SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 15
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ประกอบรายวิชา IS1 โดย นางสาวจารุวรรณ ลาพองชาติ
เลขที่18 ห้อง5/2
คานา
ประเทศเนปาลเป็นประเทศที่น่าสนใจและมีสิ่งน่าศึกษา
ค้นคว้ามากมาย มีทั้งสถานที่ท่องเที่ยวชุดประจาชาติ
อาหาร ความเป็นอยู่ การเมื่อง ความหมายของธงชาติ
ว่าทาไมถึงเป็นสามเหลี่ยมแทนที่จะเป็นสี่เหลี่ยมและ
รวมถึงเรื่องของศาสนาอีกด้วย
ผิดพลาดประการใดขออภัยไว้มา ณ ที่นี้ด้วย
สารบัณ
1. ประวัติของประเทศเนปาล หน้าที่1
2. ความเป็นมาของประเทศ หน้าที่3
3. ดอกไม้ประจาชาติ หน้าที่6
4. ชุดประจาชาติ เนปาล หน้าที่7
5. อาหารประจาชาติ หน้าที่8
6. สถานที่ท่องเที่ยว หน้าที่9
7. ประเพณี หรือเทศการของเนปาล หน้าที่12
ประวัติประเทศ เนปาล
ประเทศเนปาล (เนปาล: नेपाल) หรือชื่ออย่างเป็นทางการ
ว่า สหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเนปาล (อังกฤษ:
Federal Democratic Republic of Nepal;
เนปาล: सङ्घीय लोकतान्त्रिक गणति नेपाल
"สงฺฆีย โลกตานฺตฺริก คณตนฺตฺร เนปาล") เป็นประเทศที่ไม่มี
ทางออกสู่ทะเลในเอเชียใต้ มีพื้นที่ 147,181 ตารางกิโลเมตร
และประชากรประมาณ 27 ล้านคน ประเทศเนปาลเป็น
ประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 93 ของโลก และมี
ประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 41 ของโลก ตั้งอยู่ในเทือกเขา
หิมาลัย มีพรมแดนทิศเหนือติดสาธารณรัฐประชาชนจีน ทิศ
ใต้ตะวันออกและตะวันตกติดสาธารณรัฐอินเดีย ประเทศ
เนปาลแยกจากประเทศบังกลาเทศด้วยฉนวนศิลิกูริ
(Siliguri Corridor) แคบ ๆ ในประเทศอินเดีย และ
แยกจากประเทศภูฏานด้วยรัฐสิกขิมของอินเดีย กรุง
กาฐมาณฑุเป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่สุดของประเทศ
ประเทศเนปาลปกครองด้วยระบอบราชาธิปไตยตลอดประวัติศาสตร์ส่วน
ใหญ่ ราชวงศ์ศาหะปกครองตั้งแต่ปี 2311 เมื่อพระเจ้าปฤถวีนารายัณ ศา
หะทรงรวมราชอาณาจักรเล็ก ๆ จานวนมาก จนปี 2551 สงครามกลาง
เมืองนานหนึ่งทศวรรษซึ่งเกี่ยวข้องกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเนปาล (ลัทธิ
เหมา) ตามด้วยการประท้วงใหญ่โดยพรรคการเมืองหลักทุกพรรค นาสู่
ความตกลง 12 ข้อ วันที่ 22 พฤศจิกายน 2548 การเลือกตั้งสภาร่าง
รัฐธรรมนูญเนปาลที่ 1 เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2551 ซึ่งตามมา
สนับสนุนการเลิกราชาธิปไตยและการสถาปนาสหพันธ์สาธารณรัฐ
ประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนหลายพรรคการเมืองอย่างท่วมท้น แม้ความ
ท้าทายทางการเมืองยังดาเนินไป แต่กรอบนี้ยังอยู่ โดยสภาร่าง
รัฐธรรมนูญเนปาลที่ 2 ซึ่งได้รับเลือกตั้งในปี 2556 ในความพยายามเพื่อ
ร่างรัฐธรรมนูญใหม่
ประเทศเนปาลเป็นประเทศกาลังพัฒนาโดยมีเศรษฐกิจรายได้ต่า อยู่ใน
อันดับที่ 145 จาก 187 ประเทศในดัชนีการพัฒนามนุษย์ในปี 2557
