SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 12
Downloaden Sie, um offline zu lesen
น.ส. อิชยาย์ ฟักแฟง ชั้นม.๔/๘ เลขที่ ๓๖
กรมหม่อนไหม เป็ นส่ วนราชการระดับกรม ในสังกัดกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์จดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๒ เพื่อการอนุรักษ์ส่งเสริ มการวิจย และพัฒนาใน
           ั                                                     ั
เรื่ องของหม่อนไหม




                           น.ส. อิชยาย์ ฟักแฟง ชั้นม.๔/๘ เลขที่ ๓๖
กรมหม่อมไหม เดิมเรี ยกว่า "กรมช่างไหม" ก่อตั้งในปี พ.ศ. ๒๔๖๔ โดย
                                       ่ ั
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหว ซึ่ งในอดีตให้ความสาคัญเรื่ องไหมเป็ นอย่าง
มาก แต่ในระยะต่อมาได้มีการยุบกรมดังกล่าวเข้ารวมเป็ นกอง ในสังกัดกรมกสิ กรรม
จนกระทังเมื่อวันที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ ตามพระราชดาริ ของสมเด็จพระนางเจ้า
            ่
สิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินีนาถ จึงได้มีการยกฐานะสถาบันวิจยหม่อนไหม กรมวิชาการ
                                                        ั
เกษตร จัดตั้งเป็ น "กรมหม่อนไหม" ขึ้น โดยมีวตถุประสงค์เพื่อการอนุรักษ์ ส่ งเสริ มการ
                                               ั
วิจยและพัฒนาในเรื่ องของหม่อนไหมและเส้นใยต่างๆ
    ั


                              น.ส. อิชยาย์ ฟักแฟง ชั้นม.๔/๘ เลขที่ ๓๖
กรมหม่อนไหม แบ่งการบริ หารออกเป็ น ๔ สานักในส่ วนกลาง ๕ สานักงานเขต และ
๒๑ ศูนย์หม่อนไหมฯ ทัวประเทศ ได้แก่
                    ่
- สานักบริ หารกลาง
- สานักวิจยและพัฒนาหม่อนไหม
            ั
- สานักอนุรักษ์และตรวจสอบมาตรฐานหม่อนไหม
- สานักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีหม่อนไหม
- สานักงานหม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินีนาถ
เขต ๑ ถึง ๕ ได้แก่

                          น.ส. อิชยาย์ ฟักแฟง ชั้นม.๔/๘ เลขที่ ๓๖
- สานักงานหม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เขต ๑ จังหวัดแพร่ มีศนย์หม่อนไหมเฉลิมพระ
                                                                 ู
เกียรติฯ เครื อข่าย ๔ จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ ตาก น่าน และแพร่
- สานักงานหม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เขต ๒ จังหวัดอุดรธานี มีศนย์หม่อนไหมเฉลิม
                                                                        ู
พระเกียรติฯ เครื อข่าย ๔ จังหวัด ได้แก่ เลย สกลนคร หนองคาย และอุดรธานี
- สานักงานหม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เขต ๓ จังหวัดขอนแก่น มีศนย์หม่อนไหม    ู
เฉลิมพระเกียรติฯ เครื อข่าย ๔ จังหวัด ได้แก่ ขอนแก่น ชัยภูมิ มุกดาหาร และร้อยเอ็ด
- สานักงานหม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เขต ๔ จังหวัดนครราชสี มา มีศนย์หม่อนไหม  ู
เฉลิมพระเกียรติฯ เครื อข่าย ๖ จังหวัด ได้แก่ นครราชสี มา บุรีรัมย์ ศรี สะเกษ สระบุรี
สุ รินทร์ และอุบลราชธานี
- สานักงานหม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เขต ๕ จังหวัดชุมพร มีศนย์หม่อนไหมเฉลิม
                                                                    ู
พระเกียรติฯ เครื อข่าย ๓ จังหวัด ได้แก่ กาญจนบุรี ชุมพร และนราธิวาส

