ผู้คัดค้านโรงงานอุตสาหกรรม จ. ลำปาง ถูกอุ้มหายตัวไป

2538
อ.บุญทวี อุปการะกุล
ครูประเวียน บุญหนัก
นายวินัย จันทมโน

3
ถูกทำร้ายตกรถไฟเสียชีวิต ผู้นำการรณรงค์คัดค้านมลพิษจากนิคมอุตสาหกรรม
จ. ลำพูน
ถูกยิงเสียชีวิต ผู้นำการคัดค้านโรงโม่หิน จ. เลย
ถูกลอบสังหารเสียชีวิต นักอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติชุมชน ผู้คัดค้านนายทุนตัดไม้
ทำลายป่า บ้านน้ำหรา อ.ควนกาหลง จ.สตูล เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม

2539
นายทองอินทร์ แก้ววัตตา

2
ถูกลอบสังหารเสียชีวิต แกนนำผู้คัดค้านการสร้างโรงงานกำจัดกากสารอุตสาหกรรม
ของบริษัทบริหารและพัฒนาเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (เจนโก้) จ.ระยอง 18 มกราคม
20
นายทุนหรือจุน บุญขุนทด

ถูกเจ้าหน้าที่ตำรวจ สภอ.หนองบัวระเหว จ.ชัยภูมิ ใช้อาวุธปืน. 38 ยิงเสียชีวิต
ผู้นำสมัชชาคนจน กรรมการบ้านห้วยทับนาย อ.หนองบัวระเหว จ.ชัยภุมิ
แกนนำการคัดค้านการสร้างเขื่อนโป่งขุนเพชร จ.ชัยภูมิ เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม

2542
กำนันทองม้วน คำแจ่ม
นายสม หอมพรหม
นายอารีย์ สงเคราะห์

2544
นายจุรินทร์ ราชพล

นายนรินทร์ โพธิ์แดง

3
ถูกยิงเสียชีวิต ผู้นำการคัดค้านการให้สัมปทานโรงโม่หินจ.หนองบัวลำภู (พร้อมกับ
นายสมฯ ) ในปีเดียวกัน
ถูกยิงเสียชีวิตพร้อมกำนันทองม้วน ฯ ขณะนั่งซ้อนท้ายรถมอเตอร์ไซค์ไปกับ
กำนันทองม้วน ฯ
ถูกยิงเสียชีวิต ผู้นำการต่อต้านการบุกรุกป่าและรณรงค์ร่วมกับชาวบ้านปกป้องผืนป่า
ต้นน้ำคลองคราม จ.สุราษฎร์ธานี

6

ถูกยิงเสียชีวิต ในวัย 50 ปี ผู้นำการรณรงค์ปกป้องป่าชายเลนชุมชนบ้านป่าคลอก
๔๐๐ ไร่ อ.ถลาง จ.ภูเก็ต มิให้ถูกนายทุนนากุ้งบุกรุก โดยกลุ่มนายทุนนากุ้งพยายาม
ที่จะย้ายหมุดออกจากป่าชายเลน โดยการเป็นผู้นำตัวแทนชมรมผู้เลี้ยงกุ้งยื่นหนังสือ
คัดค้านการรังวัดสอบเขต ป่าชายเลนต่อผู้ว่าราชการจังหวัด 30 มกราคม
ถูกยิงเสียชีวิตอยู่ที่หน้าบ้านตัวเอง ผู้นำการคัดค้านการระเบิดหินเขาชะอางกลางทุ่ง
กิ่ง อ.ชะเมา จ.ระยอง ได้เข้ามาช่วยเหลือกลุ่มชาวบ้านในพื้นที่เขาชะอางกลางทุ่ง
ท่ามกลางความขัดแย้งกับ อบต.ห้วยทับมอญ ที่ให้ความเห็นชอบในเรื่องการตั้งโรง
โม่หิน ที่มีความไม่ชอบมาพากลในการ พิจารณา และการไม่รับฟังความเห็นของ
ประชาชน รวมถึงผลกระทบจากโรงโม่หินซึ่งมีนักการ เมืองท้องถิ่น และนักการเมือง
ระดับประเทศ 1 พฤษภาคม

นายพิทักษ์ โตนวุธ

ถูกยิงเสียชีวิตขณะขับขี่มอเตอร์ไซค์ผ่านแยกเข้าบ้านชมภูฯ ผู้นำคัดค้านโรงโม่หิน
บริษัทร็อค แอนด์ สโตน โรงโม่หินบริษัทอนุมัติการศิลา และ ได้ร้องเรียนให้ตรวจสอบ
ส.ค.๑ ของโรงโม่หินในภูเขาแดงรังกาย บ้านชมภู อ.เนินมะปรางจ.พิษณุโลก
พื้นที่ติดต่ออุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง หลังที่พิทักษ์ฯ กลับจากการประชุมร่วมกับ
คณะตรวจสอบของทางอำเภอเพื่อรับทราบความคืบหน้าฯ ศาลชั้นต้นยกฟ้อง
และกลุ่มชาวบ้านกำลังดำเนินการอุทธรณ์ 17 พฤษภาคม

นายสุวัฒน์ ปิยะสถิตย์

ถูกยิงเสียชีวิต ผู้นำการคัดค้านบ่อฝังกลบขยะราชาเทวะ อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ
ของ หจก.ไพโรจน์สมพงษ์พาณิชย์ เนื่องจากส่งกลิ่นเหม็นสร้างมลพิษรบกวนชุมชน
ในแถบ ต.ราชาเทวะ ถูกยิงเสียชีวิตขณะนั่งร่วมปรึกษาหารือกับกลุ่ม บริเวณร้านค้า
กลางชุมชน ในหมู่บ้านจามจุรี ม. 15 ต.ราชาเทวะ ศาลชั้นต้นพิพากษา ประหารชีวิต
ผู้จ้างวาน จำคุกตลอดชีวิตมือปืนและผู้ที่เกี่ยวข้อง 26 มิถุนายน
21
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)
60 years of suppression and oppression in thailand (thai)

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von Junya Yimprasert

คำตอบ(โต้) คนคลั่งเจ้า จาก คนรักประชาธิปไตย
คำตอบ(โต้) คนคลั่งเจ้า จาก คนรักประชาธิปไตยคำตอบ(โต้) คนคลั่งเจ้า จาก คนรักประชาธิปไตย
คำตอบ(โต้) คนคลั่งเจ้า จาก คนรักประชาธิปไตยJunya Yimprasert
 
รวมข้อเขียน Facebook2012
รวมข้อเขียน Facebook2012รวมข้อเขียน Facebook2012
รวมข้อเขียน Facebook2012Junya Yimprasert
 
เอาชนะความกลัวพระบรมเดชานุภาพ
เอาชนะความกลัวพระบรมเดชานุภาพเอาชนะความกลัวพระบรมเดชานุภาพ
เอาชนะความกลัวพระบรมเดชานุภาพJunya Yimprasert
 
ไพร่สู้: บนเส้นทาง 78 ปีประชาธิปไตยไทย
ไพร่สู้: บนเส้นทาง 78 ปีประชาธิปไตยไทยไพร่สู้: บนเส้นทาง 78 ปีประชาธิปไตยไทย
ไพร่สู้: บนเส้นทาง 78 ปีประชาธิปไตยไทยJunya Yimprasert
 
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติบันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติJunya Yimprasert
 
คำตอบโต้กับคนรักสถาบันฯ
คำตอบโต้กับคนรักสถาบันฯคำตอบโต้กับคนรักสถาบันฯ
คำตอบโต้กับคนรักสถาบันฯJunya Yimprasert
 
กำไรสูงสุด กำไรจากการกดขี่แรงงานในอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มโลก
กำไรสูงสุด กำไรจากการกดขี่แรงงานในอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มโลกกำไรสูงสุด กำไรจากการกดขี่แรงงานในอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มโลก
กำไรสูงสุด กำไรจากการกดขี่แรงงานในอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มโลกJunya Yimprasert
 
ไม้ขีดก้านเดียวที่เปลี่ยนสังคมเกาหลี: ชีวประวัติชุน เต-อิล
ไม้ขีดก้านเดียวที่เปลี่ยนสังคมเกาหลี: ชีวประวัติชุน เต-อิลไม้ขีดก้านเดียวที่เปลี่ยนสังคมเกาหลี: ชีวประวัติชุน เต-อิล
ไม้ขีดก้านเดียวที่เปลี่ยนสังคมเกาหลี: ชีวประวัติชุน เต-อิลJunya Yimprasert
 
กว่าจะพูดออกมาได้ว่า ทำไมถึงไม่รักในหลวง
กว่าจะพูดออกมาได้ว่า ทำไมถึงไม่รักในหลวงกว่าจะพูดออกมาได้ว่า ทำไมถึงไม่รักในหลวง
กว่าจะพูดออกมาได้ว่า ทำไมถึงไม่รักในหลวงJunya Yimprasert
 
หนังสืองานศพแม่
หนังสืองานศพแม่หนังสืองานศพแม่
หนังสืองานศพแม่Junya Yimprasert
 

Mehr von Junya Yimprasert (11)

คำตอบ(โต้) คนคลั่งเจ้า จาก คนรักประชาธิปไตย
คำตอบ(โต้) คนคลั่งเจ้า จาก คนรักประชาธิปไตยคำตอบ(โต้) คนคลั่งเจ้า จาก คนรักประชาธิปไตย
คำตอบ(โต้) คนคลั่งเจ้า จาก คนรักประชาธิปไตย
 
Enough;time to fight back
Enough;time to fight backEnough;time to fight back
Enough;time to fight back
 
รวมข้อเขียน Facebook2012
รวมข้อเขียน Facebook2012รวมข้อเขียน Facebook2012
รวมข้อเขียน Facebook2012
 
เอาชนะความกลัวพระบรมเดชานุภาพ
เอาชนะความกลัวพระบรมเดชานุภาพเอาชนะความกลัวพระบรมเดชานุภาพ
เอาชนะความกลัวพระบรมเดชานุภาพ
 
ไพร่สู้: บนเส้นทาง 78 ปีประชาธิปไตยไทย
ไพร่สู้: บนเส้นทาง 78 ปีประชาธิปไตยไทยไพร่สู้: บนเส้นทาง 78 ปีประชาธิปไตยไทย
ไพร่สู้: บนเส้นทาง 78 ปีประชาธิปไตยไทย
 
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติบันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
 
คำตอบโต้กับคนรักสถาบันฯ
คำตอบโต้กับคนรักสถาบันฯคำตอบโต้กับคนรักสถาบันฯ
คำตอบโต้กับคนรักสถาบันฯ
 
กำไรสูงสุด กำไรจากการกดขี่แรงงานในอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มโลก
กำไรสูงสุด กำไรจากการกดขี่แรงงานในอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มโลกกำไรสูงสุด กำไรจากการกดขี่แรงงานในอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มโลก
กำไรสูงสุด กำไรจากการกดขี่แรงงานในอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มโลก
 