ประเทศเนปาลยังเผชิญกับความหิวและความยากจนระดับสูง แม้ความ
ท้าทายเหล่านี้ ประเทศเนปาลยังคงมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง โดย
รัฐบาลผูกมัดยกระดับประเทศจากสถานภาพประเทศด้อยพัฒนาภายใน
ปี 2565
ลักษระประเทศ จากแผนที่
ความเป็นมา ต่างๆ
•ราชอาณาจักรเนปาลมีประวัติศาสตร์อันยาวนานกว่า 2,000 ปี โดยเริ่มจากชนเผ่า
Kirates ในเขตหุบเขากาฐมาณฑุต่อมาในราวคริสต์วรรษที่ 4 ตระกูลลิจฉวี (Lichhavis)
ได้ปกครองดินแดนแถบนี้โดยได้รับอิทธิพลฮินดูและพุทธจากอินเดีย ประวัติศาสตร์เนปาลได้
ปรากฏเด่นชัดขึ้นเมื่อราชวงค์มัลละ (Malla) ได้ปกครองพื้นที่ทางตะวันตกของเนปาล และ
หุบเขากาฐมาณฑุ(Kathmandu Valley) ทั้งหมด ในพุทธศตวรรษที่ 18-21 ต่อมา
ราชอาณาจักรของราชวงค์มัลละถูกแบ่งออกเป็น 3 อาณาจักรคือ กาฐมาณฑุภักตะปุร์ละลิต
ปุร์(ปะฏัน) และกีรติปุร์(ราชอาณาจักร Bhadgaon และราชอาณาจักร Patan)
• การปฏิวัติในเดือนพฤษจิกายน พ.ศ. 2493 เป็นการสิ้นสุดช่วงการปกครองโดย
บรรณาศักดิ์รานะที่ปกครองประเทศเป็นระยะเวลา 104 ปี (พ.ศ. 2389-2493)หลังจาก
การล่มสลายของการปกครองโดยตระกูลของรานะในเดือนกุมภาพันธ์พ.ศ.2494 เนปาล
เริ่มให้ความสนใจกับระบอบการปกครองแบบระบอบประชาธิปไตย จากนั้นได้มีการนา
การปกครองแบบรัฐสภาที่มีรัฐบาลมาผสมมาใช้ในปีพ.ศ.2502 สมเด็จพระราชาธิบดีม
เหนทรา (Mahendra) ได้ทรงพระราชทานรัฐธรรมนูญ และได้จัดให้มีการเลือกตั้ง
โดยมีนาย B.P. Koirala หัวหน้าพรรค NC ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
• ในปีพ.ศ. 2505 ได้มีรัฐธรรมนูญฉบับใหม่กาหนดการปกครองให้เป็นระบบปัญจยัต
(Panchayat System) หรือระบบรัฐสภาแบบสภาเดียวและไม่มีพรรคการเมือง
• กษัตริย์แห่งราชวงศ์มัลละผู้ปกครองกรุงกาฐมาณฑุได้ให้กรสนับสนุนในด้านศิลปะ
และวัฒนธรรมอย่างเต็มที่ ต่อมามีการรณรงค์ในเรื่องการรวมชาติโดยกษัตริย์ปฤถวีนา
รายยัณชาห์มหาราช (King Prithvi Narayan Shah the Great) ในปี
พ.ศ. 2311 ซึ่งพระองค์ทรงเป็นต้น ราชงศ์ชาห์ในปัจจุบัน กษัตริย์ปฤถวีนารายัณ ชาห์
มหาราชาได้สถาปณาราชอาณาจักร Gorkha โดยรวบรวมอาณาจักรทั้งหมดของ
เนปาลเป็นอาณาจักรเดียว ต่อมาเนปาลได้รับชัยชนะในการทาสงครามกับผู้มารุกราน
อาทิอังกฤษด้านอินเดีย และจีนทางด้านทิเบต ในช่วงนี้เนปาลปกครองโดย
นายกรัฐมนตรีเป็นผู้บริหารประเทศในบรรดาศักดิ์ “รานะ” (Rana) ที่สืบทอดกันมาใน
ตระกูล Shamsher ประมาณ 100 ปี ช่วงดังกล่าวกษัตริย์เป็นประมุขแต่เพียงใน
นามเท่านั้น จนกระทั่งปีพ.ศ. 2493 อานาจในการบริหารประเทศจึงกลับคืนมาสู่กษัตริย์
อีกครั้งซึ่งในขณะนั้นคือสมเด็จพระราชาธิบดีตรีภูวัน (Tribhuvan) และ
ขณะเดียวกัน พรรค Nepali Congress (NC) ได้ก่อตั้งขึ้นเป็นพรรคการเมือง
พรรคแรกในเนปาล กษัตริย์แห่งราชวงศ์ชาห์ได้ขึ้นครองราชย์ปกครองประเทศต่อจาก
ราชวงศ์มัลละ