                              น.ส. อิชยาย์ ฟักแฟง ชั้นม.๔/๘ เลขที่ ๓๖
ตรานกยูงพระราชทาน เป็ นเครื่ องหมายรับรองผลิตภัณฑ์ผาไหมไทย ซึ่ งสถาบันวิจย
                                                               ้                     ั
หม่อนไหม (ชื่อเดิมของกรมหม่อนไหม ขณะนั้นสังกัดกรมวิชาการเกษตร) ร่ วมกับคณะ
ศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรมทรัพย์สินทางปัญญากระทรวงพาณิ ชย์ และ
มูลนิธิส่งเสริ มศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชีนีนาถ ได้ร่วมกันสัมมนา
จนได้มาซึ่ งข้อบังคับว่าด้วยการใช้เครื่ องหมายรับรองดังกล่าว
      สมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน
สัญลักษณ์นกยูงไทย ให้เป็ นเครื่ องหมายรับรองคุณภาพผ้าไหมไทย ๔ ชนิด ประกอบด้วย
นกยูงสี ทอง นกยูงสี เงิน นกยูงสี น้ าเงิน และนกยูงสี เขียว


                              น.ส. อิชยาย์ ฟักแฟง ชั้นม.๔/๘ เลขที่ ๓๖
Royal Thai Silk นกยูงสี ทอง
     เป็ นผ้าไหมที่ผลิตโดยใช้เส้นไหมและวัตถุดิบตลอดจน
กระบวนการผลิตที่เป็ นการอนุรักษ์ภมิปัญญาพื้นบ้านดั้งเดิมของไทย
                                        ู
อย่างแท้จริ ง ดังนี้
-ใช้เส้นไหมพันธุ์ไทยพื้นบ้านเป็ นทั้งเส้นพุงและเส้นยืน
                                            ่
-เส้นไหมต้องสาวด้วยมือผ่านพวงสาวลงภาชนะ
-ทอด้วยกี่ทอมือแบบพื้นบ้านชนิดพุงกระสวยด้วยมือ
                                      ่
-ย้อมด้วยสี ธรรมชาติ หรื อสี เคมีที่ไม่ทาลายสิ่ งแวดล้อม
-ต้องผลิตในประเทศไทยเท่านั้น
** ข้อบังคับกรมหม่อนไหม Royal Thai Silk นกยูงสี ทอง


                  น.ส. อิชยาย์ ฟักแฟง ชั้นม.๔/๘ เลขที่ ๓๖
Classic Thai Silk นกยูงสี เงิน
      เป็ นผ้าไหมที่ผลิตขึ้นโดยยังคงอนุรักษ์ภมิปัญญา
                                             ู
พื้นบ้านผสมผสานกับการประยุกต์ใช้เครื่ องมือและ
กระบวนการผลิตในบางขั้นตอน ดังนี้
-ใช้เส้นไหมพันธุ์ไทยพื้นบ้านหรื อพันธุ์ไทยปรับปรุ งเป็ น
       ่
เส้นพุงหรื อเส้นยืน
-เส้นไหมต้องสาวด้วยมือ หรื อสาวด้วยอุปกรณ์ที่ใช้
มอเตอร์ ขบเคลื่อนไม่เกิน 5 แรงม้า
           ั
-ทอด้วยกี่ทอมือชนิดพุงกระสวยด้วยมือหรื อกี่กระตุกก็ได้
                        ่
-ต้องผลิตในประเทศไทยเท่านั้น
** ข้อบังคับกรมหม่อนไหม Classic Thai Silk
นกยูงสี เงิน
                    น.ส. อิชยาย์ ฟักแฟง ชั้นม.๔/๘ เลขที่ ๓๖
Thai Silk นกยูงสี นาเงิน
                                ้
      เป็ นผ้าไหมชนิดที่ผลิตด้วยภูมิปัญญาของไทยแบบ
ประยุกต์ ใช้เทคโนโลยีการผลิตเข้ากับสมัยนิยมและเชิง
ธุรกิจ ดังนี้
-ใช้เส้นไหมแท้เป็ นเส้นพุงและเส้นยืน
                          ่
-ย้อมด้วยสี ธรรมชาติหรื อสี เคมีที่ไม่ทาลายสิ่ งแวดล้อม
-ทอด้วยกี่แบบใดก็ได้
-ต้องผลิตในประเทศไทยเท่านั้น
** ข้อบังคับกรมหม่อนไหม Thai Silk นกยูงสี น้ า
เงิน