ไม้ขีดก้านเดียวที่เปลี่ยนสังคมเกาหลี: ชีวประวัติชุน เต-อิล
ไม้ขีดก้านเดียวที่เปลี่ยนสังคมเกาหลี: ชีวประวัติชุน เต-อิลไม้ขีดก้านเดียวที่เปลี่ยนสังคมเกาหลี: ชีวประวัติชุน เต-อิล
ไม้ขีดก้านเดียวที่เปลี่ยนสังคมเกาหลี: ชีวประวัติชุน เต-อิล
 
กว่าจะพูดออกมาได้ว่า ทำไมถึงไม่รักในหลวง
กว่าจะพูดออกมาได้ว่า ทำไมถึงไม่รักในหลวงกว่าจะพูดออกมาได้ว่า ทำไมถึงไม่รักในหลวง
กว่าจะพูดออกมาได้ว่า ทำไมถึงไม่รักในหลวง
 
หนังสืองานศพแม่
หนังสืองานศพแม่หนังสืองานศพแม่
หนังสืองานศพแม่
 

60 years of suppression and oppression in thailand (thai)

  • 1. วันปฏิบัติการเพื่อประชาธิปไตยในประเทศไทย 60 ปี แห่ง การกดขี่ และ คุกคามสิทธิและเสรีภาพ ใน ประเทศไทย จัดทำโดย . . จรรยา ยิ้มประเสริฐ แอคชั่นเพื่อประชาธิปไตยในประเทศไทย Action for People’s Democracy in Thialand (ACT4DEM) 1
  • 2. คำนำ ความสำเร็จในการทำรัฐประหารโค่นรัฐสภาของประชาชนเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2549 ที่ตามมาด้วย การปราบปรามและสังหารประชาชนอย่างเหี้ยมโหดบนท้องถนนเมื่อเดือนเมษายนและพฤษภาคม 2553 จะส่งผลให้เกิดการทำรัฐประหารครั้งที่ 10 พร้อมกับตัวเลขผู้เสียชีวิตที่เพิ่มขึ้นได้อีกหรือไม่? รายงานฉบับนี้ ได้นำข้อมูลที่กระจัดกระจายอยู่ในที่ต่างๆ เพื่อมาเป็นหลักฐานแสดงให้เห็นถึงความตึง เครียดที่น่าวิตกกังวลยิ่ง ระหว่างสองขั้วอำนาจในเมืองไทย สถาบันพระมหากษัตริย์กับสถาบันรัฐสภา ของประชาชน ความตึงเครียด ที่จำเป็นจะต้องหันมาเผชิญความจริงด้วยการใช้เหตุผลโดยปราศจาก ซึ่งอคติและความลำเพียงจากทุกฝ่าย ถ้าต้องการให้การบริหารบ้านเมืองของไทยจะพัฒนาเติบโตก้าว หน้าในนามแห่งสันติภาพและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ตรงกลางระหว่างสองขั้วอำนาจที่แข่งขันกันอยู่นี้ มันได้ถูกยึดครองด้วยกองทัพไทยที่ใหญ่โตเกินความ จำเป็น ที่สนใจเพียงการรักษาไว้ซึ่งอำนาจของเหล่าทัพ ด้วยการเล่นเกมส์ “ปกป้องสถาบัน” จาก “นักการเมืองคอรัปชั่น” การตัดสินใจของเราในการลุกมาทำข้อมูลเหล่านี้ หลังจากเหตุการณ์เดือนเมษายนและพฤษภาคม 2553 เพื่อพยายามที่จะเติมเต็มช่องวางของข้อมูลสาธารณะเกี่ยวกับชีวิตวีรชนที่ร่วงหล่นจากการต่อสู้เพือประชา ่ ธิปไตย ได้ค่อยๆ เป็นเครื่องมือตาสว่างไปในท้ายที่สุด - แม้แต่กับนักกิจกรรมเฉพาะกิจ ไม่ใช่เพราะว่า จำนวนของชีวิตที่ถูกสังหารภายใต้การเมืองบนลงล่าง แต่เพราะว่าความรุนแรงต่อเนื่องของความโหดร้าย ในการสังหารประชาชนมาตลอด 6 ศตวรรษในเมืองไทยภายใตพระประมุของค์ปัจจุบัน ในเอกสารชุดนี้เกี่ยวกับ “ดินแดนแห่งรอยยิ้ม” เราได้นำข้อมูลนับตั้งแต่ปี 2490 ที่แสดงให้เห็นว่ามี ประชาชนกว่า 11,000 คน ที่ถูกสังหารไม่ว่าด้วยวิธีใดวิธีหนึ่ง เนื่องมาจากการต่อสู้เพื่อเรียกร้องการมี ส่วนร่วมตามกระบวนการประชาธิปไตย ร่วม 6 ทศวรรษ ผู้กุมอำนาจในเมืองไทยได้ทำทุกวิถีทางที่จะปกปิดร่องรอยของการเข่นฆ่าสังหาร ประชาชนทางการเมืองด้วยการนิรโทษกรรม และจำเป็นจะต้องทำความเข้าใจว่า ตัวเลข 11,000 คนนี้ อาจจะไม่ถึงครึ่งหรือเพียงหนึ่งในสามของตัวเลขที่แท้จริงของผู้ที่ได้เสียสละเพื่อการเมืองไทย การพัฒนาอย่างยั่งยืน กับความรุนแรงจากการกระทำของเจ้าหน้าที่รัฐในนามเพื่อปกป้อง “ชาติ(เขตแดน) ศาสนา(พุทธ) และกษัตริย” มันเข้ากันไม่ได้ ์ 2
  • 3. ผู้ปกครองและเจ้าหน้าที่รัฐระดับสูงในประเทศไทย จำเป็นจะต้องเผชิญหน้าหรือถูกทำให้ต้องเผชิญหน้า กับการเมืองระบอบศักดินาของพวกเขา และประชาคมนานาชาติ จำเป็นจะต้องเข้าใจว่า เช่นเดียวกับพม่า ถ้าพวกเขาไม่ยอมใส่ใจต่อความจริงเบื้องหลังรอยยิ้ม ความเจ็บปวดเบื้องหลังรอยยิ้มทั้งหลายจะเพิ่มขึ้น เป็นอย่างมาก หลังจาก 60 ปี ภายใต้ระบบ “ทหารในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว” ที่ปิดกั้นเสรีภาพอย่างรุนแรง และทำ การล้างสมองประชาชนด้วยการอัดฉีดความคิด “คนดี” หรือ “คนไทยแท้” ประชาชนในประเทศไทยกำลัง เผชิญหน้ากับวิกฤติแห่งการจำเป็นต้องสร้างความมั่นใจให้กับตัวเอง จำเป็นจะต้องท้าทายต่อวัฒนธรรมวิถี แห่งการสยบยอมต่ออำนาจ และการสูญสิ้นความสามารถที่จะพูดความจริง ตามที่คนไทยต่างพูดกันว่า “ความจริงกินไม่ได้แต่ตายได้” ข้อมูลทั้งหลายในรายงานชุดนี้ เพื่อแสดงให้เห็นว่า สำหรับประชาชนคนธรรมดา ต่างก็หวาดกลัวต่อการ ถูกทำให้เป็นเหยื่อทางการเมืองที่นำความตายมาสู่ตัวพวกเขาได้และรวมทั้งเหตุผลว่าทำไมประชนในดิน แดน “อเมซิงไทยแลนด์” ไม่สามารถพูดความจริง และทำไมข้อมูลในรายงานชุดนี้ จึงไม่เคยถูกนำมารวม กันไว้อยู่ด้วยกันเช่นนี้มาก่อน กระนั้นก็ตาม แม้ว่าจะอยู่ภายใต้ 60 ปีแห่งการกดขี่และคุกคามเสรีภาพ การลุกขึ้นสู้ของประชาชนหลังจาก รัฐประหาร 2549 แสดงให้เห็นว่าขบวนการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยทีได้เริ่มต้นในปี 2475 ที่ยุติระบอบการ ่ เมืองสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ยังคงดำรงอยู่และเข้มแข็งอย่างที่ไม่เคยปรากฎมาก่อน ก้าวต่อไปในขบวนการสร้าง “ประชาธิปไตยของไทย” คือการต้องยกเลิก “กฎหมายหมิ่นพระบรมเดชา นุภาพ” ที่ถูกใช้เป็นเครื่องมือของชนชั้นปกครองออกไปให้ได้ จรรยา ยิ้มประเสริฐ กลุ่มแอคชั่นเพื่อประชาธิปไตยในประเทศไทย (ACT4DEM) ACT4DEM@gmail.com 5 มกราคม 2554 3
  • 4. สารบัญ หน้า คำนำ 2 ผู้เสียชีวิตจากการเมืองไทย ทั้งการฆาตกรรม และสังหารหมู่ประชาชนนับตั้งแต่ปี 2490 4 นักโทษคดีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ 34 ภาคผนวก จดหมายจากเรือนจำพิเศษกรุงเทพถึงนายกรัฐมนตรี 48 Thailand: Free Somyot Prueksakasemsuk! 50 ข้อมูลเพิ่มเติม www.timeupthailand.net 4
