SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 14
Downloaden Sie, um offline zu lesen
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
จัดทาโดย
นางสาว ชุติกาญจน์ ปะกิคะเน
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5/1 เลขที่ 10
เสนอ
คุณครู สฤษดิ์ศักดิ์ ชิ้นเขมจารี
โรงเรียน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ด
ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ เป็น
พระโอรสลาดับที่ 62 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 พระ
มารดาคือ พระสัมพันธวงศ์เธอพระองค์เจ้าหญิงพรรณราย ประสูติเมื่อวันอังคารที่ 28
เมษายน พ.ศ. 2406 และทรงเป็นต้นราชสกุล “จิตรพงศ์”
ในด้านหนึ่ง ทรงเป็นเจ้าฟ้าฯผู้เชี่ยวชาญศิลปะแขนงต่างๆ ทั้งวิจิตรศิลป์ สถาปัตยศิลป์ ดุริ
ยางคศิลป์ และวรรณศิลป์ ในช่วงเวลาที่กระแสอารยธรรมตะวันตกถาโถมเข้าใส่สยาม ศิลปะของเรา
ซึ่งมีระเบียบแบบแผนขนบธรรมเนียมเคร่งครัด ต้องเผชิญหน้ากับการท้าทายจากอิทธิพลของศิลปะ
ตะวันตก พระองค์ทรงประยุกต์ปรับปรุงวิจิตรศิลป์ซึ่งเป็นศิลปะประจาชาติไทยด้วยการศึกษาเชิงลึกถึง
รากเหง้า และคลี่คลายรูปแบบทางศิลปะให้มีความเป็นสากลจนเป็นที่ประจักษ์แก่สายตาชาวโลกอันเป็น
การประกาศถึง ความเป็นอารยประเทศที่มีรากฐานทางศิลปวัฒนธรรมอันงดงามไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าชาติ
ใดในโลก
ตลอดพระชนม์ชีพฯ ทรงอุทิศเวลาให้แก่การสร้างสรรค์ “งานช่าง” หลากสาขา ผลงานที่ทรง
รังสรรค์ไว้นับเป็นต้นแบบและแรงบันดาลใจที่สาคัญให้แก่ช่างและศิลปินในยุคหลัง ทรงเป็นกาลังสาคัญ
ในการอนุรักษ์มรดกศิลปกรรมไทย และทรงส่งเสริมผู้มีความรู้ความสามารถให้เป็นกาลังสาคัญในการสืบ
ทอดมรดกงานช่างศิลป์ไทยจนได้รับยกย่องให้เป็น “ สมเด็จครู “ ของช่างทั้งปวง
ตราประจาพระองค์ รูปราชสีห์ถือดาบ บริเวณขอบมีอักษรภาษาบาลี “ กตัสส นัตถิ ปฎิ
การ ปเควตปริกันต ” แปลว่า สิ่งที่ทาแล้ว จะทาคืนมิได้ จงพิจารณาสิ่งที่จะทานั้นก่อน ตราดวงนี้
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานให้ และทรงยืดเป็นหลักธรรมประจาพระองค์มาตลอด
พระชนม์ชีพ
อักษรพระนาม “น ในดวงใจ” อักษร “น” ย่อมาจากพระนาม “นริศ” ส่วนรูปหัวใจหมายถึงพระ
นามเดิม “พระเจ้าลูกเธอพระองค์เจ้าจิตรเจริญ” ซึ่งได้รับพระราชทานจากพระราชบิดา (รัชกาลที่ 4)
อีกด้านหนึ่ง ทรงเป็นเสนาบดีสี่กระทรวง ผู้นาทางทหาร ผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ฯ และ
รัฐบุรุษผู้ทรงพระปรีชา และมีคุณูปการต่อประเทศชาติเป็นอย่างยิ่ง ดังจะเห็นได้จากเมื่อครั้งที่มีการจัด
ตั้งกรมโยธาธิการขึ้นในปี พ.ศ. 2432 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้
เป็นเจ้ากรมหรืออธิบดีกรมฯ พระองค์แรก ด้วยทรงมีคุณสมบัติเหมาะสมในการทาหน้าที่สนอ
งพระบรมราโชบาย และเมื่อกรมฯแห่งนี้ได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นกระทรวง ก็ทรงได้รับพระกรุณาโปรด
เกล้าฯ ให้ดารงตาแหน่งเสนาบดีกระทรวงโยธาธิการ ทาหน้าที่ควบคุมดูแลงานโยธาและงานก่อสร้า
งทั่วประเทศ พระองค์ทรงอุตสาหะศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมทั้งงานช่างแผนเก่าและแผนใหม่ ทั้งวิทยาการ
ด้านการก่อสร้าง การรถไฟ และการสื่อสารโทรคมนาคม จนได้รับพระสมัญญานามว่า “ นายช่างให
ญ่แห่งกรุงสยาม” อีกทั้งยังได้บริหารงานราชาการโดยทรงกาหนดนโยบายการทางานที่ว่า “...กิจการของ
รัฐบาล ควรแบ่ง เป็น 3 ข้อ คือปกครองฝ่ายหนึ่ง ป้องกันฝ่ายหนึ่ง ทะนุบารุงฝ่ายหนึ่ง...” และวางร
ากฐานงานใหม่ๆ อันเป็นต้นแบบให้หน่วยงานอื่นปฏิบัติสืบทอดต่อมาจนถึงปัจจุบัน
ด้านสถาปัตยกรรม
