SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 17
มคอ.3 รายวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต ภาคเรียนที่ 3/2553
รายละเอียด มคอ.3 ภาคเรียนที่ 3/2553 รายวิชา วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต
มคอ.3
รายละเอียดของรายวิชา
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
1. รหัสวิชาและชื่อวิชา 4000105 วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต Science
for Quality of Life
2. จานวนหน่วยกิต 3 หน่วยกิต(3-0-6)
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป ระดับปริญญาตรี
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน 1. นางสุวิมล นาเพีย
2. นายประถม บุญทน
5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน ภาคเรียนที่ 3/2553 ชั้นปีที่ 2,3
6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน(Pre-requisite) ไม่มี
7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน(Co-requisite) ไม่มี
8. สถานที่เรียน อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ
มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ(1203)
9. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด 11 มิถุนายน 2553
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
1.1
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ซึ่งจ
ะนาไปสู่การประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันอย่างมีคุณภาพ
1.2
เพื่อให้นักศึกษานาความรู้ทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสมแ
ละมีความปลอดภัย
1.3
เพื่อให้นักศึกษาวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดจากการใช้วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีต่อการ
ดาเนินชีวิตและสภาพแวดล้อม
1.4
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องของพลังงานกับการดาเนินชีวิต
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และสามารถนาความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์เท
คโนโลยีไปใช้ในชีวิตประจาวันอย่างปลอดภัยและเป็นประโยชน์สูงสุดเป็นการพัฒน
าแบบยั่งยืนด้วย เข้าใจสภาพปัจจุบันปัญหาเกี่ยวกับพลังงาน
หมวดที่ 3 ส่วนประกอบของรายวิชา
1. คาอธิบายรายวิชา
การศึกษากระบวนการและการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและนา
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดารงอยู่อย่างเป็นสุ
ขและมีประสิทธิภาพ โดยตระหนักถึงผลกระทบของความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์
ที่มีต่อมนุษย์ สภาพแวดล้อม สังคม การเมือง และศิลปวัฒนธรรม
2. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา
บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ การศึกษาด้วยตนเอง
3
ชั่วโมง/สัปดาห์ - - 6 ชั่วโมง/สัปดาห์
3.
จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเ
ป็นรายบุคคล 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
1. คุณธรรม จริยธรรม
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1) มีวินัยและความรับผิดชอบต่อหน้าที่ มีความมุ่งมั่นในการทางานให้สาเร็จ
2) มีน้าใจ
มีจิตอาสา จิตสาธารณะ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม และเห็นอกเห็นใจผู้อื่น
3) มีความพอเพียง
4) มีความซื่อสัตย์ กตัญญู เที่ยงธรรม
5) สุภาพ อ่อนน้อมถ่อมตน รู้จักกาลเทศะ ใจกว้าง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1.2 วิธีการสอน
1)
ให้นักศึกษานาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ในการศึกษาค้นคว้าอิสระเกี่
ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์ กลุ่มละ 1 เรื่อง
โดยใช้วัสดุหรือความรู้ในท้องถิ่นหรือภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นฐาน
2) จัดทาบล็อก(blog)
ในเว็บไซต์ http://learners.in.th เพื่อให้นักศึกษาได้นาเสนอความเห็นเกี่ยวกับการ
ทากิจกรรมหรือเสนอข่าวสารในชุมชนของตนเอง
สื่อถึงกิจกรรมของชุมชนที่นักศึกษามีส่วนร่วม
3)
นาเสนอตัวอย่างกิจกรรมนักศึกษาที่ได้แสดงถึงความเป็นผู้มีคุณภาพชีวิตและการนา
ความรู้ที่ได้รับจากการเรียนไปปฏิบัติหรือไปนาเสนอต่อบุคคลอื่นหรือในชุมชน
1.3 วิธีการประเมิน
1) ตรวจรายงานที่นักศึกษานาเสนอการร่วมกิจกรรมในชุมชน
2) ติดตามจากการนาเสนอความเห็นในบล็อก
3) ประเมินจากการสอบถามพูดคุยกับนักศึกษา