  • 5. ผู้เสียชีวิตจาการเมืองไทย ทั้งการฆาตกรรม และสังหารหมู่ประชาชน นับตั้งแต่ปี 2490 Political assassinations, extra-judicial killings and murders from 1947 นับตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (2411 2453) ได้ขับเคลื่อนสู่การรวมศูนย์อำนาจการเมือง และการ เก็บภาษีเข้าวังหลวง ประชาชนหลายพันคนต้องสังเวย ชีวิตในการต่อสู้เพื่อระบอบประชาธิปไตย และเพื่อสิทธิการ มีตัวแทนในการบริหารบ้านเมือง แม้แต่ทุกวันนี้ ณ ยามนี้ ในเดือนกันยายน 2554 ยังไม่มีราย งานที่แน่ชัดจากรัฐบาลเกี่ยวกับว่าเพราะเหตุใดประชาชน ร่วม 90 คน จึงถูกยิงเสียชีวิตโดยกองทหารไทยเมื่อเดือน เมษาถึงพฤษภา ปี 2553 รายงานล่าสุดของคณะกรรมการ อิสระตรวจสอบค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ (คอป.) ก็เขียนอ้อมไปอ้อมมาไม่ยอมพูดถึงการนำตัว ผู้กระทำผิดมารับผิดชอบ นับตั้งแต่การพยายามจะฝังกลบประชาธิปไตยในปี 2490 การบันทึกตัวเลขที่แน่ชัดเกี่ยวกับประชาชนที่ต้องสูญเสีย ชีวิตเพราะการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยมีเพียงน้อยนิด ภาพ รวมตัวเลขผู้สูญเสียที่รวบรวมได้จากแหล่งต่างๆ ที่พอจะสืบ คนได้ชี้ให้เห็นว่า นับตั้งแต่ 2490 ประชาชนสองหมื่นถึง สามหมื่นคนได้ถูกฆาตกรรม สังหารโหด หรือถูกอุ้มหาย ยังไม่มีผู้ใดรับผิดชอบต่อการยั่วยุให้ม๊อบรอยัลลิสต์บุกยึด สนามบินนานาชาติและทำเนียบรัฐบาลจนเสียหาย นปช. (คนเสื้อแดง) พยายามที่จะยื่นเรื่องฟ้องร้องอดีตนายก รัฐมนตรีอภิสิทธิ์ ในการอนุญาต “เขตกระสุนจริง” ต่อศาล อาญาระหว่างประเทศ แต่ประเทศไทยยังไม่ให้สัตยาบัญ ศาล และดูเหมือนว่าจะยังคงไม่ให้ สัตยาบัญในระยะเวลา อันใกล้ เมื่อผู้นำหลายคนในเมืองไทยต่างก็มีข้อกล่าวหา เรื่องการคอรัปชั่นและการละเมิดสิทธิมนุษยชน ปรากฎการณ์ที่เด่นชัดของการเสียชีวิตจากการเมืองไทย ทั้งการฆาตกรรม และสังหารหมู่ประชาชน ที่รู้เห็นเป็นใจ จากรอยัลลิสต์ คือ มันถูกทำให้ลอยหายไปกับสายน้ำเจ้า พระยาในนามปกป้องพระมหากษัตริย์ ประชาชนในประเทศไทยมีช่องทางไม่มากนักที่จะดึงความ สนใจของประชาคมโลกมาสุ่ความจริงอันโหดร้ายที่ซ่อนอยู่ หลังฉากแห่งการแสดงอันยิ่งใหญ่อลังการของผู้มีอำนาจ ในเมืองไทย การเสียชีวิตทางการเมืองจำนวนมากจะถูกบันทึกว่าเป็น เพราะอุบัติเหตุรถชนกัน ขัดผลประโยชน์ส่วนตัว หรือฆ่าตัว ตาย เป็นต้น จากข้อมูลที่สืบค้นได้ ภาพรวมประชาชน และ นักกิจกรรมเพื่อสังคมที่ถูกสังหารนับตั้งแต่ปี 2490 บ่งชี้ ให้เห็นว่าน่าจะมีจำนวนผู้เสียชีวิตระหว่าง 20-30,000 คน ทำไมในประเทศที่มีกำลังตำรวจถึงสองแสนนาย และมีราย งานงบประมาณเพื่อการบริหารประเทศจำนวนมหาศาล เพียงแค่การจะทำรายงานแบบคลุมเคลืออย่างซื่อสัตย์บ้าง เกี่ยวกับการใช้อำนาจในทางที่ผิดก็เป็นเรื่องทำได้ยากเย็น? มีผู้บริสุทธิ์จำนวนมากเท่าใด ที่ถูกเข่นฆ่าตลอดช่วงหลายปี แห่งความสับสนอลม่านแห่งยุคสงครามเย็น และผลจากการ ขับเคลื่อนการพัฒนาชนบทโดยการสนับสนุนจากเงินทุน สหรัฐอเมริกาและธนาคารโลกยามที่ต้องเผชิญหน้ากับการ ต่อต้านจากชาวบ้านที่ได้รับผลกระทบ รัฐบาลทหารในช่วง ระยะเวลานี้ไม่ใส่ใจอยู่แล้วที่จะทำการบันทึกจำนวนผู้เสีย หายและเสียชีวิต และพวกผู้นำทหารเหล่านี้ต่างก็ได้รับ การนิรโทษกรรม สิ่งที่น่าทึ่งมากเกี่ยวกับประเทศไทยคือความชำนาญการใน หมู่เจ้าหน้าที่ระดับสูงที่ใช้อำนาจเบ็ดเสร็จ สามารถปกปิด พฤติกรรมการฉ้อฉลและการโกหกที่เห็นอย่างโจ่งแจ้ง และมีความเก่งกาจในการซ่อนข้อเท็จจริง 5
  • 6. ในความเป็นจริงการรายงานความจริงจากข้าราชการในพระ บาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไม่สามารถทำได้ เพราะว่ามันจะ ทำให้ราชอาณาจักรดูเป็นตัวตลก และการรายงานอย่าง ตรงไปตรงมาของกลไกรัฐฯ จะสร้างความเสื่อมเสียต่อทุก ฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการดูแลกิจการพระราชสำนัก สละของคนทำงานทั้งหลายที่สูญเสียไปในการต่อสู้เพื่อ ความเป็นธรรมและต่อต้านเผด็จการ จำเป็นจะต้องเป็นที่ รับรู้ ได้รับการยกย่องเชิดชู และการนับถือจากสังคม 1973 ประเทศไทยมีอาหารมากมายเกินพอที่จะเลี้ยงทุกคนในประ เทศ และนอกเหนือจากนั้น ตลอดหลายทศวรรษที่ผ่านมา ประเทศไทยยังได้รับเงินช่วยเหลือด้านการพัฒนาและเงินกู้ ยืมเพื่อการพัฒนาประเทศจากสถาบันการเงินระหว่างประ เทศต่างๆ และอีกมากมาย 1973 แต่เพราะเหตุใดประชาชนกว่าครึ่งหนึ่งประเทศยังคงเรียก ร้องถามหาความยุติธรรม? นี่เป็นคำถามแห่งความจงรัก ภักดีที่จำต้องถามต่อองค์เอกกษัตริย์ กระนั้นคำถามคำตอบ ที่ประชาชนได้รับอยู่บ่อยครั้งมักจะเป็นลูกปืนจากกองทัพ และตำรวจไทย - เช่นเดียวกับทีเกิดขึ้นในปี 2516, 2519, 2535, 2552 และ 2553 1976 คำถาม จึงไม่ได้อยู่ว่าเมื่อไรจึงจะมีการทำการศึกษาวิจัย อย่างแท้จริงว่าใครฆ่าประชาชน และทำไมถึงฆ่า แต่เป็น คำถามที่ว่า ทำไมการศึกษาเรื่องนี้จึงเริ่มต้นขึ้นไม่ได้? เพราะเหตุใดในประเทศที่อุดมสมบูรณ์ในทุกด้าน การลุกขึ้น เรียกร้องประชาธิปไตยของประชาชนจึงยังเต็มไปด้วยคราบ เลือดเช่นนี้ในทศวรรษที่ 21 1976 ข้อมูลที่รวบรวมมา ณ ที่นี่ได้บ่งชี้ให้เห็นถึงความเจ็บปวด อันมากมายที่อยู่เบื้องหน้ารอยยิ้มเยาะความเป็น “คนอื่นใน ประเทศไทย” มันเป็นความพยายามที่จะบ่งชี้ให้เห็นว่าจำ เป็นจะต้องมีการสอบสวนว่าภายใต้ฉาบผิวแห่ง “ความเป็น ไทย” ประวัติศาสตร์ไทยจำนวนมากน้อยแค่ไหนที่จำจะต้อง ถูกชำระสะสางกันขึ้นมาใหม่ บันทึกชิ้นนี้พยายามที่จะชี้ให้เห็นถึงความจริงว่า ถ้าประเทศ ไทยต้องการพัฒนาเป็นประเทศที่สันติสุข ชีวิตและการเสีย 1992 6
  • 7. 2491 400 เหตุการณ์ปะทะระหว่างตำรวจและชาวบ้านดุซงญอ ตำบลจะแนะ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส ถูกบันทึกใน ประวัติศาสตร์ว่าเป็นเหตุการณ์ กบถดุซงญอ ชาวบ้านกว่า 400 คน และตำรวจ 40 คน เสียชีวิตจากการปะทะครั้งนี้ นักประวัติศาสตร์วิเคราะห์ว่า เหตุการณ์ครั้งนี้เกิดจากความเข้าใจผิดของรัฐไทยที่คิดว่าการที่ชาวบ้านรวมตัวฝึกอาวุธ ป้องกันโจรที่เข้ามาปล้นเป็นการกระด้างกระเดื่องกับรัฐ และได้ใช้กำลังเข้าปราบปรามอย่างโหดร้าย 28 เมษายน 2491 2492 6 หลังจากจอมพล ป.ปราบกบถวังหลวงได้ ก็มีการส่งหน่วยล่าสัมหาร ตามสังหารแกนนำผู้มีส่วนร่วมในเหตุการณ์ ผุ้สนับสนุนปรีดคนสำคัญ 5 คน เสียชีวิตในขณะที่ยังถูกใส่กุญแกมือ และอีกหนึ่งท่านถูกสังหารตามยคำสั่งของ ี พลตำรวจเองเผ่า ศรียานนท์ 28 กุมภาพันธ์ - 1 มีนาคม นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ ถูกยิง อดีต ส.ส.จังหวัดอุบลราชธานี พรรคสหชีพ และเป็นอดีตรัฐมนตรี 6 สมัย นายถวิล อุดล ถูกยิง อดีต ส.ส.จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นอดีตรัฐมนตรีในสมัยรัฐบาลทวี บุณยเกตุ นายจำลอง ดาวเรือง ถูกยิง อดีต ส.ส.จังหวัดมหาสารคาม ดร.ทองเปลว ชลภูมิ ถูกยิง อดีต ส.ส.จังหวัดนครนายก และเลขาธิการพรรคแนวร่วมรัฐธรรมนูญ พันตรีโผน อินทรทัต ถูกตำรวจยิง รอง ผอ.โรงงานยาสูบ โฆษกคณะปฏิวัติ(กบถวังหลวง) 2492 พ.ต.อ บรรจงศักดิ์ ชีพเป็นสุข ถูกยิง ผู้บังคับการตำรวจสันติบาลที่เข้าร่วมในเหตุการณ์กบถวังหลวงปี 2492 2495 6 เตียง ศิริขันท์ รัฐมนตรีและแกนนำพรรคสหชีพ และพวกรวม 5 คน ถูกเชิญตัวไปสอบสวนที่สันติบาล ก่อนที่จะถูก สังหารโหดที่บ้านเช่า ที่เขตพระโขนงทีละคน และนำศพไปเผาทำลายที่ตำบลแก่งเสิ้ยน อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี เตียง ศิริขนท์ ั ถูกฆ่ารัดคอและเผาศพทิ้ง นายสง่า ประจักษ์วงศ์ ถูกสังหารโหด นายชาญ บุนนาค ถูกสังหารโหด นายน้อย บุนนาค ถูกสังหารโหด นายผ่อง เขียววิจิตร ถูกสังหารโหด อดีตรัฐมนตรีและหัวหน้าพรรคสหชีพ พนักงานขับรถ ลูกน้องคนสนิทของนายปรีดี พนมยงค์ 2496 อารีย์ ลีวีระ 1 ถูกยิงเสียชีวิตที่เรือนพัก เขาเป็นเจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ "สยามนิกร" และ "พิมพ์ไทย" อดีตนายกสมาคมหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย 2 สมัย(ระหว่าง พ.ศ. 2491 – 2494) ถูกยิงโดยตำรวจยศสิบโท และพลตำรวจอีก 4 นาย จากกองกำกับ การจังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งอ้างคำสั่งของ พ.ต.ท. ศิริชัย กระจ่างวงศ์ ซึ่งเป็นหนึ่งในนาย ตำรวจอัศวินแหวนเพชร ลูกน้องของ พล.ต.อ. เผ่า ศรียานนท์ 7