                   น.ส. อิชยาย์ ฟักแฟง ชั้นม.๔/๘ เลขที่ ๓๖
Thai Silk Blend นกยูงสี เขียว
       เป็ นผ้าไหมที่ผลิตด้วยกระบวนการผลิตและเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่
ผสมผสานกับภูมิปัญญาไทยในด้านลวดลายและสี สันระหว่างเส้นใย
            ั
ไหมแท้กบเส้นใยอื่นที่มาจากธรรมชาติ หรื อเส้นใยสังเคราะห์รูปแบบ
ต่างๆ ตามวัตถุประสงค์การใช้งาน หรื อตามความต้องการของผูบริ โภค
                                                          ้
ดังนี้
-ใช้เส้นไหมแท้เป็ นส่ วนประกอบหลัก
มีเส้นใยอื่นเป็ นส่ วนประกอบรอง
-ต้องระบุส่วนประกอบของเส้นใยอื่นให้ชดเจน   ั
-ทอด้วยกี่แบบใดก็ได้
-ย้อมด้วยสี ธรรมชาติ หรื อสี เคมีที่ไม่ทาลายสิ่ งแวดล้อม
-ต้องผลิตในประเทศไทยเท่านั้น
** ข้อบังคับกรมหม่อนไหม Thai Silk Blend นกยูงสี เขียว
                       น.ส. อิชยาย์ ฟักแฟง ชั้นม.๔/๘ เลขที่ ๓๖
เปาประสงค์
   ้
๑. เกษตรกรได้รับการพัฒนาและเสริ มสร้างความเข้มแข็ง
๒. เกษตรกรผูปลูกหม่อนเลี้ยงไหมสามารถผลิตสิ นค้าหม่อนไหมได้
                 ้
เพิมขึ้นทั้งปริ มาณ คุณภาพ และมูลค่า
     ่
๓. ปริ มาณและมูลค่าการจาหน่ายสิ นค้าหม่อนไหมและเส้นใยธรรมชาติ
อื่นเพิมขึ้น
       ่
๔. หน่วยงานมีผลการศึกษาวิจยที่สามารถตอบสนองความต้องการและ
                             ั
แก้ปัญหาของประเทศ
๕. หน่วยงานมีระบบการทางานและการบริ หารจัดการที่มีประสิ ทธิ ภาพ


               น.ส. อิชยาย์ ฟักแฟง ชั้นม.๔/๘ เลขที่ ๓๖
วิสัยทัศน์
"องค์กรนาในการอนุรักษ์ภูมิปัญญา พัฒนาไหมไทยสู่ สากล"

คาขวัญกรมหม่ อนไหม
“สามัคคี รู้หน้าที่ มีวินย ใจส่ งเสริ ม ริ เริ่ มพัฒนา”
                         ั


                                       ข้อมูล
                                       http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%
                                       A1%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0
                                       %B8%99%E0%B9%84%E0%B8%AB%E0%B8%A1 `วิกิพีเดีย

                                       http://www.qsds.go.th/qthaisilk/inside.php?com_option=page&aid=
                                       1&sub=1     กระทรวงการเกษตรและสหกรณ์




               น.ส. อิชยาย์ ฟักแฟง ชั้นม.๔/๘ เลขที่ ๓๖

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie พระราชดำริหม่อนไหม ๓๖

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงKwang Yuri
 
หม่อนไหม
หม่อนไหมหม่อนไหม
หม่อนไหมammtees
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงKwang Yuri
 
ดอกมะลิ
ดอกมะลิดอกมะลิ
ดอกมะลิpaunphet
 
โครงการธนาคารโค กระบือ
โครงการธนาคารโค กระบือโครงการธนาคารโค กระบือ
โครงการธนาคารโค กระบือtugtig_nrcp
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7Ploy Benjawan
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”กอฟ กอฟ
 
