SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 53
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
1. ความนา
เ มื่ อ พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า อุ บั ติ ขึ้ น ใ น โ ล ก นี้
พุ ท ธ จ ริ ย วั ต ร ข อ ง พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า
คาสั่งสอนของพระองค์ได้ครอบคลุมถึงการสื่อสาร ทฤษฎีการสื่อสาร
ข องมนุ ษย์ ในด้านกา รสื่อ สา ร การรับสาร การพู ด กา ร ฟั ง
การได้ดูได้เห็นแบบอย่างทั้งพระพุทธเจ้าองค์ศาสดาและเหล่าสาวก
โด ย การสื่อสาร ให้ได้เกิด ค วามรู้ทาง ปัญญา มีค วามเชื่ อ
เป็นไปตามหลักทฤษฎีของการสื่อสารซึ่งหลักการสื่อสารเหล่านี้เกิดมาไ
ม่ กี่ ร้ อ ย ปี ม า นี้ เ อ ง แ ต่ พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า เ ห ล่ า พ ร ะ ส า ว ก
ตลอดจนพระธรรมที่เหล่าพรรดาพุทธบริษัทต่างยอมรับและสืบยึดถือปฏิ
บั ติ ม า ต ร า บ ทุ ก วั น นี้
พระพุทธศาสนาได้เสนอหลักทฤษฎีการดาเนินชีวิตอย่างสงบสุข
มีองค์ธรรมบารมีมากก็สามารถบาเพ็ญให้บรรลุเป้ าหมายสูงสุดคือ
พระนิพพาน อันเป็ นการละหมดจดอย่างสิ้นเชิงจากอาสวะกิเลส
เมื่อค วามรู้ที่เ ป็ นห ลักธ รรมนี้ ประเสริฐ ยิ่งนัก พ ระพุ ทธ เจ้า
เห็นถึงประโย ช น์ อัน จะพึ งเ กิด แ ก่โ ลก จึงได้นาห ลัก ธ ร ร ม
ที่ จ ะ พึ ง ป ฏิบัติไ ด้ ส า ธ ย า ย สื่ อถึง พุ ท ธ บ ริษัท ข อง พ ระองค์
ก า ร เ ส ด็ จ อุ บั ติ ขึ้ น ข อ ง พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า นั้ น
จะมีปรากฏขึ้นได้ในโลกแต่ละครั้งแต่ละหน ย่อมเป็ นไปโดยยา ก
ซึ่งต้องใช้ระยะเวลาอันยาวนานจึงจะมีสมเด็จพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุ
ท ธ เ จ้ า เ ส ด็ จ ม า ต รั ส พ ร ะ อ ง ค์ ห นึ่ ง
ที่ เ ป็ น เ ช่ น นี้ เ พ ร า ะ ก า ร ที่ จ ะ ม า ต รัส เ ป็ น พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า นั้ น
จ ะ ต้ อ ง เ ป็ น บุ ค ค ล ส า คัญ ที่ เ รี ย ก ว่ า “ วิ สิ ฎ ฐ บุ ค ค ล ” คื อ
เ ป็ น บุ ค ค ล ที่ พิ เ ศ ษ อ ย่ า ง ยิ่ ง
ได้สร้างสมอบรมบ่มบารมีมาเพื่อพระปรมาภิเษกสัมมาสัมโพธิญาณ คือ
เ พื่ อ จ ะ ต รั ส รู้ เ ป็ น พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า โ ด ย เ ฉ พ า ะ
และพระบารมีนั้นได้อบรมบ่มบาเพ็ญมาเป็ นเวลานานหลายอสงไขย
มหากัป จนถึงที่สุดแห่งพระบารมีที่เต็มเปี่ ยมแห่งพระโพธิญาณ
จึ ง จ ะ เ ส ด็ จ ม า อุ บั ติ ขึ้ น ใ น โ ล ก
ได้ต รัสเป็ นองค์สมเด็จพ ระสัมมาสัมพุ ทธ เจ้าบ รมโล ก น า ถ
แล้วจึงทรงเมตตาประทานประโยชน์มหาศาลให้แก่สัตว์โลกทั้งหลาย
ด้ว ย ก า ร แ น ะ น า ใ ห้ รู้จัก ห น ท า ง ห ลี ก พ้ น จ า ก วัฏ ส ง ส า ร
ซึ่งเป็นภัยใหญ่แห่งชีวิตแต่ด้วยเพราะสรรพสัตว์ทั้งหลายถูกอวิชชาเข้าค
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๒
ร อ บ ง า
จึงทาให้ไม่สามารถหยั่งรู้ถึงความน่ากลัวแห่งภัยในวัฏสงสารนั้นได้
ครั้นเมื่อพระพุทธเจ้าได้ทรงอุบัติตรัสรู้ขึ้นในโลกนี้แล้วได้ทรงพระเมตต
าสั่งสอนให้มองเห็นภัยในวัฏสงสารนั้นแล้วปฏิบัติตามจนนาตนให้พ้นอ
อกจากภัยใหญ่นั้นเข้าสู่แดนเกษมคือพระนิพพาน ดังนั้น “วิสิฎฐบุคคล”
เ ช่ น พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า นั้ น
จะมาปรากฏอุบัติขึ้นในโลกแต่ละพระองค์นั้นเป็นเรื่องยากเป็ นอย่างยิ่ง
ดังพระบรมพุทธโอวาทที่ทรงแสดงไว้ว่า
“ ก า ร อุ บั ติ บั ง เ กิ ด ขึ้ น
แห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็ นสิ่งที่หาได้ยากในโลก”1
2 .
ความหมายและความสาคัญของพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
2.1 ความหมายของพระพุทธศาสนา
คาว่า พระพุทธศาสนา ประกอบด้วยคาว่า พุทธะ ซึ่งแปลว่า ผู้รู้
กับคาว่า ศาสนา ที่แปลว่า คาสั่งสอน รวมกันเข้าเป็ น พุทธศาสนา
แ ป ล ว่ า ค า สั่ ง ส อ น ข อ ง ผู้ รู้ เ มื่ อ พู ด ว่ า พุ ท ธ ศ า ส น า
ค วามเข้าใจก็ต้องแล่นเข้าไป ถึง ลัทธิป ฏิบัติ และค ณะ บุ ค ล
ซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติในลัทธิปฏิบัตินั้น ไม่ใช่มีความหมายแต่เพียงคาสั่งสอน
ซึ่งเป็ นเสียงหรือเป็ นหนังสือ หรือเป็ นเพียงตารับตาราเท่านั้น
พระพุทธศาสนาที่เราทั้งหลายในบัดนี้ได้รับนับถือและปฏิบัติเนื่องมาจาก
อ ะ ไ ร คื อ เ ร า ไ ด้อ ะ ไ ร จ า ก สิ่ง ที่ เ รี ย ก ว่า พ ร ะ พุ ท ธ ศ า สนา
นั้นมานับถือปฏิบัติในบัดนี้ เมื่อพิจารณาดูแล้วก็เห็นว่า เราได้หนังสือ
อย่างหนึ่ง บุคคล อย่างหนึ่ง หนังสือนั้นก็คือตาราที่แสดงพระพุทธศาสนา
บุค ค นั้นก็คือพุ ทธ ศ าสนิกที่แปลว่าผู้นับถือพ ร ะพุ ทธ ศ า ส น า
พุ ท ธ ศ า ส นิ ก นี้ มิ ใ ช่ ห ม า ย เ พี ย ง แ ต่ ค ฤ หั ส ถ์
ห ม า ย ค ว า ม ถึ ง ทั้ ง บ ร ร พ ชิ ต คื อ นั ก บ ว ช
และคฤหัสถ์คือผู้ซึ่งนับถือพระพุทธศาสนา พูดอีกอย่างหนึ่งได้แก่
พุทธบริษัทคือหมู่ของผู้นับถือ พระพุทธเจ้า ดังที่เรียกว่า ภิกษุ ภิกษุณี
1
พุทธะ phuttha.com, การณ์อุบัติขึ้นของพระพุทธเจ้า,[ออนไลน์],
แหล่งที่มา : http://www.phuttha.com/, [12 ธันวาคม 2559].
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๓
อุ บ า ส ก อุ บ า สิ ก า แ ต่ ใ น บั ด นี้ ภิ ก ษุ ณี ไ ม่ มี แ ล้ ว
ก็มีภิกษุกับสามเณรและอุบาสกอุบาสิกา หรือบุคคที่เรียกว่า พุทธมามกะ
พุทธมามิกา ก็รวมเรียกว่าพุทธบริษัทหรือพุทธศาสนิกทั้งห มด
คื อ ใ น บั ด นี้ มี ห นั ง สื อ ซึ่ ง เ ป็ น ต า ร า พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า
และมีบุคคลซึ่งเป็ นพุทธศาสนิกหรือเป็ นพุทธบริษัท ทั้ง ๒ อย่างนี้
ห นั ง สื อ ก็ ม า จ า ก บุ ค ค ล นั่ น เ อ ง คื อ
บุคคลที่เป็ นพุทธศาสนิกหรือเป็ นพุทธบริษัทได้เป็ นผู้ทาหนังสือขึ้น
และบุคคลดังกล่าวนี้ก็ได้มีสืบต่อกันเรื่อยมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล
แ ล ะ สื บ ต่ อ ม า ตั้ ง แ ต่ จ า ก ที่ เ กิ ด ข อ ง พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า
มาจนถึงในต่างประเทศของประเทศนั้น ดังเช่นในประเทศไทยในบัดนี้
คื อ ว่ า ไ ด้ มี พุ ท ธ ศ า ส นิ ก ห รื อ พุ ท ธ บ ริ ษั ท สื บ ต่ อ กั น ม า
จึ ง ม า ถึ ง เ ร า ทั้ ง ห ล า ย ใ น บั ด นี้
และเราทั้งหลายในบัดนี้ก็ได้เป็นพุทธศาสนิกคือพุทธบริษัทในปัจจุบัน
และคนรุ่นต่อ ๆ ไปก็จะสืบต่อไปอีก
เ มื่ อ ท ร า บ ว่ า
เราในบัดนี้ได้ทราบพระพุทธศาสนาจากหนังสือและจากคณะบุคคลซึ่งเป็
นพุทธศาสนิก ดั่งที่กล่าวมาโดยย่อนี้แล้ว ก็ควรจะทราบต่อไปว่า
เมื่อศึกษาจากหนังสือและบุคคลที่เป็ นพุทธศาสนิกชนที่เป็ นครูบาอาจาร
ย์ต่อ ๆ กันมา จึงได้ทราบว่าต้นเดิมของพระพุทธศาสนานั้น ก็คือ
"พระพุทธเจ้า"
คาว่า พระพุทธะ แปลว่า พระผู้รู้ ในภาษาไทยเราเติมคาว่า เจ้า
เ รี ย ก ว่า พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้า คื อ เ อ า ค ว า ม รู้ข อ ง ท่า น ม าเ ป็ นชื่ อ
ตามพุทธประวัติที่ทราบจากหนังสือทางพระพุทธศาสนา ดังกล่าวนั้น
พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า ก็ เ ป็ น บุ ค ค ล คื อ เ ป็ น ม นุ ษ ย์ เ ร า นี่ เ อ ง
ซึ่ ง มี พ ร ะ ป ร ะ วั ติ ดั่ ง ที่ แ ส ด ง ไ ว้ ใ น พ ร ะ พุ ท ธ ป ร ะ วัติ
แต่ว่าท่านได้ค้นคว้าหาความรู้ จนประสบความรู้ที่เป็ นโลกุตระ
คื อ ค ว า ม รู้ที่ เ ป็ น ส่ว น เ ห นื อ โ ล ก ห ม า ย ค ว า ม ง่า ย ๆ ว่า
ค ว า ม รู้ ที่ เ ป็ น ส่ ว น โ ล กิ ย ะ ห รื อ เ ป็ น ส่ ว น โ ล ก นั้ น
เมื่อประม วล เข้าแ ล้ว ก็ เ ป็ น ค ว า มรู้ที่เ ป็ นใ นด้า นส ร้า ง บ้า ง
ใ น ด้ า น ธ า ร ง รั ก ษ า บ้ า ง ใ น ด้ า น ท า ล า ย บ้ า ง
ผู้ รู้ เ อ ง แ ล ะ ค ว า ม รู้ นั้ น เ อ ง ก็ เ ป็ น ไ ป ใ น ท า ง ค ดี โ ล ก
ซึ่งต้องเป็ นไปตามคติธรรดาของโลก ต้องแก่ ต้องเจ็บ ต้องตาย
เ พ ร า ะ ต้ อ ง เ กี่ ย ว ข้ อ ง อ ยู่ กั บ โ ล ก
นอกจากนี้ยังเป็ นทาสของตัณหาคือความดิ้นรนทะยานอยากของใจ
ถึ ง จ ะ เ ป็ น เ จ้ า โ ล ก แ ต่ ไ ม่ เ ป็ น เ จ้ า ตั ณ ห า
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๔
ต้องเป็ นทาสของตัณหาในใจของตนเอง จึงเรียกว่ายังเป็ นโลกิย ะ
ยังไม่เป็ นโลกุตตรคืออยู่เหนือโลก แต่ความรู้ที่จะเป็ นโลกุต ระ
คืออยู่เหนือโลกได้นั้นจะต้องเป็นความรู้ที่ทาให้หลุดพ้นจากกิเลสและกอ
ง ทุ ก ข์ ดั่ ง ก ล่ า ว ไ ด้
พระพุทธเจ้าเป็นมนุษย์คนแรกที่ได้ปฏิญญาพระองค์ว่าเป็ นผู้ตรัสรู้พระธ
ร ร ม ซึ่ ง ท า ใ ห้ เ ป็ น โ ล กุ ต ร ะ คื อ อ ยู่ เ ห นื อ โ ล ก
คือทาให้ท่านผู้รู้นั้นเป็ นผู้พ้นจากกิเลสและกองทุกข์ดั่งกล่าวนั้น
ท่านผู้ประกอบด้วยความรู้ดั่งกล่าวมานี้ และประกาศความรู้นั้นสั่งสอน
ได้ชื่อว่าเป็นพระพุทธเจ้า ซึ่งเป็นต้นเดิมของพระพุทธศาสนา
พ ร ะ ธ ร ร ม
ทีแรกก็เป็ นเสีย งที่อ อก มาจ ากพ ร ะโอ ษฐ์ข องพ ร ะพุ ท ธ เ จ้า
เป็นเสียงที่ประกาศความจริงให้บุคคลทราบธรรมะที่พระองค์ได้ตรัสรู้
เ พ ร า ะ ฉ ะ นั้ น
เสียงที่ประกาศความจริงแก่โลกนี้ก็เรียกกันว่าพระธรรมส่วนห นึ่ง
ห รื อ เ รี ย ก ว่ า พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า
คือเป็นคาที่ออกมาจากพระโอษฐ์ของพระพุทธเจ้า เป็นคาสั่ง เป็นคาสอน
ข้ อ ป ฏิ บัติ ที่ ค า สั่ ง ส อ น นั้ น ชี้ ก็ เ ป็ น พ ร ะ ธ ร ร ม ส่ ว น ห นึ่ ง
ผ ล ข อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ก็ เ ป็ น พ ร ะ ธ ร ร ม ส่ ว น ห นึ่ ง
เหล่านี้เรียกว่าพระธรรมหมู่ชนได้ฟังเสียงซึ่งออกจากพระโอษฐ์ของพระ
พุทธเจ้า ได้ความรู้พระธรรมคือความจริงที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอน
จนถึงได้บรรลุโลกุตตรธรรม ธรรมะที่อยู่เหนือโลกตามพระพุทธเจ้า
เรียกว่า พระสงฆ์ คือหมู่ของชนที่เป็ นสาวกคือผู้ฟังของพระพุทธเจ้า
ซึ่ ง เ ป็ น ผู้ รู้ พ ร ะ ธ ร ร ม ต า ม พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า ไ ด้
พ ร ะ ส ง ฆ์ ดั ง ก ล่ า ว นี้ เ รี ย ก ว่ า พ ร ะ อ ริ ย ส ง ฆ์
มุ่ ง เ อ า ค ว า ม รู้ เ ป็ น ส า คั ญ เ ห มื อ น กั น
ไ ม่ไ ด้มุ่ง ว่า จ ะ ต้อ ง เ ป็ น ค ฤ หัส ถ์ ห รื อ จ ะ ต้อ ง เ ป็ น บ รรพ ชิต
และเมื่อรู้พระธรรมของพระพุทธเจ้าก็ประกาศตนนับถือพระพุทธเจ้า
ที่ มี ศ รั ท ธ า แ ก่ ก ล้ า ก็ ข อ บ ว ช ต า ม
ที่ไม่ถึงกับ ข อ บ ว ช ต า ม ก็ ป ร ะ กา ศ ต น เ ป็ น อุ บา ส ก อุ บ า สิ ก า
จึงได้เกิดเป็นบริษัท ๔ ขึ้น คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ในบริษัท
๔ นี้ หมู่ของภิกษุก็เรียกว่าพระสงฆ์เหมือนกัน แต่เรียกว่าสมมติสงฆ์
ส ง ฆ์ โ ด ย ส ม ม ติ
เพราะว่าเป็นภิกษุตามพระวินัยด้วยวิธีอุปสมบทรับรองกันว่าเป็ นอุปสัม
บั น ห รื อ เ ป็ น ภิ ก ษุ ขึ้ น
เมื่อภิกษุหลายรูปมาประชุมกันกระทากิจของสงฆ์ก็เรียกว่า สงฆ์
พระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ที่เป็ นอริยสงฆ์ทั้ง ๓ นี้ รวมเรียกว่า
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๕
พ ร ะ รั ต น ต รั ย
ซึ่งเป็นสรณะที่พึ่งอย่างสูงสุดในพระพุทธศาสนาความเป็ นอริยสงฆ์นั้นเ
ป็ น จ า เ พ า ะ ต น
ส่วนหมู่แห่งบุคคลที่ดารงพระพุทธศาสนาสืบต่อมาก็คือพุทธบริษัทหรือ
พุ ท ธ ศ า ส นิ ก ดัง ก ล่า ว ม า ข้ า ง ต้ น ใ น พุ ท ธ บ ริษัท เ ห ล่ า นี้
ก็ มี ภิ ก ษุ ส ง ฆ์ นี่ แ ห ล ะ เ ป็ น บุ ค ค ล ส า คั ญ
ซึ่งเป็ นผู้พ ลีชี วิต มาเพื่ อปฏิบัติดา รงรัก ษาพ ร ะพุ ทธ ศ า ส น า
นาพระพุทธศาสนาสืบ ๆ ต่อกันมา จนถึงในบัดนี้2
2.2 ความหมายของการสื่อสาร
ค า ว่ า ก า ร สื่ อ ส า ร ( communications)
มี ที่ ม า จ า ก ร า ก ศัพ ท์ ภ า ษ า ล า ติน ว่า communis ห ม า ย ถึง
ความเหมือนกันหรือร่วมกัน การสื่อสาร (communication)
หมายถึงกระบวนการถ่ายทอดข่าวสาร ข้อมูล ความรู้ ประสบการณ์
ความรู้สึก ความคิดเห็น ความต้องการจากผู้ส่งสารโดยผ่านสื่อต่าง ๆ
ที่ อ า จ เ ป็ น ก า ร พู ด ก า ร เ ขี ย น สั ญ ลั ก ษ ณ์ อื่ น ใ ด
ก า ร แ ส ด ง ห รื อ ก า ร จัด กิ จ ก ร ร ม ต่า ง ๆ ไ ป ยั ง ผู้ รับ ส า ร
ซึ่งอาจจะใช้กระบวนการสื่อสารที่แตกต่างกันไปตามความเหมาะสม
ห รื อ ค ว า ม จ า เ ป็ น ข อ ง ต น เ อ ง แ ล ะ คู่ สื่ อ ส า ร
โดยมีวัตถุประสงค์ให้เกิดการรับรู้ร่วมกันและมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อกั
น บ ริ บ ท ท า ง ก า ร สื่ อ ส า ร ที่ เ ห ม า ะ ส ม เ ป็ น
ปัจจัยสาคัญที่จะช่วยให้การสื่อสารสัมฤทธิ์ผล3
2.3 ความรู้พื้นฐานเรื่องการสื่อสาร
ก า ร สื่ อ ส า ร เ ป็ น ปั จ จั ย ส า คั ญ ใ น ก า ร ด า ร ง ชี วิ ต
ม นุ ษ ย์ จ า เ ป็ น ต้ อ ง ติ ด ต่ อ สื่ อ ส า ร กั น อ ยู่ ต ล อ ด เ ว ล า
การสื่อสารจึงเป็นปัจจัยสาคัญอย่างหนึ่งนอกเหนือจากปัจจัยพื้นฐานในก
า ร ด า ร ง ชี วิ ต ข อ ง ม นุ ษ ย์
การสื่อสารมีบทบาทสาคัญต่อการดาเนินชี วิตของมนุ ษย์ มา ก