และสังเกตพฤติกรรมในระหว่างการเรียนการสอน
รวมทั้งการประพฤติตนในกิจกรรมต่างๆ ของมหาวิทยาลัย
2. ความรู้
2.1 ความรู้ที่จะได้รับ
ความรู้เรื่องของความหมาย ความสาคัญ ที่มาของความรู้
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การพัฒนาคุณภาพชีวิต
สุขภาพพลานามัย และผลกระทบจากการใช้วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
2.2 วิธีการสอน
การบรรยาย การอภิปราย การทารายงานกลุ่มและรายงานเดี่ยว
การศึกษานอกสถานที่ การนาเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน การค้นคว้าด้วยตนเอง
การเชิญวิทยากรจากภายนอกมาบรรยาย
2.3 วิธีการประเมิน
ประเมินผลจากการเข้าชั้นเรียน การอภิปราย การทารายงาน
การนาเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน การสอบกลางภาค และปลายภาค
3. ทักษาทางปัญญา
3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
1) เป็นผู้ใฝ่รู้ และมีความ สามารถในการเรียนรู้ตลอดชีวิต
2)
สามารถคิด วิเคราะห์ และตัดสินใจบนพื้นฐานของเหตุผลได้ มีวิสัยทัศน์ และควา
มคิดสร้างสรรค์
3) นาความรู้มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
3.2 วิธีการสอน
ใช้เทคนิคการสอน Problem based learning: PBL
โดยให้นักศึกษาทารายงานกลุ่มในการศึกษาปัญหาในชุมชน
ของนักศึกษาเองเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน
แล้วนาเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
เพื่อแสดงออกถึงการฝึกตอบปัญหาและแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน
การทางานกลุ่ม
3.3 วิธีการประเมิน
สังเกตจากการนาเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
การมีส่วนร่วมและการนาเสนอปัญหารวมทั้งการถกเถียงปัญหาต่างๆ
ที่นาเสนออย่างกว้างขวาง
แสดงถึงการมีความรู้ความคิดของนักศึกษาที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู้และการร่วมรับฟัง
การนาเสนอรายงานของเพื่อนนักศึกษา
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
1) มีความสามารถในการทางานเป็นทีม ปรับตัวให้เข้ากับวัฒนธรรมองค์กร สามาร
ถทางานร่วมกับผู้อื่นได้
2) ตระหนักถึงสิทธิของตนเองและผู้อื่น
และยอมรับในความแตกต่างหลากหลายของมนุษย์
3) ตระหนักในคุณค่าของศิลปะ วัฒนธรรม ดนตรี วรรณกรรม
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทั้งของไทยและของประชาคมนานาชาติ
เพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิต
4) มีความสนใจด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยกีฬา และนันทนาการ
4.2 วิธีการสอน
จัดบรรยายทางวิชาการเพื่อนาเสนอถึงการใช้ศิลปะ วัฒนธรรม
ดนตรี วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต
แล้วให้นักศึกษาร่วมเสนอความเห็นและข้อคิดเห็น
เป็นการมีส่วนร่วมในการบรรยายด้วย
4.3 วิธีการประเมิน
ใช้แบบสารวจในการเข้าร่วมกิจกรรมบรรยาย
เพื่อให้นักศึกษาออกความเห็นและความมีส่วนร่วมในกิจกรรมการบรรยายทางวิชาก
ารที่จัดขึ้น
5. ทักษะการวิเคราะห์ การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 ทักษะการคิดวิเคราะห์ การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1) สามารถใช้ภาษาในการติดต่อสื่อความหมายได้ดี ทั้งการฟัง พูด อ่าน เขียน
2)
สามารถวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการสารวจปัญหาด้านคุณภาพชีวิตของชุมชนที่นักศึ
กษาอาศัยอยู่ได้
3) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร ศึกษาค้นคว้า
วิเคราะห์และคัดเลือกข้อมูลจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ
ได้อย่างเหมาะสม
5.2 วิธีการสอน
1)
มอบหมายกิจกรรมการทารายงานกลุ่มในการศึกษาปัญหาคุณภาพชีวิตของบุคคลใน
ชุมชนที่นักศึกษาอาศัยอยู่ แล้วเขียนเป็นรายงานกลุ่ม นาเสนอหน้าชั้นเรียน
2)
มอบหมายให้การเขียนรายงานเดี่ยวเกี่ยวกับกิจกรรมที่นักศึกษาเข้าร่วมกับชุมชน
ในลักษณะการเขียนรายงานเพื่อนาเสนอกิจกรรม
3)
ให้งานนักศึกษานาเสนอความเห็นในบล็อกเพื่อแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการทากิจ
กรรมหรือเสนอข่าวสารในชุมชนของตนเอง
สื่อถึงกิจกรรมของชุมชนที่นักศึกษามีส่วนร่วม
5.3 วิธีการประเมิน
ตรวจรายงานกลุ่มและรายงานเดี่ยวในฉบับรายงานเอกสาร
ร่วมฟังและสังเกตการนาเสนอรายงานปากเปล่าหน้าชั้นเรียน
ดูพฤติกรรมที่แสดงออกว่านักศึกษามีความสามารถในการสื่อสารเพื่อให้ผู้ฟังมีความรู้
ความเข้าใจในสิ่งที่นักศึกษาได้ศึกษามาแล้วนามาเสนอ