• ในปัจจุบัน เนปาลเข้าสู่ระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐ มีนายราม บา
รัน ยาดัฟ เป็นประธานาธิบดีคนแรก จากการลงคะแนนเสียงของสภาร่าง
รัฐธรรมนูญ 308 เสียง และนายคีรีชา ปราสาท โกอีราละ อดีตรักษาการณ์
ประมุขแห่งรัฐทาหน้าที่นายกรัฐมนตรีต่อไป จนกว่าจะมีการจัดตั้งรัฐบาลใหม่
อันนาโดยพรรคคอมมิวนิสต์ลัทธิเหมาหรืออดีตกลุ่มกบฏลัทธิเหมา ซึ่งมีนาย
ประจันดา เป็นผู้นา
ความเป็นมาของธงชาชิ
ธงชาติเนปาล เป็นธงชาติเดียวในโลกที่มิได้มีรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ธงนี้
เป็นการรวมธงสามเหลี่ยมสองผืน สีแดงเข้มเป็นสีของกุหลาบพันปี ซึ่ง
เป็นดอกไม้ประจาชาติ สีแดงยังเป็นสัญลักษณ์แห่งชัยชนะในสงคราม
ขอบสีน้าเงินเป็นสีแห่งสันติภาพ ภายในมีรูปดวงอาทิตย์และจันทร์เสี้ยว
ประกอบใบหน้ามนุษย์ด้วย กระทั่ง พ.ศ. 2505 ใบหน้ามนุษย์ถูกนาออก
เพื่อทาให้ธงทันสมัย ใบหน้ายังเหลืออยู่บนดวงอาทิตย์ และ ดวงจันทร์
บนธงพระอิสริยยศ สาหรับพระมหากษัตริย์ กระทั่งมีการล้มล้าง
พระมหากษัตริย์ใน พ.ศ. 2551
ธงชาติเนปาล ได้บัญญัติไว้ในร่างรัฐธรรมนูญใหม่ของราชอาณาจักร
เนปาล ในวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2505 ธงสามเหลี่ยมแต่ละผืนได้เคย
ถูกใช้ก่อนหน้านี้เป็นเวลากว่าสองศตรรษ และ ธงสามเหลี่ยมคู่ตั้งแต่
คริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยการออกแบบพื้นฐานจากรูปแบบธงดั้งเดิม ซึ่ง
ได้ถูกใช้มาเป็นเวลากว่า 2,000 ปี
ดอกไม้ประจาชาติเนปาล
กุหลาบพันปีมีถิ่นกาเนิดมากจากจีนตอนใต้อินเดีย ศรีลังกา เนปาล และพม่า มีชื่อ
วิทยาศาสตร์ว่า Rhododendron arboreum subsp จัดอยู่ในวงศ์ของ
ERICACEAE ส่วนชื่อสามัญและชื่อท้องถิ่นก็จะเรียกว่ากุหลาบพันปี ซึ่งมีอยู่มากกว่า 30
ชนิด ชาวเนปาลนิยมเรียกว่า “Lali Gurans” ในประเทศเนปาล สามารถพบป่ากุหลาบ
พันปีได้ทั่วไปตามบริเวณเทือกเขาที่มีระดับความสูง 1,400-3,600 เมตร ซึ่งกุหลาบพันปีที่มีสี
แดงสดมักจะอยู่ในพื้นที่ที่มีระดับความสูงประมาณ 1,400 เมตร ส่วนในระดับที่สูงขึ้นไปมักมีสี
ชมพูไปจนถึงสีขาว
กุหลาบพันปีเป็นไม้ยืนต้นที่มีขนาดใหญ่ไม่ผลัดใบ มีความสูงของลาต้นประมาณ 2-12 เมตร
เปลือกของลาต้นมีลักษณะตะปุ่มตะป่ า จากอิทธิพลของแรงลมจึงมักทาให้กิ่งก้านที่แตก
ออกมามีลักษณะคดงอ ใบมีลักษณะเป็นรูปใบหอก หรือรูปขอบขนาน มีความกว้างประมาณ
2-3 ซม. ยาวประมาณ 7-14 ซม. โคนใบมนหรือสอบ ปลายใบแหลม ใบหนา ขอบใบเรียบ ใบ
ออกเรียงสลับกันที่ปลายกิ่งประมาณ 5-8 ใบ ด้านบนของใบจะมีสีเขียวสด แต่ส่วนล่างจะมีขน
และเกล็ดสีเทาอมน้าตาลอยู่เส้นใบจะแตกแขนงข้างละ 12-14 เส้น ดอกจะมีลักษณะคล้าย
รูประฆัง ยาวประมาณ 1.5-2 ซม. มีกลีบดอกสีแดงเลือดนกส่วนปลายแยกเป็น 5-6 กลีบ มัก
ออกตามปลายกิ่งประมาณ 4-12 ดอก มีช่อดอกสั้น ดอกที่บานเต็มที่แล้วจะมีความกว้าง
ประมาณ 3.5-4.5 ซม. มีเกสรตัวผู้ที่ยาวไม่เท่ากันประมาณ 10 อัน มีขนสีขาวอยู่อย่าง
