SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 54
ภญ.กนิษฐา
เตรียมอมรวุฒิ
กลุ่มงาน
เภสัชกรรม
หัวข้อเรื่อง
ความหมายของยา
รูปแบบยา และวิธีการบริหารยา
เภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetic)
เภสัชพลศาสตร์ (Pharmacodynamic)
อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (Adverse Drug
Reaction)
อันตรกิริยาระหว่างยา (Drug-Drug Interaction)
สิ่งที่ควรทราบเมื่อต้องใช้ยา
ข้อควรปฏิบัติเมื่อต้องใช้ยา
ความหมายของยา
ตามพระราชบัญญัติยา พุทธศักราช 2522 ได้
 ให้ความหมายว่า “ ”ยา  หมายถึง วัตถุที่มุ่งหมาย
สำาหรับใช้ในการวินิจฉัย บำาบัด บรรเทา รักษา
หรือป้องกันโรค หรือความเจ็บป่วยของมนุษย์
 หรือสัตว์ รวมทั้งใช้บำารุง และเสริมสร้างสุขภาพ
ร่างกายและจิตใจ
ยาเม็ด ยาเม็ดเคลือบ ยา
แคปซูลยาในรูปแบบของแข็ง เช่น ยาเม็ด (tablet) ซึ่ง
จะมีทั้งที่เคลือบหรือไม่เคลือบ ยาเม็ดที่ต้องเคี้ยว
ยาเม็ดที่ค่อยๆปลดปล่อยตัวยา (sustained
release)
ยาเม็ด ยาเม็ดเคลือบ ยา
แคปซูล
MR (modified release) เป็นรูปแบบที่มีการ
ควบคุมการปลดปล่อยยาด้วยวัตถุประสงค์ให้มี
ระดับยาคงที่ในช่วงระยะเวลาที่นานขึ้น ซึ่ง
ถือว่าเป็นคำาเรียกที่มีความหมายรวมทั้ง
CR (controlled release),
XL และ ER ย่อมาจาก extended release
SR (sustained release)
PL (prolonged release)
ยาเม็ด ยาเม็ดเคลือบ ยา
แคปซูล
ปัญหาหลักของการใช้ยาเม็ดรูปแบบ modified
release คือการใช้ยาไม่ถูกวิธีของผู้ป่วย ผู้ป่วย
บางรายนำาเม็ดยาไปหัก บด แบ่งหรือเคี้ยว
ทำาให้เม็ดยาสูญเสียการควบคุมการปลด
ปล่อยยาออกจากเม็ดยา และอาจทำาให้ผู้
ป่วยได้รับยาเกินขนาดจนนำาไปสู่อาการ
พิษหรืออาการไม่พึงประสงค์จากยาได้
ตัวอย่างยาเม็ดรูปแบบ
modified release
Alfuzosin (Xatral XL tablet)
Nifedipine (Adalat CR)
Omeprazole (Losec MUPS/Miracid)
Clarithromycin (Klacid MR)
ยาเม็ดหรือแคปซูลชนิด
ปลดปล่อยตัวยาสำาคัญ
ออกมาอย่างช้าๆ หรือ
ชนิดที่เลื่อนเวลาปลด
ปล่อยตัวยาสำาคัญออก
จากรูปแบบยา ต้องกลืน
ไปทั้งเม็ดหรือแคปซูล
พร้อมนำ้าสะอาด 1 แก้ว
ห้ามบด หรือเคี้ยวเม็ดยา
ยารับประทานชนิดนำ้า
ยารับประทานชนิดนำ้า ยาแขวนตะกอน หรือ
แขวนละออง จะต้องเขย่าขวดก่อนรินยาเสมอ
เพื่อให้ตัวยาสำาคัญกระจายตัวอย่างสมำ่าเสมอ
ใช้ช้อนตวงยาหรือถ้วยตวงยา
1 ช้อนชา เท่ากับ 5 ซีซี
1 ช้อนโต๊ะ เท่ากับ 3 ช้อนชา หรือ 15 ซีซี
1 ออนซ์ เท่ากับ 30 ซีซี
การเทียบปริมาตรยานำ้า
ยาผง
ยาผง สำาหรับรับประทานต้องนำาผงยาผสมนำ้า
ก่อนดื่ม ควรใช้ตามที่ระบุบนฉลาก เช่น ยาผง
เกลือแร่ทดแทนการสูญเสียนำ้าและเกลือแร่เมื่อ
ท้องเสีย
ผสมยา 1 ซองกับนำ้าต้มสุกที่เย็นแล้ว 1 แก้ว คน
ให้ละลายแล้วจิบบ่อยๆ ห้ามเก็บค้างคืน
ยาผง
ยาผงที่ใช้เป็นยาระบาย ให้นำาผงยาผสมนำ้า
ต้มสุกที่เย็นแล้ว 1 แก้วและดื่มทันที พร้อมดื่มนำ้า
ตามอีก 1 แก้ว ไม่ควรตั้งทิ้งไว้นาน เพราะยาจะ