ก า ร สื่ อ ส า ร มี ค ว า ม ส า คั ญ อ ย่ า ง ยิ่ ง ใ น ปั จ จุ บั น
ซึ่งได้ชื่ อว่าเป็ นยุ ค โลกา ภิวัต น์ เป็ นยุ ค ข องข้อมูลข่า ว ส า ร
2
พุทธะ phuttha.com, ความหมายของคาว่าพุทธะและพุทธศาสนา,
[ออนไลน์], แหล่งที่มา : http://www.phuttha.com/, [12 ธันวาคม 2559].
3
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร, ความหมายของการสื่อสาร,[ออนไลน์],
แหล่งที่มา : http://www.ipesp.ac.th/learning/thai/chapter1-1.html, [12
ธันวาคม 2559].
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๖
ก า ร สื่ อ ส า ร มี ป ร ะ โ ย ช น์ ทั้ ง ใ น แ ง่ บุ ค ค ล แ ล ะ สั ง ค ม
กา รสื่อสา รทา ใ ห้ค นมีค วา มรู้และโ ล กทัศ น์ ที่ กว้า งข ว า ง ขึ้น
การสื่อสารเป็นกระบวนการที่ทาให้สังคม เจริญก้าวหน้าอย่างไม่หยุดยั้ง
ท า ใ ห้ ม นุ ษ ย์ ส า ม า ร ถ สื บ ท อ ด พั ฒ น า เ รี ย น รู้
แ ล ะ รั บ รู้ วั ฒ น ธ ร ร ม ข อ ง ต น เ อ ง แ ล ะ สั ง ค ม ไ ด้
ก า ร สื่ อ ส า ร เ ป็ น ปั จ จัย ส า คั ญ ใ น ก า ร พั ฒ น า ป ร ะ เ ท ศ
สร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้าแก่ชุมชน และสังคมในทุกด้าน4
2.4 ความสาคัญของพระพุทธศาสนาเพื่อการสื่อสาร
แม้ว่ากาลเวลาจะผันเปลี่ยนไปกี่ยุคสมัยก็ตามหลักสัจธรรมความเ
ป็ น จ ริ ง ต า ม เ ห ตุ ผ ล ปั จ จั ย ก็ ยั ง ค ง เ ป็ น เ ช่ น เ ดิ ม
รอแต่ว่ามหาบุรุษผู้เต็มเปี่ยมด้วยพระบารมีที่ได้สั่งสมมานานแสนนานจ
ะ ม า ค้ น พ บ
วาระนั้นจะมาถึงได้ก็ต่อเมื่อมีการอุบัติขึ้นของพระอรหันตสัมมาสัมพุทธ
เ จ้ า
ผู้ตรัสรู้อริยสัจธรรมเพื่อยังประโยชน์สุขแก่สัตว์โลกทั้งหลายโดยที่พระอ
งค์ได้ทรงวางหลักสาคัญแห่งการสื่อสารธรรมของพระองค์ ที่เรียกว่า
โอวาทปาติโมกข์ ดังมีใจความสมบูรณ์ ดังนี้
ค ว า ม อ ด ท น คื อ ค ว า ม อ ด ก ลั้ น เ ป็ น ต บ ะ อ ย่ า ง ยิ่ ง
พระพุทธเจ้าทั้งหลายตรัสว่า นิพพานเป็ นบรมธรรม ผู้ทาร้ายผู้อื่น
ไม่ชื่อว่าเป็ นบรรพชิต ผู้เบียดเบียนผู้อื่น ไม่ชื่อว่าเป็ นสมณ ะ
ก า ร ไ ม่ ท า ค ว า ม ชั่ ว ทั้ ง ป ว ง ก า ร บ า เ พ็ ญ แ ต่ ค ว า ม ดี
การทาจิตของตนให้ผ่องใส นี้เป็ นคาสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย
การไม่กล่าวร้าย การไม่ทาร้าย ค วามสารวมในปาติโมกข์
ความเป็ นผู้รู้จักประมาณในอาหาร การอยู่ในที่นั่งนอนอันสงัด
ก า ร ป ร ะ ก อ บ ค ว า ม เ พี ย ร ใ น อ ธิ จิ ต
นี้เป็นคาสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย5
โ อ ว า ท ป า ฏิ โ ม ก ข์
เป็นหลักคาสอนสาคัญที่เป็นหัวใจของพระพุทธศาสนาที่พระพุทธองค์ได้
ประทานแก่ที่ประชุมพ ระภิกษุสงฆ์ 1,250 รูปในวันมาฆบูช า
เ พื่ อ ว า ง จุ ด ห ม า ย ห ลั ก ก า ร แ ล ะ วิ ธี ก า ร
4
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร, ความรู้พื้นฐานเรื่องการสื่อสาร,[ออนไลน์],
แหล่งที่มา : http://www.ipesp.ac.th/learning/thai/chapter1-1.html, [12
ธันวาคม 2559].
5
ที.ม. (ไทย) 10/90/50, ขุ.ธ. (ไทย)25/183-185/90-91.
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๗
ใ น ก า ร เ ข้า ถึง พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า แ ก่ พุ ท ธ บ ริ ษั ท ทั้ ง ห ล า ย
นับป็นวันสาคัญที่ประกอบด้วย "องค์ประกอบอัศจรรย์ 4 ประการ" คือ
พ ร ะ ส ง ฆ์ ส า ว ก ที่ ม า ป ร ะ ชุ ม พ ร้อ ม กัน ทั้ง 1 , 2 5 0 อ ง ค์ นั้น
ไ ด้ ม า ป ร ะ ชุ ม กั น ยั ง วั ด เ ว ฬุ วั น โ ด ย มิ ไ ด้ นั ด ห ม า ย
พระสงฆ์ที่มาประชุมทั้งหมดต่างล้วนเป็ น "เอหิภิกขุอุปสัมปทา"
คือเป็ นพระสงฆ์ได้รับการอุปสมบทจากพ ระพุ ทธเจ้าโด ย ต รง
พระสงฆ์ทั้งหมดที่มาประชุมล้วนเป็ นพระอรหันต์ผู้ทรงอภิญญา 6
และวันดังกล่าวตรงกับวันเพ็ญมาฆปุรณมีดิถี ขึ้น 15 ค่า เดือน 3
ดั ง นั้ น จึ ง มี ค า เ รี ย ก วั น นี้ อี ก ค า ห นึ่ ง ว่ า
"วันจาตุรงคสันนิบาต "โอวาทปาติโมกข์ ที่ทรงแสดงในวันนั้น
ถือเป็ นหลักธรรมคาสอนที่สาคัญ หรือเป็ นหัวใจของพระพุทธศาสนา
เลยทีเดียว หลักธรรมดังกล่าว แบ่งเป็ น 3 ส่วน คือ หลักธรรม 3
อุดมการณ์ 4 และ วิธีการ 6
หลักการ 3 ได้แก่
1. การไม่ทาบาปทั้งปวง ไม่ว่าจะด้วยกาย วาจาและใจ
2. การทากุศลให้ถึงพร้อม ได้แก่ การทาความดีทุกอย่าง
3 . ก า ร ท า จิต ใ จ ใ ห้ผ่อ ง ใ ส ด้ว ย ก า ร ล ะ บ า ป ทั้ง ป ว ง
ถือศีลและบาเพ็ญกุศลให้ถึงพร้อมด้วยการปฏิบัติสมถะและวิปัสสนา
จนถึงขั้นบรรลุอรหันตผล อันเป็นความผ่องใสที่แท้จริง
อุดมการณ์ 4 ได้แก่
1. ความอดทน คือการอดกลั้น ไม่ทาบาปทั้งกาย วาจา ใจ
2 . ค วามไม่เบีย ด เบีย น คือ การงด เว้นจา กการทาร้าย
รบกวนหรือเบียดเบียนผู้อื่น
3. ความสงบ คือ ปฏิบัติตนให้สงบทั้งทางกาย วาจาและใจ
4. นิพพาน คือ การดับทุกข์ที่เป็ นเป้าหมายสูงสุดในพุทธศาสนา
ซึ่งจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อดาเนินชีวิตตามมรรคมีองค์แปด
วิธีการ 6 ได้แก่
1. ไม่ว่าร้าย คือ ไม่กล่าวให้ร้ายหรือโจมตีใคร
2. ไม่ทาร้าย คือ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๘
3. สารวมในปาติโมกข์ คือ ความเคารพระเบียบวินัย กติกา
กฎหมาย ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงามของสังคม
4. รู้จักประมาณ คือ รู้จักพอดี พอกินพออยู่
5 . อ ยู่ ใ น ส ถ า น ที่ ที่ ส งั ด คื อ
อยู่ในสถานที่ที่สงบและมีสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม
6. ฝึกหัดจิตใจให้สงบ คือการฝึกจิต หมั่นทาสมาธิภาวนา
สาห รับห ลักการ 3 ถือได้ว่าเป็ นหัวใจข องพ ระพุ ทธ ศ าสนา
เป็นการสอนหลักในการดาเนินชีวิตที่ถูกต้องแก่พุทธศาสนิกชนส่วนอุด
ม ก า ร ณ์ 4 แ ล ะ วิ ธี ก า ร 6 นั้ น
อ า จ จ ะ เ รี ย ก ไ ด้ ว่ า เ ป็ น ห ลัก ค รู ห รื อ ห ลัก ข อ ง ผู้ ส อ น คื อ
วิธีการที่จะนาไปปรับปรุงตัวให้เป็ นกัลยาณมิตรทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
ซึ่ ง ผู้ ใ ด ป ฏิ บัติ ไ ด้ น อ ก จ า ก จ ะ เ ป็ น แ บ บ อ ย่ า ง ที่ ดี แ ล้ ว
ยังจะช่วยเผยแพร่พระศาสนาให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพอีกด้วย6
3. ภาษาและการสื่อสารทางพระพุทธศาสนาผ่านสื่อต่างๆ
การสื่อสารจ ะ ปร ะ สบ ค ว าม สาเ ร็ จไ ด้ จะต้องมี ภ า ษ า
เ ป็ น อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ห นึ่ ง อ ยู่ ภ า ย ใ ต้ส า ร เ นื้ อ ห า ข อ ง ส า ร
คื อ ค ว า ม คิ ด ที่ ก ลั่ น ก ร อ ง อ อ ก ม า เ ป็ น เ รื่ อ ง ร า ว
ค ว า ม คิ ด นั้ น ไ ม่ ส า ม า ร ถ ถ่ า ย ท อ ด ไ ด้ ถ้ า ไ ม่ มี ภ า ษ า
ภาษานั้นเป็นสื่อที่จะให้เนื้อหาเกาะเกี่ยวไปยังผู้รับสารให้เกิดความเข้าใ
จ ห รื อ อ า จ จ ะ ก ล่ า ว ไ ด้ ว่ า ภ า ษ า คื อ ตัว ส า ร นั้ น เ อ ง
มี ผู้ ก ล่ า ว ว่ า ภ า ษ า ที่ ใ ช้ คื อ หั ว ใ จ ข อ ง ก า ร สื่ อ ส า ร
หมายความว่าผู้ใช้ภาษาควรตระหนักในบทบาทและความสาคัญของภา
ษาที่มีต่อการสื่อสารของมนุษย์เป็นส่วนช่วยให้เนื้อหาที่จะสื่อสารเป็ นที่รั
บ รู้แ ล ะ เ ข้า ใ จ ร่ ว ม กัน ไ ด้ ส า ร ทุ ก ช นิ ด ไ ม่ ว่า จ ะ สั้ น ย า ว
มากน้อยเพียงใดก่อนที่คนเราจะสามารถรับรู้จนทาให้เกิดความเข้าใจร่ว
ม กั น ไ ด้ นั้ น
จะต้องส่งมาในรูปแบบของภาษาหรือสัญลักษณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง
ส า ร ะ จ ะ ป ร า ก ฏ ขึ้ น โ ด ย ตั ว ข อ ง มั น เ อ ง แ ท้ ๆ ไ ม่ ไ ด้
6
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, โอวาทปาติโมกข์,[ออนไลน์], แหล่งที่มา :
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%AD%E0%B8
%A7%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0
%B8%95%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%81
%E0%B8%82%E0%B9%8C, [12 ธันวาคม 2559].
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๙
ก า ร สื่ อ ส า ร นั้ น ผู้ รู้ ไ ด้ ก ล่ า ว เ อ า ไ ว้ ว่ า ภ า ษ า คื อ
พาหะใส่เนื้อหาของสารเกาะเกี่ย ว จากผู้ส่งสารไปสู่ผู้รับส าร
ผู้ ผ ลิ ต ภ า ษ า คื อ ผู้ ส่ ง ส า ร
ภาษาที่ออกมาจะดีไม่ดีอยู่ที่ทักษะในการสื่อสารข องผู้ส่งส าร
แ ต่ ทั้ ง นี้ ต้ อ ง ขึ้ น อ ยู่ กั บ ผู้ รั บ ส า ร ด้ ว ย
เพราะผู้ส่งสารเลือกใช้ภาษาในการเสนอสารที่เหมาะสมกับผู้รับสาร
เหมาะสมกับความรับรู้และทักษะการใช้ภาษาของผู้รับสาร กล่าวคือ
ผู้ ส่ ง ส า ร ที่ ดี นั้ น ต้ อ ง พู ด จ า ภ า ษ า เ ดี ย ว กั บ ผู้ รั บ ส า ร
คือต้องเรียนรู้ภาษาของผู้รับสารนั้นเอง
3.1 หลักในการสื่อสาร
การสื่อสารจะประสบความสาเร็จตรงตามจุดประสงค์หรือไม่ผู้ส่งส
ารค วรคานึงถึงห ลักการสื่อสาร ดังนี้ (ภาค วิช าภาษาไทย
สถาบันราชภัฏเทพสตรี ลพบรี, 2542: 13-14)
1 . ผู้ ที่ จ ะ สื่ อ ส า ร ใ ห้ ไ ด้ ผ ล แ ล ะ เ กิ ด ป ร ะ โ ย ช น์
จ ะ ต้อ ง ท า ค ว า ม เ ข้า ใ จ เ รื่ อ ง อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ใ น ก า ร สื่ อ ส า ร
และปัจจัยทางจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับระบบการรับรู้ การคิด การเรียนรู้
การจา ซึ่งมีผลต่อประสิทธิภาพ ในการสื่อสาร
2. ผู้ที่จะสื่อสารต้องคานึงถึงบริบทในการสื่อสาร บริบทในการสื่อสาร
ห ม า ย ถึ ง
สิ่งที่อยู่แวดล้อมที่มีส่วนในการกาหนดรู้ความหมายหรือความเข้าใจในก
ารสื่อสาร
3 . ค า นึ ง ถึง ก ร อ บ แ ห่ง ก า ร อ้า ง อิง ( frame of reference)
มนุษย์ทุกคนจะมีพื้นความรู้ทักษะ เจตคติ ค่านิยม สังคม ประสบการณ์
ฯ ลฯ เรีย กว่าภูมิห ลังแต กต่างกัน ถ้าคู่สื่อสารใด มีกรอบแห่ง
การอ้างอิงคล้ายกัน ใกล้เคียงกัน จะทาให้การสื่อสารง่ายขึ้น
4 . ก า ร สื่ อ ส า ร จ ะ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล
เมื่อผู้ส่งสารส่งสารอย่างมีวัตถุประสงค์ชัดเจน ผ่านสื่อหรือช่องทาง
ที่ เ ห ม า ะ ส ม
ถึงผู้รับสารที่มีทักษะในการสื่อสารและมีวัตถุประสงค์สอดคล้องกัน
5. ผู้ส่งสารและผู้รับสาร ควรเตรียมตัวและเตรียมการล่วงหน้า
เ พ ร า ะ จ ะ ท า ใ ห้ ก า ร สื่ อ ส า ร ร า บ รื่ น ส ะ ด ว ก ร ว ด เ ร็ ว
เ ป็ น ไ ป ต า ม วัต ถุ ป ร ะ ส ง ค์แ ล ะ ส าม า ร ถ แ ก้ไ ข ไ ด้ทันท่วงที
หากจะเกิดอุปสรรค์ ที่จุดใดจุด
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๑๐
6 . ค า นึ ง ถึ ง ก า ร ใ ช้ ทั ก ษ ะ
เพ ราะภาษาเป็ นสัญลักษณ์ ที่ มนุ ษย์ ต กลงใช้ร่วม กันใ น ก า ร
สื่ อ ค ว า ม ห ม า ย ซึ่ ง ถื อ ไ ด้ ว่ า เ ป็ น หัว ใ จ ใ น ก า ร สื่ อ ส า ร
คู่ สื่ อ ส า ร ต้ อ ง ศึ ก ษ า เ รื่ อ ง ก า ร ใ ช้ ภ า ษ า
และสามารถใช้ภาษาให้เหมาะสมกับกาลเทศะ บุคคล เนื้อหาของสาร
และช่องทางหรือสื่อ ที่ใช้ในการสื่อสาร
7 . ค า นึ ง ถึ ง ป ฏิ กิ ริ ย า ต อ บ ก ลั บ ต ล อ ด เ ว ล า
ถื อ เ ป็ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร สื่ อ ส า ร
ที่จะทาให้คู่สื่อสารรับรู้ผลของการสื่อสารว่าประสบผลดีตรงตามวัตถุหรื
อไม่ ค วรปรับปรุง เปลี่ย นแปลงห รือแก้ไข ข้อบกพ ร่อ ง ใ ด
เพื่อที่จะทาให้การสื่อสารเกิดผลตามที่ต้องการ7
3.2 วัตถุประสงค์ของการสื่อสาร
คณาจารย์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (2551: 17)
กล่าวถึง วัตถุประสงค์ของการสื่อสารไว้ดังนี้
1. เพื่ อแจ้งให้ทราบ ( inform) ในการทาการสื่อสา ร
ผู้ทาการสื่อสารควรมีความ ต้องการที่จะบอกกล่าวหรือชี้แจงข่าวสาร
เรื่องราว เหตุการณ์ หรือสิ่งอื่นใดให้ผู้รับสารได้รับทราบ
2. เพื่ อสอนห รือให้กา รศึก ษา ( teach or education)
ผู้ทาการสื่อสารอาจมีวัตถุประสงค์เพื่อจะ ถ่ายทอดวิชาความรู้
ห รื อ เ รื่ อ ง ร า ว เ ชิ ง วิ ช า ก า ร
เพื่อให้ผู้รับสารได้มีโอกาสพัฒนาความรู้ให้เพิ่มพูนยิ่งขึ้น
3. เพื่อสร้างความพอใจหรือให้ความบันเทิง (please of
entertain) ผู้ ท า ก า ร สื่ อ ส า ร อ า จ
ใ ช้ วัต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ใ น ก า ร สื่ อ ส า ร เ พื่ อ ส ร้ า ง ค ว า ม พ อ ใ จ
หรือให้ความบันเทิงแก่ผู้รับสาร โดยอาศัยสารที่ตนเองส่งออกไป
ไม่ว่าจะอยู่ในรูปของการพูด การเขียน หรือการแสดงกิริยาต่าง ๆ
4. เ พื่ อ เ ส น อ ห รื อ ชัก จู ง ใ จ ( Propose or persuade)
ผู้ทาการสื่อสารอาจใช้วัตถุประสงค์ใน การสื่อสารเพื่อให้ข้อเสนอแนะ
7
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร, หลักในการสื่อสาร,[ออนไลน์],แหล่งที่มา :
http://www.ipesp.ac.th/learning/thai/chapter1-3.html, [12 ธันวาคม
2559].
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๑๑
ห รื อ ชั ก จู ง ใ จ ใ น สิ่ ง ใ ด สิ่ ง ห นึ่ ง ต่ อ ผู้ รั บ ส า ร
แ ล ะ อ า จ ชั ก จู ง ใ จ ใ ห้ ผู้ รั บ ส า ร มี ค ว า ม คิ ด ค ล้ อ ย ต า ม
หรือยอมปฏิบัติตามการเสนอแนะของตน
5. เ พื่ อ เ รี ย น รู้ ( learn)
วัตถุประสงค์นี้มีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับผู้รับสาร การแสวงหาความรู้