หนาแน่นในรังไข่ มีก้านชูอับเรณูสีขาว โคนก้านมีสีม่วงอมแดง ฝักหรือผลเป็นรูปทรงกระบอก
มีความกว้างประมาณ 6-7 มม. ยาวประมาณ 1.3-1.6 ซม. ผลที่แก่แล้วสามารถแตกออกได้
ภายในผลจะมีเมล็ดเล็กๆ จานวนมาก มีลักษณะแบน รอบๆ เมล็ดจะมีลักษณะคล้ายปีกบาง
ใสปกคลุมอยู่ กุหลาบพันปีมักออกดอกสวยงามให้เห็นในราวๆ เดือนมกราคม-กุมภาพันธ์
การขยายพันธุ์ทาได้ด้วยการใช้เมล็ดโปรยหว่านตามแหล่งธรรมชาติ การปักชา หรือเสียบกิ่ง
ดอกไม้ประจาชาติของเนปาลคือ ดอกกุหลาบพันปี
(Rhododendron Forest)
ประเทศเนปาล มีความสัมพันธ์กับธิเบต และอินเดียมา
นานแล้ว ฉะนั้น การแต่งกายของ ชาวเนปาลจึงได้รับ
วัฒนธรรมบางส่วนมาจากอินเดีย และบางส่วนมาจากจีน
ประกอบด้วยภูมิอากาศ ของเนปาลจะหนาว เครื่องแต่ง
กายจึงมีหลายชิ้น
การแต่งกายของสตรี นุ่งกระโปรงยาวคร่อม
เท้า ห่มสาหรี่ เครื่องประดับงดงามมีสีสัน ใน ฤดูหนาวจะ
ใส่เสื้อผ้าขนสัตว์ซึ่งทอเอง ตัวยาวถึงข้อเท้า มีผ้าลักษณะ
คล้ายผ้ากันเปื้อนสีสวย 2 ชิ้น คาดข้างหน้า และข้างหลัง
ผู้ชาย นุ่งกางเกงขายาว สวมเสื้อตัวยาว แขนยาว บางคน
สวมเสื้อกัก สีต่าง ๆ โพกผ้า เหมือนชาวอินเดีย
ชุดประจาชาติ
Dal Bhat หรือซุปถั่ว
อาหารประจาชาติ
Dal แปลว่า ซุปถั่ว
Bhat แปลว่า ข้าว
อาหารประจาชาติเนปาลจานนี้จึงแปลง่ายๆว่าเป็นข้าวกับซุปถั่วนั่นเอง
คนเนปาลจะรับประทาน Dal Bhat กันทุกวัน เป็นอาหารหลัก
สืบเนื่องมาจากสมัยก่อนซึ่งคนส่วนมากมีฐานะยากจน ไม่สามารถหาเนื้อสัตว์มา
ทานได้เป็นประจา ประกอบกับมีภูมิประเทศเป็นหุบเขา ต้องเดินและใช้แรงงาน
มากในแต่ละวัน จึงต้องการอาหารที่ให้พลังงานและโปรตีนสูง ชาวเนปาลว่ากันว่า
หากนักท่องเที่ยวที่ไปเดินเขาในเนปาลได้ทาน Dal Bhat แล้วจะมีแรงเทรคไป
ทั้งวันเลยทีเดียว
ซึ่งซุปถั่วที่ว่านี้ก็จะทาจากถั่วหลายชนิด ที่นิยมกันคือถั่วเหลือและถั่วดา นาไปต้ม
ในหม้อความดันและปรุงรสชาติเล็กน้อย นามาคลุกทานกับข้าว ถือเป็นแหล่ง
โปรตีนชั้นเลิศ และอีกอย่างที่ขาดไปไม่ได้คือ Saag หรือผักโขมหั่นเล็กๆและเอา
ไปผัด รสชาติอร่อยมาก ไม่ขมเหมือนผักบ้านเรา มีไฟเบอร์และธาตุเหล็กสูงมาก
นอกจากนั้น จะมีผัดผักประเภทอื่นๆเช่น มันฝรั่ง หน่อไม้ ดอกกะหล่า ซึ่งส่วนมาก
จะมีรสชาติเผ็ดเล็กน้อย แต่จะไม่มีกลิ่นเครื่องเทศรุนแรงแบบอาหารอินเดีย ส่วน
ใครที่ชื่นชอบเนื้อสัตว์ สามารถสั่ง Dal Bhat เซทที่มีเนื้อสัตว์ได้โดยจะมีตั้งแต่
แกงไก่ แพะ ปลา ทาเป็นแกงขลุกขลิกหรือผัดแห้ง
ชาวเนปาลโดยทั่วไปจะนิยมทาน Dal Bhat โดยคลุกทุกอย่างเข้าด้วยกันและ
ใช้มือรับประทาน หากอยากลองใช้ชีวิตแบบโลคอล ต้องลองใช้มือเปิบ Dal
Bhat ดู แล้วจะรู้ว่าแซ่บแค่ไหน
สุดยอดสถานที่ท่องเที่ยวในเนปาล Nepal
อันดับ:1 เที่ยวยอดเขาเอเวอเรสต์ (Mount Everest)
เอเวอเรสต์ยอดเขาที่ใครๆ ก็ต้องเคยได้ยินชื่อเสียงเรียงนาม
กันมาอย่างแน่นอนนน เพราะเป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในโลก!!
