SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 36
INTRODUCTION TO
CINICAL NUTRITION
Happy Friday Knight
OUTLINES
การคัดกรองและประเมินภาวะโภชนาการ
ข้อบ่งชี้ในการให้โภชนบาบัด
ช่องทางการให้โภชนบาบัด
ความต้องการสารอาหาร
การให้อาหารเข้าทางเดินอาหาร (enteral nutrition)
การให้อาหารทางหลอดเลือดดา (parenteral nutrition)
ภาวะแทรกซ้อน
การคัดกรองภาวะโภชนาการ
คัดกรองทุกรายภายใน 24-48 ชม
ใช้คาถาม 4 ข้อ:
น้าหนักตัวลดโดยไม่ได้ตั้งใจใน 6 เดือน
ได้รับอาหารน้อยกว่าที่เคยได้เกิน 7 วัน
BMI < 18.5
อยู่ในภาวะวิกฤต
การประเมินภาวะโภชนาการ
NT 2013
NAF
Subjective global assessment (SGA)
ข้อบ่งชี้ในการให้โภชนบาบัด
Moderate malnutrition
กินอาหารได้ < 60% กับความต้องการของร่างกายเกิน 7 วัน
VS stable
Not in terminally ill
เวลาในการให้โภชนบาบัด
เริ่มโดยเร็วที่สุดภายใน 24-48 ชั่วโมงแรก
เริ่ม oral > EN > PN
ช่องทางการให้โภชนบาบัด
ระยะสั้น: OG, NG
ระยะยาว > 6 wk หรือมีการกลืนผิดปกติ: PEG, open gastrostomy
Postpyloric feeding ในผู้ป่วย gastric feeding intolerance
หรือมีข้อจากัดในการให้อาหารทางกระเพาะอาหาร
NG, OG
เลือกสายขนาดเล็ก < 14F ลดการระคายเคืองเยื่อบุจมูก
ตรวจสอบตาแหน่งปลายสายทุกครั้ง ต้องอยู่ในกระเพาะอาหาร: NEX + 10cm,
whoosh test และดู content
หากยังไม่สามารถยืนยันได้ว่าปลายสายอยู่ในตาแหน่งที่เหมาะสม ให้หลีกเลี่ยงการ feed
Long term Enteral Access Devices
PEG, PEJ, open gastrostomy, jejunostomy
มีประโยชน์ในผู้ป่วยหลอดเลือดสมอง กล้ามเนื้ออ่อนแรง กลืนลาบากถาวร
ความต้องการสารอาหาร
Energy 25 – 30 kcal/kg/day
Macronutrient
Carbohydrate 45- 60%
Protein 15 – 20%
Fat 20 – 35%
Micronutrient
Vitamin
Trace elements
ความต้องการสารน้า
30-35 ml/kg/day
Water to energy ratio: 1.2 – 1.5
carbohydrate
Oral: 4 kcal/kg
Dextrose IV: 3.4 kcal/kg
protein
0.9 – 1.2 g/kg/day
Multiplied by stress factor:
ไข่ไก่เบอร์ศูนย์ หนัก 50 g มีโปรตีน 7 g แต่ไข่ขาวมีโปรตีนเพียง 2 – 3 g
Fat
9 kcal/kg
Enteral Nutrition (EN)
เสี่ยงสูง: เริ่มให้ภายใน 23 – 48 hr
เริ่มให้10 kcal/kg/d และปรับขึ้นวันละ 30%
ถ้ารับได้ดี ให้ปรับเพิ่มให้ถึงปริมาณความต้องการภายใน 72 hr
Feeding intolerance ให้ค่อยๆปรับให้ได้ภายใน 5-7 วัน
ถ้าไม่ได้ให้เสริมด้วย PN
ประเมินความเสี่ยง refeeding syndrome
Refeeding syndrome
Hypokalemia
Hypophosphatemia
Hypomagnesemia
Thiamine deficiency
Salt and water retention
Enteral Nutrition (EN)
ให้Blenderized diet (BD) เป็นอันดับแรกก่อนให้อาหารสูตรเฉพาะโรค
ความเร็ว
Continuous
Intermittent
bolus
EN: ความเร็วในการให้อาหาร
Continuous: drip ต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง ในผู้ป่วยต่อไปนี้
ปลายสายอยู่ในลาไส้เล็ก
เสี่ยงต่อการสาลัก
Critically ill
Prolonged fasting
Feeding intolerance
EN: ความเร็วในการให้อาหาร
Intermittent feeding: แบ่งอาหารให้เป็นมื้อ ผ่านสายให้อาหารช้าๆ 1-3 ชั่วโมง
ต่อมื้อ และมีช่วงพัก จะทาให้รับได้ดีกว่า bolus feeding
ปลายสายอยู่ในกระเพาะอาหาร
เริ่มให้อาหารเป็นครั้งแรก
ปรับตัวรับ continuous feeding ได้ดีแล้ว
Bolus feeding
สะดวก
ควรใช้เฉพาะในผู้ป่วยที่รับการ feed วิธีอื่นได้ดีแล้ว
ต้องไม่หมดเร็วกว่า 15 นาที
EN: ความเร็วในการให้อาหาร
การบริหารยา
เลือกยาน้าก่อน
Tablet บดละลายน้า
Hard gelatin capsule แยกฝา
Soft capsule ใช้เข็มเจาะแคปซูล
ไม่ควรบด extended-release tablet, sublingual tablet,
enteric-coated tablet, เคมีบาบัด
ล้างสายด้วยน้าสะอาด 15-30 ml ก่อนและหลังให้ยาแต่ละครั้ง
ถ้าต้องให้ยาหลายชนิด ให้ล้างสายก่อน
ไม่ควรผสมยาในอาหาร
Feeding Intolerance
Gastric residual volume (GRV) คือการวัด content ที่เหลือใน
กระเพาะอาหาร
GRV ช่วยในการรักษา แต่ไม่ใช่ตัวหลักที่ต้องยึด
ปัจจัยเสี่ยงต่อการสูดสาลักอาหาร
Altered mental status
ETT
NG
Supine position
การป้องกัน apiration
ศีรษะยกสูง 30 – 45 องศา ก่อนให้อาหาร
ให้อาหารโดย continuous feeding
Postpyloric feeding
Prokinetic agents
ทาความสะอาดช่องปากด้วย chlorhexidine
การให้อาหารทางหลอดเลือดดา
(Parenteral nutrition: PN)
Indications: ให้อาหารเข้าทางเดินอาหารไม่ได้ เช่น bowel obstruction,
bowel ischemia, feeding tolerance
รพ.มี B-fluid และ Kabiven smof
Parenteral Nutrition
Peripheral
Peripheral IV
Lower energy
Central:
higher concentration and osmolality
Higher energy
Require central line
conclusion
สารอาหารไม่ใช่พระเอก แต่ก็เป็นพระรอง ขาดไม่ได้
ประเมินความเสี่ยงต่อการขาดโภชนาการในผู้ป่วยทุกราย และให้การรักษา
คานวณแคลอรี่ที่ควรได้รับในแต่ละวัน และให้อาหารให้เหมาะสม
เลือกให้อาหารในช่องทางธรรมชาติก่อนเสมอ
Introduction to nutrition
Introduction to nutrition