ข อ ง ผู้ รั บ ส า ร โ ด ย อ า ศั ย ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ส า ร
ในกรณี นี้ มักจะเป็ นสารที่มีเนื้ อห าสาระเกี่ย วกับวิช าความรู้
เป็นการหาความรู้เพิ่มเติมและเป็นการทาความเข้าใจกับเนื้อหาของสาร
ที่ผู้ทาการสื่อสารถ่ายทอดมาถึงตน
6. เ พื่ อ ก ร ะ ท า ห รื อ ตัด สิ น ใ จ ( dispose or decide)
ในการดาเนินชีวิตของคนเรามี สิ่งหนึ่งที่ต้องกระทา อยู่เสมอก็คือ
การตัดสินใจกระทาการอย่างใด อย่างหนึ่ง ซึ่งการตัด สิน ใจ
นั้ น อ า จ ไ ด้ รั บ ก า ร เ ส น อ แ น ะ
หรือชักจูงใจให้กระทาอย่างนั้นอย่างนี้จากบุคค ลอื่นอยู่เ ส มอ
ทางเลือกในการ ตัดสินใจของเราจึงขึ้นอยู่กับข้อเสนอแนะนั้น8
3.3 ประเภทของการสื่อสาร
ก า ร สื่ อ ส า ร ภ า ย ใ น บุ ค ค ล ( Intrapersonal
Communication) ก า ร คิ ด ห รื อ จิ น ต น า ก า ร กั บ ตั ว เ อ ง
เป็นการคิดไตร่ตรองกับตัวเอง ก่อนที่จะมีการสื่อสาร ประเภทอื่นต่อไป
ก า ร สื่ อ ส า ร ร ะ ห ว่ า ง บุ ค ค ล ( Interpersonal
Communication) ก า ร ที่ บุ ค ค ล ตั้ ง แ ต่ 2
คนขึ้นไปมาทาการสื่อสารกันอย่างมีวัตถุประสงค์ เช่นการพูดคุย
ปรึกษาหารือในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
ก า ร สื่ อ ส า ร ก ลุ่ ม ย่ อ ย ( Small- group)
Communication)การสื่อสารที่มีบุคคลร่วมกันทาการสื่อสารเพื่อทากิจ
กรรมร่วมกันแต่จานวนไม่เกิน 25 คน เช่นชั้นเรียนขนาดเล็ก
ห้องประชุมขนาดเล็ก
8
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร, วัตถุประสงค์ของการสื่อสาร,[ออนไลน์],
แหล่งที่มา : http://www.ipesp.ac.th/learning/thai/chapter1-3.html, [12
ธันวาคม 2559].
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๑๒
ก า ร สื่ อ ส า ร ก ลุ่ ม ใ ห ญ่ ( Large- group
Communication) ก า ร สื่ อ ส า ร ร ะ ห ว่ า ง ค น จ า น ว น ม า ก
เ ช่ น ภ า ย ใ น ห้อ ง ป ร ะ ชุ ม ใ ห ญ่ โ ร ง ภ า พ ย น ต ร์ โ ร ง ล ะ ค ร
ชั้นเรียนขนาดใหญ่
ก า ร สื่ อ ส า ร ใ น อ ง ค์ ก ร ( Organization
Communication)การสื่อสารระหว่างสมาชิกภายในหน่วย งาน
เพื่อปฏิบัติงานให้สาเร็จลุล่วง เช่นการสื่อสารระหว่าเพื่อนร่วมงาน
เจ้านายกับลูกน้อง
การสื่อสารมวลชน(Mass Communication)
การสื่อสารกับค นจานวนมากในห ลาย ๆพื้ นที่พร้อมกัน
โดยใช้สื่อมวลชน เช่น หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วิทยุกระจายเสียง
วิ ท ยุ โ ท ร ทั ศ น์ เ ป็ น สื่ อ ก ล า ง
เหมาะสาหรับการส่งข่าวสารไปยังผู้คนจานวนมากๆในเวลาเดียวกัน
ก า ร สื่ อ ส า ร ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ( International
Communication)การสื่อสารระหว่างบุคคลที่มีความแตกต่างกันใน
เชื้อชาติภาษา วัฒนธรรม การเมืองและสังคม เช่นการสื่อสารทางการทูต
การสื่อสารเจรจาต่อรองเพื่อการทาธุรกิจ
3.4 อุปสรรคในการสื่อสาร
อุ ป ส ร ร ค ใ น ก า ร สื่ อ ส า ร ห ม า ย ถึ ง
สิ่งที่ทาให้การสื่อสารไม่บรรลุตามวัต ถุประสงค์ ของผู้สื่อสาร
แ ล ะ ผู้ รั บ ส า ร
อุปสรรคในการสื่อสารอาจเกิดขึ้นได้ทุกขั้นตอนของกระบวนการสื่อสาร
ดังนั้นอุปสรรค ในการสื่อสารจากองค์ประกอบต่าง ๆ ดังนี้
1. อุปสรรคที่เกิดจากผู้ส่งสาร
1. 1
ผู้ส่งสารขาดความรู้ความเข้าใจและข้อมูลเกี่ยวกับสารที่ต้องการจะสื่อ
1.2 ผู้ส่งสารใช้วิธีการถ่ายทอดและการนาเสนอที่ไม่เหมาะสม
1.3 ผู้ส่งสารไม่มีบุคลิกภาพที่ไม่ดี และไม่เหมาะสม
1.4 ผู้ส่งสารมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อการส่งสาร
1.5 ผู้ส่งสารขาดความพร้อมในการส่งสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๑๓
1.6 ผู้ส่งสารมีความบกพร่องในการวิเคราะห์ผู้รับสาร
2. อุปสรรคที่เกิดจากสาร
2.1 สารไม่เหมาะสมกับผู้รับสาร อาจยากหรือง่ายเกินไป
2.2 สารขาดการจัดลาดับที่ดี สลับซับซ้อน ขาดความชัดเจน
2.3 สารมีรูปแบบแปลกใหม่ยากต่อความเข้าใจ
2.4 สารที่ใช้ภาษาคลุมเครือ ขาดความชัดเจน
3. อุปสรรคที่เกิดขึ้นจากสื่อ หรือช่องทาง
3.1 การใช้สื่อไม่เหมาะสมกับสารที่ต้องการนาเสนอ
3.2 การใช้สื่อที่ไม่มีประสิทธิภาพที่ดี
3.3 การใช้ภาษาที่ไม่เหมาะสมกับระดับของการสื่อสาร
4. อุปสรรคที่เกิดจากผู้รับสาร
4.1 ขาดความรู้ในสารที่จะรับ
4.2 ขาดความพร้อมที่จะรับสาร
4.3 ผู้รับสารมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อผู้ส่งสาร
4.4 ผู้รับสารมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อสาร
4.5 ผู้รับสารมีความคาดหวังในการสื่อสารสูงเกินไป9
4 .
เทคนิคการสื่อสารเพื่อการสอนธรรมะและจรรโลงพระพุทธศาส
นา
ห ล า ย ท่ า น มี ค ว า ม รู้ ท า ง ธ ร ร ม สู ง
มี จิ ต ป ร า ร ถ น า ช่ ว ย เ ผ ย แ พ ร่ ธ ร ร ม ะ ใ น พุ ท ธ ศ า ส น า
บ า ง ท่ า น เ ท ศ น์ เ ก่ ง ค น ช อ บ ฟั ง แ ต่ ไ ม่ ท า ใ ห้ ค น บ ร ร ลุ
บทความฉบับนี้จึงขอนาเสนอวิธีแก้ดังนี้
9
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร, อุปสรรคในการสื่อสาร,[ออนไลน์], แหล่งที่มา
: http://www.ipesp.ac.th/learning/thai/chapter1-3.html, [12 ธันวาคม
2559].
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๑๔
4.1 การสื่อสารเชิงเดี่ยว (การสอนตัวต่อตัว)
4.1.1 จากปุถุชน สู่ โสดาบัน
ก า ร สื่ อ ส า ร กั บ ปุ ถุ ช น ธ ร ร ม ด า
เพื่อหวังเปิ ดตาให้เห็นสัจธรรมแห่งโลก ให้ละความห ลง โล ก
มี จิ ต ต ร ง ต่ อ นิ พ พ า น อ ย่ า ง ไ ม่ มี ข้ อ ส ง สั ย
จนนาไปปฏิบัติจริงเท่าที่ทาได้อย่างเคร่งครัด (ไม่มีศีลพรตปรามาส) คือ
การสื่อสารเพื่อพัฒนาระดับจิตของปุถุชน ยกขึ้นสู่ระดับโสดาบันนั่นเอง
วิ ธี ก า ร สื่ อ ส า ร
จาต้องมุ่งเน้นไปในเรื่องความจริงของชีวิตในโลกมนุษย์ที่เห็นได้ง่ายๆ
เ ห ม า ะ กั บ ก า ร สั ง เ ก ต ด้ ว ย ต า เ ป ล่ า ข อ ง ปุ ถุ ช น เ ช่ น
ก า ร ท า ง า น ไ ด้ เ งิ น ม า ก ม า ย แ ต่ ไ ม่ มี ค ว า ม สุ ข เ ป็ น ต้ น
แ ล้ว น้ อ ม น า จิต เ ข้า สู่ค ว า ม สุ ข ส ง บ ท า ง ธ ร ร ม ใ น ท้าย ที่สุด
เ พื่ อ เ ปิ ด ท า ง ใ ห้ จิ ต พุ่ ง ต ร ง ต่ อ นิ พ พ า น ใ น ขั้ น นี้
พ ร ะ โ ส ด า บัน ไ ม่มี ท า ง เ ข้า ใ จ เ ล ย ว่า “ นิ พ พ า น คื อ อ ะ ไ ร ”
แ ต่ เ พ ร า ะ มี ค ว า ม ศ รั ท ธ า ใ น ธ ร ร ม
จิ ต น้ อ ม เ ห็ น ค ว า ม สุ ข ส ง บ ส งั ด ข อ ง ผู้ สื่ อ ส า ร
และเชื่อว่าสิ่งที่ผู้สื่อสารกล่าวถึงนั้น ดีกว่าสิ่งใดๆ ทางโลกอย่างแน่นอน
ผู้สื่ อ ส า ร จ า ต้อ ง มี พ ลัง ค ว า ม คิด ส ร้า ง ส ร ร ค์ พ ลัง เ ชิ ง บ วก
พลังแห่งความสุขสงบ และเมตตาปราณีอย่างสูง จึงจะน้อมนาจิตผู้ฟัง
ย กเข้าสู่ระดับที่เห นื อจากค วามห ลงโลกได้ ไม่เช่นนั้นแล้ว
จิตผู้ฟังจะตกลงไปสู่การเบื่อโลก และเข้าสู่ห้วงแห่งความทุกข์
แ ล ะ ก ล า ย เ ป็ น ก า ร ม อ ง โ ล ก ใ น แ ง่ ร้ า ย ไ ป
การสื่อสารร ะดับนี้ จึงค ล้าย กา รข าย ต ร งที่ มีศิล ปะ อย่ า ง สู ง
ม า ก ก ว่ า จ ะ เ ป็ น ก า ร ตั ด ก า ร ล ะ ก า ร ป ล่ อ ย ว า ง
เ พ ร า ะ ยั ง ไ ม่ มี ก า ร ต่ อ สู้ กั บ กิ เ ล ส แ ต่ อ ย่ า ง ใ ด
เพี ย งแค่น้อมนาจิต ผู้ฟังให้มีจุด มุ่งห มาย สูงสุด ข องชี วิต คือ
ค ว า ม พ้ น ไ ป จ า ก ก า ร เ วี ย น ว่ า ย ต า ย เ กิ ด เ ท่ า นั้ น เ อ ง
ซึ่งการพ้นจากเวียนว่ายตายเกิดก็คือลักษณะของนิพพานอย่างหนึ่ง
โทนของการสื่อสารจะมีกึ่งแรกที่เต็มไปด้วยความน่าเบื่อของโลก
แ ล ะ กึ่ง ห ลัง ที่ แ ฝ ง ด้ว ย ค ว า ม สุ ข ส ง บ ข อ ง อ า ร ม ณ์ นิ พ พ าน
ที่ผู้ฟังไม่อาจเข้าถึงได้ แต่สังเกตได้จากผู้พูดที่มีพลังในการน้อมนาจิต
มี ค ว า ม เ ม ต ต า มี จิ ต ส ง บ ส งั ด
มีความเชื่อมั่นศรัทธาอันแรงกล้าในสิ่งที่พูดนั้น
4.1.2 จากโสดาบัน สู่ สกิทาคามี
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๑๕
การสื่อสารกับพระโสดาบันเพื่ อยกระดับจิตสู่สกิทาคามี คือ
การเชื้อเชิญ กระตุ้น เร้าพลังความกล้าหาญในการเข้าตู่กรกับกิเลส
ดุจดังเช่น การปลุกใจทหารหาญ ให้โรมรันกับศัตรูในสนามรบนั่นเอง
ป ก ติ แ ล้ ว พ ร ะ โ ส ด า บั น
ทราบดีถึงจุดมุ่งหมายสูงสุดของชีวิตว่าคือนิพพานไม่หลงโลกก็จริง
แ ต่ไ ม่อ า จ เ อ า ช น ะ กิ เ ล ส ไ ด้ จึง มี วิถี ชี วิต ดั่ ง ปุ ถุ ช น ป ก ติ
เ ค ล้ า ค ลึ ง ด้ ว ย กิ เ ล ส เ ป็ น นิ ต ย์
ก า ร ย ก ร ะ ดั บ จิ ต ข อ ง พ ร ะ โ ส ด า บั น สู่ ส กิ ท า ค า มี
จึงต้องเล็งกาลอันควรว่าพระโสดาบันนั้นมีความพร้อมจริงที่จะออกสู่สน
า ม ร บ ห า ไ ม่ เ ช่ น นั้ น แ ล้ ว จ ะ เ กิ ด ก า ลั ง ใ จ ท้ อ ถ อ ย
แ ล ะ จิ ต ต ก จ า ก ร ะ ดั บ เ ดิ ม ล ง สู่ ค ว า ม เ ศ ร้ า ห ม อ ง
ทาให้การฝึ กจิตในอนาคตยากขึ้นอีกด้วย การสื่อสารในระดับนี้
ไม่ใช่การ “ขายตรง” อีกต่อไป เพราะไม่ได้แค่ซื้อความคิดกันเท่านั้น
แ ต่ต้อ ง มี ก า ร ป ฏิบัติเ พื่ อ ต่อ สู้กับ จิต ใ จ ต น เ อง ด้ว ย ดัง นั้ น
จึ ง มี ลั ก ษ ณ ะ ก า ร สื่ อ ส า ร เ ห มื อ น “ โ ค้ ช ”
ที่ปลุกเร้าขวัญกาลังใจให้นักกีฬามีพลังใจในการเอาชนะสถิติตนเองได้ฉ
ะ นั้ น
จาต้องมีอุบายอันแยบคายและแยบยลพอที่จะปลุกพลังใจของพระโสดาบั
นได้ (อนึ่ง ลักษณะของพระโสดาบัน คือ จะมุ่งตรงนิพพานชัดเจน
แ ต่ ก ลั บ ไ ม่ มี ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ที่ แ ท้ จ ริ ง ยั ง มี กิ เ ล ส อ ยู่
มี จิ ต ที่ เ ศ ร้ า ห ม อ ง ไ ม่ ผ่ อ ง ใ ส อ ยู่ )
เ มื่ อ พ ร ะ โ ส ด า บัน มี ร ะ ดับ จิ ต เ ข้ า สู่ พ ร ะ ส กิ ท า ค า มี แ ล้ว
จ ะ เ ริ่ม มี ก า ลัง ใ จ ที่ จ ะ ต่อ สู้กับ ตัว ทุ ก ข์ ห รื อ เ ห ตุ แ ห่ง ทุ กข์
ซึ่ ง ก็ คื อ กิ เ ล ส นั่ น เ อ ง ช่ ว ง นี้
จะต้องประกบเคีย งข้างอยู่ต ลอดเพื่ อเป็ นกาลังใจในช่วง แร ก
ซึ่งพระสกิทาคามีจะพ่ายแพ้กิเลสบ่อยมาก และอาจท้อถอย ได้
จึ ง ค ว ร ค อ ย ดู แ ล ร ะ ย ะ ห นึ่ ง เ มื่ อ ผ่ า น จุ ด เ สี่ ย ง แ ล้ ว
พ ร ะ ส กิ ท า ค า มี จ ะ เ ริ่ ม ไ ด้ ชั ย ช น ะ กิ เ ล ส บ้ า ง แ พ้ บ้ า ง
เ ริ่ ม ส นุ ก ที่ จ ะ ต่ อ สู้ กั บ กิ เ ล ส ต่ อ ไ ป ช่ ว ง นี้
จะสังเกตว่าจิตใจเริ่มผ่องใสเหมือนนักกีฬาที่เริ่มแข่งขันชนะบ้างแล้วฉะ
นั้ น เ ริ่ ม มี จิ ต ห้ า ว ห า ญ ม า ก ขึ้ น
ก็ให้ท่านประคองจิตอยู่ด้วยความไม่ประมาท จึงค่อยละการดูแลออกได้
จิตพระสกิทาคามีก็จะทรงระดับเดิมได้ไม่ตกลงไปสู่โสดาบัน
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๑๖
4.1.3 จากสกิทาคามี สู่ อนาคามี
การสื่อสารกับพ ระสกิทาคามีเพื่ อย กระดับจิตสู่อน าค า มี
ล้วนมุ่งไปในเรื่องการฝึ กจิตเอาชนะกิเลสได้อย่างราบคาบแท้จริง
แต่ไม่ใช่ถาวร คือ ชนะแน่นอนในขณะที่ใช้กรรมฐานเท่า นั้น
เ ป็ น ชั ย ช น ะ แ บ บ ชั่ ว ค ร า ว
ในกรณีของพระสงฆ์เรามองภายนอกแทบไม่เห็นกิเลสของพระอนาคามี
เ ล ย เ พ ร า ะ วี ถี ชี วิ ต ที่ ส ง บ ข อ ง ท่ า น นั่ น เ อ ง
แ ต่ ส า ห รั บ พ ร ะ อ น า ค า มี ที่ เ ป็ น ปุ ถุ ช น แ ล้ ว
จ ะ เ ห็ น ว่ า ท่ า น ยั ง มี กิ เ ล ส บ า ง ตั ว ที่ ชั ด อ ยู่ เ ช่ น
กินเหล้าแต่กินในระดับที่มีสติปัญญาประคองอยู่, เสพกามแต่ไม่ผิดศีล
ในวิถีชีวิตปุถุชนนี้พระอนาคามีจะมีความแตกต่างจากพระสงฆ์ที่บรรลุธ
ร ร ม ร ะ ดั บ อ น า ค า มี ด้ ว ย อ า ก า ร อ ย่ า ง นี้
โ ป ร ด อ ย่ า ยึ ด มั่ น ท่ อ ง จ า เ อ า ว่ า พ ร ะ อ น า ค า มี ไ ม่ มี กิ เ ล ส
เพราะผู้ที่ไม่มีกิเลสจริงเลยมีเพียงพระอรหันต์เท่านั้น พระอนาคามีนั้น
มี กิ เ ล ส เ บ า บ า ง ม า ก ก็ จ ริ ง
แต่การแสดงออกของท่านแตกต่างกันขึ้นอยู่กับเป็ นเพศฆราวาสหรือบร
รพชิต ดังกล่าวข้างต้นแล้ว ยังมีอีกหลายกรณีและหลายเหตุผล
ใ น ก า ร สื่ อ ส า ร นี้
จะมุ่งเน้นที่การปฏิบัติกรรมฐานเพื่ อเอาชนะกิเลสเป็ น สา คัญ
จึ ง ไ ม่ อ อ ก น อ ก เ รื่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น ห รื อ ก า ร ฝึ ก จิ ต เ ล ย
การสื่อสารจะมุ่งเน้นแก้ไขแนวทางกรรมฐานของพระสกิทาคามีที่ยังไม่
ถู ก ต้ อ ง นั ก ยั ง ไ ม่ ต ร ง ท า ง นั ก
เ พื่ อ เ อ า ช น ะ กิเ ล ส ไ ด้ อ ย่ า ง แ น่ น อ น ใ น แ ต่ล ะ ข ณ ะ ๆ ไ ป
(ไม่ใช่ชนะแบบถาวร) และไม่มุ่งเน้นการสื่อสารเพื่อปัญญาแจ้งในธรรม
ในนิพพาน เพราะอินทรีย์ยังไม่พร้อมนัก ในขั้นนี้ จะฝึกจิตอย่างมาก
และมุ่งที่การพัฒนาอินทรีย์ห้าเป็นสาคัญ คือ สติ, สมาธิ, ปัญญา, ศรัทธา,
วิริยะ
4.1.4 จากอนาคามี สู่ อรหันต์
การสื่อสารกับพ ระอนาค ามีเพื่ อย กระดับจิต สู่อ ร หัน ต์
ล้วนมุ่งไปในเรื่องการฝึ กจิตเอาชนะกิเลสได้อย่างถาวรแท้จริง
ซึ่งมุ่งไปสู่การตีธรรมให้แตกอย่างลึกซึ้ง หรือการเอาชนะกิเลสตัวสุดท้าย
อุปมาเหมือนไก่กับไข่อะไรเกิดก่อนกัน กล่าวคือ หากรู้แจ้งได้ก่อน
ก็หลุดจากกิเลสได้ถาวร หรือหลุดจากกิเลสได้ถาวรก็จะรู้แจ้งตามมา
กระบวนการนี้เกิดขึ้น อุปมาเหมือนไก่กับไข่อะไรเกิดก่อนกันนั่นเอง