ที่กลุ่มนักปีนเขาต้องการจะมาพิชิตกันให้ได้สักครั้งในชีวิตต
>”< อยู่ในแนวเทือกเขาหิมาลัย อยู่ในแนวเทือกเขาหิมาลัย
มีความสูงจากระดับน้าทะเลอยู่ที่ 29,035 ฟุต หรือ 8,848
เมตรค่ะ เป็นภูเขาหินดินดานผสมกับหินปูนและหินอ่อน
เกิดจากการชนกันของแผ่นเปลือกโลก ทุกๆ ปีพอแผ่น
เปลือกโลกเคลื่อนตัวเข้าหากันจนเกิดการโก่งตัวของแผ่น
เปลือกโลก ทาให้ยกตัวสูงขึ้นเรื่อยๆ ปีละประมาณ 0.25 นิ้ว
ซึ่งเกิดขึ้นมายาวนานมากกว่า 60 ล้านปีแล้วค่ะ ด้วยความที่
ยอดเขาเอเวอเรสต์มีความสูงจากระดับน้าทะเลมาก จึงทา
ให้มีความกดอากาศต่า บนยอดเขามีออกซิเจนแค่ 1 ใน 3
ของออกซิเจนในบรรยากาศปกติเองง อากาศหนาวเย็นจับ
ใจในช่วงหน้าหนาว มีหิมะปกคลุมยอดเขาตลอดทั้งปี ต้อง
ไต่เขาขึ้นไปท่ามกลางลมแรงๆ โชคไม่ดีอาจจะเจอพายุหิมะ
อันดับ:2เอเวอเรสต์เบสแคมป์ (Everest Base Camp)
เส้นทางในการไปพิชิตยอดเขาเอเวอเรสต์ ที่ได้รับความนิยมจาก
นักท่องเที่ยวมากก็คือ เส้นทางจากทางฝั่งเมืองลุกลา (Lukla) ของ
ประเทศเนปาลค่ะ หรือเรียกว่าเอเวอเรสต์เบสแคมป์ เพราะเรา
สามารถเดินเท้าขึ้นไปชื่นชมความงามของเทือกเขาหิมาลัยและยอด
เขาเอเวอเรสต์ได้อย่างใกล้ชิดด และเป็นหนึ่งในเส้นทางเดินเขาที่
สวยที่สุดในโลก!! ผ่านภูมิทัศน์ที่หลากหลาย แรกๆ ก็จะมีหมู่บ้านให้
แวะพัก มีลาธาร ต้นไม้สูงให้ร่มเงาตลอดทาง ใครโชคดีก็จะได้เห็น
ดอกไม้ต่างๆ และซากุระบานสะพรั่งงงให้ชุ่มชื่นหัวใจก่อนไปเจอ
ความโหดของจริงง >,< ถือเป็นเส้นทางที่ง่ายที่สุดแต่ก็ไม่หมูนะจ๊ะ
เพราะต้องไต่เขาและเดินข้ามช่องเขาแคบๆ ชันๆ ที่เต็มไปไปด้วย
กรวดหิน ยิ่งสูงเท่าไร ออกซิเจนก็ยิ่งน้อยลง วิวสองข้างทางจากที่เป็น
ทุ่งข้าว ป่าสน มีใบไม้สีเขียวเริ่มเปลี่ยนเป็นสีน้าตาล ล้อมรอบด้วยผู้
เขาหิมะ อากาศหนาว ลมแรง แต่มีแดดอันอบอุ่น
อันดับ:3มหาเจดีย์พุทธนาถ (Boudhanath Stupa)
เป็นเจดีย์ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศเนปาล และได้รับการขึ้น
ทะเบียนเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรมโดยองค์การยูเนสโก
ตั้งอยู่ทางตะวันออกของเมืองกาฐมาณฑุห่างออกไป 7
กิโลเมตร อยู่ในหมู่บ้านชาวธิเบตที่อพยพมา ถือเป็นโบราณ
สถานที่สาคัญในพุทธศาสนานิกายมหายาน จุดเด่นของที่นี่
นอกจากเจดีย์ขนาดใหญ่แล้ว ตามบ้านเรือนรอบๆ วัดจะ
ประดับไปด้วยธงทิวสีต่างๆ เพื่อเป็นการบูชาธาตุดิน น้า ลม
ไฟ และอากาศนั่นเอง
เทศกาลสาคัญในประเทศเนปาล เทศกาล Sonam Lhosar (12 กุมภาพันธ์ 2021)
ในวันเทศกาลนี้ ชาวพุทธจะสวดมนต์ ตกแต่งบ้านและวัดในชุมชน ถวาย
อาหารให้กับเทวดาและเทพเจ้าตามความเชื่อของแต่ละชุมชน
การเฉลิมฉลองในแต่ละครอบครัวจะมีการร่วมรับประทานอาหารแสน
อร่อยซึ่งเป็นสูตรที่สืบทอดกันมายาวนาน ชาวบ้านในแต่ละชุมชนจะใส่
ชุดประจาเชื้อชาติของตนเอง นอกจากนั้นจะมีการมารวมตัวกัน ผู้ใหญ่
ให้พรกับเด็กๆ ร้องเพลงและเต้นร่วมกัน ทาให้โดยรวมเป็นวันเทศกาลที่
น่าจดจาวันหนึ่งของปี
ในกาฐมาณฑุ ทุกๆปีชาว Tamang จะมารวมตัวกันที่
Tudhikhel ซึ่งเป็นพื้นที่จตุรัสกลางเมือง เพื่อเฉลิมฉลองเทศกาล
Sonam Lhosar นี้
เทศกาลมหาศิวะราตรี Maha Shivaratri
ในช่วงวันเทศกาลนี้ จะมีการเฉลิมฉลองในวัดฮินดูทุกแห่งในประเทศ
เพื่อเป็นการบูชาพระศิวะ ชาวฮินดูจะเดินทางไปสวดมนต์ อดอาหารและ
ทาสมาธิ จะมีการทาพิธีตลอดคืนเพื่อทาพิธีการอันศักดิ์สิทธิ์นี้ นักดนตรี
จะเล่นดนตรีและเต้นราถวายตลอดคืน
หญิงที่แต่งงานแล้วจะสวดมนต์ขอพรให้สามีและครอบครัวมีสุขภาพ
แข็งแรง เจริญก้าวหน้าในหน้าที่การงาน ส่วนหญิงที่ยังไม่แต่งงานจะสวด
มนต์ขอพรให้ได้สามีที่ดีเหมือนพระศิวะ
เทศกาลโฮลี่ Holi
ทศกาลนี้เฉลิมฉลองอย่างกว้างขวางทั่วประเทศเนปาลอย่างสนุกสนาน
ในเนปาลจะมีการเฉลิมฉลองเป็นเวลา 2 วัน โดยในวันแรกจะฉลองใน
เขตเทือกเขาสูง และวันถัดมาจะฉลองในเขตที่ราบ
นอกจากนี้ยังนับเป็นวันหยุดทางราชการ เทศกาลนี้เป็นเทศกาลที่โด่งดัง
และมีนักท่องเที่ยวเดินทางมาจากหลากหลายประเทศทั่วโลกเพื่อร่วม
เล่นสาดสี โดยใช้น้าผสมกับผงสี และเล่นกันตามสถานที่สาธารณะทั่วไป
คล้ายกับเทศกาลสงกรานต์ของบ้านเรานั่นเอง เด็กๆชาวเนปาลจะชอบ
เทศกาลนี้มากเนื่องจากจะได้เล่นลูกโป่งน้า ได้ทานขนมและอาหาร
อร่อยๆ ที่นาไปแลกเปลี่ยนกับเพื่อนบ้านและคนใกล้ชิด
บรรณานุกรม
วิกิพีเดีย. “เครื่องแต่งกายประจาชาติ. “ประเทศเนปาล 24ส.ค 2564
< https://www.google.com > ส.ค 2564.