พองตัวมากและข้นหนืดมากไป
ยาอม
ยาอม หากเป็นยาอมใต้ลิ้น ให้วางยาไว้ใต้ลิ้น
ให้ยาถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือดผ่านทางหลอด
เลือดในช่องปาก
ยาอมแก้เจ็บคอ หรือยาอมแก้การติดเชื้อราใน
ปาก ให้นำาเม็ดยาวางไว้บนลิ้น อมไว้ให้ค่อยๆ
ละลายในปาก
ยาทา / ยาทาถูนวด
ยาทาผิวหนัง มักเป็นรูปแบบครีม เจล หรือขี้ผึ้ง
ก่อนใช้ควรทำาความสะอาดผิวหนังบริเวณที่
ต้องการ จากนั้นบีบยาลงไปพอประมาณ แล้วทา
ให้ยาแผ่ไปบางๆ บนผิวหนัง
ยาทา / ยาทาถูนวด
ยาทาถูนวด อาจเป็นยาครีม เจล หรือขี้ผึ้ง ใช้
แก้อาการปวดเมื่อย ซึ่งหลังจากทายาแล้ว ต้องถู
และนวดผิวหนังบริเวณนั้นด้วย เพื่อให้เกิดความ
ร้อน จึงช่วยแก้อาการปวดเมื่อยได้
ยาหยอดตา/ยาป้ายตา
ยาหยอดตา เป็นยานำ้าทำาให้ปราศจากเชื้อ ยา
ป้ายตาก็เป็นยาที่ถูกทำาให้ปราศจากเชื้อ ทั้งยา
หยอดตาและป้ายตา บางชนิดต้องเก็บในตู้เย็น
ซึ่งขึ้นอยู่กับตัวยาสำาคัญ ก่อนใช้ต้องล้างมือให้
สะอาด
หยอดยา 1 หยด หรือป้ายยา 1 เซนติเมตร ลงไป
ในกระพุ้งเปลือกตาล่าง โดยไม่ให้ปลายหลอด
สัมผัสกับตา ยาหยอดตาและยาป้ายตาที่เปิดใช้
แล้ว ควรใช้ภายใน 1 เดือน
หยอดตา ป้ายตา
ยาหยอดหู
ยาหยอดหู ยาหยอดจมูก ยาพ่นจมูก เป็นยาที่
ต้องการให้ออกฤทธิ์เฉพาะที่หู หรือ จมูก เท่านั้น
ควรใช้ยาตามจำานวนครั้งที่ระบุบนฉลากยา การ
ใช้มากเกินไปไม่ช่วยให้ดีขึ้น
ยาสูดพ่นเข้าทางปาก
ยาสูดพ่นเข้าทางปาก เป็นรูปแบบยาที่มีวิธีใช้
พิเศษ ใช้รักษาโรคหอบหืดและโรคปอดอุดกั้น
เรื้อรัง โดยให้ออกฤทธิ์เฉพาะที่ที่บริเวณ
หลอดลม ต้องฝึกวิธีใช้ให้ถูกต้อง จึงจะได้ยา
เข้าไปยังหลอดลม
ยาเหน็บ/สวนทวารหนัก
ยาเหน็บ/สวนทวารหนัก ใช้เพื่อรักษาริดสีดวง
ทวาร หรือ เป็นยาระบาย ขึ้นอยู่ว่าตัวยาสำาคัญ
ยาเหน็บทวารหนักมีส่วนประกอบเป็นขี้ผึ้งเป็น
ส่วนใหญ่ จึงต้องแช่ในตู้เย็น เพื่อให้คงรูปร่าง
แท่ง
เมื่อจะใช้ให้นำาออกจากตู้เย็น ปล่อยไว้สักพัก
แล้วฉีกกระดาษหุ้มออก จุ่มยาลงในนำ้าสะอาด
แล้วสอดยาเข้าในทวารหนัก หลังจากสอดยา
แล้วให้นอนต่อสัก 15 นาที จึงลุกขึ้น
ยาเหน็บช่องคลอด
ยาเหน็บช่องคลอด เป็นยาเม็ดแข็ง ไม่ต้องเก็บ
ในตู้เย็น ใช้รักษาอาการตกขาวในผู้หญิง ควร
จุ่มเม็ดยาลงในนำ้าสะอาด ก่อนเหน็บยาเข้าใน
ช่องคลอด เพื่อให้สอดเม็ดยาได้ง่ายขึ้น หลังจาก
สอดยาแล้วให้นอนต่อสัก 15 นาที จึงลุกขึ้น
ยาแผ่นแปะ
ยาแผ่นแปะผิวหนังใช้ในจุดประสงค์ต่างๆ เช่น
ใช้แก้ปวด ใช้ในผู้ที่มีอาการเจ็บหน้าอกจากโรค
หัวใจ ใช้เป็นฮอร์โมนทดแทนในผู้หญิงวัยหมด
ประจำาเดือน ใช้ช่วยอดบุหรี่
วิธีใช้ยาแผ่นแปะคือติดแผ่นยาทั้งแผ่น และใช้
ตามระยะเวลาที่ระบุไว้การแปะแผ่นยาบนผิวหนัง
ให้แปะบนผิวหนังที่สะอาด ไม่มีเหงื่อ
ไม่มีขน
ยาฉีด
ยาฉีดเป็นยาปราศจากเชื้อ
หลักการใช้ยา
ใช้ยาให้ถูกต้อง
ถูกโรค
ถูกคน
ถูกยา
ถูกขนาด
ถูกวิธี
ถูกเวลา
หลักการใช้ยา:ถูกโรค / ถูก
คน
ถูกโรค/ถูกคน ไม่ควรนำายาของผู้อื่นมารับ
ประทานเพราะอาการที่คล้ายกันอาจมาจากโรค