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
1. แผนการสอน
สัป
ดา
ห์ที่เนื้อหา/รายละเอียด
จานว
น(ชั่ว
โมง)
กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่
อที่ใช้ ผู้สอน
1
หน่วยที่ 1 วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
1. ความหมายของวิทยาศาสตร์แ 3
1. บรรยาย
2. ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
นางสุวิ
มล นา
เพีย
ละเทคโนโลยี
1.1 ความหมายของวิทยาศาส
ตร์และเทคโนโลยี
1.2
องค์ประกอบของเทคโนโลยี
สื่อที่ใช้
1. power point
2.
เอกสารประกอบการเรียนการสอ
น
2
2. ความรู้ทางวิทยาศาสตร์
3. กระบวนการแสวงหาความรู้ทา
งวิทยาศาสตร์
3.1 เจตคติทางวิทยาศาสตร์
3.2 ติดต่อวิทยาศาสตร์
3.3 วิธีการทางวิทยาศาสตร์ 3
นางสุวิ
มล นา
เพีย
3
3.4 ทักษะกระบวนการทางวิท
ยาศาสตร์
4. การแก้ปัญหาโดยวิธีการทา
งวิทยาศาสตร์
3
นางสุวิ
มล นา
เพีย
สัป
ดา เนื้อหา/รายละเอียด
จานว
น(ชั่ว
กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่
อที่ใช้ ผู้สอน
ห์ที่ โมง)
4
หน่วยที่ 2 คุณภาพชีวิต
1.
ความหมายและความสาคัญของคุ
ณภาพชีวิต
2. องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต
3
1. บรรยาย
2. อภิปราย
สื่อที่ใช้
1. power point
2.
เอกสารประกอบการเรียนการสอ
น
นางสุวิ
มล นา
เพีย
5
3.
ดัชนีชี้วัดและการประเมินคุณภาพ
ชีวิต
4. แนวทางในการแก้ปัญหา และ
ปรับปรุงคุณภาพชีวิต 3
นางสุวิ
มล นา
เพีย
6
หน่วยที่ 3 สุขภาพส่วนบุคคลและ
ชุมชน
แนวความคิดเกี่ยวกับสุขภาพ
1.1 ความหมายและความ
สาคัญของสุขภาพ
1.2 องค์ประกอบของสุขภา
พ 3
1. บรรยาย
2. ดูวิดีทัศน์
3. อภิปราย
สื่อที่ใช้
1. power point
2.
เอกสารประกอบการเรียนการสอ
น
3. วีดีทัศน์
นางสุวิ
มล นา
เพีย
7
2. สุขภาพส่วนบุคคล
2.1 การส่งเสริมสุขภาพทางจิ
ต
2.2 การส่งเสริมสุขภาพทางก
าย
2.2.1 อาหาร ยา
และสมุนไพร
2.2.2 การคุ้มครองผู้บริโภ
ค
2.2.3 อุบัติเหตุและการป้อ
งกัน 3
ศึกษาค้นคว้าเพื่อนาเสนอรายงา
นกลุ่มเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภา
พทางกาย
นางสุวิ
มล นา
เพีย
8
3. สุขภาพชุมชน
3.1 การควบคุมโรคในชุมชน
3.2 การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม
ในชุมชน 3
1. บรรยาย
2. อภิปราย
สื่อที่ใช้
1. power point
2.
เอกสารประกอบการเรียนการสอ
น
นางสุ
วิมล
นาเพีย
9 สอบกลางภาค แบบทดสอบกลางภาคหน่วยที่ 1-3
สัป
ดา
ห์ที่เนื้อหา/รายละเอียด
จานว
น(ชั่ว
โมง)
กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่
อที่ใช้ ผู้สอน
10
-
11
หน่วยที่ 4 การรักษาสุขภาพตาม
แนวทางเลือก
1. การออกกาลังกาย
2. สมรรถภาพทางกาย
3. นันทนาการ 6
1. บรรยาย
2. ดูวีดีทัศน์
3. อภิปราย
สื่อที่ใช้
1. power point
2.
เอกสารประกอบการเรียนการสอ
น
3. วีดีทัศน์
นางสุวิ
มล นา
เพีย
12
หน่วยที่ 5 พลังงานกับชีวิตประจา
วัน
1.
ความสาคัญและประโยชน์ของพลั
งงาน
2. ประเภทของแหล่งพลังงาน
3
1. บรรยาย
2. ดูวีดีทัศน์
3. อภิปราย
สื่อที่ใช้
1. power point
2.
เอกสารประกอบการเรียนการสอ
นายปร
ะถม
บุญทน
น
3. วีดีทัศน์
13
3. การอนุรักษ์พลังงาน
4. พลังงานทดแทน 3
1. บรรยาย
2. ดูวีดีทัศน์
3. อภิปราย
สื่อที่ใช้
1. power point
2.
เอกสารประกอบการเรียนการสอ
น
3. วีดีทัศน์
นายป
ระถม
บุญทน
14
หน่วยที่ 6 ผลกระทบของความก้า
วหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโน
โลยี
1.
ผลกระทบจากความก้าวหน้าของวิ
ทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีต่อสิ่
งแวดล้อม เศรษฐกิจ การเมือง
สังคม และศิลปวัฒนธรรม 3
1. บรรยาย
2. ดูวีดีทัศน์
3. อภิปราย
สื่อที่ใช้
1. power point
2.
เอกสารประกอบการเรียนการสอ
นและ วีดีทัศน์
นายปร
ะถม
บุญทน
สัป
ดา เนื้อหา/รายละเอียด
จานว
น(ชั่ว
กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่
อที่ใช้ ผู้สอน
ห์ที่ โมง)
15
2.
การปรับตัวเพื่อรองรับผลกระทบจ
ากความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี 3
จัดทารายงานผลกระทบของวิทย
าศาสตร์และเทคโนโลยีในชุมชน
ที่นักศึกษาอาศัยอยู่
แล้วนาเสนอหน้าชั้นเรียน
อาจาร
ย์ประถ
ม
บุญทน
16 สอบปลายภาค ข้อสอบปลายภาค หน่วยที่ 1-6
2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
ผลการเรียน
รู้
Learning
Outcome วิธีการประเมินผลนักศึกษา
สัปดาห์ที่ประเมิ
น
สัดส่วนของการประเมิน
ผล
หน่วยที่ 1
– 6 การเข้าชั้นเรียน 1-15 10%
หน่วยที่ 1
การศึกษาค้นคว้าอิสระ 1