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุดงานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุดSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ศาสตราจารย์ปรีดี พนมยงค์
ศาสตราจารย์ปรีดี  พนมยงค์ศาสตราจารย์ปรีดี  พนมยงค์
ศาสตราจารย์ปรีดี พนมยงค์SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจาร
พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจาร
พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Mehr von SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุดงานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
 
ส่งPptขึ้นเนต
ส่งPptขึ้นเนตส่งPptขึ้นเนต
ส่งPptขึ้นเนต
 
จอมพลถนอม กิตติขจร
จอมพลถนอม กิตติขจรจอมพลถนอม กิตติขจร
จอมพลถนอม กิตติขจร
 
ศาสตราจารย์ปรีดี พนมยงค์
ศาสตราจารย์ปรีดี  พนมยงค์ศาสตราจารย์ปรีดี  พนมยงค์
ศาสตราจารย์ปรีดี พนมยงค์
 
หมอ บรัดเลย์
หมอ บรัดเลย์หมอ บรัดเลย์
หมอ บรัดเลย์
 
พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจาร
พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจาร
พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจาร
 
พระพุธทาสภิกขุ
พระพุธทาสภิกขุพระพุธทาสภิกขุ
พระพุธทาสภิกขุ
 
ประวัติ หมอ บรัดเลย์
ประวัติ หมอ บรัดเลย์ประวัติ หมอ บรัดเลย์
ประวัติ หมอ บรัดเลย์
 
หมอ บรัดเลย์1
หมอ บรัดเลย์1หมอ บรัดเลย์1
หมอ บรัดเลย์1
 

จารุวรรณ ลำพองชาติ

  • 1. ประกอบรายวิชา IS1 โดย นางสาวจารุวรรณ ลาพองชาติ เลขที่18 ห้อง5/2
  • 2. คานา ประเทศเนปาลเป็นประเทศที่น่าสนใจและมีสิ่งน่าศึกษา ค้นคว้ามากมาย มีทั้งสถานที่ท่องเที่ยวชุดประจาชาติ อาหาร ความเป็นอยู่ การเมื่อง ความหมายของธงชาติ ว่าทาไมถึงเป็นสามเหลี่ยมแทนที่จะเป็นสี่เหลี่ยมและ รวมถึงเรื่องของศาสนาอีกด้วย ผิดพลาดประการใดขออภัยไว้มา ณ ที่นี้ด้วย สารบัณ 1. ประวัติของประเทศเนปาล หน้าที่1 2. ความเป็นมาของประเทศ หน้าที่3 3. ดอกไม้ประจาชาติ หน้าที่6 4. ชุดประจาชาติ เนปาล หน้าที่7 5. อาหารประจาชาติ หน้าที่8 6. สถานที่ท่องเที่ยว หน้าที่9 7. ประเพณี หรือเทศการของเนปาล หน้าที่12
  • 3. ประวัติประเทศ เนปาล ประเทศเนปาล (เนปาล: नेपाल) หรือชื่ออย่างเป็นทางการ ว่า สหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเนปาล (อังกฤษ: Federal Democratic Republic of Nepal; เนปาล: सङ्घीय लोकतान्त्रिक गणति नेपाल "สงฺฆีย โลกตานฺตฺริก คณตนฺตฺร เนปาล") เป็นประเทศที่ไม่มี ทางออกสู่ทะเลในเอเชียใต้ มีพื้นที่ 147,181 ตารางกิโลเมตร และประชากรประมาณ 27 ล้านคน ประเทศเนปาลเป็น ประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 93 ของโลก และมี ประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 41 ของโลก ตั้งอยู่ในเทือกเขา หิมาลัย มีพรมแดนทิศเหนือติดสาธารณรัฐประชาชนจีน ทิศ ใต้ตะวันออกและตะวันตกติดสาธารณรัฐอินเดีย ประเทศ เนปาลแยกจากประเทศบังกลาเทศด้วยฉนวนศิลิกูริ (Siliguri Corridor) แคบ ๆ ในประเทศอินเดีย และ แยกจากประเทศภูฏานด้วยรัฐสิกขิมของอินเดีย กรุง กาฐมาณฑุเป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่สุดของประเทศ