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
taem
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
Maytinee Beudam
 
ประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำ
Prathan Somrith
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
Aiman Sadeeyamu
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
piyarat wongnai
 

Was ist angesagt? (20)

การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
 
Naranjo
NaranjoNaranjo
Naranjo
 
Berodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solutionBerodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solution
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
 
Genogram
GenogramGenogram
Genogram
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
 
ประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำ
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
 
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภคบทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
 
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาสรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
 

Mehr von HappyFridayKnight

Mehr von HappyFridayKnight (20)

chronic venous disease: in brief
chronic venous disease: in briefchronic venous disease: in brief
chronic venous disease: in brief
 
Abdominal Vascular Injury - FB: Happy Friday Knight
Abdominal Vascular Injury - FB: Happy Friday KnightAbdominal Vascular Injury - FB: Happy Friday Knight
Abdominal Vascular Injury - FB: Happy Friday Knight
 
Trauma of PANCREAS
Trauma of PANCREASTrauma of PANCREAS
Trauma of PANCREAS
 
Trauma of duodenum
Trauma of duodenumTrauma of duodenum
Trauma of duodenum
 
Breast Cancer Overview
Breast Cancer OverviewBreast Cancer Overview
Breast Cancer Overview
 
How to Interpret CT Brain in TBI.pptx
How to Interpret CT Brain in TBI.pptxHow to Interpret CT Brain in TBI.pptx
How to Interpret CT Brain in TBI.pptx
 
C spine trauma
C spine traumaC spine trauma
C spine trauma
 
Initial assessment in trauma
Initial assessment in traumaInitial assessment in trauma
Initial assessment in trauma
 
Head trauma for medical students
Head trauma for medical studentsHead trauma for medical students
Head trauma for medical students
 
Trauma damage control
Trauma damage controlTrauma damage control
Trauma damage control
 
Pelvic fractures made easy
Pelvic fractures made easyPelvic fractures made easy
Pelvic fractures made easy
 
Common gastic problems for interns
Common gastic problems for internsCommon gastic problems for interns
Common gastic problems for interns
 
Medical monitoring system in Our Daily Life (Thai)
Medical monitoring system in Our Daily Life (Thai)Medical monitoring system in Our Daily Life (Thai)
Medical monitoring system in Our Daily Life (Thai)
 
Venous thromboembolism
Venous thromboembolismVenous thromboembolism
Venous thromboembolism
 
Weaning ventilator
Weaning ventilatorWeaning ventilator
Weaning ventilator
 
Variceal bleeding and massive upper gi bleeding
Variceal bleeding and massive upper gi bleedingVariceal bleeding and massive upper gi bleeding
Variceal bleeding and massive upper gi bleeding
 
Diabetic foot
Diabetic footDiabetic foot
Diabetic foot
 
Head and cervical spine trauma
Head and cervical spine traumaHead and cervical spine trauma
Head and cervical spine trauma
 
Skin, soft tissue, and hand infection
Skin, soft tissue, and hand infectionSkin, soft tissue, and hand infection
Skin, soft tissue, and hand infection
 
Common surgical condition at opd for nurses
Common surgical condition at opd for nursesCommon surgical condition at opd for nurses
Common surgical condition at opd for nurses
 

Introduction to nutrition