คือ การออกแบบก่อสร้างพระอุโบสถวัดเบญจมบพิตร ถวายพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ. 2442
งานด้านสถาปัตยกรรมเป็นงานที่พระองค์ทรงพิถีพิถันอย่างมาก เพราะตรัสว่า "ต้อง
ระวังเพราะสร้างขึ้นก็เพื่อความพอใจ ความเพลิดเพลินตา ไม่ใช่สร้างขึ้นเพื่ออยากจะ
รื้อทิ้ง ทุนรอนที่เสียไปก็ใช่จะเอาคืนมาได้ ผลที่สุดก็ต้องทิ้งไว้เป็นอนุสาวรีย์สาหรับ
ขายความอาย"
ด้านภาพจิตรกรรม
ภาพเขียน
ภาพเขียนสีน้ามันประกอบพระราชพงศาวดาร แผ่นดินพระเจ้าท้ายสระครั้งกรุงศรี
อยุธยา เป็นภาพช้างทรงพระมหาอุปราชแทงช้างพระที่นั่ง ภาพเขียนรถพระอาทิตย์ที่
เพดานพระที่นั่งภานุมาศจารูญ (พระที่นั่งบรมพิมาน)
ภาพประกอบเรื่องธรรมาธรรมะสงคราม
ภาพแบบพัดต่างๆ
งานออกแบบ
ออกแบบตรากระทรวงต่างๆ, อนุสาวรีย์ทหารอาสาสงครามโลกครั้งที่ 1องค์พระธรณีบีบ
มวยผมที่เชิงสะพานผ่านพิภพลีลาพระบรมรูปหล่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬา
โลกมหาราชที่เชิงสะพานพระพุทธยอดฟ้า
ด้านวรรณกรรม
มีทั้งร้อยแก้วและร้อยกรอง เช่น โคลงประกอบภาพจิตรกรรมภาพพระราชพงศาวดาร, โคลง
ประกอบเรื่องรามเกียรติ์ ทรงนิพนธ์เมื่องานฉลองพระนครครบรอบร้อยปี, ลายพระหัตถ์
โต้ตอบประทานบุคคลต่างๆ เช่น จดหมายเวรโต้ตอบกับสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรม
พระยาดารงราชานุภาพ ลายพระหัตถ์ประทานความรู้ในลักษณะจดหมายโต้ตอบพระสาร
ประเสริฐและพระยาอนุมานราชธน เรื่องภาษาและประเพณี ลายพระหัตถ์โต้ตอบเหล่านี้
เป็นเหมือนคลังความรู้สาหรับผู้สนใจใฝ่ศึกษาค้นคว้าทั่วไป
ด้านดุริยางคศิลป์และนาฏศิลป์
ทรงสนพระทัยทั้งดนตรีไทยและดนตรีสากล โดยเฉพาะดนตรีไทยนั้นทรงฝึกฝนมาแต่
พระเยาว์ ทรงถนัดเล่นปี่พาทย์และระนาดมากกว่าเครื่องดนตรีอื่นๆ
เพลงพระนิพนธ์
เพลงสรรเสริญพระบารมี
เพลงเขมรไทรโยค
เพลงตับ เช่น ตับแม่ศรีทรงเครื่อง ตับเรื่องขอมดาดิน
ด้านบทละคร
ทรงนิพนธ์บทละครดึกดาบรรพ์ไว้หลายเรื่อง เช่น
สังข์ทอง ตอนทิ้งพวงมาลัย ตีคลี และตอนถอดรูป
คาวี ตอนเผาพระขรรค์ ชุบตัว และตอนหึง
อิเหนา ตอนตัดดอกไม้ฉายกริช ไหว้พระ และตอนบวงสรวง
รามเกียรติ์ ตอนศูรปนขาตีสีดา
ชีวิตบั้นปลาย
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ทรงประชวรด้วยโรคพระ
หทัยโตขณะที่ยังทรงรับราชการในตาแหน่งเสนาบดีกระทรวงวังจึงกราบถวายบังคมลาออก
จากราชการ แต่ยังรับราชการส่วนพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า
เจ้าอยู่หัว และรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงใช้เวลาส่วนใหญ่กับงาน
ศิลปะและวิทยาการจนพระกาลังพระปัญญาเสื่อมลงทุกที ด้วยทรงพระชราด้วยโรคภัย
เบียดเบียน คือโรคพระหทัยโต หลอดลมอักเสบเรื้อรัง และโรคเส้นพระโลหิตแข็ง
วันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2490 จึงสิ้นพระชนม์โดยสงบ ขณะมีพระชันษาได้ 83 ปี
เกียรติประวัติ
วันที่ 28 เมษายนเป็นวันครบรอบวันประสูติของพระองค์ ทุกปีจะมีงาน "วันนริศ" ณ
ตาหนักปลายเนิน คลองเตย มีการแสดงละคร การบรรเลงเพลงพระนิพนธ์ การตั้งแสดง
งานฝีพระหัตถ์บางชิ้น และการมอบ "ทุนนริศรานุวัดติวงศ์" แก่นักศึกษาในสาขาวิชาศิลปะ
องค์การยูเนสโกยกย่องให้พระองค์เป็นบุคคลสาคัญของโลกประจาปี พ.ศ. 2506
จบการนาเสนอค่ะ !!

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุดงานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุดSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Mehr von SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุดงานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
 

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์