Smart farm white paper chapter 5
Smart farm white paper chapter 5Smart farm white paper chapter 5
Smart farm white paper chapter 5Pisuth paiboonrat
 
โครงงานคอมยางพารา
โครงงานคอมยางพาราโครงงานคอมยางพารา
โครงงานคอมยางพาราKruPor Sirirat Namthai
 

Ähnlich wie พระราชดำริหม่อนไหม ๓๖ (10)

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
หม่อนไหม
หม่อนไหมหม่อนไหม
หม่อนไหม
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ดอกมะลิ
ดอกมะลิดอกมะลิ
ดอกมะลิ
 
โครงการธนาคารโค กระบือ
โครงการธนาคารโค กระบือโครงการธนาคารโค กระบือ
โครงการธนาคารโค กระบือ
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
 
Smart farm white paper chapter 5
Smart farm white paper chapter 5Smart farm white paper chapter 5
Smart farm white paper chapter 5
 
โครงงานคอมยางพารา
โครงงานคอมยางพาราโครงงานคอมยางพารา
โครงงานคอมยางพารา
 

พระราชดำริหม่อนไหม ๓๖

  • 1. น.ส. อิชยาย์ ฟักแฟง ชั้นม.๔/๘ เลขที่ ๓๖
  • 2. กรมหม่อนไหม เป็ นส่ วนราชการระดับกรม ในสังกัดกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์จดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๒ เพื่อการอนุรักษ์ส่งเสริ มการวิจย และพัฒนาใน ั ั เรื่ องของหม่อนไหม น.ส. อิชยาย์ ฟักแฟง ชั้นม.๔/๘ เลขที่ ๓๖
  • 3. กรมหม่อมไหม เดิมเรี ยกว่า "กรมช่างไหม" ก่อตั้งในปี พ.ศ. ๒๔๖๔ โดย ่ ั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหว ซึ่ งในอดีตให้ความสาคัญเรื่ องไหมเป็ นอย่าง มาก แต่ในระยะต่อมาได้มีการยุบกรมดังกล่าวเข้ารวมเป็ นกอง ในสังกัดกรมกสิ กรรม จนกระทังเมื่อวันที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ ตามพระราชดาริ ของสมเด็จพระนางเจ้า ่ สิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินีนาถ จึงได้มีการยกฐานะสถาบันวิจยหม่อนไหม กรมวิชาการ ั เกษตร จัดตั้งเป็ น "กรมหม่อนไหม" ขึ้น โดยมีวตถุประสงค์เพื่อการอนุรักษ์ ส่ งเสริ มการ ั วิจยและพัฒนาในเรื่ องของหม่อนไหมและเส้นใยต่างๆ ั น.ส. อิชยาย์ ฟักแฟง ชั้นม.๔/๘ เลขที่ ๓๖
  • 4. กรมหม่อนไหม แบ่งการบริ หารออกเป็ น ๔ สานักในส่ วนกลาง ๕ สานักงานเขต และ ๒๑ ศูนย์หม่อนไหมฯ ทัวประเทศ ได้แก่ ่ - สานักบริ หารกลาง - สานักวิจยและพัฒนาหม่อนไหม ั - สานักอนุรักษ์และตรวจสอบมาตรฐานหม่อนไหม - สานักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีหม่อนไหม - สานักงานหม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินีนาถ เขต ๑ ถึง ๕ ได้แก่ น.ส. อิชยาย์ ฟักแฟง ชั้นม.๔/๘ เลขที่ ๓๖