เรื่อง(เดี่ยว) 15 10%
หน่วยที่ 5,
6 ทดสอบย่อย 15 10%
หน่วยที่ 1 –
3 การสอบกลางภาค 9 20%
หน่วยที่ 3 การนาเสนองาน/การรายงาน(ก 6,7 20%
ลุ่ม)
หน่วยที่ 1 –
6 การสอนปลายภาค 16 30 %
รวม 100 %
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
1. ตาราและเอกสารหลัก
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต กลุ่มสถาบันราชภัฏภาคตะวันออกเฉียงเห
นือ, สุนันท์ บุราณรมย์ สานักพิมพ์เธิร์ดเวฟ เอ็ดดูเคชั่น 2542
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต(Science for quality of life) ทิพย์วัลย์
สีจันทร์ และคณะ สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต กรุงเทพฯ 2548
2. เอกสารและข้อมูลสาคัญ
พลังงานหมุนเวียน ผศ.ดร.ไกรพัฒน์ จีนขจร สานักพิมพ์ ส.ส.ท.
กรุงเทพฯ 2551
http://th.wikipedia.org/wiki/ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์
3. เอกสารและข้อมูลแนะนา
ข้อมูลใหม่ๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คุณภาพชีวิต และพลังงาน นั้น
สามารถค้นหาเพิ่มเติมได้จากอินเทอร์เน็ต
ซึ่งสามารถค้นหาได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
ขอให้ผู้เรียนได้นาไปดาเนินการเพื่อการศึกษาต่อไป
หมวดที่ 7 การประเมินและการปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
ให้นักศึกษาทุกคนทาแบบประเมินเพื่อประเมินประสิทธิผลของรายวิชา
ทั้งด้านวิธีการสอน
การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน
ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ
ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
ฝ่ายหลักสูตร/ภาควิชา/คณะ
ทาการกาหนดให้มีการประเมินการสอนโดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้ง
โดยมหาวิทยาลัย ตามแบบประเมินของมหาวิทยาลัย และ จากการสังเกตการณ์สอน
การสัมภาษณ์นักศึกษา
3. การปรับปรุงการสอน
ฝ่ายหลักสูตร/ภาควิชา/คณะกาหนดให้ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีสอน
จากผลการประเมินประสิทธิผลรายวิชา แล้วจัดทารายงานรายวิชาตามที่
สกอ.กาหนด ทุกภาคการศึกษา ให้ผู้สอนเข้ารับการอบรมกลยุทธ์การสอน
การวิเคราะห์ผู้เรียน การวิจัยในชั้นเรียน มีการประชุมผู้สอนเพื่อหารือปัญหาการเรี
ยนรู้ของนักศึกษาและหาแนวทางแก้ไขต่อไป
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา
ฝ่ายหลักสูตร/ภาควิชา/คณะกาหนดให้มีคณะกรรมการประเมินข้อสอบ
และความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน
ของแต่ละรายวิชาเพื่อดูความเหมาะสมในผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา
5. การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
ฝ่ายหลักสูตร/ภาควิชา/คณะจัดให้มีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา
โดยพิจารณาผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา
คณะกรรมการประเมินของหลักสูตร/ภาควิชา
การรายงานรายวิชาหลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา
การทบทวนเนื้อหาที่สอน กลยุทธ์การสอน
และเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนารายวิชาเสนอต่อประธานหลักสูตรหรือหั
วหน้าภาค
เสนอต่อกรรมการประจาคณะพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปเพื่อวางแผนปรับปรุง
ในปีการศึกษาต่อไป
6. การปรับปรุงรายวิชาครั้งสุดท้ายเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2553
งานมอบหมายสาหรับนักศึกษารหัส 51241011 และ 53223511(ภาคเรียนที่
3/2553)
1. ให้นักศึกษารวบรวมข้อมูลความรู้เกี่ยวกับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ เกี่ยวกับโครงสร้าง
เชื้อเพลิง ประเภทต่างๆของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ข้อดี-ข้อเสียของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
จานวนโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ของประเทศต่างๆ ในปัจจุบันนี้ จัดทาเป็นเล่มรายงาน
ฉบับที่ 1
2.
ให้นักศึกษาค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องมือเครื่องใช้ที่เป็นผลิตผลของการค้นคว้าทาง
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ที่มีผลกระทบกับชีวิตประจาวัน มาคนละ 3 เครื่อง
แล้วให้บอกรายละเอียดการทางาน ข้อดี-ข้อเสีย ของเครื่องมือนั้นๆ
จัดทาเป็นเล่มรายงาน ฉบับที่ 2
ทั้ง 2 ฉบับนี้ให้นามาเสนอเมื่อถึงชั่วโมงการสอนของผมในรอบต่อไป(ประมาณ
ต้นเดือนเมษายน 2554)