ดังนั้น การสื่อสารจึงมีสองวิธีหลักๆ คือ วิธีเข้าถึงธรรมด้วยปัญญา
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๑๗
ที่เรียกว่า “ปัญญาวิมุติ” จะมุ่งเน้นการตีธรรมให้แตกฉาน รู้แจ้งในธรรม
ในนิพพาน จนจิตคลายกิเลสได้หมดตามมาเองโดยอัต โน มัติ
และวิธีที่สองคือ การเข้าถึงธรรมด้วยจิต ที่เรียกว่า “เจโตวิมุติ”
จะมุ่งเน้นการขจัดกิเลสให้หมดไป จนจิตแจ้งในธรรม ในนิพพานเอง
การจะใช้วิธีใดขึ้นอยู่กับผู้สื่อสารและผู้รับสาร ว่าฝึกฝนมาในแบบใด
มีอินทรีย์ ที่พ ร้อ ม เอื้ อไ ป ทาง ใด กล่าวคือ ถ้ามีปัญญ า ม า ก
ฝึ กจิต น้อย แต่อดีต ช า ติมี ส มาธิ ทา มาดี ก็ใช้ “ปัญญา วิมุ ติ ”
แต่ถ้ามีการฝึ กจิต มามาก แต่ปัญญาน้อย ก็ใช้ “เจโต วิมุติ”
ใ น ก า ร เ ข้ า ถึ ง ธ ร ร ม ใ น ขั้ น นี้
จะต้องตรวจดูอินทรีย์ห้าประการว่ามีความพร้อมในการรับธรรมระดับอ
ร หั น ต์ ห รื อ ไ ม่ เ มื่ อ พ ร้ อ ม แ ล้ ว จึ ง เ ข้ า ช่ ว ย เ ห ลื อ
ใ น ก า ร เ ข้ า ช่ ว ย เ ห ลื อ ก็ จ ะ ใ ช้ ก า ร เ ท ศ น า ธ ร ร ม ไ ม่ม า ก
เพียงแค่จัดการสิ่งที่ขัดขวางหรือติดขัดอยู่เพียงเล็กน้อยเท่านั้น
ที่เหลือคือผู้ฟังจะเข้าถึงด้วยตัวของเขาเอง ในขั้นนี้ ผู้ฟังคือผู้ปฏิบัติ
เป็ นปัจจัต ตัง เวทิตัพ โพ วิญญูหิติ ไม่อาจเทศ นาให้แจ้งได้
แม้ผู้สื่อสารจะทราบก็ตาม ดังนั้น การสื่อสารในลักษณะนี้ จึงหนักไปทาง
“ ป ริ ศ น า ธ ร ร ม ” ที่ ช ว น ข บ คิ ด เ ป็ น ส า คั ญ
ผู้สื่อสารจึงควรมีทักษะและพลังแห่งความสร้างสรรค์ที่สามารถกระตุ้นค
วามอยากรู้ อยากค้นหาด้วยตนเองอย่างสูงที่สุดให้แก่ผู้ฟัง คือ
พลังแห่งการตรัสรู้ หรือค้นพบด้วยตนเอง
4.1.5 แบบข้ามระดับขั้น
ไม่จาเป็นเสมอไปว่าผู้ฟังธรรมจะต้องบรรลุตามขั้นตอนเป็ นขั้นๆ
ไป สามารถบรรลุข้ามขั้นได้ เช่น จากปุถุชนสู่อรหันต์ ทัน ที ,
จ า ก โ ส ด า บั น สู่ อ น า ค า มี ทั น ที ฯ ล ฯ
สิ่ง เ ห ล่า นี้ เ กิด ขึ้น ไ ด้เ ส ม อ ร ะ ห ว่า ง ก า ร สื่ อ ส า ร ท า ง ธ ร ร ม
แต่ปัจจุบันหาได้ยากมาก เพราะวิถีปุถุชนละทิ้งจากวรรณะพราหมณ์แล้ว
การฝึ กจิตอย่างเป็ นปกติวิสัยจึงหายไปจากวิถีชีวิตของ ปุถุ ช น
การที่จะพัฒนาข้ามขั้นได้จึงยากมาก แต่ให้ผู้สื่อสารธ รรมะ
เข้าใจไว้ด้วยว่าการบรรลุข้ามขั้นนั้นเป็นเรื่องปกติธรรมดาอย่างหนึ่งเห
มือนกันที่จะเกิดได้กับคนในปัจจุบัน
4.2 การสื่อสารเชิงกลุ่มที่มีความคล้ายคลึงกัน
เป็ นการสื่อสารที่มีการคิดวางแผนและวิเคราะห์กลุ่มผู้ฟังอย่างดีแล้ว
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๑๘
เ ช่ น ก า ร ท า โ ฆ ษ ณ า เ ฉ พ า ะ ก ลุ่ ม แ ล ะ สื่ อ ที่ ใ ช้ เ ป็ น ต้ น
ท า ใ ห้ ส า ม า ร ถ เ ลื อ ก สื่ อ ส า ร ไ ด้ ว ง ก ว้ า ง
แตกต่างจากสมัยการเผยแพร่ธรรมในอดีต เราสามารถเลือกกลุ่มผู้ฟังได้
เ ช่ น
การชักชวนกลุ่มพระโสดาบันเข้ามาฟังการบรรยายพร้อมกันในคราวเดี
ย ว เ ป็ น ต้ น ใ น ก า ร สื่ อ ส า ร ร ะ ดั บ นี้
แน่นอนว่าสื่อและสารที่ใช้น่าจะคล้ายคลึงกันเพราะกลุ่มผู้ฟังมีระดับภูมิจิ
ตเท่ากัน แต่เมื่อบรรยายไปเรื่อยๆ ความแตกต่างระหว่างบุคคลก็เกิดขึ้น
คื อ บ า ง ท่ า น พั ฒ น า จิ ต ต า ม ไ ด้ ช้ า แ ล ะ เ ร็ ว ต่ า ง กั น
การแสดงธรรมให้กลุ่มคนฟังจานวนมาก แม้มีระดับภูมิธรรมเท่ากัน
มี เ นื้ อ ห า ก า ร สื่ อ ส า ร เ ดี ย ว กั น
จึ ง ยั ง ต้ อ ง เ ผื่ อ ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ท า ง บุ ค ค ล ไ ว้ ด้ ว ย
ค ว ร รู้ จั ง ห ว ะ ที่ เ ปิ ด ใ ห้ เ กิ ด ก า ร สื่ อ ส า ร ส อ ง ท า ง
เพื่ อแก้ไข ค วามแตกต่างระห ว่างบุคค ล บุค ค ลใด ที่ไม่เข้าใจ
หรือตามไม่ทัน สามารถถามเพิ่มเติมได้ บุคคลใดที่คิดได้เร็วกว่า
ก็ ส า ม า ร ถ ถ า ม ค า ถ า ม เ ฉ พ า ะ ต น ไ ด้
ก า ร สื่ อ ส า ร เ ชิ ง ก ลุ่ ม จึ ง มี ค ว า ม ย า ก ขึ้ น ม า อี ก ร ะ ดับ ห นึ่ ง
แ ล ะ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ค า ด ห วั ง ผ ล ร า ย บุ ค ค ล ไ ด้
จาต้องประเมินผลเหมือนการหว่านเมล็ดพืชฉะนั้น
4.3 การสื่อสารเชิงกลุ่มที่มีความแตกต่างกัน
ก า ร สื่ อ ส า ร ที่ ย า ก ขึ้ น ม า อี ก ร ะ ดั บ คื อ
การสื่อสารเชิงกลุ่มที่มีความซับซ้อน คือ มีภูมิจิตที่แตกต่างกัน
เ นื้ อ ห า ก า ร สื่ อ ส า ร อ า จ ไ ม่ เ ฉ พ า ะ เ จ า ะ จ ง ใ น เ รื่ อ ง เ ดี ย ว
บางครั้งจาต้องไล่เรียงจากต่าไปสูงเพื่อให้ทุกระดับจิตสามารถได้ประโย
ชน์ทั่วถึงกัน การหวังผลทาได้น้อย เพราะความไม่เฉพาะเจาะจงนี่เอง
บ า ง ค รั้ง อ า จ ต้อ ง ว น ร อ บ ป รับ ร ะ ดับ ธ ร รม ก ลับ ไ ป ม า คื อ
ถ อ ย ร ะ ดั บ ธ ร ร ม ล ด ล ง ห รื อ เ พิ่ ม ขึ้ น
กลับไปกลับมาเพื่อช่วย กลุ่มผู้ฟังที่มีค วามแต กต่างกันนั่ นเ อง
ใ น ก า ร สื่ อ ส า ร ก ร ณี นี้
ควรเปิดให้มีการสื่อสารในลักษณะสองทางมากกว่าการสื่อสารทางเดียว
ดังนั้น การใช้สื่อจึงมักไม่ค่อยได้ผลเท่ากับการสื่อสารผ่านตัวบุคคล
4.4 ข้อควรระวังในการสื่อสารเพื่อสอนธรรม
4.4.1 ต้องแน่ใจว่าการสื่อสารนั้นเป็ นธรรมแท้จริง
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๑๙
บ า ง ท่ า น มั ก สื่ อ ส า ร โ ด ย ใ ช้ ค า ว่ า “ นิ พ พ า น ”
มาโฆษณาเหมือนสินค้าชนิดหนึ่ง แต่ไม่เข้าใจว่านิพพานคืออะไร
ไ ม่เ ข้า ใ จ ว่า เ ป็ น ก า ร พ้ น ไ ป จ า ก ก า ร เ วี ย น ว่า ย ต า ย เ กิ ด
เ พ ร า ะ เ ห็ น ทุ ก ข์ ข อ ง โ ล ก เ ห ตุ โ ท ษ ข อ ง ค ว า ม ห ล ง
มัวแต่พูดนอกเรื่องเอาใจคนให้คนอยากฟัง กลายเป็ น “ทอลกโชว์”
แล้วเกรงว่าจะมีผู้ครหานินทาก็เอาคาว่า “นิพพาน” มาใส่เสียเฉยๆ
อ ย่ า ง นั้ น แ บ บ นี้ ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง
เพราะไม่ทาให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้องในธรรมเลย
4.4.2 ต้องไม่ทาให้ผู้ฟังจิตตกทุกข์
เป็ นการเ สี่ย ง ม า กห า ก ไ ม่วิเ ค ร า ะห์ อินท รีย์ ข อ ง ผู้ฟั ง
ใ น ก า ร ถ่ า ย ท อ ด ธ ร ร ม ที่ มุ่ ง เ น้ น ก า ร เ บื่ อ ห น่ า ย โ ล ก นั้ น
อันส่งผลทางจิตวิทยาให้เกิดภาวะซึมเศร้าและการตกทุกข์ของผู้ฟังได้
นี่ก็ไม่ช่วยให้เกิดการบรรลุธรรมเพราะจิตที่เศร้าหมองไม่ผ่องใสไม่อาจเ
ป็ น ฐ า น ข อ ง ปั ญ ญ า ไ ด้ นั่ น เ อ ง ดั ง นั้ น
จาต้องถ่ายทอดธรรมพร้อมยกระดับจิตให้ผู้ฟังมีจิตสงบผ่องใสด้วย
4.4.3 ต้องไม่ทาให้ผู้ฟังหลงทาง
ห ล า ย ท่ า น เ อ า ธ ร ร ม ะ ไ ป ท า ใ ห้ ผิ ด เ พี้ ย น
หวังประโยชน์สุขเพียงปัจจุบัน เป็นแค่สุขทางโลกที่ได้เพราะความสงบ
ห รือได้เพ ราะการเข้าสังค มแก้เห งาที่ถูกจริต ต นไปเท่า นั้ น
โ ด ย ที่ ต น ไ ม่ ท ร า บ เ ล ย ว่ า ก า ลัง บิ ด เ บื อ น ธ ร ร ม ะ อ ยู่
ด้วยคิดไปว่าการออกบวชการอ่านธรรมะก็เข้าใจนั้นคือการบรรลุธรรม
แล้ว จึงได้สื่อสารผิดไป ยังผลให้ผู้คนหลงทางไม่บรรลุอะไรเลย
มี ค ว า ม ป ร ะ ม า ท ใ น ชี วิต คิด ว่า ภ า ว ะ ที่ ต น อ ยู่ นั้ น ดี แ ล้ ว
ไม่พ้นได้จากค วา ม ทุ กข์แ ท้จริง ผู้สื่อสารจะรับ ก ร ร ม ม า ก
จ า ต้ อ ง สื่ อ ส า ร ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม กับ ร ะ ดับ ภู มิ ธ ร ร ม ข อ ง ต น
แ ล ะ ต้อ ง บ ร ร ลุ ธ ร ร ม จ ริง ๆ ไ ม่ค ว ร ห ล ง กับ ค า ว่า “ คุ รุ ”
หากตนไม่แน่ใจว่าจะถ่ายทอดธรรมได้จริง10
10
ranking,
เทคนิคการสื่อสารเพื่อการสอนธรรมะและจรรโลงพระพุทธศาสนา,[ออนไลน์],
แหล่งที่มา :
http://oknation.nationtv.tv/blog/buddhabath/2008/06/21/entry-4, [12
ธันวาคม 2559].
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๒๐
5. พุทธวิธีในการสื่อสารของพระพุทธเจ้า
พุ ท ธ วิ ธี ใ น ก า ร สื่ อ ส า ร ข อ ง พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า
พ ร ะ อ ง ค์ ใ ช้ รู ป แ บ บ ที่ แ ต ก ต่ า ง กั น ทั้ ง นี้
เ พ ร า ะ พ ร ะ ป รี ช า ญ า ณ ข อ ง พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า
ท ร ง เ ข้ า ใ จ ห ลั ก ท ฤ ษ ฎี ใ น ก า ร สื่ อ ส า ร เ ป็ น อ ย่ า ง ดี
พระองค์จะสื่อสารเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาซึ่งพระองค์ทรงรู้วิธีกา
รวิเคราะห์ทฤษฎีองค์ประกอบของการสื่อสารได้อย่างแตกฉาน
ดังนั้นเพื่อความเข้าใจและศึกษาในทฤษฎีการสื่อสารกับพระพุทธ
ศ า ส น า ที่ มี พุ ท ธ วิ ธี ใ น ก า ร สื่ อ ส า ร ไ ด้ อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง
ในบทนี้เราจะศึกษาตามทฤษฎีองค์ประกอบของการสื่อสารว่าพระพุทธศ
าสนามีพุทธวิธีการสื่อสารอย่างไรตามหลักขององค์ประกอบของการสื่อ
สาร ดังนี้
5.1 ผู้ส่งสาร (Sender)
ผู้ ส่ ง ส า ร ห ม า ย ถึ ง พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า พุ ท ธ ส า ว ก
พระสงฆ์ผู้ประกาศศาสนา หรือผู้ประกาศสัจธรรม
ผู้ ส่ ง ส า ร ต า ม แ น ว พุ ท ธ คุ ณ
พระพุทธเจ้าองค์ศาสดาของพระพุทธศาสนามีคุณสมบัติหรือมีพุทธคุณ
9 ประการ
1. อ ะ ร ะ หั ง เ ป็ น พ ร ะ อ ร หั น ต์ คื อ
เป็ นผู้บริสุทธิ์ไกลจา กกิเลสทาลา ยกา แพ งสังขา รจักรได้แล้ว
เป็นผู้ควรแนะนาสั่งสอนผู้อื่นควรได้รับความเคารพบูชา เป็นต้น
2. สัมมาสัมพุทโธ เป็นผู้ตรัสรู้ชอบเอง
3. วิชชาจะระณะสัมปันโน เป็ นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชา คือความรู้
และจรณะ คือความประพฤติ
4. สุ ค โ ต เ ป็ น ผู้ เ ส ด็ จ ไ ป ดี แ ล้ ว คื อ
ทรงดาเนินพ ร ะ พุ ท ธ จ ริย าใ ห้เ ป็ น ไ ปโด ย ส าเ ร็ จผ ล ด้ว ย ดี
พ ร ะ อ ง ค์ เ อ ง ก็ ไ ด้ ต รั ส รู้ ส า เ ร็ จ เ ป็ น พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า
ทรงบาเพ็ญพุทธกิจก็สาเร็จประโยชน์ยิ่งใหญ่แล้วแก่ชนทั้งหลายในที่ที่เส
ด็ จ ไ ป
และแม้ปรินิพพานแล้วก็ได้ประดิษฐานพระศาสนาไว้เป็ นประโยชน์แก่
มหาชนสืบมา
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๒๑
5. โ ล ก ะ วิ ทู เ ป็ น ผู้ รู้ แ จ้ ง โ ล ก คื อ
ทรงรู้แจ้งสภาวะอันเป็ นคติธรร มแห่งโลก คือสังขารทั้งห ลาย
ท ร ง ห ยั่ ง ท ร า บ อัธ ย า ศัย สัน ด า น แ ห่ ง สัต ว์ โ ล ก ทั้ ง ป ว ง
ผู้ เ ป็ น ไ ป ต า ม อ า น า จ แ ห่ ง ค ติ ธ ร ร ม โ ด ย ถ่ อ ง แ ท้
เป็นเหตุให้ทรงดาเนินพระองค์เป็นอิสระพ้นจากอานาจครอบงาธรรมดา
และทรงเป็นที่พึ่งแห่งตนอยู่ในกระแสโลกได้
6. อ นุ ต ต โ ร ปุ ริ ส ทั ม ม ส า ร ถิ
เ ป็ น ส า ร ถี ฝึ ก บุ รุ ษ ที่ ฝึ ก ไ ด้ ไ ม่ มี ใ ค ร ยิ่ ง ก ว่ า คื อ
ทรงเป็นผู้ฝึกคนได้ดีเยี่ยมไม่มีผู้ใดเทียมเท่า
7. สั ต ถ า เ ท ว ะ ม ะ นุ ส ส า นั ง
เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
8. พุ ท โ ธ เ ป็ น ผู้ ตื่ น แ ล ะ เ บิ ก บ า น แ ล้ ว คื อ
ทรงตื่นเองจากความเชื่อถือและข้อปฏิบัติทั้งหลายที่ถือกันมาผิดๆ
ด้ ว ย ท ร ง ป ลุ ก ผู้ อื่ น ใ ห้ พ้ น จ า ก ค ว า ม ห ล ง ง ม ง า ย ด้ ว ย
อ นึ่ ง เ พ ร า ะ ไ ม่ ติ ด ไ ม่ ห ล ง ไ ม่ ห่ ว ง กั ง ว ล ใ น สิ่ ง ใ ด ๆ
มี ก า ร ค า นึ ง ป ร ะ โ ย ช น์ ส่ ว น ต น เ ป็ น ต้ น
จึงมีพระทัยเบิกบานบาเพ็ญพุทธกิจได้ถูกต้องบริบูรณ์โดยถือธรรมเป็ นป
ระมาณการที่ทรงพระคุณสมบูรณ์เช่นนี้และส่งบาเพ็ญพุทธกิจได้เรียบร้
อยบริบูรณ์เช่นนี้ ย่อมอาศัยเหตุคือ ความเป็นผู้ตื่นและย่อมให้เกิดผล คือ
ทาให้เบิกบานด้วย
9. ภ ค ว า ท ร ง เ ป็ น ผู้ มี โ ช ค คื อ
จะส่งทาการใดก็ลุล่วงปลอดภัยทุกประการหรือเป็ นผู้จาแนกแจกธรรม
6. หลักการและวิธีการในการเผยแผ่
6.1 หลักการเผยแผ่ตามหลักพระพุทธศาสนา
พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า มี อ า ยุ ยื น ย า ว ม า ไ ด้ ห ล า ย พั น ปี
แ ส ด ง ถึ ง ว่ า มี ก า ร สื บ ท อ ด ก า ร ส อ น เ ผ ย แ ผ่
หรือการสื่อสารคาสอนของพระพุทธศาสนาไปยังพุทธศาสนิกชน
ด้วยวิธีการท่องจาแบบดั้งเดิม จนมาถึงการใช้เทคโนโลยีสารเทศ
อินเทอร์เน็ต เครือข่ายสังคมออนไลน์ในยุคนี้ เพื่อช่วยเผยแผ่
พระธรรมของพระพุทธศาสนาในโลกยุคปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาคภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาคAnchalee BuddhaBucha
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรีกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรีTheeraphisith Candasaro
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูPadvee Academy
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxแผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxssuser6a0d4f
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติAnchalee BuddhaBucha
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์native
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตThanawut Rattanadon
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
วันมาฆบูชา
วันมาฆบูชาวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชาThongsawan Seeha
 
พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา นารีรัตน์
พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา   นารีรัตน์พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา   นารีรัตน์
พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา นารีรัตน์Nareerat Keereematcharu
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 

Was ist angesagt? (20)

ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาคภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรีกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxแผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
 
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdfสรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิต
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
บทสวดมนต์
บทสวดมนต์บทสวดมนต์
บทสวดมนต์
 
วันมาฆบูชา
วันมาฆบูชาวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา
 
พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา นารีรัตน์
พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา   นารีรัตน์พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา   นารีรัตน์
พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา นารีรัตน์
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 

Ähnlich wie พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร

ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 
ภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสารภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสารJack Like
 
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารguestf16531
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555Panda Jing
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นGawewat Dechaapinun
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) niralai
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)Sarawut Sangnarin
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีPa'rig Prig
 

Ähnlich wie พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร (20)

ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
คำนำทำ1
คำนำทำ1คำนำทำ1
คำนำทำ1
 
ภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสารภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสาร
 
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
 

พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร

  • 1. พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร 1. ความนา เ มื่ อ พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า อุ บั ติ ขึ้ น ใ น โ ล ก นี้ พุ ท ธ จ ริ ย วั ต ร ข อ ง พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า คาสั่งสอนของพระองค์ได้ครอบคลุมถึงการสื่อสาร ทฤษฎีการสื่อสาร ข องมนุ ษย์ ในด้านกา รสื่อ สา ร การรับสาร การพู ด กา ร ฟั ง การได้ดูได้เห็นแบบอย่างทั้งพระพุทธเจ้าองค์ศาสดาและเหล่าสาวก โด ย การสื่อสาร ให้ได้เกิด ค วามรู้ทาง ปัญญา มีค วามเชื่ อ เป็นไปตามหลักทฤษฎีของการสื่อสารซึ่งหลักการสื่อสารเหล่านี้เกิดมาไ ม่ กี่ ร้ อ ย ปี ม า นี้ เ อ ง แ ต่ พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า เ ห ล่ า พ ร ะ ส า ว ก ตลอดจนพระธรรมที่เหล่าพรรดาพุทธบริษัทต่างยอมรับและสืบยึดถือปฏิ บั ติ ม า ต ร า บ ทุ ก วั น นี้ พระพุทธศาสนาได้เสนอหลักทฤษฎีการดาเนินชีวิตอย่างสงบสุข มีองค์ธรรมบารมีมากก็สามารถบาเพ็ญให้บรรลุเป้ าหมายสูงสุดคือ พระนิพพาน อันเป็ นการละหมดจดอย่างสิ้นเชิงจากอาสวะกิเลส เมื่อค วามรู้ที่เ ป็ นห ลักธ รรมนี้ ประเสริฐ ยิ่งนัก พ ระพุ ทธ เจ้า เห็นถึงประโย ช น์ อัน จะพึ งเ กิด แ ก่โ ลก จึงได้นาห ลัก ธ ร ร ม ที่ จ ะ พึ ง ป ฏิบัติไ ด้ ส า ธ ย า ย สื่ อถึง พุ ท ธ บ ริษัท ข อง พ ระองค์ ก า ร เ ส ด็ จ อุ บั ติ ขึ้ น ข อ ง พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า นั้ น จะมีปรากฏขึ้นได้ในโลกแต่ละครั้งแต่ละหน ย่อมเป็ นไปโดยยา ก ซึ่งต้องใช้ระยะเวลาอันยาวนานจึงจะมีสมเด็จพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุ ท ธ เ จ้ า เ ส ด็ จ ม า ต รั ส พ ร ะ อ ง ค์ ห นึ่ ง ที่ เ ป็ น เ ช่ น นี้ เ พ ร า ะ ก า ร ที่ จ ะ ม า ต รัส เ ป็ น พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า นั้ น จ ะ ต้ อ ง เ ป็ น บุ ค ค ล ส า คัญ ที่ เ รี ย ก ว่ า “ วิ สิ ฎ ฐ บุ ค ค ล ” คื อ เ ป็ น บุ ค ค ล ที่ พิ เ ศ ษ อ ย่ า ง ยิ่ ง ได้สร้างสมอบรมบ่มบารมีมาเพื่อพระปรมาภิเษกสัมมาสัมโพธิญาณ คือ เ พื่ อ จ ะ ต รั ส รู้ เ ป็ น พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า โ ด ย เ ฉ พ า ะ และพระบารมีนั้นได้อบรมบ่มบาเพ็ญมาเป็ นเวลานานหลายอสงไขย มหากัป จนถึงที่สุดแห่งพระบารมีที่เต็มเปี่ ยมแห่งพระโพธิญาณ จึ ง จ ะ เ ส ด็ จ ม า อุ บั ติ ขึ้ น ใ น โ ล ก ได้ต รัสเป็ นองค์สมเด็จพ ระสัมมาสัมพุ ทธ เจ้าบ รมโล ก น า ถ แล้วจึงทรงเมตตาประทานประโยชน์มหาศาลให้แก่สัตว์โลกทั้งหลาย ด้ว ย ก า ร แ น ะ น า ใ ห้ รู้จัก ห น ท า ง ห ลี ก พ้ น จ า ก วัฏ ส ง ส า ร ซึ่งเป็นภัยใหญ่แห่งชีวิตแต่ด้วยเพราะสรรพสัตว์ทั้งหลายถูกอวิชชาเข้าค
  • 2. พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๒ ร อ บ ง า จึงทาให้ไม่สามารถหยั่งรู้ถึงความน่ากลัวแห่งภัยในวัฏสงสารนั้นได้ ครั้นเมื่อพระพุทธเจ้าได้ทรงอุบัติตรัสรู้ขึ้นในโลกนี้แล้วได้ทรงพระเมตต าสั่งสอนให้มองเห็นภัยในวัฏสงสารนั้นแล้วปฏิบัติตามจนนาตนให้พ้นอ อกจากภัยใหญ่นั้นเข้าสู่แดนเกษมคือพระนิพพาน ดังนั้น “วิสิฎฐบุคคล” เ ช่ น พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า นั้ น จะมาปรากฏอุบัติขึ้นในโลกแต่ละพระองค์นั้นเป็นเรื่องยากเป็ นอย่างยิ่ง ดังพระบรมพุทธโอวาทที่ทรงแสดงไว้ว่า “ ก า ร อุ บั ติ บั ง เ กิ ด ขึ้ น แห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็ นสิ่งที่หาได้ยากในโลก”1 2 . ความหมายและความสาคัญของพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร 2.1 ความหมายของพระพุทธศาสนา คาว่า พระพุทธศาสนา ประกอบด้วยคาว่า พุทธะ ซึ่งแปลว่า ผู้รู้ กับคาว่า ศาสนา ที่แปลว่า คาสั่งสอน รวมกันเข้าเป็ น พุทธศาสนา แ ป ล ว่ า ค า สั่ ง ส อ น ข อ ง ผู้ รู้ เ มื่ อ พู ด ว่ า พุ ท ธ ศ า ส น า ค วามเข้าใจก็ต้องแล่นเข้าไป ถึง ลัทธิป ฏิบัติ และค ณะ บุ ค ล ซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติในลัทธิปฏิบัตินั้น ไม่ใช่มีความหมายแต่เพียงคาสั่งสอน ซึ่งเป็ นเสียงหรือเป็ นหนังสือ หรือเป็ นเพียงตารับตาราเท่านั้น พระพุทธศาสนาที่เราทั้งหลายในบัดนี้ได้รับนับถือและปฏิบัติเนื่องมาจาก อ ะ ไ ร คื อ เ ร า ไ ด้อ ะ ไ ร จ า ก สิ่ง ที่ เ รี ย ก ว่า พ ร ะ พุ ท ธ ศ า สนา นั้นมานับถือปฏิบัติในบัดนี้ เมื่อพิจารณาดูแล้วก็เห็นว่า เราได้หนังสือ อย่างหนึ่ง บุคคล อย่างหนึ่ง หนังสือนั้นก็คือตาราที่แสดงพระพุทธศาสนา บุค ค นั้นก็คือพุ ทธ ศ าสนิกที่แปลว่าผู้นับถือพ ร ะพุ ทธ ศ า ส น า พุ ท ธ ศ า ส นิ ก นี้ มิ ใ ช่ ห ม า ย เ พี ย ง แ ต่ ค ฤ หั ส ถ์ ห ม า ย ค ว า ม ถึ ง ทั้ ง บ ร ร พ ชิ ต คื อ นั ก บ ว ช และคฤหัสถ์คือผู้ซึ่งนับถือพระพุทธศาสนา พูดอีกอย่างหนึ่งได้แก่ พุทธบริษัทคือหมู่ของผู้นับถือ พระพุทธเจ้า ดังที่เรียกว่า ภิกษุ ภิกษุณี 1 พุทธะ phuttha.com, การณ์อุบัติขึ้นของพระพุทธเจ้า,[ออนไลน์], แหล่งที่มา : http://www.phuttha.com/, [12 ธันวาคม 2559].
  • 3. พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๓ อุ บ า ส ก อุ บ า สิ ก า แ ต่ ใ น บั ด นี้ ภิ ก ษุ ณี ไ ม่ มี แ ล้ ว ก็มีภิกษุกับสามเณรและอุบาสกอุบาสิกา หรือบุคคที่เรียกว่า พุทธมามกะ พุทธมามิกา ก็รวมเรียกว่าพุทธบริษัทหรือพุทธศาสนิกทั้งห มด คื อ ใ น บั ด นี้ มี ห นั ง สื อ ซึ่ ง เ ป็ น ต า ร า พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า และมีบุคคลซึ่งเป็ นพุทธศาสนิกหรือเป็ นพุทธบริษัท ทั้ง ๒ อย่างนี้ ห นั ง สื อ ก็ ม า จ า ก บุ ค ค ล นั่ น เ อ ง คื อ บุคคลที่เป็ นพุทธศาสนิกหรือเป็ นพุทธบริษัทได้เป็ นผู้ทาหนังสือขึ้น และบุคคลดังกล่าวนี้ก็ได้มีสืบต่อกันเรื่อยมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล แ ล ะ สื บ ต่ อ ม า ตั้ ง แ ต่ จ า ก ที่ เ กิ ด ข อ ง พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า มาจนถึงในต่างประเทศของประเทศนั้น ดังเช่นในประเทศไทยในบัดนี้ คื อ ว่ า ไ ด้ มี พุ ท ธ ศ า ส นิ ก ห รื อ พุ ท ธ บ ริ ษั ท สื บ ต่ อ กั น ม า จึ ง ม า ถึ ง เ ร า ทั้ ง ห ล า ย ใ น บั ด นี้ และเราทั้งหลายในบัดนี้ก็ได้เป็นพุทธศาสนิกคือพุทธบริษัทในปัจจุบัน และคนรุ่นต่อ ๆ ไปก็จะสืบต่อไปอีก เ มื่ อ ท ร า บ ว่ า เราในบัดนี้ได้ทราบพระพุทธศาสนาจากหนังสือและจากคณะบุคคลซึ่งเป็ นพุทธศาสนิก ดั่งที่กล่าวมาโดยย่อนี้แล้ว ก็ควรจะทราบต่อไปว่า เมื่อศึกษาจากหนังสือและบุคคลที่เป็ นพุทธศาสนิกชนที่เป็ นครูบาอาจาร ย์ต่อ ๆ กันมา จึงได้ทราบว่าต้นเดิมของพระพุทธศาสนานั้น ก็คือ "พระพุทธเจ้า" คาว่า พระพุทธะ แปลว่า พระผู้รู้ ในภาษาไทยเราเติมคาว่า เจ้า เ รี ย ก ว่า พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้า คื อ เ อ า ค ว า ม รู้ข อ ง ท่า น ม าเ ป็ นชื่ อ ตามพุทธประวัติที่ทราบจากหนังสือทางพระพุทธศาสนา ดังกล่าวนั้น พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า ก็ เ ป็ น บุ ค ค ล คื อ เ ป็ น ม นุ ษ ย์ เ ร า นี่ เ อ ง ซึ่ ง มี พ ร ะ ป ร ะ วั ติ ดั่ ง ที่ แ ส ด ง ไ ว้ ใ น พ ร ะ พุ ท ธ ป ร ะ วัติ แต่ว่าท่านได้ค้นคว้าหาความรู้ จนประสบความรู้ที่เป็ นโลกุตระ คื อ ค ว า ม รู้ที่ เ ป็ น ส่ว น เ ห นื อ โ ล ก ห ม า ย ค ว า ม ง่า ย ๆ ว่า ค ว า ม รู้ ที่ เ ป็ น ส่ ว น โ ล กิ ย ะ ห รื อ เ ป็ น ส่ ว น โ ล ก นั้ น เมื่อประม วล เข้าแ ล้ว ก็ เ ป็ น ค ว า มรู้ที่เ ป็ นใ นด้า นส ร้า ง บ้า ง ใ น ด้ า น ธ า ร ง รั ก ษ า บ้ า ง ใ น ด้ า น ท า ล า ย บ้ า ง ผู้ รู้ เ อ ง แ ล ะ ค ว า ม รู้ นั้ น เ อ ง ก็ เ ป็ น ไ ป ใ น ท า ง ค ดี โ ล ก ซึ่งต้องเป็ นไปตามคติธรรดาของโลก ต้องแก่ ต้องเจ็บ ต้องตาย เ พ ร า ะ ต้ อ ง เ กี่ ย ว ข้ อ ง อ ยู่ กั บ โ ล ก นอกจากนี้ยังเป็ นทาสของตัณหาคือความดิ้นรนทะยานอยากของใจ ถึ ง จ ะ เ ป็ น เ จ้ า โ ล ก แ ต่ ไ ม่ เ ป็ น เ จ้ า ตั ณ ห า
  • 4. พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๔ ต้องเป็ นทาสของตัณหาในใจของตนเอง จึงเรียกว่ายังเป็ นโลกิย ะ ยังไม่เป็ นโลกุตตรคืออยู่เหนือโลก แต่ความรู้ที่จะเป็ นโลกุต ระ คืออยู่เหนือโลกได้นั้นจะต้องเป็นความรู้ที่ทาให้หลุดพ้นจากกิเลสและกอ ง ทุ ก ข์ ดั่ ง ก ล่ า ว ไ ด้ พระพุทธเจ้าเป็นมนุษย์คนแรกที่ได้ปฏิญญาพระองค์ว่าเป็ นผู้ตรัสรู้พระธ ร ร ม ซึ่ ง ท า ใ ห้ เ ป็ น โ ล กุ ต ร ะ คื อ อ ยู่ เ ห นื อ โ ล ก คือทาให้ท่านผู้รู้นั้นเป็ นผู้พ้นจากกิเลสและกองทุกข์ดั่งกล่าวนั้น ท่านผู้ประกอบด้วยความรู้ดั่งกล่าวมานี้ และประกาศความรู้นั้นสั่งสอน ได้ชื่อว่าเป็นพระพุทธเจ้า ซึ่งเป็นต้นเดิมของพระพุทธศาสนา พ ร ะ ธ ร ร ม ทีแรกก็เป็ นเสีย งที่อ อก มาจ ากพ ร ะโอ ษฐ์ข องพ ร ะพุ ท ธ เ จ้า เป็นเสียงที่ประกาศความจริงให้บุคคลทราบธรรมะที่พระองค์ได้ตรัสรู้ เ พ ร า ะ ฉ ะ นั้ น เสียงที่ประกาศความจริงแก่โลกนี้ก็เรียกกันว่าพระธรรมส่วนห นึ่ง ห รื อ เ รี ย ก ว่ า พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า คือเป็นคาที่ออกมาจากพระโอษฐ์ของพระพุทธเจ้า เป็นคาสั่ง เป็นคาสอน ข้ อ ป ฏิ บัติ ที่ ค า สั่ ง ส อ น นั้ น ชี้ ก็ เ ป็ น พ ร ะ ธ ร ร ม ส่ ว น ห นึ่ ง ผ ล ข อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ก็ เ ป็ น พ ร ะ ธ ร ร ม ส่ ว น ห นึ่ ง เหล่านี้เรียกว่าพระธรรมหมู่ชนได้ฟังเสียงซึ่งออกจากพระโอษฐ์ของพระ พุทธเจ้า ได้ความรู้พระธรรมคือความจริงที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอน จนถึงได้บรรลุโลกุตตรธรรม ธรรมะที่อยู่เหนือโลกตามพระพุทธเจ้า เรียกว่า พระสงฆ์ คือหมู่ของชนที่เป็ นสาวกคือผู้ฟังของพระพุทธเจ้า ซึ่ ง เ ป็ น ผู้ รู้ พ ร ะ ธ ร ร ม ต า ม พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า ไ ด้ พ ร ะ ส ง ฆ์ ดั ง ก ล่ า ว นี้ เ รี ย ก ว่ า พ ร ะ อ ริ ย ส ง ฆ์ มุ่ ง เ อ า ค ว า ม รู้ เ ป็ น ส า คั ญ เ ห มื อ น กั น ไ ม่ไ ด้มุ่ง ว่า จ ะ ต้อ ง เ ป็ น ค ฤ หัส ถ์ ห รื อ จ ะ ต้อ ง เ ป็ น บ รรพ ชิต และเมื่อรู้พระธรรมของพระพุทธเจ้าก็ประกาศตนนับถือพระพุทธเจ้า ที่ มี ศ รั ท ธ า แ ก่ ก ล้ า ก็ ข อ บ ว ช ต า ม ที่ไม่ถึงกับ ข อ บ ว ช ต า ม ก็ ป ร ะ กา ศ ต น เ ป็ น อุ บา ส ก อุ บ า สิ ก า จึงได้เกิดเป็นบริษัท ๔ ขึ้น คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ในบริษัท ๔ นี้ หมู่ของภิกษุก็เรียกว่าพระสงฆ์เหมือนกัน แต่เรียกว่าสมมติสงฆ์ ส ง ฆ์ โ ด ย ส ม ม ติ เพราะว่าเป็นภิกษุตามพระวินัยด้วยวิธีอุปสมบทรับรองกันว่าเป็ นอุปสัม บั น ห รื อ เ ป็ น ภิ ก ษุ ขึ้ น เมื่อภิกษุหลายรูปมาประชุมกันกระทากิจของสงฆ์ก็เรียกว่า สงฆ์ พระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ที่เป็ นอริยสงฆ์ทั้ง ๓ นี้ รวมเรียกว่า