  • 5. - สานักงานหม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เขต ๑ จังหวัดแพร่ มีศนย์หม่อนไหมเฉลิมพระ ู เกียรติฯ เครื อข่าย ๔ จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ ตาก น่าน และแพร่ - สานักงานหม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เขต ๒ จังหวัดอุดรธานี มีศนย์หม่อนไหมเฉลิม ู พระเกียรติฯ เครื อข่าย ๔ จังหวัด ได้แก่ เลย สกลนคร หนองคาย และอุดรธานี - สานักงานหม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เขต ๓ จังหวัดขอนแก่น มีศนย์หม่อนไหม ู เฉลิมพระเกียรติฯ เครื อข่าย ๔ จังหวัด ได้แก่ ขอนแก่น ชัยภูมิ มุกดาหาร และร้อยเอ็ด - สานักงานหม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เขต ๔ จังหวัดนครราชสี มา มีศนย์หม่อนไหม ู เฉลิมพระเกียรติฯ เครื อข่าย ๖ จังหวัด ได้แก่ นครราชสี มา บุรีรัมย์ ศรี สะเกษ สระบุรี สุ รินทร์ และอุบลราชธานี - สานักงานหม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เขต ๕ จังหวัดชุมพร มีศนย์หม่อนไหมเฉลิม ู พระเกียรติฯ เครื อข่าย ๓ จังหวัด ได้แก่ กาญจนบุรี ชุมพร และนราธิวาส น.ส. อิชยาย์ ฟักแฟง ชั้นม.๔/๘ เลขที่ ๓๖
  • 6. ตรานกยูงพระราชทาน เป็ นเครื่ องหมายรับรองผลิตภัณฑ์ผาไหมไทย ซึ่ งสถาบันวิจย ้ ั หม่อนไหม (ชื่อเดิมของกรมหม่อนไหม ขณะนั้นสังกัดกรมวิชาการเกษตร) ร่ วมกับคณะ ศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรมทรัพย์สินทางปัญญากระทรวงพาณิ ชย์ และ มูลนิธิส่งเสริ มศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชีนีนาถ ได้ร่วมกันสัมมนา จนได้มาซึ่ งข้อบังคับว่าด้วยการใช้เครื่ องหมายรับรองดังกล่าว สมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน สัญลักษณ์นกยูงไทย ให้เป็ นเครื่ องหมายรับรองคุณภาพผ้าไหมไทย ๔ ชนิด ประกอบด้วย นกยูงสี ทอง นกยูงสี เงิน นกยูงสี น้ าเงิน และนกยูงสี เขียว น.ส. อิชยาย์ ฟักแฟง ชั้นม.๔/๘ เลขที่ ๓๖
  • 7. Royal Thai Silk นกยูงสี ทอง เป็ นผ้าไหมที่ผลิตโดยใช้เส้นไหมและวัตถุดิบตลอดจน กระบวนการผลิตที่เป็ นการอนุรักษ์ภมิปัญญาพื้นบ้านดั้งเดิมของไทย ู อย่างแท้จริ ง ดังนี้ -ใช้เส้นไหมพันธุ์ไทยพื้นบ้านเป็ นทั้งเส้นพุงและเส้นยืน ่ -เส้นไหมต้องสาวด้วยมือผ่านพวงสาวลงภาชนะ -ทอด้วยกี่ทอมือแบบพื้นบ้านชนิดพุงกระสวยด้วยมือ ่ -ย้อมด้วยสี ธรรมชาติ หรื อสี เคมีที่ไม่ทาลายสิ่ งแวดล้อม -ต้องผลิตในประเทศไทยเท่านั้น ** ข้อบังคับกรมหม่อนไหม Royal Thai Silk นกยูงสี ทอง น.ส. อิชยาย์ ฟักแฟง ชั้นม.๔/๘ เลขที่ ๓๖