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพวSircom Smarnbua
 
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน ภาคปลาย55
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน  ภาคปลาย55มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน  ภาคปลาย55
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน ภาคปลาย55ไชยยา มะณี
 
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์ไชยยา มะณี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำMine Pantip
 
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดrisa021040
 
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)ชนาธิป ศรีโท
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนKritsadin Khemtong
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล Sircom Smarnbua
 
Mko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาMko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาNanzzy Sutthanont
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม IsSasiyada Promsuban
 
2.บทที่.2 บทวรรณกรรม
2.บทที่.2 บทวรรณกรรม2.บทที่.2 บทวรรณกรรม
2.บทที่.2 บทวรรณกรรมYota Bhikkhu
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)Chamada Rinzine
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Was ist angesagt? (19)

1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
 
6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน ภาคปลาย55
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน  ภาคปลาย55มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน  ภาคปลาย55
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน ภาคปลาย55
 
Present Skb
Present SkbPresent Skb
Present Skb
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
 
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
 
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
 
Mko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาMko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยา
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
 
2.บทที่.2 บทวรรณกรรม
2.บทที่.2 บทวรรณกรรม2.บทที่.2 บทวรรณกรรม
2.บทที่.2 บทวรรณกรรม
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 

Ähnlich wie มคอ3

การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมวิทย์
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมวิทย์การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมวิทย์
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมวิทย์Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2Wichai Likitponrak
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2krupornpana55
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้citylong117
 
(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)etcenterrbru
 
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกามอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกาไชยยา มะณี
 
การแนะนำบทเรียน ม5เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม5เทอม1การแนะนำบทเรียน ม5เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม5เทอม1Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1Wichai Likitponrak
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลWichai Likitponrak
 

Ähnlich wie มคอ3 (20)

การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
 
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
 
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมวิทย์
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมวิทย์การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมวิทย์
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมวิทย์
 
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์
 
การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1
 
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
 
006
006006
006
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
 
(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)
 
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกามอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
 
การแนะนำบทเรียน ม5เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม5เทอม1การแนะนำบทเรียน ม5เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม5เทอม1
 
Herbarium group 3 class 333
Herbarium group 3 class 333 Herbarium group 3 class 333
Herbarium group 3 class 333
 
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
 
วิถึชีวิต Course syllabus-1-59 (1)
วิถึชีวิต Course syllabus-1-59 (1)วิถึชีวิต Course syllabus-1-59 (1)
วิถึชีวิต Course syllabus-1-59 (1)
 