  • 8. 2497 4 ฮัจญีสุหลง ผู้นำมุสลิมจากปัตตานี ท่ีตั้งคำถามกับนโยบาย “เชื้อชาติไทยนิยม” ของรัฐไทย เขาถูกจับกุมในปี 2491 และได้รับการปล่อยตัวในปี 2495 วันที่ 13 สิงหาคม 2497 ฮัจยีสุหลงกับ เพื่อนอีก 2 คน และนายอาห์มัด โต๊ะมีนา ลูกชายคนโต เดินทางไปพบตำรวจสันติบาลที่จังหวัดสงขลาตามคำสั่ง ซึ่งลูกชายไปช่วยเป็นล่ามเท่านั้น แต่ได้หายสาบสูญไปทั้งหมด ต่อมาจึงได้ทราบจาก คณะกรรมการสะสางคดี นี้ซึ่งแต่งตั้งโดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายกรัฐมนตรีว่า “นาย ฮัจยีสุหลง กับพวก 2 คน และลูกชาย ได้ถูกตำรวจฆ่าตายในวันนั้นเอง โดยรัดคอตาย แล้งผ่าศพผูกเสาซีเมนต์ ไปทิ้งทะเลสาบสงขลา” 2498 3 17 กุมภาพันธ์ ประหารชีวิตโดยการยิงเป้า เพื่อปิดคดีลอบปลงพระชนม์ของในหลวงอานันท์เมื่อเดือนมิถุนายน 2489 สามคนที่ถูกประหารชีวิตได้แก่ เฉลียว ประทุมรส สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกคณะราษฎร เพื่อนสนิทของปรีดี ชิต สิงหเสนี มหาดเล็กห้องพระบรรทมในหลวงอานันท์ บุศย์ ปัทมศริน มหาดเล็กห้องพระบรรทมในหลวงอานันท์ 2502 ปีที่จอมพลสฤษดิ์มอบอำนาจสิทธิ์ในการฆ่าให้กับตัวเอง 13 ศิลา วงศ์สิน ถูกตัดสินประหารชีวิตด้วยมาตรา 17 เขาเป็นแกนนำกบถผีบุญที่โชคชัย โคราช 20 มิถุนายน ชาวบ้าน 11 คน ถูกตำรวจยิงเสียเสียชีวิตเมื่อเข้าไปจับตัวศิลา และกวาดล้างหมู่บ้านในข้อหาเป็นกบถผีบุญ 20 มิถุนายน ศุภชัย ศรีสติ ถูกตัดสินประหารด้วยมาตรา 17 ที่ประกาศโดยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัตน์ เขาเป็นแกนนำ กรรมกรที่กล้าท้าทายอำนาจเผด็จการสฤษดิ์อย่างกล้าหาญ 30 มิถุนายน 2504 2 ครอง จันดาวงศ์ ถูกประหารชีวิตด้วยการยิงเป้า ด้วยข้อกล่าวหามีการกระทำอันเป็นคอมมิวนิสต์ ครูครอง เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากจังหวัดสกลนคร และเป็นเพื่อนสนิทของ เตียง ศิริขันธุ์ พรรคสหชีพ ที่ถูกสังหารโหดในปี 2495 31 พฤษภาคม ทองพันธ์ สุทธิมาศ ถูกยิงเป้า ทองพันธ์เป็นครูประชาบาลเพื่อร่วมอุดมการณ์กับครูครอง เขาถูกจับกุม พร้อมกับครองและชาวบ้านภูพานอีก 148 คน ในข้อหามีการกระทำอันเป็นคอมมิวนิสต์ 31 พฤษภาคม ครองกับทองพันธ์ถูกประหารชีวิต คนอื่นๆ ถูกตัดสินจำคุกคนละ 5 ปี ภรรยาและลูกของครองถูกจับกุมด้วยเช่นกัน ในขณะที่ลูกสองคนของเขาหลบหนีไปต่างประเทศ 8
  • 9. 2505 1 รวม วงพันธ์ ถูกยิงเป้า เขาเป็นนักจัดตั้งพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย เขาเปล่งเสียงก่อน กระสุนจะสังหารเขาว่า"จักรพรรดินิยมอเมริกาและเผด็จการสฤษดิ์ จงพินาศ !!!...ประชาชนไทย จงเจริญ จงเจริญ !!!...." 24 เมษายน 2509 1 จิตร ภูมิศักดิ์ ถูกยิงโดยตำรวจที่หมู่บ้านเชิงเขาภูพาน เขาเป็นนักคิด นักเขียน นักแปล กวีที่มีชื่อเสียง ผลงานและบทเพลงที่เขาแต่งยังเป็นงานวรรณกรรมร่วมสมัยอยู่จนถึงปัจจุบัน 5 พฤษภาคม 2514 – 2416 3,000 ชาวบ้าน 3,000 กว่าคนที่จังหวัดพัทลุง ถูกสังหารอย่างเหี้ยมโหดโดยทหารไทย บางคนถูกเผาทั้งเป็น ในถังน้ำมัน หรือจับใส่ถงผลักลงจากเฮลิคอปเตอร์ หรือผลักลงมาจากยอดเขา ุ 2 กุมภาพันธ์ 2519 นายพินิจ จารุสมบัติ รองเลขาธิการฝ่ายการเมือง ศูนย์นิสิตฯ พร้อมด้วยผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์ เดินทางไปพิสูจน์กรณีชาวบ้านหลายอำเภอในจังหวัดพัทลุง ถูก กอ.ปค.(กองอำนวยการป้องกัน และปราบปรามคอมมิวนิสต์) สังหารโหดกว่า 3 พันศพ เมื่อก่อนเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ชาวบ้านด่านโลดและหมู่บ้านใกล้เคียงยืนยันว่าเป็นความจริง 4 กุมภาพันธ์ 2519 พันเอกหาญ พงศ์สิฏานนท์ ผู้ช่วยฝ่ายอำนวยการ ศูนย์อำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน (กอ.รมน.) ยอมรับว่ามีการฆ่าชาวพัทลุงประมาณ 3,000 คน ในหลายอำเภอ โดยเอาน้ำมันราดจุดไฟเผา ซึ่งรู้จักกันในชื่อ "ถีบลงเขา เผาลงถังแดง" การใช้กำลังปราบปรามนักศึกษา วันที่ 13-15 ตุลาคม 2516 77 มีผู้เสียชีวิต 77 คน บาดเจ็บ 857 คน การสังหารโหดครั้งนี้แทบจะเป็นครั้งเดียวที่การจัดทำข้อมูลการเข่นฆ่าประชาชนที่ใกล้เคียงความจริงมากที่สุด สถาบัน พระมหากษัตริย์ถูกบีบให้ต้องยอมรับว่าผู้เสียชีวิตเป็นวีรชนที่ต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย และพวกเขาเป็นประชาชนกลุ่ม เดียวที่ถูกสังหารหมู่ที่ได้รับการพระราชทานเพลิงศพ ข้อมูลจากเวบไซด์ อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา นางชูศรี พักตร์ผ่อง อายุ 42 ปี พับถุงกระดาษขาย ไปตามหาบุตรที่เชิงสะพานบางลำพู ขณะที่วิ่งหลบกระสุนปืนจากเฮลิคอปเตอร์ ได้หกล้ม และศีรษะฟาดพื้นอย่างแรง เสียชีวิตขณะถูกนำส่งโรงพยาบาล น.ส.หนูผิน พรหมจรรย์ เสียชีวิตจากอุบัติเหตุรถชนกัน อายุ 17 ปี นักศึกษา ป.กศ. ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยครูนครศรีธรรมราช นั่งรถสองแถวเล็กไปร่วมเรียกร้องรัฐธรรมนูญ รถชนกัน ถูกกระแทกที่บริเวณศีรษะส่วนหน้า เมื่อวันที่ 15 ตุลาคมที่ตำบลท่างิ้ว อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช นายคธากร ชีพธำรง ถูกตำรวจยิง อายุ 18 ปี นักเรียนปีที่ 4 พาณิชยการเซนต์จอห์น 9