ที่ต่างกันได้ โดยเฉพาะยาที่รักษาโรคเรื้อรัง เช่น
เบาหวาน ความดันโลหิตสูง
หากต้องการซื้อยารักษาตนเอง ควรให้ข้อมูลแก่
เภสัชกรว่า ใครคือผู้ใช้ยา ชาย หญิง อายุ นำ้า
หนัก (หากทราบ) ประวัติการเจ็บป่วย การแพ้ยา
แพ้อาหาร
หลักการใช้ยา : ถูกยา
ถูกยา ก่อนใช้ยาอ่านฉลากก่อนทุกครั้ง เพื่อ
ยืนยันว่าเป็นยาที่ใช้รักษาตรงตามที่ต้องการ
หรือยาของตนเอง และยานั้นยังสามารถใช้ได้
ยังไม่เสื่อมคุณภาพ
หลักการใช้ยา:ถูกขนาด
ถูกขนาด ไม่ควรลดหรือเพิ่มขนาดยาเอง และ
ยาบางชนิดรักษาได้หลายโรค ขนาดยาที่ใช้
แตกต่างไปตามโรค การเพิ่มลดขนาดยาจึงเป็น
อันตราย
หลักการใช้ยา:ถูกวิถี
ทาง&เทคนิค
การใช้ยาที่ต้องการทักษะการใช้เทคนิคพิเศษ
เช่นยาพ่นสูด ยาเหล่านี้ต้องให้เภสัชกรแนะนำา
การใช้ที่ถูกต้อง เพื่อป้องกันการใช้ยาไม่ได้ผล
หลักการใช้ยา:ถูกวิถี
ทาง&เทคนิค
ยาที่ต้องการทักษะการใช้พิเศษ หากยังไม่เคย
ใช้ หรือหากไม่มั่นใจว่าใช้ถูกหรือไม่ ควร
สอบถามวิธีใช้ยาที่ถูกต้อง เช่น ยาหยอด
หู/ตา/จมูก ขี้ผึ้งป้ายตา ยาอมใต้ลิ้น ยาเหน็บช่อง
คลอด ยาสวนทวารหนัก
หลักการใช้ยา:ถูกเวลา
ถูกเวลา ยาบางชนิดใช้เมื่อมีอาการ ไม่จำาเป็น
ต้องก่อนหรือหลังอาหาร แต่ยาส่วนมากจะใช้รับ
ประทานตามมื้ออาหาร เพราะง่ายในการจำา
ยาหลังอาหาร สามารถรับประทานหลังมื้อ
อาหารได้ทันที ยาเหล่านี้อาหารช่วยในการดูด
ซึม หรือลดการระคายเคืองของยาต่อกระเพาะ
อาหาร
หลักการใช้ยา:ถูกเวลา
ยาก่อนอาหาร สามารถรับประทาน
ก่อนมื้ออาหารอย่างน้อยครึ่ง-
1ชั่วโมง เนื่องจากยาเหล่านี้มักไม่
ทนกรดในกระเพาะอาหารที่จะหลั่ง
ออกมาเมื่อมีอาหาร
ยาก่อนนอน ควรทิ้งเวลาห่างจาก
มื้อเย็น อย่างน้อย 2 ชั่วโมง
Pharmacokinetics
การเปลี่ยนแปลงยาและการ
ขจัดยา
อาการไม่พึงประสงค์จาก
การใช้ยา
อาการไม่พึงประสงค์จาก
ยาอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา เป็นผลของ
ยามีผลต่อร่างกาย และเป็นผลที่ไม่ได้ต้องการให้
เกิดขึ้น โดยเกิดขึ้นที่ขนาดการใช้ยาปกติ
อาการที่เกิดอาจไม่รุนแรง เช่น ผื่นคัน อาเจียน
ปวดท้อง หรือรุนแรง เช่นแพ้ยาเฉียบพลัน หรือ
มีพิษต่ออวัยวะสำาคัญโดยที่เกิดขี้นอย่างช้าๆเช่น
ต่อตับ ต่อไต
Pharmacodynamics
Drug Interaction
 ข้อควรทราบเกี่ยวกับยา
ยาฉีดไม่ได้ดีกว่ายารับประทานเสมอ
 ไป
          ยาฉีดเป็นยาที่ใช้ในกรณีที่ไม่
สามารถใช้ยารับประทานได้ หรือจะต้องได้รับยา
ในระดับสูงทันทีเท่านั้น เนื่องจากตัวยาจะมีความ
รุนแรงในการรักษามากกว่าและแก้ไขได้ยากหาก
 เกิดการผิดพลาดในการใช้
  ยาแพงไม่ได้ดีกว่าเสมอไป
          ราคาของยาไม่ได้บ่งชี้ถึง
คุณภาพของยา เพราะบางครั้งยาตัวเดียวกันอาจ
ข้อควรทราบเกี่ยวกับ
 ยา
  ยาความแรงสูงไม่ได้เหมาะกับทุกคน
          ยาขนาดความแรงสูงไม่ใช่ยาที่
ดีกว่ายาความแรงน้อยกว่า เพราะถึงแม้ว่าจะใช้
ยาขนาดความแรงสูงแต่ถ้าไม่ใช่ยาที่รักษาได้
ตรงอาการก็ไม่สามารถหายป่วยได้
 