มคอ3

  • 1. มคอ.3 รายวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต ภาคเรียนที่ 3/2553 รายละเอียด มคอ.3 ภาคเรียนที่ 3/2553 รายวิชา วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต มคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. รหัสวิชาและชื่อวิชา 4000105 วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต Science for Quality of Life 2. จานวนหน่วยกิต 3 หน่วยกิต(3-0-6) 3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป ระดับปริญญาตรี 4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน 1. นางสุวิมล นาเพีย 2. นายประถม บุญทน 5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน ภาคเรียนที่ 3/2553 ชั้นปีที่ 2,3 6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน(Pre-requisite) ไม่มี 7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน(Co-requisite) ไม่มี 8. สถานที่เรียน อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ(1203) 9. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด 11 มิถุนายน 2553
  • 2. หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา 1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ซึ่งจ ะนาไปสู่การประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันอย่างมีคุณภาพ 1.2 เพื่อให้นักศึกษานาความรู้ทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสมแ ละมีความปลอดภัย 1.3 เพื่อให้นักศึกษาวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดจากการใช้วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีต่อการ ดาเนินชีวิตและสภาพแวดล้อม 1.4 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องของพลังงานกับการดาเนินชีวิต 2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และสามารถนาความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์เท คโนโลยีไปใช้ในชีวิตประจาวันอย่างปลอดภัยและเป็นประโยชน์สูงสุดเป็นการพัฒน าแบบยั่งยืนด้วย เข้าใจสภาพปัจจุบันปัญหาเกี่ยวกับพลังงาน หมวดที่ 3 ส่วนประกอบของรายวิชา 1. คาอธิบายรายวิชา
  • 3. การศึกษากระบวนการและการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและนา ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดารงอยู่อย่างเป็นสุ ขและมีประสิทธิภาพ โดยตระหนักถึงผลกระทบของความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ ที่มีต่อมนุษย์ สภาพแวดล้อม สังคม การเมือง และศิลปวัฒนธรรม 2. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ การศึกษาด้วยตนเอง 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ - - 6 ชั่วโมง/สัปดาห์ 3. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเ ป็นรายบุคคล 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา 1. คุณธรรม จริยธรรม 1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 1) มีวินัยและความรับผิดชอบต่อหน้าที่ มีความมุ่งมั่นในการทางานให้สาเร็จ
  • 4. 2) มีน้าใจ มีจิตอาสา จิตสาธารณะ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม และเห็นอกเห็นใจผู้อื่น 3) มีความพอเพียง 4) มีความซื่อสัตย์ กตัญญู เที่ยงธรรม 5) สุภาพ อ่อนน้อมถ่อมตน รู้จักกาลเทศะ ใจกว้าง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 1.2 วิธีการสอน 1) ให้นักศึกษานาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ในการศึกษาค้นคว้าอิสระเกี่ ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์ กลุ่มละ 1 เรื่อง โดยใช้วัสดุหรือความรู้ในท้องถิ่นหรือภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นฐาน 2) จัดทาบล็อก(blog) ในเว็บไซต์ http://learners.in.th เพื่อให้นักศึกษาได้นาเสนอความเห็นเกี่ยวกับการ ทากิจกรรมหรือเสนอข่าวสารในชุมชนของตนเอง สื่อถึงกิจกรรมของชุมชนที่นักศึกษามีส่วนร่วม 3) นาเสนอตัวอย่างกิจกรรมนักศึกษาที่ได้แสดงถึงความเป็นผู้มีคุณภาพชีวิตและการนา ความรู้ที่ได้รับจากการเรียนไปปฏิบัติหรือไปนาเสนอต่อบุคคลอื่นหรือในชุมชน 1.3 วิธีการประเมิน 1) ตรวจรายงานที่นักศึกษานาเสนอการร่วมกิจกรรมในชุมชน 2) ติดตามจากการนาเสนอความเห็นในบล็อก
  • 5. 3) ประเมินจากการสอบถามพูดคุยกับนักศึกษา และสังเกตพฤติกรรมในระหว่างการเรียนการสอน รวมทั้งการประพฤติตนในกิจกรรมต่างๆ ของมหาวิทยาลัย 2. ความรู้ 2.1 ความรู้ที่จะได้รับ ความรู้เรื่องของความหมาย ความสาคัญ ที่มาของความรู้ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การพัฒนาคุณภาพชีวิต สุขภาพพลานามัย และผลกระทบจากการใช้วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี 2.2 วิธีการสอน การบรรยาย การอภิปราย การทารายงานกลุ่มและรายงานเดี่ยว การศึกษานอกสถานที่ การนาเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน การค้นคว้าด้วยตนเอง การเชิญวิทยากรจากภายนอกมาบรรยาย 2.3 วิธีการประเมิน ประเมินผลจากการเข้าชั้นเรียน การอภิปราย การทารายงาน การนาเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน การสอบกลางภาค และปลายภาค 3. ทักษาทางปัญญา 3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา 1) เป็นผู้ใฝ่รู้ และมีความ สามารถในการเรียนรู้ตลอดชีวิต 2) สามารถคิด วิเคราะห์ และตัดสินใจบนพื้นฐานของเหตุผลได้ มีวิสัยทัศน์ และควา มคิดสร้างสรรค์ 3) นาความรู้มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