  • 10. นายคง เงียบตะคุ ถูกกระสุนปืนเข้าบริเวณคอด้านหลัง ขณะยืนดูเหตุการณ์อยู่ที่หน้าต่างชั้นบนของร้าน อายุ 28 ปี ลูกจ้างคนงาน นายคงไฮ้ แซ่จึง ถูกยิงด้วย M16 ที่สะโพกด้านซ้ายทะลุหน้าท้องเสียชีวิตในวันที่ 16 ตุลาคม 2516 ลูกจ้างคนขับรถยนต์ อายุ 27 ปี นายจีระ บุญมาก ถูกยิงกระสุนปืนเจาะเข้าที่ขมับด้านซ้าย เขาเป็นผู้ถือธงชาติเดินเข้าไปขอร้องไม่ให้ ทหารยิงนักเรียน นักศึกษา และประชาชนบริเวณหน้ากรมประชาสัมพันธ์ เขาเป็นนักศึกษาปริญญาโทสถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และ พนักงานการ ไฟฟ้าส่วนภูมิภาค อายุ 29 ปี นายจำรัส ประเสริฐฤทธิ์ ถูกยิงที่บริเวณสะพานผ่านฟ้าลีลาศ ขณะที่กำลังไปช่วยเด็กนักเรียนที่ถือธงชาติ เขาเป็นผู้ช่วยช่าง สังกัดโรงเบ็ดเตล็ด แผนกผลิตกองซ่อมรถพ่วงการรถไฟแห่ง ประเทศไทย อายุ 47 ปี นายเจี่ยเซ้ง แซ่ฉั่ว ถูกยิงหน้ากรมประชาสัมพันธ์ ช่างซ่อมเครื่องยนต์ อายุ 17 ปี นายจันทรครุป หงษ์ทอง ถูกยิงทางด้านหลัง เป็นนักเรียนชั้นปีที่ 1 โรงเรียนช่างกลบางซ่อน อายุ 16 ปี นายฉ่อง จ่ายพัฒน์ ถูกทหารยิงกระสุนเข้าเหนือคิ้วทะลุศีรษะด้านหลัง ช่างแก้เครื่องยนต์ ได้นำข้าวห่อ ไปบริจาคให้นักศึกษาที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อายุ 50 ปี นายชูศักดิ์ ไชยยุทะนันท์ ถูกยิงหน้าโรงเรียนเพาะช่าง นักเรียนชั้น ม. 2 โรงเรียนสิงหราชพิทยาคม อายุ 15 ปี นายชัยศิลป์ ลาดศิลา ถูกยิงที่หน้าอก หน้าสำนักงานกองสลาก ช่างวิทยุ และโทรคมนาคมของสถานีวิทยุ 1 ปณ. และเป็นนักศึกษาคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง อายุ 25 ปี นายชีวิน ชัยโตษะ ถูกยิงที่หน้าป้อมพระกาฬ นักเรียนชั้นปีที่ ๒ แผนกช่างกลโรงงาน โรงเรียนช่างกล พระนครเหนือ อายุ 18 ปี นายไชยยศ จันทรโชติ ถูกกระสุนปืนในขณะขับรถเมล์ขาว พุ่งเข้าชนรถถัง ช่างเชื่อมเรือ อายุ 16 ปี นายดนัย กรณ์แก้ว ถูกกระสุนปืนจากเฮลิคอปเตอร์ พนักงานขายไอศครีม บริษัทฟอร์โมส จำกัด ขณะวิ่งหนีไปทางบางลำพู อายุ 24 ปี นายตือตี๋ แซ่ตั้ง ถูกยิงใต้รักแร้ซ้าย ช่างปูพื้นปาเก้ อายุ 24 ปี นายถนอม ปานเอี่ยม ถูกยิง บริเวณสะพานผ่านฟ้าลีลาศ กุ๊กทำอาหารประจำโรงแรม อายุ 19 ปี นายทอง จันทราช ถูกยิงบริเวณหน้าโรงเรียนเพาะช่างพาหุรัด ลูกจ้างขับรถยนต์ อายุ 40 ปี นายธาดา ศิริขันธ์ ถูกยิงทะลุที่ซี่โครง เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2516 ขณะดื่มฉลองที่ประชาชนได้รับชัยชนะ ระหว่างดื่มพูดถึง 3 ทรราช ทำให้ชาย 4 คนในร้านไม่พอใจ และลุกขึ้นชักปืนยิง 10
  • 11. บริเวณถนนวิสุทธิกษัตริย์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาช่างยนต์วิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ อายุ 22 ปี นายนิยม อุปพันธ์ ถูกยิงกระสุนเข้ากะโหลกศีรษะข้างขวาหลังใบหู และกระสุนฝังใน --เสียชีวิตที่โรงพยาบาลศิริราช เขาเป็นนักเรียนน ม. 5 แผนกช่างไฟฟ้าโรงเรียน ช่างกลบางซ่อน เข้าร่วมในหน่วย "ฟันเฟือง" อายุ 20 ปี นายนพ พรหมเจริญ ถูกยิงกะโหลกศีรษะแตกหน้ากรมประชาสัมพันธ์ กรรมกรท่าเรือ อายุ 40 ปี นายนิติกร กีรติภากร ถูกตีและถูกแก๊สน้ำตา ที่บริเวณหน้าพระราชวังสวนจิตร และได้ถูกล้อมอยู่ใน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หลังจากเหตุการณ์มีอาการประสาทหลอน และเป็นลมตลอดมา เสียชีวิตวันที่ 21 พฤศจิกายน 2516 จากอาการหัวใจวาย นักเรียนชั้นม.2 โรงเรียนอำนวยศิลป์พระนคร อายุ 16 ปี นายบรรพต ฉิมวารี ไปร่วมเดินขบวน หกล้มหัวฟาดบาทวิถี แล้วมีคนล้มทับ แต่สามารถกลับถึงบ้าน และได้เสียชีวิตเนื่องจากเส้นโลหิตในสมองแตกในวันรุ่งขึ้น (15 ต.ค,) นักศึกษา ภาคค่ำชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยา อายุ 25 ปี ถูกยิงบริเวณอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ลูกจ้างทำงานโรงแรมอายุ 18 ปี นายบัญทม ภู่ทอง นายประเสริฐ วิโรจน์ธนะชัย ถูกยิงด้วย M 16 ที่บริเวณสะพานผ่านฟ้าลีลาศขณะไปช่วยน้องที่ถูกยิงด้วย M 16 จึงถูกยิงไปด้วย รวมทั้งนายสมควร แซ่โง้ว เพื่อนที่วิ่ง ตามมาจะเข้าช่วยก็ถูกยิงที่ท้อง และหน้าอก นักเรียนชั้นปีที่ 4โรงเรียนช่างฝีมือ ปัญจวิทยา อายุ 19 ปี นายประสาน วิโรจน์ธนะชัย ถูกยิงด้วยเอ็ม 16 ที่คอและหน้าอก นักเรียนโรงเรียนภาษาศาสตร์ อายุ 17 ปี นายประเสริฐ เดชมี ถูกยิงเสียชีวิต กำลังจะศึกษาต่อ อายุ 19 ปี นายประยงค์ ดวงพลอย ถูกยิงที่สมอง เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม หน้าสถานีตำรวจสมุทรปราการ พนักงานขับรถรับจ้างสองแถว อาย ุ21 ปี นายประณต แซ่ลิ้ม ถูกยิง ลูกจ้างทำเป็ดย่าง ส่งตามภัตตาคาร อายุ 28 ปี นายประยุทธ แจ่มสุนทร ถูกยิงที่หลังขณะเอาน้ำไปให้นักศึกษาที่สะพานผ่านฟ้าลีลาศ นักเรียนชั้นม. 4 โรงเรียน ผดุงศิษย์พิทยา อายุ 17 ปี นายประวัติ ภัสรากุล ถูกยิงหน้าอกทะลุหัวใจ เสียชีวิตทันที อายุ 18 ปี ค้าขาย นายประสพชัย สมส่วน ถูกยิงที่หน้าท้องทะลุหลัง ขณะที่กำลังนั่งอยู่บนรถดับเพลิงที่ยึดมาได้ พร้อมกับกลุ่มนักเรียนได้ขับรถมุ่งไปทางบางเขน เพื่อไปบริจาคโลหิตที่โรงพยาบาล ภูมิพลฯ ขณะที่รถผ่านบริเวณหน้ากรมป่าไม้บางเขต นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม จังหวัดนนทบุรี อายุ 15 ปี นายพูลสุข พงษ์งาม ถูกยิงที่บริเวณสะพานผ่านฟ้าลีลาศ กระสุนเข้าหน้าอกขวา ถูกปอดแล้วทะลุเอวซ้าย นักเรียนชั้นปีที่ 2 แผนกช่างยนต์ โรงเรียนช่างกลวิทยา อายุ 20 ปี 11
  • 12. นายพันธุ์สิริ เกิดสุข ถูกยิงที่รักแร้ซ้ายไปทะลุซี่โครงขวา พลฯ สำรองพิเศษกำลังรอติดยศ (นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) อายุ 28 ปี นายมณเฑียร ผ่องศรี ถูกยิง บริเวณเชิงสะพานพระปิ่นเกล้าฯ กระสุนเข้าตรงขมับทะลุท้ายทอย นักเรียนชั้นปีที่ 1 ของโรงเรียนช่างกลนนทบุรี อายุ 20 ปี สามเณรมนตรี โล่ห์สุวรรณ ถูกยิงศีรษะจากเฮลิคอปเตอร์ ที่บริเวณวัดบวรนิเวศ เป็นสามเณรที่กำลังศึกษาบาลี มัธยมสาธิต วัดบางแพรกเหนือ จังหวัดนนทบุรี อายุ 15 ปี นายมงคล ปิ่นแสงจันทร์ ถูกยิงบริเวณหน้าโรงเรียนเพาะช่าง อยู่ชั้นม. 2 โรงเรียนอำนวยศิลป์ธนบุรี อายุ 15 ปี นายรัตน์ งอนจันทึก ถูกยิงที่ศีรษะและหน้าอก พนักงานขับรถบรรทุก 10 ล้อ อายุ 40 ปี นายเรียม กองกันยา ถูกยิง บริเวณใกล้หัวถนนนครสวรรค์ โดยตำรวจนครบาลนางเลิ้ง ในขณะขับรถให้ นักเรียน และบาดเจ็บสาหัส ได้คลานไปหลบกระสุนบริเวณใกล้ๆ กัน เจ้าหน้าที่ตำรวจ ประกาศให้ผู้ที่ไม่ใช่พวกก่อการจลาจลออกมา นายเรียมจึงได้คลานออกมา และถูกยิง เสียชีวิตทันที เขาเป็นคนขับรถสามล้อเครื่อง อายุ27 ปี นายเลิศ คงลักษณ์ ถูกไฟคลอก เนื่องจากสำนักงานกองติดตามผลการปฏิบัติราชการ (ก.ต.ป.) ถูกประชาชนเผาเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2516 เขาลูกจ้างสำนักงาน ก.ต.ป. อายุ 46 ปี นายวิจิน บุญส่งศรี ถูกยิงสะบักขวา เป็นช่างเครื่อง อายุ 19 ปี นายวิชัย สุภากรรม ถูกยิงที่สะพานผ่านฟ้าลีลาศ คนงานโรงงานทอผ้า อายุ 18 ปี นายวิเชียร พร้อมพาณิชย์ ผูกคอตายเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2517 เพราะสติฟั่นเฟือนหลังจากได้ไป ช่วยรักษาผู้บาดเจ็บ บริเวณกรมประชาสัมพันธ์ เขาเป็นนักศึกษาแพทย์ปีที่ 6 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อายุ 25 ปี นายศิลบุญ โรจนแสงสุวรรณ ถูกยิงที่หน้าอกขวา บนดาดฟ้าตึกของบริษัทเดินอากาศไทย พ่อค้าขายอาหารสด อายุ 18 ปี นายสมควร แซ่โง้ว นายสมชาย เกิดมณี ถูกยิงที่ศีรษะด้านหลัง เนื่องจากจะเข้าไปช่วย นายประเสริฐ และนายประสาน วิโรจน์ธนะชัย เขาทำงานเป็นช่างซ่อมรถยนต์ และขับรถรับจ้าง อายุ 18 ปี ถูกยิง หน้าโรงภาพยนตร์เฉลิมไทย แผนกช่างวิทยุ โรงเรียนช่างกลนนทบุรี อายุ 20 ปี นายสุรพงษ์ บุญรอดค้ำ ถูกยิง บริเวณหน้ากองบัญชาการตำรวจนครบาลผ่านฟ้า โดนกระสุนเข้าที่หน้าอก 2 นัด ศีรษะ 1 นัด พนักงานขายผ้า อายุ 16 ปี นายสุดที ปิยะวงศ์ ถูกยิงที่ขมับ รับจ้างทำลังไม้ อายุ 26 ปี นายสมเกียรติ เพชรเพ็ง ถูกยิง ที่บริเวณใกล้โรงพยาบาลศิริราช เป็นลูกจ้างขายแก๊ส อายุ 19 ปี นายสุรินทร์ ศรีวีระวานิชกุล ถูกยิงที่โคนขาขวาด้วยปืนเอ็ม 16 บริเวณบางลำพู พนักขายแก๊ส อายุ 20 ปี 12