ยาตัวใหม่อาจส่งผลข้างเคียงได้
มากกว่า 
          หลายคนอาจจะคิดว่ายาตัวใหม่
จะสามารถรักษาอาการเจ็บป่วยได้ดีกว่า แต่ใน
สิ่งที่ควรทราบเมื่อต้องใช้ยา
ชื่อยา
ข้อบ่งใช้ของยา
วิธีบริหารยา
ขนาดยาที่ใช้
ระยะเวลาที่ต้องใช้ยา
ผลของยา / ข้อควรระวังในการใช้ยา
การเก็บรักษายา
ข้อควรปฏิบัติเมื่อต้องใช้ยา
เมื่อรับบริการด้านการรักษาพยาบาลทุกครั้ง ทุก
ที่ ควรให้ข้อมูลว่าแพ้ยา หรือแพ้อาหารอะไร
หรือไม่
หากมีประวัติแพ้ยา ให้พกบัตรแพ้ยาที่ทางโรง
พยาบาลออกให้ติดตัวไว้
ข้อควรปฏิบัติเมื่อต้องใช้ยา
อ่านฉลากและคำาแนะนำา ข้อบ่งใช้ให้ละเอียด
ศึกษาวิธีการใช้ยา ปริมาณที่ใช้ และระยะใน
การใช้ยา รวมทั้งตรวจดูวันผลิตและหมดอายุ
ให้ดี เพื่อป้องการใช้ยาหมดอายุ
ปฏิบัติตามคำาแนะนำาในการใช้ยา หรือคำาสั่ง
จากแพทย์และเภสัชกรอย่างเคร่งครัด ไม่ควร
 เพิ่มหรือลดยาเองโดยไม่จำาเป็น
           