  • 6. 3.2 วิธีการสอน ใช้เทคนิคการสอน Problem based learning: PBL โดยให้นักศึกษาทารายงานกลุ่มในการศึกษาปัญหาในชุมชน ของนักศึกษาเองเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน แล้วนาเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน เพื่อแสดงออกถึงการฝึกตอบปัญหาและแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การทางานกลุ่ม 3.3 วิธีการประเมิน สังเกตจากการนาเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมและการนาเสนอปัญหารวมทั้งการถกเถียงปัญหาต่างๆ ที่นาเสนออย่างกว้างขวาง แสดงถึงการมีความรู้ความคิดของนักศึกษาที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู้และการร่วมรับฟัง การนาเสนอรายงานของเพื่อนนักศึกษา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 1) มีความสามารถในการทางานเป็นทีม ปรับตัวให้เข้ากับวัฒนธรรมองค์กร สามาร ถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ 2) ตระหนักถึงสิทธิของตนเองและผู้อื่น และยอมรับในความแตกต่างหลากหลายของมนุษย์ 3) ตระหนักในคุณค่าของศิลปะ วัฒนธรรม ดนตรี วรรณกรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทั้งของไทยและของประชาคมนานาชาติ เพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิต
  • 7. 4) มีความสนใจด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยกีฬา และนันทนาการ 4.2 วิธีการสอน จัดบรรยายทางวิชาการเพื่อนาเสนอถึงการใช้ศิลปะ วัฒนธรรม ดนตรี วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต แล้วให้นักศึกษาร่วมเสนอความเห็นและข้อคิดเห็น เป็นการมีส่วนร่วมในการบรรยายด้วย 4.3 วิธีการประเมิน ใช้แบบสารวจในการเข้าร่วมกิจกรรมบรรยาย เพื่อให้นักศึกษาออกความเห็นและความมีส่วนร่วมในกิจกรรมการบรรยายทางวิชาก ารที่จัดขึ้น 5. ทักษะการวิเคราะห์ การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ทักษะการคิดวิเคราะห์ การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1) สามารถใช้ภาษาในการติดต่อสื่อความหมายได้ดี ทั้งการฟัง พูด อ่าน เขียน 2) สามารถวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการสารวจปัญหาด้านคุณภาพชีวิตของชุมชนที่นักศึ กษาอาศัยอยู่ได้ 3) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร ศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์และคัดเลือกข้อมูลจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม 5.2 วิธีการสอน
  • 8. 1) มอบหมายกิจกรรมการทารายงานกลุ่มในการศึกษาปัญหาคุณภาพชีวิตของบุคคลใน ชุมชนที่นักศึกษาอาศัยอยู่ แล้วเขียนเป็นรายงานกลุ่ม นาเสนอหน้าชั้นเรียน 2) มอบหมายให้การเขียนรายงานเดี่ยวเกี่ยวกับกิจกรรมที่นักศึกษาเข้าร่วมกับชุมชน ในลักษณะการเขียนรายงานเพื่อนาเสนอกิจกรรม 3) ให้งานนักศึกษานาเสนอความเห็นในบล็อกเพื่อแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการทากิจ กรรมหรือเสนอข่าวสารในชุมชนของตนเอง สื่อถึงกิจกรรมของชุมชนที่นักศึกษามีส่วนร่วม 5.3 วิธีการประเมิน ตรวจรายงานกลุ่มและรายงานเดี่ยวในฉบับรายงานเอกสาร ร่วมฟังและสังเกตการนาเสนอรายงานปากเปล่าหน้าชั้นเรียน ดูพฤติกรรมที่แสดงออกว่านักศึกษามีความสามารถในการสื่อสารเพื่อให้ผู้ฟังมีความรู้ ความเข้าใจในสิ่งที่นักศึกษาได้ศึกษามาแล้วนามาเสนอ หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 1. แผนการสอน สัป ดา ห์ที่เนื้อหา/รายละเอียด จานว น(ชั่ว โมง) กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่ อที่ใช้ ผู้สอน 1 หน่วยที่ 1 วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี 1. ความหมายของวิทยาศาสตร์แ 3 1. บรรยาย 2. ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง นางสุวิ มล นา เพีย
  • 9. ละเทคโนโลยี 1.1 ความหมายของวิทยาศาส ตร์และเทคโนโลยี 1.2 องค์ประกอบของเทคโนโลยี สื่อที่ใช้ 1. power point 2. เอกสารประกอบการเรียนการสอ น 2 2. ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ 3. กระบวนการแสวงหาความรู้ทา งวิทยาศาสตร์ 3.1 เจตคติทางวิทยาศาสตร์ 3.2 ติดต่อวิทยาศาสตร์ 3.3 วิธีการทางวิทยาศาสตร์ 3 นางสุวิ มล นา เพีย 3 3.4 ทักษะกระบวนการทางวิท ยาศาสตร์ 4. การแก้ปัญหาโดยวิธีการทา งวิทยาศาสตร์ 3 นางสุวิ มล นา เพีย สัป ดา เนื้อหา/รายละเอียด จานว น(ชั่ว กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่ อที่ใช้ ผู้สอน
  • 10. ห์ที่ โมง) 4 หน่วยที่ 2 คุณภาพชีวิต 1. ความหมายและความสาคัญของคุ ณภาพชีวิต 2. องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต 3 1. บรรยาย 2. อภิปราย สื่อที่ใช้ 1. power point 2. เอกสารประกอบการเรียนการสอ น นางสุวิ มล นา เพีย 5 3. ดัชนีชี้วัดและการประเมินคุณภาพ ชีวิต 4. แนวทางในการแก้ปัญหา และ ปรับปรุงคุณภาพชีวิต 3 นางสุวิ มล นา เพีย 6 หน่วยที่ 3 สุขภาพส่วนบุคคลและ ชุมชน แนวความคิดเกี่ยวกับสุขภาพ 1.1 ความหมายและความ สาคัญของสุขภาพ 1.2 องค์ประกอบของสุขภา พ 3 1. บรรยาย 2. ดูวิดีทัศน์ 3. อภิปราย สื่อที่ใช้ 1. power point 2. เอกสารประกอบการเรียนการสอ น 3. วีดีทัศน์ นางสุวิ มล นา เพีย
  • 11. 7 2. สุขภาพส่วนบุคคล 2.1 การส่งเสริมสุขภาพทางจิ ต 2.2 การส่งเสริมสุขภาพทางก าย 2.2.1 อาหาร ยา และสมุนไพร 2.2.2 การคุ้มครองผู้บริโภ ค 2.2.3 อุบัติเหตุและการป้อ งกัน 3 ศึกษาค้นคว้าเพื่อนาเสนอรายงา นกลุ่มเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภา พทางกาย นางสุวิ มล นา เพีย 8 3. สุขภาพชุมชน 3.1 การควบคุมโรคในชุมชน 3.2 การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ในชุมชน 3 1. บรรยาย 2. อภิปราย สื่อที่ใช้ 1. power point 2. เอกสารประกอบการเรียนการสอ น นางสุ วิมล นาเพีย 9 สอบกลางภาค แบบทดสอบกลางภาคหน่วยที่ 1-3
  • 12. สัป ดา ห์ที่เนื้อหา/รายละเอียด จานว น(ชั่ว โมง) กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่ อที่ใช้ ผู้สอน 10 - 11 หน่วยที่ 4 การรักษาสุขภาพตาม แนวทางเลือก 1. การออกกาลังกาย 2. สมรรถภาพทางกาย 3. นันทนาการ 6 1. บรรยาย 2. ดูวีดีทัศน์ 3. อภิปราย สื่อที่ใช้ 1. power point 2. เอกสารประกอบการเรียนการสอ น 3. วีดีทัศน์ นางสุวิ มล นา เพีย 12 หน่วยที่ 5 พลังงานกับชีวิตประจา วัน 1. ความสาคัญและประโยชน์ของพลั งงาน 2. ประเภทของแหล่งพลังงาน 3 1. บรรยาย 2. ดูวีดีทัศน์ 3. อภิปราย สื่อที่ใช้ 1. power point 2. เอกสารประกอบการเรียนการสอ นายปร ะถม บุญทน