  • 13. นายสุภาพ แซ่หว่อง ถูกยิง หน้ากรมประชาสัมพันธ์จากเฮลิคอปเตอร์ โดยกระสุนเจาะเข้าที่ไหปลาร้า ทะลุสะโพก อายุ 16 ปี ช่างตัดเสื้อ นายเสวี วิเศษสุวรรณ รับประทานอาหารเป็นพิษ อาหารนี้มีผู้นำไปบริจาค บริเวณท่าช้างวังหลวง เมื่อวันที่ 13-14 ตุลาคม 2516 นักเรียนชั้นปีที่ 2 ของโรงเรียนอาชีวศิลป์ อายุ 18 ปี นายสุกิจ ทองประสูตร ได้ไปทำการช่วยระดมคนไปร่วมต่อสู้ทางฝั่งธนบุรี แต่ประสบอุบัติเหตุ รถที่นั่งไปชนกับสิบล้อ ถึงแก่ความตายบริเวณถนนเพชรเกษม นักเรียนชั้นม. 1 โรงเรียนเสสะเวชวิทยา อายุ 18 ปี นายสุพจนา จิตตลดากร ถูกกระสุนปืนจากเฮลิคอปเตอร์ ที่บริเวณมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยกระสุนถูก ที่ศีรษะ ไหปลาร้า และตามร่างกายอีกหลายแห่ง นักเรียนชั้นม. 1 โรงเรียน ดุสิตพาณิชยการ อายุ 16 ปี นายสุรศักดิ์ พวงทอง ถูกยิงที่หน้ากรมประชาสัมพันธ์ โดยกระสุนปืนกลรถถัง เจาะเข้าระหว่างเข่าซ้าย ทะลุเข่าขวา เสียชีวิตที่โรงพยาบาลกลางวันที่ 27 ตุลาคม 2516 ลูกจ้างบริษัทเอกชน อายุ 25 ปี นายสาโรจน์ วาระเสถียร ถูกลอบทำร้ายหลังจากกลับจากไปดูประชาชนบุกเข้าเผากองบัญชาการตำรวจ นครบาลผ่านฟ้า หัวหน้าแผนกจัดส่ง องค์การเภสัชกรรม อายุ 48 ปี นายสุพจน์ เหรียญสกุลอยู่ดี ถูกยิงกระสุนเข้าท้ายทอยทะลุเบ้าตา จนตกลงไปในคลอง บริเวณสะพานผ่านฟ้าลีลาศ เนื่องจากจะเข้าไปช่วยชายข้างเคียงที่ถูกยิง ช่างทำเฟอร์นิเจอร์ อายุ 19 ปี นายสมเด็จ วิรุฬผล ถูกยิงทางด้านหลัง ทะลุอกและขาทั้ง 2 ข้าง จากทหาร-ตำรวจในกองบัญชาการตำรวจ นครบาลผ่านฟ้า ชั้นปีที่ 1 คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อายุ 18 ปี นายสาย ฤทธิ์วานิช ถูกกระสุนปืนเข้าทางด้านหลังทะลุหน้าท้อง ขณะที่ผ่านไปหน้ากรมประชาสัมพันธ์ เป็นช่างไม้ อายุ 44 ปี นายแสวง พันธ์บัว ถูกยิง ที่หน้าผาก หน้ากรมสรรพากร เพราะไปช่วยนักเรียนหญิงที่ถูกแก๊สน้ำตา อายุ รับจ้างทั่วไป 16 ปี ด.ช. สมพงษ์ แซ่เตียว ถูกยิง บริเวณบางลำพู ขณะไปร่วมในเหตุการณ์ เป็นนักเรียนม. 1 โรงเรียนวัด มกุฎษัตริยารามอายุ 14 ปี นายสมพงษ์ พลอยเรืองรัศมี ถูกแทงสีข้างซ้ายเข้าทรวงอกขณะเข้าแย่งปืนจากทหาร ใกล้กองบัญชาการตำรวจ นครบาลผ่านฟ้า นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าฯ อายุ 20 ปี นายอภิสิทธิ์ พรศิริเลิศกิจ ถูกยิงบริเวณขมับข้างซ้าย ขณะออกไปตามหาเพื่อน ที่บริเวณใกล้สะพาน ผ่านฟ้าลีลาศ พนักงานขายอุปกรณ์วิทยุ อายุ 18 ปี นายอรรณพ ดิษฐสุวรรณ ถูกยิงโดยปืนกลรถถัง ที่สนามหลวง ทำงานกับหนังเร่ฉายต่างจังหวัด อายุ 17 ปี นายเอนก ปฏิการสุนทร ถูกยิงขณะบุกเข้ายึดกองบัญชาการนครบาลผ่านฟ้า เจ้าของร้านขายอาหาร อายุ 41 ปี 13
  • 14. นายเอี่ยมซวง แซ่โกย ถูกยิงเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2516 บริเวณหน้าโรงแรมรัตนโกสินทร และเสียชีวิตที่โรงพยาบาลศิริราช ลูกจ้าง อายุ 22 ปี วีรชนนิรนาม (สตรี)ถูกยิงที่อกทะลุหลัง ตกลงไปน้ำเสียชีวิตทันที ขณะไปร่วมเดินขบวนเรียกร้อง รัฐธรรมนูญ บริเวณเชิงสะพานพระปิ่นเกล้าฯ (ศพไม่มีญาติ) วีรชนนิรนาม (บุรุษ) ถูกยิงที่สีข้างซ้าย บริเวณหน้ากองบัญชาการตำรวจนครบาลผ่านฟ้า ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล 2517-2519 หลังจากวิกฤติน้ำมันขาดแคลนทั่วโลก ราคาน้ำมันแพงขึ้นมาก จนส่งผลกระทบต่อคนยากคนจนในประเทศไทย ในขณะ ที่ความต้องการเงินในวิถีการส่งเสริมระบบเศรษฐกิจเงินตราของรัฐบาล ก็เพิ่มสูงขึ้นเป็นอย่างมากเช่นกันหลังจากเหตุ การณ์ตุลาคม 2516 ขบวนการแรงงานเริ่มจัดตั้งอย่างเข็มแข็ง ในปี 2517 มีการสไตรค์กว่า 700 ครั้ง และพรบ. แรงงาน สัมพันธ์ได้ประกาศใช้ในปี 2518 เกษตรกรรายย่อยเองก็เริ่มรวมตัวในระดับจังหวัด และเคลื่อนขบวนเข้ามาประท้วงที่ กรุงเทพกันหลายครั้ง ทั้งเรื่องราคาข้าวตกต่ำ เรื่องปุ๋ยเรื่องยาฆ่าแมลง และเงินกู้เพื่อการเกษตร เป็นต้น ทั้งหลายทั้ง ปวงเหล่านี้เป็นสิ่งที่ทหารในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไม่อาจรับได้ พวกเขาจึงจับมือกับพวกนายทุนและนายทหาร เหยียบย่ำไปบนรัฐบาลพลเรือนที่น้ำท่วมปากไปกับความกลัวลัทธิคอมมิวนิสต์ และทำการกวาดล้างผู้นำกรรมกร นัก ศึกษา และชาวนาชาวไร่ อย่างเหี้ยมโหด ด้วยเหตุผลที่ชัดเจนอยู่แล้ว การบันทึกตัวเลขของการฆาตกรรม สังหารประชา ชนในช่วงนี้กระจัดกระจาย และมีการสร้างเรืองปิดบังข้อเท็จจริง แกนนำชาวนาชาวไร่หลายสิบคนถูกสังหาร มีนักวิชา การที่พยายามรวบรวมรายชื่อแกนนำที่เสียชีวิต อยู่บ้างเช่นกัน อาทิ ดร. สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ และข้อมูลที่มีก็ไม่ครอบ คลุมความเหี้ยมโหดแห่งยุคสมัยนั้นได้ 2517 ชาวบ้าน 3 คน 4 ถูกสังหารอย่างเหี้ยมโหดที่อำเภอนาทราย จังหวัดหนองคาย บ้านเรือนชาวบ้าน 1,500 หลังคาเรือนถูกเผาวอดทั้งหมู่บ้านด้วยฝีมือเจ้าหน้าที่รัฐที่อ้างว่าหมู่บ้านนี้ เป็นหมู่บ้านคอมมิวนิสต์ 13 มกราคม 14
  • 15. ชวินทร์ สระคำ เสียชีวิตจากรถของเขาถูกรถบันทึกพุ่งชน อดีตสส. ร้อยเอ็ด ผู้เขียนเรื่องเปิดหน้ากาก CIA ในปี 2516 จนส่งผลสะเทือนของการลุกฮือขับไล่ฐานทัพอเมริกาออกจากไทย และการต่อต้านสงครามเวียดนาม เขาเสียชีวิตอย่างมีเงื่อนงำเมื่อ 16 มิถุนายน 2517 เมื่อรถของเขาถูกรถบรรทุกชน เขาเสียชีวิตทันทีในวัย 41 ปี - ผู้คนลงความเห็นว่า เขาถูก CIA สังหาร 2518 ชาวมุสลิม 5 คน 5 ในระหว่างเดินทางกลับบ้านที่อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส รถปิ๊กอัพของชาวมุสลิม 5 คน ผู้ใหญ่ 4 เด็ก 1 ถูกทหารเรียกให้จอดและตรวจค้นที่ระหว่างรอยต่ออำเภอ บาเจาะและอำเภอสายบุรี ไม่กี่วันต่อมา มีการพบศพผู้ใหญ่ทั้ง 5 คนลอยขึ้นมา ในแม่น้ำ 29 พฤศจิกายน 2519 74 สนอง บัญชา ถูกยิงเสียชีวิต ผู้นำกรรมกรของบริษัทเหมืองแร่เทมโก้ ที่จังหวัดพังงา ถูกยิงเสียชีวิตขณะเติมน้ำมันรถมอเตอร์ไซค์ 25 มกราคม นายบุญมา สมประสิทธิ์ ถูกยิงเสียชีวิต กรรมการสหพันธ์ชาวนาชาวไร่จังหวัดอ่างทอง กุมภาพันธ์ ดร.