ข้อควรปฏิบัติเมื่อต้องใช้ยา
หากเกิดอาการผิดปกติ เช่น มีผื่นขึ้นตามตัว
ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน หายใจลำาบาก ควร
หยุดใช้ยาและแจ้งแพทย์หรือเภสัชกรทันที เพื่อ
 ป้องกันไม่ให้อาการรุนแรงมากขึ้น
ผู้ที่มีโรคประจำาตัว หญิงตั้งครรภ์หรืออยู่ในช่วง
ให้นมบุตร และผู้ที่เป็นโรคตับ โรคไต ควร
 ปรึกษาแพทย์ก่อนใช้ยา
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
Principles of Pharmacotherapy in Hypertension 56 01 14
Principles of Pharmacotherapy in Hypertension 56 01 14Principles of Pharmacotherapy in Hypertension 56 01 14
Principles of Pharmacotherapy in Hypertension 56 01 14Utai Sukviwatsirikul
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก Utai Sukviwatsirikul
 
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gppเอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา GppUtai Sukviwatsirikul
 
การเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPP
การเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPPการเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPP
การเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPPUtai Sukviwatsirikul
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ Utai Sukviwatsirikul
 
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.Ziwapohn Peecharoensap
 
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4Surang Judistprasert
 
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่duangkaew
 
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...Utai Sukviwatsirikul
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 

Was ist angesagt? (20)

ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
Principles of Pharmacotherapy in Hypertension 56 01 14
Principles of Pharmacotherapy in Hypertension 56 01 14Principles of Pharmacotherapy in Hypertension 56 01 14
Principles of Pharmacotherapy in Hypertension 56 01 14
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
Naranjo
NaranjoNaranjo
Naranjo
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
 
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gppเอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
 
การเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPP
การเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPPการเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPP
การเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPP
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
 
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
 
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
 
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
GPP for community pharmacist
GPP for community pharmacistGPP for community pharmacist
GPP for community pharmacist
 
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
 
Pharmacy Guide Pharmacy of Chula
Pharmacy Guide Pharmacy  of Chula Pharmacy Guide Pharmacy  of Chula
Pharmacy Guide Pharmacy of Chula
 
Medication reconciliation slide
Medication reconciliation slideMedication reconciliation slide
Medication reconciliation slide
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 

Andere mochten auch

Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)saowaluk2556
 
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลการเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลRachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...Rachanont Hiranwong
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...Rachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...Rachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง Rachanont Hiranwong
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...Rachanont Hiranwong
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...Rachanont Hiranwong
 

Andere mochten auch (10)

Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
 
บรรยาย
บรรยายบรรยาย
บรรยาย
 
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลการเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
 
Eye medication slide
Eye medication slideEye medication slide
Eye medication slide
 

Ähnlich wie ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58

พืชสมุนไพร
พืชสมุนไพรพืชสมุนไพร
พืชสมุนไพรkrittiyanee16
 
อย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติดอย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติดพัน พัน
 
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60Paradee Plodpai
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาadriamycin
 
การทำร้านยาสู่ Gpp
การทำร้านยาสู่ Gppการทำร้านยาสู่ Gpp
การทำร้านยาสู่ GppKanon Thamcharoen
 
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนสอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนduangkaew
 
Advertising literacy
Advertising literacyAdvertising literacy
Advertising literacyatit604
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานTiwapon Wiset
 
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56ร้าน เคโอ สเต็กและกาแฟสด
 
Geยาในชีวิตประจำวัน102516
Geยาในชีวิตประจำวัน102516Geยาในชีวิตประจำวัน102516
Geยาในชีวิตประจำวัน102516Goldeneyes ToTo
 
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑tommy
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1Sarachai Sookprasong
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.25554LIFEYES
 

Ähnlich wie ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58 (20)

พืชสมุนไพร
พืชสมุนไพรพืชสมุนไพร
พืชสมุนไพร
 
อย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติดอย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติด
 
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
 
การทำร้านยาสู่ Gpp
การทำร้านยาสู่ Gppการทำร้านยาสู่ Gpp
การทำร้านยาสู่ Gpp
 
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนสอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
 
Advertising literacy
Advertising literacyAdvertising literacy
Advertising literacy
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
 
Geยาในชีวิตประจำวัน102516
Geยาในชีวิตประจำวัน102516Geยาในชีวิตประจำวัน102516
Geยาในชีวิตประจำวัน102516
 
Herb
HerbHerb
Herb
 
7
77
7
 
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
 
สาระปันยา 2553
สาระปันยา 2553สาระปันยา 2553
สาระปันยา 2553
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1
 
Paraqaut
ParaqautParaqaut
Paraqaut
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 

ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58