  • 13. น 3. วีดีทัศน์ 13 3. การอนุรักษ์พลังงาน 4. พลังงานทดแทน 3 1. บรรยาย 2. ดูวีดีทัศน์ 3. อภิปราย สื่อที่ใช้ 1. power point 2. เอกสารประกอบการเรียนการสอ น 3. วีดีทัศน์ นายป ระถม บุญทน 14 หน่วยที่ 6 ผลกระทบของความก้า วหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโน โลยี 1. ผลกระทบจากความก้าวหน้าของวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีต่อสิ่ งแวดล้อม เศรษฐกิจ การเมือง สังคม และศิลปวัฒนธรรม 3 1. บรรยาย 2. ดูวีดีทัศน์ 3. อภิปราย สื่อที่ใช้ 1. power point 2. เอกสารประกอบการเรียนการสอ นและ วีดีทัศน์ นายปร ะถม บุญทน สัป ดา เนื้อหา/รายละเอียด จานว น(ชั่ว กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่ อที่ใช้ ผู้สอน
  • 14. ห์ที่ โมง) 15 2. การปรับตัวเพื่อรองรับผลกระทบจ ากความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 3 จัดทารายงานผลกระทบของวิทย าศาสตร์และเทคโนโลยีในชุมชน ที่นักศึกษาอาศัยอยู่ แล้วนาเสนอหน้าชั้นเรียน อาจาร ย์ประถ ม บุญทน 16 สอบปลายภาค ข้อสอบปลายภาค หน่วยที่ 1-6 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ ผลการเรียน รู้ Learning Outcome วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิ น สัดส่วนของการประเมิน ผล หน่วยที่ 1 – 6 การเข้าชั้นเรียน 1-15 10% หน่วยที่ 1 การศึกษาค้นคว้าอิสระ 1 เรื่อง(เดี่ยว) 15 10% หน่วยที่ 5, 6 ทดสอบย่อย 15 10% หน่วยที่ 1 – 3 การสอบกลางภาค 9 20% หน่วยที่ 3 การนาเสนองาน/การรายงาน(ก 6,7 20%
  • 15. ลุ่ม) หน่วยที่ 1 – 6 การสอนปลายภาค 16 30 % รวม 100 % หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 1. ตาราและเอกสารหลัก วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต กลุ่มสถาบันราชภัฏภาคตะวันออกเฉียงเห นือ, สุนันท์ บุราณรมย์ สานักพิมพ์เธิร์ดเวฟ เอ็ดดูเคชั่น 2542 วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต(Science for quality of life) ทิพย์วัลย์ สีจันทร์ และคณะ สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต กรุงเทพฯ 2548 2. เอกสารและข้อมูลสาคัญ พลังงานหมุนเวียน ผศ.ดร.ไกรพัฒน์ จีนขจร สานักพิมพ์ ส.ส.ท. กรุงเทพฯ 2551 http://th.wikipedia.org/wiki/ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ 3. เอกสารและข้อมูลแนะนา ข้อมูลใหม่ๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คุณภาพชีวิต และพลังงาน นั้น สามารถค้นหาเพิ่มเติมได้จากอินเทอร์เน็ต ซึ่งสามารถค้นหาได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ขอให้ผู้เรียนได้นาไปดาเนินการเพื่อการศึกษาต่อไป
  • 16. หมวดที่ 7 การประเมินและการปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา 1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา ให้นักศึกษาทุกคนทาแบบประเมินเพื่อประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา 2. กลยุทธ์การประเมินการสอน ฝ่ายหลักสูตร/ภาควิชา/คณะ ทาการกาหนดให้มีการประเมินการสอนโดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้ง โดยมหาวิทยาลัย ตามแบบประเมินของมหาวิทยาลัย และ จากการสังเกตการณ์สอน การสัมภาษณ์นักศึกษา 3. การปรับปรุงการสอน ฝ่ายหลักสูตร/ภาควิชา/คณะกาหนดให้ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีสอน จากผลการประเมินประสิทธิผลรายวิชา แล้วจัดทารายงานรายวิชาตามที่ สกอ.กาหนด ทุกภาคการศึกษา ให้ผู้สอนเข้ารับการอบรมกลยุทธ์การสอน การวิเคราะห์ผู้เรียน การวิจัยในชั้นเรียน มีการประชุมผู้สอนเพื่อหารือปัญหาการเรี ยนรู้ของนักศึกษาและหาแนวทางแก้ไขต่อไป 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา ฝ่ายหลักสูตร/ภาควิชา/คณะกาหนดให้มีคณะกรรมการประเมินข้อสอบ และความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของแต่ละรายวิชาเพื่อดูความเหมาะสมในผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา 5. การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
  • 17. ฝ่ายหลักสูตร/ภาควิชา/คณะจัดให้มีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา คณะกรรมการประเมินของหลักสูตร/ภาควิชา การรายงานรายวิชาหลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา การทบทวนเนื้อหาที่สอน กลยุทธ์การสอน และเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนารายวิชาเสนอต่อประธานหลักสูตรหรือหั วหน้าภาค เสนอต่อกรรมการประจาคณะพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปเพื่อวางแผนปรับปรุง ในปีการศึกษาต่อไป 6. การปรับปรุงรายวิชาครั้งสุดท้ายเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2553 งานมอบหมายสาหรับนักศึกษารหัส 51241011 และ 53223511(ภาคเรียนที่ 3/2553) 1. ให้นักศึกษารวบรวมข้อมูลความรู้เกี่ยวกับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ เกี่ยวกับโครงสร้าง เชื้อเพลิง ประเภทต่างๆของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ข้อดี-ข้อเสียของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ จานวนโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ของประเทศต่างๆ ในปัจจุบันนี้ จัดทาเป็นเล่มรายงาน ฉบับที่ 1 2. ให้นักศึกษาค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องมือเครื่องใช้ที่เป็นผลิตผลของการค้นคว้าทาง วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ที่มีผลกระทบกับชีวิตประจาวัน มาคนละ 3 เครื่อง แล้วให้บอกรายละเอียดการทางาน ข้อดี-ข้อเสีย ของเครื่องมือนั้นๆ จัดทาเป็นเล่มรายงาน ฉบับที่ 2 ทั้ง 2 ฉบับนี้ให้นามาเสนอเมื่อถึงชั่วโมงการสอนของผมในรอบต่อไป(ประมาณ ต้นเดือนเมษายน 2554)