บุญสนอง บุณโยทยาน เสียชีวิตด้วยกระสุนปืนของผู้ลอบสังหาร อาจารย์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ เลขาธิการพรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย บุญสนองเป็นทั้งนักวิชาการผู้ปราดเปรื่อง และนักต่อสู้เพื่ออุดมการณ์ทางการเมืองผู้ไม่เคยย่อท้อ เขาเป็นหนึ่งในนักสังคมศาสตร์ เพียงไม่กี่คนที่มีความสามารถโดดเด่นทั้งในเชิงแนวคิดและการปฏิบัติ 28 กุมภาพันธ์ นายนิสิต จิรโสภณ ถูกผลักตกรถไฟเสียชีวิตที่ อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ นักศึกษาจากมหาวิทยา ลัยเชียงใหม่ เดินทางไปทำข่าวการต่อสู้ของประชาชนที่นครศรีธรรมราช 1 เมษายน นายเฮียง ลิ้นมาก ถูกยิงเสียชีวิต ผู้แทนชาวนาสุรินทร์ 5 เมษายน นายอ้าย ธงโต ถูกลอบยิงเสียชีวิต กรรมการสหพันธ์ชาวนาชาวไร่บ้านต้นธง จังหวัดลำพูน 10 เมษายน นายประเสริฐ โฉมอมฤต ถูกลอบยิงเสียชีวิต ประธานสหพันธ์ชาวนาชาวไร่ บ้านฟ่อนหมู่ ต.หนองควาย --อ.หางดง จ.เชียงใหม่ 18 เมษายน นายโง่น ลาววงศ์ ถูกลอบทำร้ายเสียชีวิต กรรมการหมู่บ้านหนองบัวบาน จังหวัดอุดรธานี 21 เมษายน นายเจริญ ดังนอก ถูกยิงที่ อ.ชุมพวง กรรมการชาวนาจังหวัดนครราชสีมา นายถวิล (ไม่ทราบนามสกุล) ถูกยิงเสียชีวิต ผู้นำชาวนาจังหวัดพิจิตร นายมงคล สุขหนุน ถูกยิงเสียชีวิต ผู้นำชาวนานครสวรรค์ 5 พฤษภาคม นายเกลี้ยง ใหม่เอี่ยม ถูกลอบยิง รองประธานสหพันธ์ชาวนาชาวไร่ อ.ห้างฉัตร จ.ลำปาง 20 พฤษภาคม 15
  • 16. นายถวิล มุ่งธัญญา ถูกยิงเสียชีวิต ตัวแทนชาวนาจังหวัดนครราชสีมา 26 พฤษภาคม นายพุฒ ปงลังกา ถูกยิงเสียชีวิต ผู้นำชาวนาเชียงราย 22 มิถุนายน นายมานะ อินทะสุริยะ ถูกลอบยิง ขณะที่กำลังติดโปสเตอร์ชักชวนให้ประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ร่วมใจต่อต้านฐานทัพอเมริกา เนื่องในวันชาติอเมริกา 4 กรกฎาคม นักเรียนโรงเรียน ราชสีมาวิทยาลัย จังหวัดนครราชสีมา 1 กรกฎาคม นายจา จักรวาล รองประธานสหพันธ์ชาวนาชาวไร่บ้านดง อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 3 กรกฎาคม นายประสาท ศิริม่วง ถูกยิงเสียชีวิต ตัวแทนชาวนาจังหวัดสุรินทร์ 8 กรกฎาคม นายบุญพา ปัญโญใหญ่ ถูกลอบยิงเสียชีวิตที่จังหวัดลำพูน กรรมการสหพันธ์ชาวนาชาวไร่แห่งประเทศไทย 14 กรกฎาคม นายบุญทา โยธา ถูกยิงเสียชีวิตที่ลำพูน 18 กรกฎาคม นายเกลี้ยง ใหม่เอี่ยม ถูกลอบยิงเสียชีวิตที่บ้านสันกำแพง ต.เมืองตาก อ.ห้างฉัตร จ.ลำปาง รองประธานสหพันธ์ชาวนาชาวไร่ อ.ห้างฉัตร จ.ลำปาง 22 กรกฎาคม น.ส.สำราญ คำกลั่น พนักงานโรงงานกระเบื้องยางวัฒนาวินิลไทล์ อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร ถูกหัวหน้ายามโรงงานยิงเสียชีวิต เนื่องจากประท้วงโรงงานที่ปลดพนักงานอย่าง ไม่เป็นธรรม 26 กรกฎาคม นายอินถา ศรีบุญเรือง ถูกคนร้ายสองคนบุกยิงตายคาที่ ณ บ้านพัก รองประธานสหพันธ์ชาวนาชาวไร่ แห่งประเทศไทย และประธานสหพันธ์ชาวนาชาวไร่ภาคเหนือ 30 กรกฎาคม นายสวัสดิ์ ตาถาวรรณ ถูกลอบยิงถึงแก่ชีวิต รองประธานสหพันธ์ชาวนาชาวไร่ บ้านแม่ร้อยเงิน อ.ดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ 4 สิงหาคม นายอ้าย สิทธิ หายตัวไปพร้อมกับ นายมี สวนพลู หายตัวไปพร้อมกับ นายตา สิทธิ หายตัวไปพร้อมกับ นายต๋า แก้วประเสริฐ หายตัวไปพร้อมกับ นายตา อินตะคำ ประธานและกรรมการสหพันธ์ชาวนาชาวไร่ของเขตต่าง ๆ ใน อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ ทั้ง 5 คน ได้หายจากบ้านอย่างลึกลับ ญาติสงสัยว่าถูกฆ่าตายแล้วนำศพไปซ่อน และเข้าแจ้งความกับตำรวจ อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ เมื่อวันที่ 3 เมษายน ตำรวจติดตาม หาตัวไม่พบ ทั้ง 5 คนได้ถือว่าหายสาบสูญไป 7 สิงหาคม นายพุฒ ทรายดำ ถูกลอบยิงแต่ไม่ตาย แต่ถูกคนร้ายตามไปยิงซ้ำ ถึงที่เตียงในโรงพยาบาล ต่อหน้าแพทย์ จนเสียชีวิต ชาวนา ต.แม่บอน อ.ฝาง 11 สิงหาคม นายช้วน เนียมวีระ ถูกลอบยิงเสียชีวิต กรรมการสหพันธ์ชาวนาชาวไร่ อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี 12 สิงหาคม 16
  • 17. เสียชีวิต 15 ราย จากเหตุการณ์ระเบิดกลางหมู่ประชาชนที่ประท้วงการย้ายผู้ว่าราชการจังหวัดพังงา บาดเจ็บ 17 ราย 29 กันยายน นายนวล กาวิโล ถูกระเบิดเสียชีวิตขณะที่ปะทะกับฝ่ายเหมืองที่ ต.เสริใขวา อ.เสริมงาม จ.ลำปาง ผู้นำชาวนาแม่เลียง 12 ตุลาคม ผู้เสียชีวิต 15 ราย เสียชีวิตจากการปะทะกันระว่างชาวบ้านและชาวเหมืองที่บ้านแม่เลียง ต.เสริมขวา อ.เสริมงาม จ.ลำพูน เนื่องจากทางเหมืองปล่อยน้ำเสียจนทำการเพาะปลูกไม่ได้ 13 ตุลาคม นายบุญรัตน์ ใจเย็น ถูกลอบยิงเสียชีวิต รองประธานสหพันธ์ชาวนาชาวไร่บ้านหนองป่าแสะ อ.สารภี จังหวัดเชียงใหม่ 19 ตุลาคม เสียชีวิต 12 คน จากเหตุการณ์ระเบิดลงที่ปัตตานี 13 ธันวาคม วีรชนที่เสียชีวิตจากการสังหารโหด 6 ตุลาคม 2519 42 หลายร้อยคนได้รับบาดเจ็บ ถูกจับกุม 3,154 คน นักศึกษานับพันคนหนีเข้าป่า ผู้เสียชีวิตตัวเลขทางการ 42 คน (ที่ประมาณการจากกลุ่ม 6 ตุลาคม 2519 คือ 530 คน) ระบุได้ 31 คน ระบุไม่ได้ 10 คน หาศพไม่พบ 1 ยังมีรายชื่อผู้เสียชีวิตหลายคน จากความรุนแรงที่เริ่มปะทุก่อนถึง 6 ตุลาคม 2519 ที่จะทยอยนำมาเพิ่มเติม มีการมอบให้ญาติไปจัดการตามประเพณี 30 คน ชาย 26 คน หญิง 4 คน นางสาวภรณี จุลละครินทร์ ถูกกระสุนปืน นางสาววิมลวรรณ รุ่งทองใบสุรีย์ ถูกกระสุนปืน นางสาวอรุณี ขำบุญเกิด ถูกกระสุนปืน นายอับดุลรอเฮง สาตา ถูกกระสุนปืน นายมนู วิทยาภรณ์ ถูกกระสุนปืน นายสุรสิทธิ์ สุภาภา ถูกกระสุนปืน นายสัมพันธ์ เจริญสุข ถูกกระสุนปืน นายสุวิทย์ ทองประหลาด ถูกกระสุนปืน นายบุนนาค สมัครสมาน ถูกกระสุนปืน นายอภิสิทธิ์ ไทยนิยม ถูกกระสุนปืน นายวีระพล โอภาสพิไล ถูกกระสุนปืน นายสุพจน์ พันธุ์กาฬสินธุ์ ถูกกระสุนปืน นายยุทธนา บูรศิริรักษ์ ถูกกระสุนปืน นายภูมิศักดิ์ ศิระศุภฤกษ์ชัย ถูกกระสุนปืน 17
  • 18. นางสาววัชรี เพชรสุ่น ถูกกระสุนปืน นายดนัยศักดิ์ เอี่ยมคง ถูกกระสุนปืน นายไพบูลย์ เลาหจีรพันธ์ ถูกกระสุนปืน นายชัยพร อมรโรจนาวงศ์ ถูกกระสุนปืน นายอัจฉริยะ ศรีสวาท ถูกกระสุนปืน นายสมชาย ปิยะสกุลศักดิ์ ถูกกระสุนปืน นายวิสุทธิ์ พงษ์พานิช ถูกกระสุนปืน นายสุพล พาน หรือ บุญทะพาน ถูกกระสุนปืน นายศิริพงษ์ มัณตะเสถียร ถูกกระสุนปืน นายวสันต์ บุญรักษ์ ถูกกระสุนปืน นายเนาวรัตน์ ศิริรังษี ถูกกระสุนปืน นายพงษ์พันธ์ เพรามธุรส ถูกระเบิด นายอนุวัตร อ่างแก้ว ถูกระเบิด นายวิชิตชัย อมรกุล ถูกของแข็งมีคม ถูกรัดคอ นายปรีชา แซ่เซีย ถูกของแข็ง อาวุธหลายชนิด และถูกรัดคอ นายวันชาติ ศรีจันทร์สุข ผูกคอตายที่สถานีตำรวจนครบาลบางเขน นายสงวนพันธุ์ ซุ่นเซ้ง จมน้ำ ไม่ทราบชื่อ แยกเพศไม่ได้ ถูกเผา ไม่ทราบชื่อ แยกเพศไม่ได้ ถูกเผา ไม่ทราบชื่อ แยกเพศไม่ได้ ถูกเผา ไม่ทราบชื่อ แยกเพศไม่ได้ ถูกเผา ไม่ทราบชื่อ ไม่ทราบชื่อ ไม่ทราบชื่อ ไม่ทราบชื่อ ไม่ทราบชื่อ ไม่ทราบชื่อ รายชื่อเหล่านี้ยังไม่นับรวมถึงผู้สูญหายอีกจำนวนมากซึ่งส่วนใหญ่ติดตาม หาศพไม่พบหรือมีการทำลายศพ โดยเฉพาะ นายจารุพงษ์ ทองสินธุ์ นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่โดนคนของรัฐลากคอที่สนามฟุตบอล 2519 – 2532 - ไม่มีข้อมูล 2533 ธนาวุฒิ คลิ้งเชื้อ 1 นักศึกษารามคำแหง ตอนนั้นอยู่ในตำแหน่งประธานชมรมนักศึกษาและเยาวชน 14 จังหวัดภาคใต้ เผาตัวตายประท้วงรัฐบาลชาติชาย ชุณหะวัณ เพราะเชื่อว่า รัฐบาล 18