  • 4. ประเทศเนปาลปกครองด้วยระบอบราชาธิปไตยตลอดประวัติศาสตร์ส่วน ใหญ่ ราชวงศ์ศาหะปกครองตั้งแต่ปี 2311 เมื่อพระเจ้าปฤถวีนารายัณ ศา หะทรงรวมราชอาณาจักรเล็ก ๆ จานวนมาก จนปี 2551 สงครามกลาง เมืองนานหนึ่งทศวรรษซึ่งเกี่ยวข้องกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเนปาล (ลัทธิ เหมา) ตามด้วยการประท้วงใหญ่โดยพรรคการเมืองหลักทุกพรรค นาสู่ ความตกลง 12 ข้อ วันที่ 22 พฤศจิกายน 2548 การเลือกตั้งสภาร่าง รัฐธรรมนูญเนปาลที่ 1 เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2551 ซึ่งตามมา สนับสนุนการเลิกราชาธิปไตยและการสถาปนาสหพันธ์สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนหลายพรรคการเมืองอย่างท่วมท้น แม้ความ ท้าทายทางการเมืองยังดาเนินไป แต่กรอบนี้ยังอยู่ โดยสภาร่าง รัฐธรรมนูญเนปาลที่ 2 ซึ่งได้รับเลือกตั้งในปี 2556 ในความพยายามเพื่อ ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ ประเทศเนปาลเป็นประเทศกาลังพัฒนาโดยมีเศรษฐกิจรายได้ต่า อยู่ใน อันดับที่ 145 จาก 187 ประเทศในดัชนีการพัฒนามนุษย์ในปี 2557 ประเทศเนปาลยังเผชิญกับความหิวและความยากจนระดับสูง แม้ความ ท้าทายเหล่านี้ ประเทศเนปาลยังคงมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง โดย รัฐบาลผูกมัดยกระดับประเทศจากสถานภาพประเทศด้อยพัฒนาภายใน ปี 2565 ลักษระประเทศ จากแผนที่
  • 5. ความเป็นมา ต่างๆ •ราชอาณาจักรเนปาลมีประวัติศาสตร์อันยาวนานกว่า 2,000 ปี โดยเริ่มจากชนเผ่า Kirates ในเขตหุบเขากาฐมาณฑุต่อมาในราวคริสต์วรรษที่ 4 ตระกูลลิจฉวี (Lichhavis) ได้ปกครองดินแดนแถบนี้โดยได้รับอิทธิพลฮินดูและพุทธจากอินเดีย ประวัติศาสตร์เนปาลได้ ปรากฏเด่นชัดขึ้นเมื่อราชวงค์มัลละ (Malla) ได้ปกครองพื้นที่ทางตะวันตกของเนปาล และ หุบเขากาฐมาณฑุ(Kathmandu Valley) ทั้งหมด ในพุทธศตวรรษที่ 18-21 ต่อมา ราชอาณาจักรของราชวงค์มัลละถูกแบ่งออกเป็น 3 อาณาจักรคือ กาฐมาณฑุภักตะปุร์ละลิต ปุร์(ปะฏัน) และกีรติปุร์(ราชอาณาจักร Bhadgaon และราชอาณาจักร Patan) • การปฏิวัติในเดือนพฤษจิกายน พ.ศ. 2493 เป็นการสิ้นสุดช่วงการปกครองโดย บรรณาศักดิ์รานะที่ปกครองประเทศเป็นระยะเวลา 104 ปี (พ.ศ. 2389-2493)หลังจาก การล่มสลายของการปกครองโดยตระกูลของรานะในเดือนกุมภาพันธ์พ.ศ.2494 เนปาล เริ่มให้ความสนใจกับระบอบการปกครองแบบระบอบประชาธิปไตย จากนั้นได้มีการนา การปกครองแบบรัฐสภาที่มีรัฐบาลมาผสมมาใช้ในปีพ.ศ.2502 สมเด็จพระราชาธิบดีม เหนทรา (Mahendra) ได้ทรงพระราชทานรัฐธรรมนูญ และได้จัดให้มีการเลือกตั้ง โดยมีนาย B.P. Koirala หัวหน้าพรรค NC ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี • ในปีพ.ศ. 2505 ได้มีรัฐธรรมนูญฉบับใหม่กาหนดการปกครองให้เป็นระบบปัญจยัต (Panchayat System) หรือระบบรัฐสภาแบบสภาเดียวและไม่มีพรรคการเมือง