  • 5. พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๕ พ ร ะ รั ต น ต รั ย ซึ่งเป็นสรณะที่พึ่งอย่างสูงสุดในพระพุทธศาสนาความเป็ นอริยสงฆ์นั้นเ ป็ น จ า เ พ า ะ ต น ส่วนหมู่แห่งบุคคลที่ดารงพระพุทธศาสนาสืบต่อมาก็คือพุทธบริษัทหรือ พุ ท ธ ศ า ส นิ ก ดัง ก ล่า ว ม า ข้ า ง ต้ น ใ น พุ ท ธ บ ริษัท เ ห ล่ า นี้ ก็ มี ภิ ก ษุ ส ง ฆ์ นี่ แ ห ล ะ เ ป็ น บุ ค ค ล ส า คั ญ ซึ่งเป็ นผู้พ ลีชี วิต มาเพื่ อปฏิบัติดา รงรัก ษาพ ร ะพุ ทธ ศ า ส น า นาพระพุทธศาสนาสืบ ๆ ต่อกันมา จนถึงในบัดนี้2 2.2 ความหมายของการสื่อสาร ค า ว่ า ก า ร สื่ อ ส า ร ( communications) มี ที่ ม า จ า ก ร า ก ศัพ ท์ ภ า ษ า ล า ติน ว่า communis ห ม า ย ถึง ความเหมือนกันหรือร่วมกัน การสื่อสาร (communication) หมายถึงกระบวนการถ่ายทอดข่าวสาร ข้อมูล ความรู้ ประสบการณ์ ความรู้สึก ความคิดเห็น ความต้องการจากผู้ส่งสารโดยผ่านสื่อต่าง ๆ ที่ อ า จ เ ป็ น ก า ร พู ด ก า ร เ ขี ย น สั ญ ลั ก ษ ณ์ อื่ น ใ ด ก า ร แ ส ด ง ห รื อ ก า ร จัด กิ จ ก ร ร ม ต่า ง ๆ ไ ป ยั ง ผู้ รับ ส า ร ซึ่งอาจจะใช้กระบวนการสื่อสารที่แตกต่างกันไปตามความเหมาะสม ห รื อ ค ว า ม จ า เ ป็ น ข อ ง ต น เ อ ง แ ล ะ คู่ สื่ อ ส า ร โดยมีวัตถุประสงค์ให้เกิดการรับรู้ร่วมกันและมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อกั น บ ริ บ ท ท า ง ก า ร สื่ อ ส า ร ที่ เ ห ม า ะ ส ม เ ป็ น ปัจจัยสาคัญที่จะช่วยให้การสื่อสารสัมฤทธิ์ผล3 2.3 ความรู้พื้นฐานเรื่องการสื่อสาร ก า ร สื่ อ ส า ร เ ป็ น ปั จ จั ย ส า คั ญ ใ น ก า ร ด า ร ง ชี วิ ต ม นุ ษ ย์ จ า เ ป็ น ต้ อ ง ติ ด ต่ อ สื่ อ ส า ร กั น อ ยู่ ต ล อ ด เ ว ล า การสื่อสารจึงเป็นปัจจัยสาคัญอย่างหนึ่งนอกเหนือจากปัจจัยพื้นฐานในก า ร ด า ร ง ชี วิ ต ข อ ง ม นุ ษ ย์ การสื่อสารมีบทบาทสาคัญต่อการดาเนินชี วิตของมนุ ษย์ มา ก ก า ร สื่ อ ส า ร มี ค ว า ม ส า คั ญ อ ย่ า ง ยิ่ ง ใ น ปั จ จุ บั น ซึ่งได้ชื่ อว่าเป็ นยุ ค โลกา ภิวัต น์ เป็ นยุ ค ข องข้อมูลข่า ว ส า ร 2 พุทธะ phuttha.com, ความหมายของคาว่าพุทธะและพุทธศาสนา, [ออนไลน์], แหล่งที่มา : http://www.phuttha.com/, [12 ธันวาคม 2559]. 3 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร, ความหมายของการสื่อสาร,[ออนไลน์], แหล่งที่มา : http://www.ipesp.ac.th/learning/thai/chapter1-1.html, [12 ธันวาคม 2559].
  • 6. พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๖ ก า ร สื่ อ ส า ร มี ป ร ะ โ ย ช น์ ทั้ ง ใ น แ ง่ บุ ค ค ล แ ล ะ สั ง ค ม กา รสื่อสา รทา ใ ห้ค นมีค วา มรู้และโ ล กทัศ น์ ที่ กว้า งข ว า ง ขึ้น การสื่อสารเป็นกระบวนการที่ทาให้สังคม เจริญก้าวหน้าอย่างไม่หยุดยั้ง ท า ใ ห้ ม นุ ษ ย์ ส า ม า ร ถ สื บ ท อ ด พั ฒ น า เ รี ย น รู้ แ ล ะ รั บ รู้ วั ฒ น ธ ร ร ม ข อ ง ต น เ อ ง แ ล ะ สั ง ค ม ไ ด้ ก า ร สื่ อ ส า ร เ ป็ น ปั จ จัย ส า คั ญ ใ น ก า ร พั ฒ น า ป ร ะ เ ท ศ สร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้าแก่ชุมชน และสังคมในทุกด้าน4 2.4 ความสาคัญของพระพุทธศาสนาเพื่อการสื่อสาร แม้ว่ากาลเวลาจะผันเปลี่ยนไปกี่ยุคสมัยก็ตามหลักสัจธรรมความเ ป็ น จ ริ ง ต า ม เ ห ตุ ผ ล ปั จ จั ย ก็ ยั ง ค ง เ ป็ น เ ช่ น เ ดิ ม รอแต่ว่ามหาบุรุษผู้เต็มเปี่ยมด้วยพระบารมีที่ได้สั่งสมมานานแสนนานจ ะ ม า ค้ น พ บ วาระนั้นจะมาถึงได้ก็ต่อเมื่อมีการอุบัติขึ้นของพระอรหันตสัมมาสัมพุทธ เ จ้ า ผู้ตรัสรู้อริยสัจธรรมเพื่อยังประโยชน์สุขแก่สัตว์โลกทั้งหลายโดยที่พระอ งค์ได้ทรงวางหลักสาคัญแห่งการสื่อสารธรรมของพระองค์ ที่เรียกว่า โอวาทปาติโมกข์ ดังมีใจความสมบูรณ์ ดังนี้ ค ว า ม อ ด ท น คื อ ค ว า ม อ ด ก ลั้ น เ ป็ น ต บ ะ อ ย่ า ง ยิ่ ง พระพุทธเจ้าทั้งหลายตรัสว่า นิพพานเป็ นบรมธรรม ผู้ทาร้ายผู้อื่น ไม่ชื่อว่าเป็ นบรรพชิต ผู้เบียดเบียนผู้อื่น ไม่ชื่อว่าเป็ นสมณ ะ ก า ร ไ ม่ ท า ค ว า ม ชั่ ว ทั้ ง ป ว ง ก า ร บ า เ พ็ ญ แ ต่ ค ว า ม ดี การทาจิตของตนให้ผ่องใส นี้เป็ นคาสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย การไม่กล่าวร้าย การไม่ทาร้าย ค วามสารวมในปาติโมกข์ ความเป็ นผู้รู้จักประมาณในอาหาร การอยู่ในที่นั่งนอนอันสงัด ก า ร ป ร ะ ก อ บ ค ว า ม เ พี ย ร ใ น อ ธิ จิ ต นี้เป็นคาสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย5 โ อ ว า ท ป า ฏิ โ ม ก ข์ เป็นหลักคาสอนสาคัญที่เป็นหัวใจของพระพุทธศาสนาที่พระพุทธองค์ได้ ประทานแก่ที่ประชุมพ ระภิกษุสงฆ์ 1,250 รูปในวันมาฆบูช า เ พื่ อ ว า ง จุ ด ห ม า ย ห ลั ก ก า ร แ ล ะ วิ ธี ก า ร 4 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร, ความรู้พื้นฐานเรื่องการสื่อสาร,[ออนไลน์], แหล่งที่มา : http://www.ipesp.ac.th/learning/thai/chapter1-1.html, [12 ธันวาคม 2559]. 5 ที.ม. (ไทย) 10/90/50, ขุ.ธ. (ไทย)25/183-185/90-91.
  • 7. พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๗ ใ น ก า ร เ ข้า ถึง พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า แ ก่ พุ ท ธ บ ริ ษั ท ทั้ ง ห ล า ย นับป็นวันสาคัญที่ประกอบด้วย "องค์ประกอบอัศจรรย์ 4 ประการ" คือ พ ร ะ ส ง ฆ์ ส า ว ก ที่ ม า ป ร ะ ชุ ม พ ร้อ ม กัน ทั้ง 1 , 2 5 0 อ ง ค์ นั้น ไ ด้ ม า ป ร ะ ชุ ม กั น ยั ง วั ด เ ว ฬุ วั น โ ด ย มิ ไ ด้ นั ด ห ม า ย พระสงฆ์ที่มาประชุมทั้งหมดต่างล้วนเป็ น "เอหิภิกขุอุปสัมปทา" คือเป็ นพระสงฆ์ได้รับการอุปสมบทจากพ ระพุ ทธเจ้าโด ย ต รง พระสงฆ์ทั้งหมดที่มาประชุมล้วนเป็ นพระอรหันต์ผู้ทรงอภิญญา 6 และวันดังกล่าวตรงกับวันเพ็ญมาฆปุรณมีดิถี ขึ้น 15 ค่า เดือน 3 ดั ง นั้ น จึ ง มี ค า เ รี ย ก วั น นี้ อี ก ค า ห นึ่ ง ว่ า "วันจาตุรงคสันนิบาต "โอวาทปาติโมกข์ ที่ทรงแสดงในวันนั้น ถือเป็ นหลักธรรมคาสอนที่สาคัญ หรือเป็ นหัวใจของพระพุทธศาสนา เลยทีเดียว หลักธรรมดังกล่าว แบ่งเป็ น 3 ส่วน คือ หลักธรรม 3 อุดมการณ์ 4 และ วิธีการ 6 หลักการ 3 ได้แก่ 1. การไม่ทาบาปทั้งปวง ไม่ว่าจะด้วยกาย วาจาและใจ 2. การทากุศลให้ถึงพร้อม ได้แก่ การทาความดีทุกอย่าง 3 . ก า ร ท า จิต ใ จ ใ ห้ผ่อ ง ใ ส ด้ว ย ก า ร ล ะ บ า ป ทั้ง ป ว ง ถือศีลและบาเพ็ญกุศลให้ถึงพร้อมด้วยการปฏิบัติสมถะและวิปัสสนา จนถึงขั้นบรรลุอรหันตผล อันเป็นความผ่องใสที่แท้จริง อุดมการณ์ 4 ได้แก่ 1. ความอดทน คือการอดกลั้น ไม่ทาบาปทั้งกาย วาจา ใจ 2 . ค วามไม่เบีย ด เบีย น คือ การงด เว้นจา กการทาร้าย รบกวนหรือเบียดเบียนผู้อื่น 3. ความสงบ คือ ปฏิบัติตนให้สงบทั้งทางกาย วาจาและใจ 4. นิพพาน คือ การดับทุกข์ที่เป็ นเป้าหมายสูงสุดในพุทธศาสนา ซึ่งจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อดาเนินชีวิตตามมรรคมีองค์แปด วิธีการ 6 ได้แก่ 1. ไม่ว่าร้าย คือ ไม่กล่าวให้ร้ายหรือโจมตีใคร 2. ไม่ทาร้าย คือ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น
  • 8. พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๘ 3. สารวมในปาติโมกข์ คือ ความเคารพระเบียบวินัย กติกา กฎหมาย ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงามของสังคม 4. รู้จักประมาณ คือ รู้จักพอดี พอกินพออยู่ 5 . อ ยู่ ใ น ส ถ า น ที่ ที่ ส งั ด คื อ อยู่ในสถานที่ที่สงบและมีสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม 6. ฝึกหัดจิตใจให้สงบ คือการฝึกจิต หมั่นทาสมาธิภาวนา สาห รับห ลักการ 3 ถือได้ว่าเป็ นหัวใจข องพ ระพุ ทธ ศ าสนา เป็นการสอนหลักในการดาเนินชีวิตที่ถูกต้องแก่พุทธศาสนิกชนส่วนอุด ม ก า ร ณ์ 4 แ ล ะ วิ ธี ก า ร 6 นั้ น อ า จ จ ะ เ รี ย ก ไ ด้ ว่ า เ ป็ น ห ลัก ค รู ห รื อ ห ลัก ข อ ง ผู้ ส อ น คื อ วิธีการที่จะนาไปปรับปรุงตัวให้เป็ นกัลยาณมิตรทั้งต่อตนเองและผู้อื่น ซึ่ ง ผู้ ใ ด ป ฏิ บัติ ไ ด้ น อ ก จ า ก จ ะ เ ป็ น แ บ บ อ ย่ า ง ที่ ดี แ ล้ ว ยังจะช่วยเผยแพร่พระศาสนาให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพอีกด้วย6 3. ภาษาและการสื่อสารทางพระพุทธศาสนาผ่านสื่อต่างๆ การสื่อสารจ ะ ปร ะ สบ ค ว าม สาเ ร็ จไ ด้ จะต้องมี ภ า ษ า เ ป็ น อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ห นึ่ ง อ ยู่ ภ า ย ใ ต้ส า ร เ นื้ อ ห า ข อ ง ส า ร คื อ ค ว า ม คิ ด ที่ ก ลั่ น ก ร อ ง อ อ ก ม า เ ป็ น เ รื่ อ ง ร า ว ค ว า ม คิ ด นั้ น ไ ม่ ส า ม า ร ถ ถ่ า ย ท อ ด ไ ด้ ถ้ า ไ ม่ มี ภ า ษ า ภาษานั้นเป็นสื่อที่จะให้เนื้อหาเกาะเกี่ยวไปยังผู้รับสารให้เกิดความเข้าใ จ ห รื อ อ า จ จ ะ ก ล่ า ว ไ ด้ ว่ า ภ า ษ า คื อ ตัว ส า ร นั้ น เ อ ง มี ผู้ ก ล่ า ว ว่ า ภ า ษ า ที่ ใ ช้ คื อ หั ว ใ จ ข อ ง ก า ร สื่ อ ส า ร หมายความว่าผู้ใช้ภาษาควรตระหนักในบทบาทและความสาคัญของภา ษาที่มีต่อการสื่อสารของมนุษย์เป็นส่วนช่วยให้เนื้อหาที่จะสื่อสารเป็ นที่รั บ รู้แ ล ะ เ ข้า ใ จ ร่ ว ม กัน ไ ด้ ส า ร ทุ ก ช นิ ด ไ ม่ ว่า จ ะ สั้ น ย า ว มากน้อยเพียงใดก่อนที่คนเราจะสามารถรับรู้จนทาให้เกิดความเข้าใจร่ว ม กั น ไ ด้ นั้ น จะต้องส่งมาในรูปแบบของภาษาหรือสัญลักษณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง ส า ร ะ จ ะ ป ร า ก ฏ ขึ้ น โ ด ย ตั ว ข อ ง มั น เ อ ง แ ท้ ๆ ไ ม่ ไ ด้ 6 วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, โอวาทปาติโมกข์,[ออนไลน์], แหล่งที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%AD%E0%B8 %A7%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0 %B8%95%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%81 %E0%B8%82%E0%B9%8C, [12 ธันวาคม 2559].
  • 9. พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๙ ก า ร สื่ อ ส า ร นั้ น ผู้ รู้ ไ ด้ ก ล่ า ว เ อ า ไ ว้ ว่ า ภ า ษ า คื อ พาหะใส่เนื้อหาของสารเกาะเกี่ย ว จากผู้ส่งสารไปสู่ผู้รับส าร ผู้ ผ ลิ ต ภ า ษ า คื อ ผู้ ส่ ง ส า ร ภาษาที่ออกมาจะดีไม่ดีอยู่ที่ทักษะในการสื่อสารข องผู้ส่งส าร แ ต่ ทั้ ง นี้ ต้ อ ง ขึ้ น อ ยู่ กั บ ผู้ รั บ ส า ร ด้ ว ย เพราะผู้ส่งสารเลือกใช้ภาษาในการเสนอสารที่เหมาะสมกับผู้รับสาร เหมาะสมกับความรับรู้และทักษะการใช้ภาษาของผู้รับสาร กล่าวคือ ผู้ ส่ ง ส า ร ที่ ดี นั้ น ต้ อ ง พู ด จ า ภ า ษ า เ ดี ย ว กั บ ผู้ รั บ ส า ร คือต้องเรียนรู้ภาษาของผู้รับสารนั้นเอง 3.1 หลักในการสื่อสาร การสื่อสารจะประสบความสาเร็จตรงตามจุดประสงค์หรือไม่ผู้ส่งส ารค วรคานึงถึงห ลักการสื่อสาร ดังนี้ (ภาค วิช าภาษาไทย สถาบันราชภัฏเทพสตรี ลพบรี, 2542: 13-14) 1 . ผู้ ที่ จ ะ สื่ อ ส า ร ใ ห้ ไ ด้ ผ ล แ ล ะ เ กิ ด ป ร ะ โ ย ช น์ จ ะ ต้อ ง ท า ค ว า ม เ ข้า ใ จ เ รื่ อ ง อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ใ น ก า ร สื่ อ ส า ร และปัจจัยทางจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับระบบการรับรู้ การคิด การเรียนรู้ การจา ซึ่งมีผลต่อประสิทธิภาพ ในการสื่อสาร 2. ผู้ที่จะสื่อสารต้องคานึงถึงบริบทในการสื่อสาร บริบทในการสื่อสาร ห ม า ย ถึ ง สิ่งที่อยู่แวดล้อมที่มีส่วนในการกาหนดรู้ความหมายหรือความเข้าใจในก ารสื่อสาร 3 . ค า นึ ง ถึง ก ร อ บ แ ห่ง ก า ร อ้า ง อิง ( frame of reference) มนุษย์ทุกคนจะมีพื้นความรู้ทักษะ เจตคติ ค่านิยม สังคม ประสบการณ์ ฯ ลฯ เรีย กว่าภูมิห ลังแต กต่างกัน ถ้าคู่สื่อสารใด มีกรอบแห่ง การอ้างอิงคล้ายกัน ใกล้เคียงกัน จะทาให้การสื่อสารง่ายขึ้น 4 . ก า ร สื่ อ ส า ร จ ะ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล เมื่อผู้ส่งสารส่งสารอย่างมีวัตถุประสงค์ชัดเจน ผ่านสื่อหรือช่องทาง ที่ เ ห ม า ะ ส ม ถึงผู้รับสารที่มีทักษะในการสื่อสารและมีวัตถุประสงค์สอดคล้องกัน 5. ผู้ส่งสารและผู้รับสาร ควรเตรียมตัวและเตรียมการล่วงหน้า เ พ ร า ะ จ ะ ท า ใ ห้ ก า ร สื่ อ ส า ร ร า บ รื่ น ส ะ ด ว ก ร ว ด เ ร็ ว เ ป็ น ไ ป ต า ม วัต ถุ ป ร ะ ส ง ค์แ ล ะ ส าม า ร ถ แ ก้ไ ข ไ ด้ทันท่วงที หากจะเกิดอุปสรรค์ ที่จุดใดจุด