  • 19. พล.อ.ชาติชายปกครองประเทศคล้ายเผด็จการ ปิดกั้นสิทธิเสรีภาพในการแสดงออก ในระบอบประชาธิปไตย อีกกระแสว่าเพราะเขาอยู่ในอิทธิพลแนวคิดทางการเมือง ของกลุ่มประเสริฐ ทรัพย์สุนทร 14 ตุลาคม 2534 รัฐประหาร ทนง โพธิ์อ่าน 1 หายสาปสูญ เขาเป็นประธานสภาแรงงาน และรองประธานภาคพื้นเอเชียแปชิฟิก ของสมาพันธ์แรงงานเสรีแรงงานระหว่างประเทศหรือ ICFTU วันที่ 14 มิถุนายน 2534 เขานำขบวนการแรงงานประท้วงการออกประกาศคณะรัฐประหาร 2534 หรือ รสช. ฉบับที่ 54 ในวัน 19 มิถนายน เขาหายตัวไปอย่างลึกลับไร้ร่องรอย ขบวนการแรงงาน ยังติดตามคดีทนง โพธิ์อ่านอยู่จนถึงบัดนี้ 2535 เหตุการ์พฤษภาเลือด 44 เหตุการณ์พฤษภาเลือดระหว่างวันที่ 17-19 พฤษภาคม 2535 มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 44 ราย ทั้งนี้ 38 ราย จากกระสุนปืน มีผู้บาดเจ็บทั้งสิ้น 736 คน และมีการรายงานตัวเลขผู้สูญหายร่วม 70 คน 1. กฤษฎา เนียมมีศรี ถูกตีและถูกกระสุนปืน 2. กิตติกรณ์ เขียวบริบูรณ์ ถูกกระสุน 3. กิตติพงษ์ สุปิงคลัด ถูกกระสุน 4. เกรียงไกร จารุสาร ถูกกระสุน 5. กอบกุล สินธุสิงห ถูกกระสุน 6. จักรพันธ์ อัมราช ถูกกระสุน 7. จักราวุธ นามตะ ถูกกระสุน 8. ชัยรัตน์ ณ นคร ถูกกระสุน 9. ซี้ฮง แซ่เตีย ถูกกระสุน 10. ณรงค์ ธงทอง ถูกกระสุน 11. ทวีศักดิ์ ปานะถึก ถูกกระสุน 12. นคร สอนปัญญา ถูกกระสุน 13. บุญมี วงษ์สิงโต ถูกกระสุน 14. บุญคง ทันนา ถูกกระสุน 15. ปรัชญา ศรีสะอาด ถูกกระสุน 16. ประสงค์ ทิพย์พิมล ถูกกระสุน 17. ปรีดา เอี่ยมสำอางค์ ถูกกระสุน 18. พิพัฒน์ สุริยากุล ถูกกระสุน 19. ภูวนาท วิศาลธรกุล ถูกกระสุน 20. ภิรมย์ รามขาว ถูกกระสุน 21. มะยูนัน ยีดัม ถูกกระสุน 22. มนัส นนทศิริ ถูกกระสุน 19
  • 20. 23. วีระ จิตติชานนท์ ถูกกระสุน 24. วงเดือน บัวจันทร์ ถูกกระสุน 25. วีรชัย อัศวพิทยานนท์ ถูกกระสุน 26. ศรากร แย้มประนิตย์ ถูกกระสุน 27. สมชาย สุธีรัตน์ ถูกกระสุน 28. สำรวม ตรีเข้ม ถูกกระสุน 29. สาโรจน์ ยามินทร์ ถูกกระสุน 30. สมเพชร เจริญเนตร ถูกกระสุน 31. สุชาต พาป้อ ถูกกระสุน 32. สมาน กลิ่นภู่ ถูกกระสุน 33. สัญญา เพ็งสา ถูกกระสุน 34. หนู แก้วภมร ถูกกระสุน 35. อภิวัฒน์ มาสขาว ถูกกระสุน 36. เอกพจน์ จารุกิจไพศาล ถูกกระสุน 37. เฉลิมพล สังข์เอม สมองบอบช้ำ 38. ทวี มวยดี ถูกตีศีรษะ 39. บุญมี แสงสุ่ม 40. สุรพันธ์ ชูช่วย 41. เอียน นิวมีเก้น 42. ไม่มีรายละเอียด 43. ไม่มีรายละเอียด 44. ไม่มีรายละเอียด 2536 2537 ?? นางสุชาดา คำฟูบุตร 1 ผู้คัดค้านโรงงานอุตสาหกรรม จ. ลำปาง ถูกอุ้มหายตัวไป 2538 อ.บุญทวี อุปการะกุล ครูประเวียน บุญหนัก นายวินัย จันทมโน 3 ถูกทำร้ายตกรถไฟเสียชีวิต ผู้นำการรณรงค์คัดค้านมลพิษจากนิคมอุตสาหกรรม จ. ลำพูน ถูกยิงเสียชีวิต ผู้นำการคัดค้านโรงโม่หิน จ. เลย ถูกลอบสังหารเสียชีวิต นักอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติชุมชน ผู้คัดค้านนายทุนตัดไม้ ทำลายป่า บ้านน้ำหรา อ.ควนกาหลง จ.สตูล เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2539 นายทองอินทร์ แก้ววัตตา 2 ถูกลอบสังหารเสียชีวิต แกนนำผู้คัดค้านการสร้างโรงงานกำจัดกากสารอุตสาหกรรม ของบริษัทบริหารและพัฒนาเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (เจนโก้) จ.ระยอง 18 มกราคม 20
  • 21. นายทุนหรือจุน บุญขุนทด ถูกเจ้าหน้าที่ตำรวจ สภอ.หนองบัวระเหว จ.ชัยภูมิ ใช้อาวุธปืน. 38 ยิงเสียชีวิต ผู้นำสมัชชาคนจน กรรมการบ้านห้วยทับนาย อ.หนองบัวระเหว จ.ชัยภุมิ แกนนำการคัดค้านการสร้างเขื่อนโป่งขุนเพชร จ.ชัยภูมิ เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2542 กำนันทองม้วน คำแจ่ม นายสม หอมพรหม นายอารีย์ สงเคราะห์ 2544 นายจุรินทร์ ราชพล นายนรินทร์ โพธิ์แดง 3 ถูกยิงเสียชีวิต ผู้นำการคัดค้านการให้สัมปทานโรงโม่หินจ.หนองบัวลำภู (พร้อมกับ นายสมฯ ) ในปีเดียวกัน ถูกยิงเสียชีวิตพร้อมกำนันทองม้วน ฯ ขณะนั่งซ้อนท้ายรถมอเตอร์ไซค์ไปกับ กำนันทองม้วน ฯ ถูกยิงเสียชีวิต ผู้นำการต่อต้านการบุกรุกป่าและรณรงค์ร่วมกับชาวบ้านปกป้องผืนป่า ต้นน้ำคลองคราม จ.สุราษฎร์ธานี 6 ถูกยิงเสียชีวิต ในวัย 50 ปี ผู้นำการรณรงค์ปกป้องป่าชายเลนชุมชนบ้านป่าคลอก ๔๐๐ ไร่ อ.ถลาง จ.ภูเก็ต มิให้ถูกนายทุนนากุ้งบุกรุก โดยกลุ่มนายทุนนากุ้งพยายาม ที่จะย้ายหมุดออกจากป่าชายเลน โดยการเป็นผู้นำตัวแทนชมรมผู้เลี้ยงกุ้งยื่นหนังสือ คัดค้านการรังวัดสอบเขต ป่าชายเลนต่อผู้ว่าราชการจังหวัด 30 มกราคม ถูกยิงเสียชีวิตอยู่ที่หน้าบ้านตัวเอง ผู้นำการคัดค้านการระเบิดหินเขาชะอางกลางทุ่ง กิ่ง อ.ชะเมา จ.ระยอง ได้เข้ามาช่วยเหลือกลุ่มชาวบ้านในพื้นที่เขาชะอางกลางทุ่ง ท่ามกลางความขัดแย้งกับ อบต.ห้วยทับมอญ ที่ให้ความเห็นชอบในเรื่องการตั้งโรง โม่หิน ที่มีความไม่ชอบมาพากลในการ พิจารณา และการไม่รับฟังความเห็นของ ประชาชน รวมถึงผลกระทบจากโรงโม่หินซึ่งมีนักการ เมืองท้องถิ่น และนักการเมือง ระดับประเทศ 1 พฤษภาคม นายพิทักษ์ โตนวุธ ถูกยิงเสียชีวิตขณะขับขี่มอเตอร์ไซค์ผ่านแยกเข้าบ้านชมภูฯ ผู้นำคัดค้านโรงโม่หิน บริษัทร็อค แอนด์ สโตน โรงโม่หินบริษัทอนุมัติการศิลา และ ได้ร้องเรียนให้ตรวจสอบ ส.ค.๑ ของโรงโม่หินในภูเขาแดงรังกาย บ้านชมภู อ.เนินมะปรางจ.พิษณุโลก พื้นที่ติดต่ออุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง หลังที่พิทักษ์ฯ กลับจากการประชุมร่วมกับ คณะตรวจสอบของทางอำเภอเพื่อรับทราบความคืบหน้าฯ ศาลชั้นต้นยกฟ้อง และกลุ่มชาวบ้านกำลังดำเนินการอุทธรณ์ 17 พฤษภาคม นายสุวัฒน์ ปิยะสถิตย์ ถูกยิงเสียชีวิต ผู้นำการคัดค้านบ่อฝังกลบขยะราชาเทวะ อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ ของ หจก.ไพโรจน์สมพงษ์พาณิชย์ เนื่องจากส่งกลิ่นเหม็นสร้างมลพิษรบกวนชุมชน ในแถบ ต.ราชาเทวะ ถูกยิงเสียชีวิตขณะนั่งร่วมปรึกษาหารือกับกลุ่ม บริเวณร้านค้า กลางชุมชน ในหมู่บ้านจามจุรี ม. 15 ต.ราชาเทวะ ศาลชั้นต้นพิพากษา ประหารชีวิต ผู้จ้างวาน จำคุกตลอดชีวิตมือปืนและผู้ที่เกี่ยวข้อง 26 มิถุนายน 21