  • 8. Classic Thai Silk นกยูงสี เงิน เป็ นผ้าไหมที่ผลิตขึ้นโดยยังคงอนุรักษ์ภมิปัญญา ู พื้นบ้านผสมผสานกับการประยุกต์ใช้เครื่ องมือและ กระบวนการผลิตในบางขั้นตอน ดังนี้ -ใช้เส้นไหมพันธุ์ไทยพื้นบ้านหรื อพันธุ์ไทยปรับปรุ งเป็ น ่ เส้นพุงหรื อเส้นยืน -เส้นไหมต้องสาวด้วยมือ หรื อสาวด้วยอุปกรณ์ที่ใช้ มอเตอร์ ขบเคลื่อนไม่เกิน 5 แรงม้า ั -ทอด้วยกี่ทอมือชนิดพุงกระสวยด้วยมือหรื อกี่กระตุกก็ได้ ่ -ต้องผลิตในประเทศไทยเท่านั้น ** ข้อบังคับกรมหม่อนไหม Classic Thai Silk นกยูงสี เงิน น.ส. อิชยาย์ ฟักแฟง ชั้นม.๔/๘ เลขที่ ๓๖
  • 9. Thai Silk นกยูงสี นาเงิน ้ เป็ นผ้าไหมชนิดที่ผลิตด้วยภูมิปัญญาของไทยแบบ ประยุกต์ ใช้เทคโนโลยีการผลิตเข้ากับสมัยนิยมและเชิง ธุรกิจ ดังนี้ -ใช้เส้นไหมแท้เป็ นเส้นพุงและเส้นยืน ่ -ย้อมด้วยสี ธรรมชาติหรื อสี เคมีที่ไม่ทาลายสิ่ งแวดล้อม -ทอด้วยกี่แบบใดก็ได้ -ต้องผลิตในประเทศไทยเท่านั้น ** ข้อบังคับกรมหม่อนไหม Thai Silk นกยูงสี น้ า เงิน น.ส. อิชยาย์ ฟักแฟง ชั้นม.๔/๘ เลขที่ ๓๖
  • 10. Thai Silk Blend นกยูงสี เขียว เป็ นผ้าไหมที่ผลิตด้วยกระบวนการผลิตและเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ ผสมผสานกับภูมิปัญญาไทยในด้านลวดลายและสี สันระหว่างเส้นใย ั ไหมแท้กบเส้นใยอื่นที่มาจากธรรมชาติ หรื อเส้นใยสังเคราะห์รูปแบบ ต่างๆ ตามวัตถุประสงค์การใช้งาน หรื อตามความต้องการของผูบริ โภค ้ ดังนี้ -ใช้เส้นไหมแท้เป็ นส่ วนประกอบหลัก มีเส้นใยอื่นเป็ นส่ วนประกอบรอง -ต้องระบุส่วนประกอบของเส้นใยอื่นให้ชดเจน ั -ทอด้วยกี่แบบใดก็ได้ -ย้อมด้วยสี ธรรมชาติ หรื อสี เคมีที่ไม่ทาลายสิ่ งแวดล้อม -ต้องผลิตในประเทศไทยเท่านั้น ** ข้อบังคับกรมหม่อนไหม Thai Silk Blend นกยูงสี เขียว น.ส. อิชยาย์ ฟักแฟง ชั้นม.๔/๘ เลขที่ ๓๖
  • 11. เปาประสงค์ ้ ๑. เกษตรกรได้รับการพัฒนาและเสริ มสร้างความเข้มแข็ง ๒. เกษตรกรผูปลูกหม่อนเลี้ยงไหมสามารถผลิตสิ นค้าหม่อนไหมได้ ้ เพิมขึ้นทั้งปริ มาณ คุณภาพ และมูลค่า ่ ๓. ปริ มาณและมูลค่าการจาหน่ายสิ นค้าหม่อนไหมและเส้นใยธรรมชาติ อื่นเพิมขึ้น ่ ๔. หน่วยงานมีผลการศึกษาวิจยที่สามารถตอบสนองความต้องการและ ั แก้ปัญหาของประเทศ ๕. หน่วยงานมีระบบการทางานและการบริ หารจัดการที่มีประสิ ทธิ ภาพ น.ส. อิชยาย์ ฟักแฟง ชั้นม.๔/๘ เลขที่ ๓๖
  • 12. วิสัยทัศน์ "องค์กรนาในการอนุรักษ์ภูมิปัญญา พัฒนาไหมไทยสู่ สากล" คาขวัญกรมหม่ อนไหม “สามัคคี รู้หน้าที่ มีวินย ใจส่ งเสริ ม ริ เริ่ มพัฒนา” ั ข้อมูล http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8% A1%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0 %B8%99%E0%B9%84%E0%B8%AB%E0%B8%A1 `วิกิพีเดีย http://www.qsds.go.th/qthaisilk/inside.php?com_option=page&aid= 1&sub=1 กระทรวงการเกษตรและสหกรณ์ น.ส. อิชยาย์ ฟักแฟง ชั้นม.๔/๘ เลขที่ ๓๖