  • 10. พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๑๐ 6 . ค า นึ ง ถึ ง ก า ร ใ ช้ ทั ก ษ ะ เพ ราะภาษาเป็ นสัญลักษณ์ ที่ มนุ ษย์ ต กลงใช้ร่วม กันใ น ก า ร สื่ อ ค ว า ม ห ม า ย ซึ่ ง ถื อ ไ ด้ ว่ า เ ป็ น หัว ใ จ ใ น ก า ร สื่ อ ส า ร คู่ สื่ อ ส า ร ต้ อ ง ศึ ก ษ า เ รื่ อ ง ก า ร ใ ช้ ภ า ษ า และสามารถใช้ภาษาให้เหมาะสมกับกาลเทศะ บุคคล เนื้อหาของสาร และช่องทางหรือสื่อ ที่ใช้ในการสื่อสาร 7 . ค า นึ ง ถึ ง ป ฏิ กิ ริ ย า ต อ บ ก ลั บ ต ล อ ด เ ว ล า ถื อ เ ป็ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร สื่ อ ส า ร ที่จะทาให้คู่สื่อสารรับรู้ผลของการสื่อสารว่าประสบผลดีตรงตามวัตถุหรื อไม่ ค วรปรับปรุง เปลี่ย นแปลงห รือแก้ไข ข้อบกพ ร่อ ง ใ ด เพื่อที่จะทาให้การสื่อสารเกิดผลตามที่ต้องการ7 3.2 วัตถุประสงค์ของการสื่อสาร คณาจารย์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (2551: 17) กล่าวถึง วัตถุประสงค์ของการสื่อสารไว้ดังนี้ 1. เพื่ อแจ้งให้ทราบ ( inform) ในการทาการสื่อสา ร ผู้ทาการสื่อสารควรมีความ ต้องการที่จะบอกกล่าวหรือชี้แจงข่าวสาร เรื่องราว เหตุการณ์ หรือสิ่งอื่นใดให้ผู้รับสารได้รับทราบ 2. เพื่ อสอนห รือให้กา รศึก ษา ( teach or education) ผู้ทาการสื่อสารอาจมีวัตถุประสงค์เพื่อจะ ถ่ายทอดวิชาความรู้ ห รื อ เ รื่ อ ง ร า ว เ ชิ ง วิ ช า ก า ร เพื่อให้ผู้รับสารได้มีโอกาสพัฒนาความรู้ให้เพิ่มพูนยิ่งขึ้น 3. เพื่อสร้างความพอใจหรือให้ความบันเทิง (please of entertain) ผู้ ท า ก า ร สื่ อ ส า ร อ า จ ใ ช้ วัต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ใ น ก า ร สื่ อ ส า ร เ พื่ อ ส ร้ า ง ค ว า ม พ อ ใ จ หรือให้ความบันเทิงแก่ผู้รับสาร โดยอาศัยสารที่ตนเองส่งออกไป ไม่ว่าจะอยู่ในรูปของการพูด การเขียน หรือการแสดงกิริยาต่าง ๆ 4. เ พื่ อ เ ส น อ ห รื อ ชัก จู ง ใ จ ( Propose or persuade) ผู้ทาการสื่อสารอาจใช้วัตถุประสงค์ใน การสื่อสารเพื่อให้ข้อเสนอแนะ 7 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร, หลักในการสื่อสาร,[ออนไลน์],แหล่งที่มา : http://www.ipesp.ac.th/learning/thai/chapter1-3.html, [12 ธันวาคม 2559].
  • 11. พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๑๑ ห รื อ ชั ก จู ง ใ จ ใ น สิ่ ง ใ ด สิ่ ง ห นึ่ ง ต่ อ ผู้ รั บ ส า ร แ ล ะ อ า จ ชั ก จู ง ใ จ ใ ห้ ผู้ รั บ ส า ร มี ค ว า ม คิ ด ค ล้ อ ย ต า ม หรือยอมปฏิบัติตามการเสนอแนะของตน 5. เ พื่ อ เ รี ย น รู้ ( learn) วัตถุประสงค์นี้มีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับผู้รับสาร การแสวงหาความรู้ ข อ ง ผู้ รั บ ส า ร โ ด ย อ า ศั ย ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ส า ร ในกรณี นี้ มักจะเป็ นสารที่มีเนื้ อห าสาระเกี่ย วกับวิช าความรู้ เป็นการหาความรู้เพิ่มเติมและเป็นการทาความเข้าใจกับเนื้อหาของสาร ที่ผู้ทาการสื่อสารถ่ายทอดมาถึงตน 6. เ พื่ อ ก ร ะ ท า ห รื อ ตัด สิ น ใ จ ( dispose or decide) ในการดาเนินชีวิตของคนเรามี สิ่งหนึ่งที่ต้องกระทา อยู่เสมอก็คือ การตัดสินใจกระทาการอย่างใด อย่างหนึ่ง ซึ่งการตัด สิน ใจ นั้ น อ า จ ไ ด้ รั บ ก า ร เ ส น อ แ น ะ หรือชักจูงใจให้กระทาอย่างนั้นอย่างนี้จากบุคค ลอื่นอยู่เ ส มอ ทางเลือกในการ ตัดสินใจของเราจึงขึ้นอยู่กับข้อเสนอแนะนั้น8 3.3 ประเภทของการสื่อสาร ก า ร สื่ อ ส า ร ภ า ย ใ น บุ ค ค ล ( Intrapersonal Communication) ก า ร คิ ด ห รื อ จิ น ต น า ก า ร กั บ ตั ว เ อ ง เป็นการคิดไตร่ตรองกับตัวเอง ก่อนที่จะมีการสื่อสาร ประเภทอื่นต่อไป ก า ร สื่ อ ส า ร ร ะ ห ว่ า ง บุ ค ค ล ( Interpersonal Communication) ก า ร ที่ บุ ค ค ล ตั้ ง แ ต่ 2 คนขึ้นไปมาทาการสื่อสารกันอย่างมีวัตถุประสงค์ เช่นการพูดคุย ปรึกษาหารือในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ก า ร สื่ อ ส า ร ก ลุ่ ม ย่ อ ย ( Small- group) Communication)การสื่อสารที่มีบุคคลร่วมกันทาการสื่อสารเพื่อทากิจ กรรมร่วมกันแต่จานวนไม่เกิน 25 คน เช่นชั้นเรียนขนาดเล็ก ห้องประชุมขนาดเล็ก 8 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร, วัตถุประสงค์ของการสื่อสาร,[ออนไลน์], แหล่งที่มา : http://www.ipesp.ac.th/learning/thai/chapter1-3.html, [12 ธันวาคม 2559].
  • 12. พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๑๒ ก า ร สื่ อ ส า ร ก ลุ่ ม ใ ห ญ่ ( Large- group Communication) ก า ร สื่ อ ส า ร ร ะ ห ว่ า ง ค น จ า น ว น ม า ก เ ช่ น ภ า ย ใ น ห้อ ง ป ร ะ ชุ ม ใ ห ญ่ โ ร ง ภ า พ ย น ต ร์ โ ร ง ล ะ ค ร ชั้นเรียนขนาดใหญ่ ก า ร สื่ อ ส า ร ใ น อ ง ค์ ก ร ( Organization Communication)การสื่อสารระหว่างสมาชิกภายในหน่วย งาน เพื่อปฏิบัติงานให้สาเร็จลุล่วง เช่นการสื่อสารระหว่าเพื่อนร่วมงาน เจ้านายกับลูกน้อง การสื่อสารมวลชน(Mass Communication) การสื่อสารกับค นจานวนมากในห ลาย ๆพื้ นที่พร้อมกัน โดยใช้สื่อมวลชน เช่น หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วิทยุกระจายเสียง วิ ท ยุ โ ท ร ทั ศ น์ เ ป็ น สื่ อ ก ล า ง เหมาะสาหรับการส่งข่าวสารไปยังผู้คนจานวนมากๆในเวลาเดียวกัน ก า ร สื่ อ ส า ร ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ( International Communication)การสื่อสารระหว่างบุคคลที่มีความแตกต่างกันใน เชื้อชาติภาษา วัฒนธรรม การเมืองและสังคม เช่นการสื่อสารทางการทูต การสื่อสารเจรจาต่อรองเพื่อการทาธุรกิจ 3.4 อุปสรรคในการสื่อสาร อุ ป ส ร ร ค ใ น ก า ร สื่ อ ส า ร ห ม า ย ถึ ง สิ่งที่ทาให้การสื่อสารไม่บรรลุตามวัต ถุประสงค์ ของผู้สื่อสาร แ ล ะ ผู้ รั บ ส า ร อุปสรรคในการสื่อสารอาจเกิดขึ้นได้ทุกขั้นตอนของกระบวนการสื่อสาร ดังนั้นอุปสรรค ในการสื่อสารจากองค์ประกอบต่าง ๆ ดังนี้ 1. อุปสรรคที่เกิดจากผู้ส่งสาร 1. 1 ผู้ส่งสารขาดความรู้ความเข้าใจและข้อมูลเกี่ยวกับสารที่ต้องการจะสื่อ 1.2 ผู้ส่งสารใช้วิธีการถ่ายทอดและการนาเสนอที่ไม่เหมาะสม 1.3 ผู้ส่งสารไม่มีบุคลิกภาพที่ไม่ดี และไม่เหมาะสม 1.4 ผู้ส่งสารมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อการส่งสาร 1.5 ผู้ส่งสารขาดความพร้อมในการส่งสาร
  • 13. พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๑๓ 1.6 ผู้ส่งสารมีความบกพร่องในการวิเคราะห์ผู้รับสาร 2. อุปสรรคที่เกิดจากสาร 2.1 สารไม่เหมาะสมกับผู้รับสาร อาจยากหรือง่ายเกินไป 2.2 สารขาดการจัดลาดับที่ดี สลับซับซ้อน ขาดความชัดเจน 2.3 สารมีรูปแบบแปลกใหม่ยากต่อความเข้าใจ 2.4 สารที่ใช้ภาษาคลุมเครือ ขาดความชัดเจน 3. อุปสรรคที่เกิดขึ้นจากสื่อ หรือช่องทาง 3.1 การใช้สื่อไม่เหมาะสมกับสารที่ต้องการนาเสนอ 3.2 การใช้สื่อที่ไม่มีประสิทธิภาพที่ดี 3.3 การใช้ภาษาที่ไม่เหมาะสมกับระดับของการสื่อสาร 4. อุปสรรคที่เกิดจากผู้รับสาร 4.1 ขาดความรู้ในสารที่จะรับ 4.2 ขาดความพร้อมที่จะรับสาร 4.3 ผู้รับสารมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อผู้ส่งสาร 4.4 ผู้รับสารมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อสาร 4.5 ผู้รับสารมีความคาดหวังในการสื่อสารสูงเกินไป9 4 . เทคนิคการสื่อสารเพื่อการสอนธรรมะและจรรโลงพระพุทธศาส นา ห ล า ย ท่ า น มี ค ว า ม รู้ ท า ง ธ ร ร ม สู ง มี จิ ต ป ร า ร ถ น า ช่ ว ย เ ผ ย แ พ ร่ ธ ร ร ม ะ ใ น พุ ท ธ ศ า ส น า บ า ง ท่ า น เ ท ศ น์ เ ก่ ง ค น ช อ บ ฟั ง แ ต่ ไ ม่ ท า ใ ห้ ค น บ ร ร ลุ บทความฉบับนี้จึงขอนาเสนอวิธีแก้ดังนี้ 9 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร, อุปสรรคในการสื่อสาร,[ออนไลน์], แหล่งที่มา : http://www.ipesp.ac.th/learning/thai/chapter1-3.html, [12 ธันวาคม 2559].
  • 14. พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๑๔ 4.1 การสื่อสารเชิงเดี่ยว (การสอนตัวต่อตัว) 4.1.1 จากปุถุชน สู่ โสดาบัน ก า ร สื่ อ ส า ร กั บ ปุ ถุ ช น ธ ร ร ม ด า เพื่อหวังเปิ ดตาให้เห็นสัจธรรมแห่งโลก ให้ละความห ลง โล ก มี จิ ต ต ร ง ต่ อ นิ พ พ า น อ ย่ า ง ไ ม่ มี ข้ อ ส ง สั ย จนนาไปปฏิบัติจริงเท่าที่ทาได้อย่างเคร่งครัด (ไม่มีศีลพรตปรามาส) คือ การสื่อสารเพื่อพัฒนาระดับจิตของปุถุชน ยกขึ้นสู่ระดับโสดาบันนั่นเอง วิ ธี ก า ร สื่ อ ส า ร จาต้องมุ่งเน้นไปในเรื่องความจริงของชีวิตในโลกมนุษย์ที่เห็นได้ง่ายๆ เ ห ม า ะ กั บ ก า ร สั ง เ ก ต ด้ ว ย ต า เ ป ล่ า ข อ ง ปุ ถุ ช น เ ช่ น ก า ร ท า ง า น ไ ด้ เ งิ น ม า ก ม า ย แ ต่ ไ ม่ มี ค ว า ม สุ ข เ ป็ น ต้ น แ ล้ว น้ อ ม น า จิต เ ข้า สู่ค ว า ม สุ ข ส ง บ ท า ง ธ ร ร ม ใ น ท้าย ที่สุด เ พื่ อ เ ปิ ด ท า ง ใ ห้ จิ ต พุ่ ง ต ร ง ต่ อ นิ พ พ า น ใ น ขั้ น นี้ พ ร ะ โ ส ด า บัน ไ ม่มี ท า ง เ ข้า ใ จ เ ล ย ว่า “ นิ พ พ า น คื อ อ ะ ไ ร ” แ ต่ เ พ ร า ะ มี ค ว า ม ศ รั ท ธ า ใ น ธ ร ร ม จิ ต น้ อ ม เ ห็ น ค ว า ม สุ ข ส ง บ ส งั ด ข อ ง ผู้ สื่ อ ส า ร และเชื่อว่าสิ่งที่ผู้สื่อสารกล่าวถึงนั้น ดีกว่าสิ่งใดๆ ทางโลกอย่างแน่นอน ผู้สื่ อ ส า ร จ า ต้อ ง มี พ ลัง ค ว า ม คิด ส ร้า ง ส ร ร ค์ พ ลัง เ ชิ ง บ วก พลังแห่งความสุขสงบ และเมตตาปราณีอย่างสูง จึงจะน้อมนาจิตผู้ฟัง ย กเข้าสู่ระดับที่เห นื อจากค วามห ลงโลกได้ ไม่เช่นนั้นแล้ว จิตผู้ฟังจะตกลงไปสู่การเบื่อโลก และเข้าสู่ห้วงแห่งความทุกข์ แ ล ะ ก ล า ย เ ป็ น ก า ร ม อ ง โ ล ก ใ น แ ง่ ร้ า ย ไ ป การสื่อสารร ะดับนี้ จึงค ล้าย กา รข าย ต ร งที่ มีศิล ปะ อย่ า ง สู ง ม า ก ก ว่ า จ ะ เ ป็ น ก า ร ตั ด ก า ร ล ะ ก า ร ป ล่ อ ย ว า ง เ พ ร า ะ ยั ง ไ ม่ มี ก า ร ต่ อ สู้ กั บ กิ เ ล ส แ ต่ อ ย่ า ง ใ ด เพี ย งแค่น้อมนาจิต ผู้ฟังให้มีจุด มุ่งห มาย สูงสุด ข องชี วิต คือ ค ว า ม พ้ น ไ ป จ า ก ก า ร เ วี ย น ว่ า ย ต า ย เ กิ ด เ ท่ า นั้ น เ อ ง ซึ่งการพ้นจากเวียนว่ายตายเกิดก็คือลักษณะของนิพพานอย่างหนึ่ง โทนของการสื่อสารจะมีกึ่งแรกที่เต็มไปด้วยความน่าเบื่อของโลก แ ล ะ กึ่ง ห ลัง ที่ แ ฝ ง ด้ว ย ค ว า ม สุ ข ส ง บ ข อ ง อ า ร ม ณ์ นิ พ พ าน ที่ผู้ฟังไม่อาจเข้าถึงได้ แต่สังเกตได้จากผู้พูดที่มีพลังในการน้อมนาจิต มี ค ว า ม เ ม ต ต า มี จิ ต ส ง บ ส งั ด มีความเชื่อมั่นศรัทธาอันแรงกล้าในสิ่งที่พูดนั้น 4.1.2 จากโสดาบัน สู่ สกิทาคามี
  • 15. พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๑๕ การสื่อสารกับพระโสดาบันเพื่ อยกระดับจิตสู่สกิทาคามี คือ การเชื้อเชิญ กระตุ้น เร้าพลังความกล้าหาญในการเข้าตู่กรกับกิเลส ดุจดังเช่น การปลุกใจทหารหาญ ให้โรมรันกับศัตรูในสนามรบนั่นเอง ป ก ติ แ ล้ ว พ ร ะ โ ส ด า บั น ทราบดีถึงจุดมุ่งหมายสูงสุดของชีวิตว่าคือนิพพานไม่หลงโลกก็จริง แ ต่ไ ม่อ า จ เ อ า ช น ะ กิ เ ล ส ไ ด้ จึง มี วิถี ชี วิต ดั่ ง ปุ ถุ ช น ป ก ติ เ ค ล้ า ค ลึ ง ด้ ว ย กิ เ ล ส เ ป็ น นิ ต ย์ ก า ร ย ก ร ะ ดั บ จิ ต ข อ ง พ ร ะ โ ส ด า บั น สู่ ส กิ ท า ค า มี จึงต้องเล็งกาลอันควรว่าพระโสดาบันนั้นมีความพร้อมจริงที่จะออกสู่สน า ม ร บ ห า ไ ม่ เ ช่ น นั้ น แ ล้ ว จ ะ เ กิ ด ก า ลั ง ใ จ ท้ อ ถ อ ย แ ล ะ จิ ต ต ก จ า ก ร ะ ดั บ เ ดิ ม ล ง สู่ ค ว า ม เ ศ ร้ า ห ม อ ง ทาให้การฝึ กจิตในอนาคตยากขึ้นอีกด้วย การสื่อสารในระดับนี้ ไม่ใช่การ “ขายตรง” อีกต่อไป เพราะไม่ได้แค่ซื้อความคิดกันเท่านั้น แ ต่ต้อ ง มี ก า ร ป ฏิบัติเ พื่ อ ต่อ สู้กับ จิต ใ จ ต น เ อง ด้ว ย ดัง นั้ น จึ ง มี ลั ก ษ ณ ะ ก า ร สื่ อ ส า ร เ ห มื อ น “ โ ค้ ช ” ที่ปลุกเร้าขวัญกาลังใจให้นักกีฬามีพลังใจในการเอาชนะสถิติตนเองได้ฉ ะ นั้ น จาต้องมีอุบายอันแยบคายและแยบยลพอที่จะปลุกพลังใจของพระโสดาบั นได้ (อนึ่ง ลักษณะของพระโสดาบัน คือ จะมุ่งตรงนิพพานชัดเจน แ ต่ ก ลั บ ไ ม่ มี ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ที่ แ ท้ จ ริ ง ยั ง มี กิ เ ล ส อ ยู่ มี จิ ต ที่ เ ศ ร้ า ห ม อ ง ไ ม่ ผ่ อ ง ใ ส อ ยู่ ) เ มื่ อ พ ร ะ โ ส ด า บัน มี ร ะ ดับ จิ ต เ ข้ า สู่ พ ร ะ ส กิ ท า ค า มี แ ล้ว จ ะ เ ริ่ม มี ก า ลัง ใ จ ที่ จ ะ ต่อ สู้กับ ตัว ทุ ก ข์ ห รื อ เ ห ตุ แ ห่ง ทุ กข์ ซึ่ ง ก็ คื อ กิ เ ล ส นั่ น เ อ ง ช่ ว ง นี้ จะต้องประกบเคีย งข้างอยู่ต ลอดเพื่ อเป็ นกาลังใจในช่วง แร ก ซึ่งพระสกิทาคามีจะพ่ายแพ้กิเลสบ่อยมาก และอาจท้อถอย ได้ จึ ง ค ว ร ค อ ย ดู แ ล ร ะ ย ะ ห นึ่ ง เ มื่ อ ผ่ า น จุ ด เ สี่ ย ง แ ล้ ว พ ร ะ ส กิ ท า ค า มี จ ะ เ ริ่ ม ไ ด้ ชั ย ช น ะ กิ เ ล ส บ้ า ง แ พ้ บ้ า ง เ ริ่ ม ส นุ ก ที่ จ ะ ต่ อ สู้ กั บ กิ เ ล ส ต่ อ ไ ป ช่ ว ง นี้ จะสังเกตว่าจิตใจเริ่มผ่องใสเหมือนนักกีฬาที่เริ่มแข่งขันชนะบ้างแล้วฉะ นั้ น เ ริ่ ม มี จิ ต ห้ า ว ห า ญ ม า ก ขึ้ น ก็ให้ท่านประคองจิตอยู่ด้วยความไม่ประมาท จึงค่อยละการดูแลออกได้ จิตพระสกิทาคามีก็จะทรงระดับเดิมได้ไม่ตกลงไปสู่โสดาบัน
  • 16. พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๑๖ 4.1.3 จากสกิทาคามี สู่ อนาคามี การสื่อสารกับพ ระสกิทาคามีเพื่ อย กระดับจิตสู่อน าค า มี ล้วนมุ่งไปในเรื่องการฝึ กจิตเอาชนะกิเลสได้อย่างราบคาบแท้จริง แต่ไม่ใช่ถาวร คือ ชนะแน่นอนในขณะที่ใช้กรรมฐานเท่า นั้น เ ป็ น ชั ย ช น ะ แ บ บ ชั่ ว ค ร า ว ในกรณีของพระสงฆ์เรามองภายนอกแทบไม่เห็นกิเลสของพระอนาคามี เ ล ย เ พ ร า ะ วี ถี ชี วิ ต ที่ ส ง บ ข อ ง ท่ า น นั่ น เ อ ง แ ต่ ส า ห รั บ พ ร ะ อ น า ค า มี ที่ เ ป็ น ปุ ถุ ช น แ ล้ ว จ ะ เ ห็ น ว่ า ท่ า น ยั ง มี กิ เ ล ส บ า ง ตั ว ที่ ชั ด อ ยู่ เ ช่ น กินเหล้าแต่กินในระดับที่มีสติปัญญาประคองอยู่, เสพกามแต่ไม่ผิดศีล ในวิถีชีวิตปุถุชนนี้พระอนาคามีจะมีความแตกต่างจากพระสงฆ์ที่บรรลุธ ร ร ม ร ะ ดั บ อ น า ค า มี ด้ ว ย อ า ก า ร อ ย่ า ง นี้ โ ป ร ด อ ย่ า ยึ ด มั่ น ท่ อ ง จ า เ อ า ว่ า พ ร ะ อ น า ค า มี ไ ม่ มี กิ เ ล ส เพราะผู้ที่ไม่มีกิเลสจริงเลยมีเพียงพระอรหันต์เท่านั้น พระอนาคามีนั้น มี กิ เ ล ส เ บ า บ า ง ม า ก ก็ จ ริ ง แต่การแสดงออกของท่านแตกต่างกันขึ้นอยู่กับเป็ นเพศฆราวาสหรือบร รพชิต ดังกล่าวข้างต้นแล้ว ยังมีอีกหลายกรณีและหลายเหตุผล ใ น ก า ร สื่ อ ส า ร นี้ จะมุ่งเน้นที่การปฏิบัติกรรมฐานเพื่ อเอาชนะกิเลสเป็ น สา คัญ จึ ง ไ ม่ อ อ ก น อ ก เ รื่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น ห รื อ ก า ร ฝึ ก จิ ต เ ล ย การสื่อสารจะมุ่งเน้นแก้ไขแนวทางกรรมฐานของพระสกิทาคามีที่ยังไม่ ถู ก ต้ อ ง นั ก ยั ง ไ ม่ ต ร ง ท า ง นั ก เ พื่ อ เ อ า ช น ะ กิเ ล ส ไ ด้ อ ย่ า ง แ น่ น อ น ใ น แ ต่ล ะ ข ณ ะ ๆ ไ ป (ไม่ใช่ชนะแบบถาวร) และไม่มุ่งเน้นการสื่อสารเพื่อปัญญาแจ้งในธรรม ในนิพพาน เพราะอินทรีย์ยังไม่พร้อมนัก ในขั้นนี้ จะฝึกจิตอย่างมาก และมุ่งที่การพัฒนาอินทรีย์ห้าเป็นสาคัญ คือ สติ, สมาธิ, ปัญญา, ศรัทธา, วิริยะ 4.1.4 จากอนาคามี สู่ อรหันต์ การสื่อสารกับพ ระอนาค ามีเพื่ อย กระดับจิต สู่อ ร หัน ต์ ล้วนมุ่งไปในเรื่องการฝึ กจิตเอาชนะกิเลสได้อย่างถาวรแท้จริง ซึ่งมุ่งไปสู่การตีธรรมให้แตกอย่างลึกซึ้ง หรือการเอาชนะกิเลสตัวสุดท้าย อุปมาเหมือนไก่กับไข่อะไรเกิดก่อนกัน กล่าวคือ หากรู้แจ้งได้ก่อน ก็หลุดจากกิเลสได้ถาวร หรือหลุดจากกิเลสได้ถาวรก็จะรู้แจ้งตามมา กระบวนการนี้เกิดขึ้น อุปมาเหมือนไก่กับไข่อะไรเกิดก่อนกันนั่นเอง ดังนั้น การสื่อสารจึงมีสองวิธีหลักๆ คือ วิธีเข้าถึงธรรมด้วยปัญญา
  • 17. พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๑๗ ที่เรียกว่า “ปัญญาวิมุติ” จะมุ่งเน้นการตีธรรมให้แตกฉาน รู้แจ้งในธรรม ในนิพพาน จนจิตคลายกิเลสได้หมดตามมาเองโดยอัต โน มัติ และวิธีที่สองคือ การเข้าถึงธรรมด้วยจิต ที่เรียกว่า “เจโตวิมุติ” จะมุ่งเน้นการขจัดกิเลสให้หมดไป จนจิตแจ้งในธรรม ในนิพพานเอง การจะใช้วิธีใดขึ้นอยู่กับผู้สื่อสารและผู้รับสาร ว่าฝึกฝนมาในแบบใด มีอินทรีย์ ที่พ ร้อ ม เอื้ อไ ป ทาง ใด กล่าวคือ ถ้ามีปัญญ า ม า ก ฝึ กจิต น้อย แต่อดีต ช า ติมี ส มาธิ ทา มาดี ก็ใช้ “ปัญญา วิมุ ติ ” แต่ถ้ามีการฝึ กจิต มามาก แต่ปัญญาน้อย ก็ใช้ “เจโต วิมุติ” ใ น ก า ร เ ข้ า ถึ ง ธ ร ร ม ใ น ขั้ น นี้ จะต้องตรวจดูอินทรีย์ห้าประการว่ามีความพร้อมในการรับธรรมระดับอ ร หั น ต์ ห รื อ ไ ม่ เ มื่ อ พ ร้ อ ม แ ล้ ว จึ ง เ ข้ า ช่ ว ย เ ห ลื อ ใ น ก า ร เ ข้ า ช่ ว ย เ ห ลื อ ก็ จ ะ ใ ช้ ก า ร เ ท ศ น า ธ ร ร ม ไ ม่ม า ก เพียงแค่จัดการสิ่งที่ขัดขวางหรือติดขัดอยู่เพียงเล็กน้อยเท่านั้น ที่เหลือคือผู้ฟังจะเข้าถึงด้วยตัวของเขาเอง ในขั้นนี้ ผู้ฟังคือผู้ปฏิบัติ เป็ นปัจจัต ตัง เวทิตัพ โพ วิญญูหิติ ไม่อาจเทศ นาให้แจ้งได้ แม้ผู้สื่อสารจะทราบก็ตาม ดังนั้น การสื่อสารในลักษณะนี้ จึงหนักไปทาง “ ป ริ ศ น า ธ ร ร ม ” ที่ ช ว น ข บ คิ ด เ ป็ น ส า คั ญ ผู้สื่อสารจึงควรมีทักษะและพลังแห่งความสร้างสรรค์ที่สามารถกระตุ้นค วามอยากรู้ อยากค้นหาด้วยตนเองอย่างสูงที่สุดให้แก่ผู้ฟัง คือ พลังแห่งการตรัสรู้ หรือค้นพบด้วยตนเอง 4.1.5 แบบข้ามระดับขั้น ไม่จาเป็นเสมอไปว่าผู้ฟังธรรมจะต้องบรรลุตามขั้นตอนเป็ นขั้นๆ ไป สามารถบรรลุข้ามขั้นได้ เช่น จากปุถุชนสู่อรหันต์ ทัน ที , จ า ก โ ส ด า บั น สู่ อ น า ค า มี ทั น ที ฯ ล ฯ สิ่ง เ ห ล่า นี้ เ กิด ขึ้น ไ ด้เ ส ม อ ร ะ ห ว่า ง ก า ร สื่ อ ส า ร ท า ง ธ ร ร ม แต่ปัจจุบันหาได้ยากมาก เพราะวิถีปุถุชนละทิ้งจากวรรณะพราหมณ์แล้ว การฝึ กจิตอย่างเป็ นปกติวิสัยจึงหายไปจากวิถีชีวิตของ ปุถุ ช น การที่จะพัฒนาข้ามขั้นได้จึงยากมาก แต่ให้ผู้สื่อสารธ รรมะ เข้าใจไว้ด้วยว่าการบรรลุข้ามขั้นนั้นเป็นเรื่องปกติธรรมดาอย่างหนึ่งเห มือนกันที่จะเกิดได้กับคนในปัจจุบัน 4.2 การสื่อสารเชิงกลุ่มที่มีความคล้ายคลึงกัน เป็ นการสื่อสารที่มีการคิดวางแผนและวิเคราะห์กลุ่มผู้ฟังอย่างดีแล้ว
  • 18. พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๑๘ เ ช่ น ก า ร ท า โ ฆ ษ ณ า เ ฉ พ า ะ ก ลุ่ ม แ ล ะ สื่ อ ที่ ใ ช้ เ ป็ น ต้ น ท า ใ ห้ ส า ม า ร ถ เ ลื อ ก สื่ อ ส า ร ไ ด้ ว ง ก ว้ า ง แตกต่างจากสมัยการเผยแพร่ธรรมในอดีต เราสามารถเลือกกลุ่มผู้ฟังได้ เ ช่ น การชักชวนกลุ่มพระโสดาบันเข้ามาฟังการบรรยายพร้อมกันในคราวเดี ย ว เ ป็ น ต้ น ใ น ก า ร สื่ อ ส า ร ร ะ ดั บ นี้ แน่นอนว่าสื่อและสารที่ใช้น่าจะคล้ายคลึงกันเพราะกลุ่มผู้ฟังมีระดับภูมิจิ ตเท่ากัน แต่เมื่อบรรยายไปเรื่อยๆ ความแตกต่างระหว่างบุคคลก็เกิดขึ้น คื อ บ า ง ท่ า น พั ฒ น า จิ ต ต า ม ไ ด้ ช้ า แ ล ะ เ ร็ ว ต่ า ง กั น การแสดงธรรมให้กลุ่มคนฟังจานวนมาก แม้มีระดับภูมิธรรมเท่ากัน มี เ นื้ อ ห า ก า ร สื่ อ ส า ร เ ดี ย ว กั น จึ ง ยั ง ต้ อ ง เ ผื่ อ ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ท า ง บุ ค ค ล ไ ว้ ด้ ว ย ค ว ร รู้ จั ง ห ว ะ ที่ เ ปิ ด ใ ห้ เ กิ ด ก า ร สื่ อ ส า ร ส อ ง ท า ง เพื่ อแก้ไข ค วามแตกต่างระห ว่างบุคค ล บุค ค ลใด ที่ไม่เข้าใจ หรือตามไม่ทัน สามารถถามเพิ่มเติมได้ บุคคลใดที่คิดได้เร็วกว่า ก็ ส า ม า ร ถ ถ า ม ค า ถ า ม เ ฉ พ า ะ ต น ไ ด้ ก า ร สื่ อ ส า ร เ ชิ ง ก ลุ่ ม จึ ง มี ค ว า ม ย า ก ขึ้ น ม า อี ก ร ะ ดับ ห นึ่ ง แ ล ะ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ค า ด ห วั ง ผ ล ร า ย บุ ค ค ล ไ ด้ จาต้องประเมินผลเหมือนการหว่านเมล็ดพืชฉะนั้น 4.3 การสื่อสารเชิงกลุ่มที่มีความแตกต่างกัน ก า ร สื่ อ ส า ร ที่ ย า ก ขึ้ น ม า อี ก ร ะ ดั บ คื อ การสื่อสารเชิงกลุ่มที่มีความซับซ้อน คือ มีภูมิจิตที่แตกต่างกัน เ นื้ อ ห า ก า ร สื่ อ ส า ร อ า จ ไ ม่ เ ฉ พ า ะ เ จ า ะ จ ง ใ น เ รื่ อ ง เ ดี ย ว บางครั้งจาต้องไล่เรียงจากต่าไปสูงเพื่อให้ทุกระดับจิตสามารถได้ประโย ชน์ทั่วถึงกัน การหวังผลทาได้น้อย เพราะความไม่เฉพาะเจาะจงนี่เอง บ า ง ค รั้ง อ า จ ต้อ ง ว น ร อ บ ป รับ ร ะ ดับ ธ ร รม ก ลับ ไ ป ม า คื อ ถ อ ย ร ะ ดั บ ธ ร ร ม ล ด ล ง ห รื อ เ พิ่ ม ขึ้ น กลับไปกลับมาเพื่อช่วย กลุ่มผู้ฟังที่มีค วามแต กต่างกันนั่ นเ อง ใ น ก า ร สื่ อ ส า ร ก ร ณี นี้ ควรเปิดให้มีการสื่อสารในลักษณะสองทางมากกว่าการสื่อสารทางเดียว ดังนั้น การใช้สื่อจึงมักไม่ค่อยได้ผลเท่ากับการสื่อสารผ่านตัวบุคคล 4.4 ข้อควรระวังในการสื่อสารเพื่อสอนธรรม 4.4.1 ต้องแน่ใจว่าการสื่อสารนั้นเป็ นธรรมแท้จริง
  • 19. พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๑๙ บ า ง ท่ า น มั ก สื่ อ ส า ร โ ด ย ใ ช้ ค า ว่ า “ นิ พ พ า น ” มาโฆษณาเหมือนสินค้าชนิดหนึ่ง แต่ไม่เข้าใจว่านิพพานคืออะไร ไ ม่เ ข้า ใ จ ว่า เ ป็ น ก า ร พ้ น ไ ป จ า ก ก า ร เ วี ย น ว่า ย ต า ย เ กิ ด เ พ ร า ะ เ ห็ น ทุ ก ข์ ข อ ง โ ล ก เ ห ตุ โ ท ษ ข อ ง ค ว า ม ห ล ง มัวแต่พูดนอกเรื่องเอาใจคนให้คนอยากฟัง กลายเป็ น “ทอลกโชว์” แล้วเกรงว่าจะมีผู้ครหานินทาก็เอาคาว่า “นิพพาน” มาใส่เสียเฉยๆ อ ย่ า ง นั้ น แ บ บ นี้ ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง เพราะไม่ทาให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้องในธรรมเลย 4.4.2 ต้องไม่ทาให้ผู้ฟังจิตตกทุกข์ เป็ นการเ สี่ย ง ม า กห า ก ไ ม่วิเ ค ร า ะห์ อินท รีย์ ข อ ง ผู้ฟั ง ใ น ก า ร ถ่ า ย ท อ ด ธ ร ร ม ที่ มุ่ ง เ น้ น ก า ร เ บื่ อ ห น่ า ย โ ล ก นั้ น อันส่งผลทางจิตวิทยาให้เกิดภาวะซึมเศร้าและการตกทุกข์ของผู้ฟังได้ นี่ก็ไม่ช่วยให้เกิดการบรรลุธรรมเพราะจิตที่เศร้าหมองไม่ผ่องใสไม่อาจเ ป็ น ฐ า น ข อ ง ปั ญ ญ า ไ ด้ นั่ น เ อ ง ดั ง นั้ น จาต้องถ่ายทอดธรรมพร้อมยกระดับจิตให้ผู้ฟังมีจิตสงบผ่องใสด้วย 4.4.3 ต้องไม่ทาให้ผู้ฟังหลงทาง ห ล า ย ท่ า น เ อ า ธ ร ร ม ะ ไ ป ท า ใ ห้ ผิ ด เ พี้ ย น หวังประโยชน์สุขเพียงปัจจุบัน เป็นแค่สุขทางโลกที่ได้เพราะความสงบ ห รือได้เพ ราะการเข้าสังค มแก้เห งาที่ถูกจริต ต นไปเท่า นั้ น โ ด ย ที่ ต น ไ ม่ ท ร า บ เ ล ย ว่ า ก า ลัง บิ ด เ บื อ น ธ ร ร ม ะ อ ยู่ ด้วยคิดไปว่าการออกบวชการอ่านธรรมะก็เข้าใจนั้นคือการบรรลุธรรม แล้ว จึงได้สื่อสารผิดไป ยังผลให้ผู้คนหลงทางไม่บรรลุอะไรเลย มี ค ว า ม ป ร ะ ม า ท ใ น ชี วิต คิด ว่า ภ า ว ะ ที่ ต น อ ยู่ นั้ น ดี แ ล้ ว ไม่พ้นได้จากค วา ม ทุ กข์แ ท้จริง ผู้สื่อสารจะรับ ก ร ร ม ม า ก จ า ต้ อ ง สื่ อ ส า ร ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม กับ ร ะ ดับ ภู มิ ธ ร ร ม ข อ ง ต น แ ล ะ ต้อ ง บ ร ร ลุ ธ ร ร ม จ ริง ๆ ไ ม่ค ว ร ห ล ง กับ ค า ว่า “ คุ รุ ” หากตนไม่แน่ใจว่าจะถ่ายทอดธรรมได้จริง10 10 ranking, เทคนิคการสื่อสารเพื่อการสอนธรรมะและจรรโลงพระพุทธศาสนา,[ออนไลน์], แหล่งที่มา : http://oknation.nationtv.tv/blog/buddhabath/2008/06/21/entry-4, [12 ธันวาคม 2559].
  • 20. พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๒๐ 5. พุทธวิธีในการสื่อสารของพระพุทธเจ้า พุ ท ธ วิ ธี ใ น ก า ร สื่ อ ส า ร ข อ ง พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า พ ร ะ อ ง ค์ ใ ช้ รู ป แ บ บ ที่ แ ต ก ต่ า ง กั น ทั้ ง นี้ เ พ ร า ะ พ ร ะ ป รี ช า ญ า ณ ข อ ง พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า ท ร ง เ ข้ า ใ จ ห ลั ก ท ฤ ษ ฎี ใ น ก า ร สื่ อ ส า ร เ ป็ น อ ย่ า ง ดี พระองค์จะสื่อสารเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาซึ่งพระองค์ทรงรู้วิธีกา รวิเคราะห์ทฤษฎีองค์ประกอบของการสื่อสารได้อย่างแตกฉาน ดังนั้นเพื่อความเข้าใจและศึกษาในทฤษฎีการสื่อสารกับพระพุทธ ศ า ส น า ที่ มี พุ ท ธ วิ ธี ใ น ก า ร สื่ อ ส า ร ไ ด้ อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง ในบทนี้เราจะศึกษาตามทฤษฎีองค์ประกอบของการสื่อสารว่าพระพุทธศ าสนามีพุทธวิธีการสื่อสารอย่างไรตามหลักขององค์ประกอบของการสื่อ สาร ดังนี้ 5.1 ผู้ส่งสาร (Sender) ผู้ ส่ ง ส า ร ห ม า ย ถึ ง พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า พุ ท ธ ส า ว ก พระสงฆ์ผู้ประกาศศาสนา หรือผู้ประกาศสัจธรรม ผู้ ส่ ง ส า ร ต า ม แ น ว พุ ท ธ คุ ณ พระพุทธเจ้าองค์ศาสดาของพระพุทธศาสนามีคุณสมบัติหรือมีพุทธคุณ 9 ประการ 1. อ ะ ร ะ หั ง เ ป็ น พ ร ะ อ ร หั น ต์ คื อ เป็ นผู้บริสุทธิ์ไกลจา กกิเลสทาลา ยกา แพ งสังขา รจักรได้แล้ว เป็นผู้ควรแนะนาสั่งสอนผู้อื่นควรได้รับความเคารพบูชา เป็นต้น 2. สัมมาสัมพุทโธ เป็นผู้ตรัสรู้ชอบเอง 3. วิชชาจะระณะสัมปันโน เป็ นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชา คือความรู้ และจรณะ คือความประพฤติ 4. สุ ค โ ต เ ป็ น ผู้ เ ส ด็ จ ไ ป ดี แ ล้ ว คื อ ทรงดาเนินพ ร ะ พุ ท ธ จ ริย าใ ห้เ ป็ น ไ ปโด ย ส าเ ร็ จผ ล ด้ว ย ดี พ ร ะ อ ง ค์ เ อ ง ก็ ไ ด้ ต รั ส รู้ ส า เ ร็ จ เ ป็ น พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า ทรงบาเพ็ญพุทธกิจก็สาเร็จประโยชน์ยิ่งใหญ่แล้วแก่ชนทั้งหลายในที่ที่เส ด็ จ ไ ป และแม้ปรินิพพานแล้วก็ได้ประดิษฐานพระศาสนาไว้เป็ นประโยชน์แก่ มหาชนสืบมา
  • 21. พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร ๒๑ 5. โ ล ก ะ วิ ทู เ ป็ น ผู้ รู้ แ จ้ ง โ ล ก คื อ ทรงรู้แจ้งสภาวะอันเป็ นคติธรร มแห่งโลก คือสังขารทั้งห ลาย ท ร ง ห ยั่ ง ท ร า บ อัธ ย า ศัย สัน ด า น แ ห่ ง สัต ว์ โ ล ก ทั้ ง ป ว ง ผู้ เ ป็ น ไ ป ต า ม อ า น า จ แ ห่ ง ค ติ ธ ร ร ม โ ด ย ถ่ อ ง แ ท้ เป็นเหตุให้ทรงดาเนินพระองค์เป็นอิสระพ้นจากอานาจครอบงาธรรมดา และทรงเป็นที่พึ่งแห่งตนอยู่ในกระแสโลกได้ 6. อ นุ ต ต โ ร ปุ ริ ส ทั ม ม ส า ร ถิ เ ป็ น ส า ร ถี ฝึ ก บุ รุ ษ ที่ ฝึ ก ไ ด้ ไ ม่ มี ใ ค ร ยิ่ ง ก ว่ า คื อ ทรงเป็นผู้ฝึกคนได้ดีเยี่ยมไม่มีผู้ใดเทียมเท่า 7. สั ต ถ า เ ท ว ะ ม ะ นุ ส ส า นั ง เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย 8. พุ ท โ ธ เ ป็ น ผู้ ตื่ น แ ล ะ เ บิ ก บ า น แ ล้ ว คื อ ทรงตื่นเองจากความเชื่อถือและข้อปฏิบัติทั้งหลายที่ถือกันมาผิดๆ ด้ ว ย ท ร ง ป ลุ ก ผู้ อื่ น ใ ห้ พ้ น จ า ก ค ว า ม ห ล ง ง ม ง า ย ด้ ว ย อ นึ่ ง เ พ ร า ะ ไ ม่ ติ ด ไ ม่ ห ล ง ไ ม่ ห่ ว ง กั ง ว ล ใ น สิ่ ง ใ ด ๆ มี ก า ร ค า นึ ง ป ร ะ โ ย ช น์ ส่ ว น ต น เ ป็ น ต้ น จึงมีพระทัยเบิกบานบาเพ็ญพุทธกิจได้ถูกต้องบริบูรณ์โดยถือธรรมเป็ นป ระมาณการที่ทรงพระคุณสมบูรณ์เช่นนี้และส่งบาเพ็ญพุทธกิจได้เรียบร้ อยบริบูรณ์เช่นนี้ ย่อมอาศัยเหตุคือ ความเป็นผู้ตื่นและย่อมให้เกิดผล คือ ทาให้เบิกบานด้วย 9. ภ ค ว า ท ร ง เ ป็ น ผู้ มี โ ช ค คื อ จะส่งทาการใดก็ลุล่วงปลอดภัยทุกประการหรือเป็ นผู้จาแนกแจกธรรม 6. หลักการและวิธีการในการเผยแผ่ 6.1 หลักการเผยแผ่ตามหลักพระพุทธศาสนา พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า มี อ า ยุ ยื น ย า ว ม า ไ ด้ ห ล า ย พั น ปี แ ส ด ง ถึ ง ว่ า มี ก า ร สื บ ท อ ด ก า ร ส อ น เ ผ ย แ ผ่ หรือการสื่อสารคาสอนของพระพุทธศาสนาไปยังพุทธศาสนิกชน ด้วยวิธีการท่องจาแบบดั้งเดิม จนมาถึงการใช้เทคโนโลยีสารเทศ อินเทอร์เน็ต เครือข่ายสังคมออนไลน์ในยุคนี้ เพื่อช่วยเผยแผ่ พระธรรมของพระพุทธศาสนาในโลกยุคปัจจุบัน