  • 6. • กษัตริย์แห่งราชวงศ์มัลละผู้ปกครองกรุงกาฐมาณฑุได้ให้กรสนับสนุนในด้านศิลปะ และวัฒนธรรมอย่างเต็มที่ ต่อมามีการรณรงค์ในเรื่องการรวมชาติโดยกษัตริย์ปฤถวีนา รายยัณชาห์มหาราช (King Prithvi Narayan Shah the Great) ในปี พ.ศ. 2311 ซึ่งพระองค์ทรงเป็นต้น ราชงศ์ชาห์ในปัจจุบัน กษัตริย์ปฤถวีนารายัณ ชาห์ มหาราชาได้สถาปณาราชอาณาจักร Gorkha โดยรวบรวมอาณาจักรทั้งหมดของ เนปาลเป็นอาณาจักรเดียว ต่อมาเนปาลได้รับชัยชนะในการทาสงครามกับผู้มารุกราน อาทิอังกฤษด้านอินเดีย และจีนทางด้านทิเบต ในช่วงนี้เนปาลปกครองโดย นายกรัฐมนตรีเป็นผู้บริหารประเทศในบรรดาศักดิ์ “รานะ” (Rana) ที่สืบทอดกันมาใน ตระกูล Shamsher ประมาณ 100 ปี ช่วงดังกล่าวกษัตริย์เป็นประมุขแต่เพียงใน นามเท่านั้น จนกระทั่งปีพ.ศ. 2493 อานาจในการบริหารประเทศจึงกลับคืนมาสู่กษัตริย์ อีกครั้งซึ่งในขณะนั้นคือสมเด็จพระราชาธิบดีตรีภูวัน (Tribhuvan) และ ขณะเดียวกัน พรรค Nepali Congress (NC) ได้ก่อตั้งขึ้นเป็นพรรคการเมือง พรรคแรกในเนปาล กษัตริย์แห่งราชวงศ์ชาห์ได้ขึ้นครองราชย์ปกครองประเทศต่อจาก ราชวงศ์มัลละ • ในปัจจุบัน เนปาลเข้าสู่ระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐ มีนายราม บา รัน ยาดัฟ เป็นประธานาธิบดีคนแรก จากการลงคะแนนเสียงของสภาร่าง รัฐธรรมนูญ 308 เสียง และนายคีรีชา ปราสาท โกอีราละ อดีตรักษาการณ์ ประมุขแห่งรัฐทาหน้าที่นายกรัฐมนตรีต่อไป จนกว่าจะมีการจัดตั้งรัฐบาลใหม่ อันนาโดยพรรคคอมมิวนิสต์ลัทธิเหมาหรืออดีตกลุ่มกบฏลัทธิเหมา ซึ่งมีนาย ประจันดา เป็นผู้นา
  • 7. ความเป็นมาของธงชาชิ ธงชาติเนปาล เป็นธงชาติเดียวในโลกที่มิได้มีรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ธงนี้ เป็นการรวมธงสามเหลี่ยมสองผืน สีแดงเข้มเป็นสีของกุหลาบพันปี ซึ่ง เป็นดอกไม้ประจาชาติ สีแดงยังเป็นสัญลักษณ์แห่งชัยชนะในสงคราม ขอบสีน้าเงินเป็นสีแห่งสันติภาพ ภายในมีรูปดวงอาทิตย์และจันทร์เสี้ยว ประกอบใบหน้ามนุษย์ด้วย กระทั่ง พ.ศ. 2505 ใบหน้ามนุษย์ถูกนาออก เพื่อทาให้ธงทันสมัย ใบหน้ายังเหลืออยู่บนดวงอาทิตย์ และ ดวงจันทร์ บนธงพระอิสริยยศ สาหรับพระมหากษัตริย์ กระทั่งมีการล้มล้าง พระมหากษัตริย์ใน พ.ศ. 2551 ธงชาติเนปาล ได้บัญญัติไว้ในร่างรัฐธรรมนูญใหม่ของราชอาณาจักร เนปาล ในวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2505 ธงสามเหลี่ยมแต่ละผืนได้เคย ถูกใช้ก่อนหน้านี้เป็นเวลากว่าสองศตรรษ และ ธงสามเหลี่ยมคู่ตั้งแต่ คริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยการออกแบบพื้นฐานจากรูปแบบธงดั้งเดิม ซึ่ง ได้ถูกใช้มาเป็นเวลากว่า 2,000 ปี
  • 8. ดอกไม้ประจาชาติเนปาล กุหลาบพันปีมีถิ่นกาเนิดมากจากจีนตอนใต้อินเดีย ศรีลังกา เนปาล และพม่า มีชื่อ วิทยาศาสตร์ว่า Rhododendron arboreum subsp จัดอยู่ในวงศ์ของ ERICACEAE ส่วนชื่อสามัญและชื่อท้องถิ่นก็จะเรียกว่ากุหลาบพันปี ซึ่งมีอยู่มากกว่า 30 ชนิด ชาวเนปาลนิยมเรียกว่า “Lali Gurans” ในประเทศเนปาล สามารถพบป่ากุหลาบ พันปีได้ทั่วไปตามบริเวณเทือกเขาที่มีระดับความสูง 1,400-3,600 เมตร ซึ่งกุหลาบพันปีที่มีสี แดงสดมักจะอยู่ในพื้นที่ที่มีระดับความสูงประมาณ 1,400 เมตร ส่วนในระดับที่สูงขึ้นไปมักมีสี ชมพูไปจนถึงสีขาว กุหลาบพันปีเป็นไม้ยืนต้นที่มีขนาดใหญ่ไม่ผลัดใบ มีความสูงของลาต้นประมาณ 2-12 เมตร เปลือกของลาต้นมีลักษณะตะปุ่มตะป่ า จากอิทธิพลของแรงลมจึงมักทาให้กิ่งก้านที่แตก ออกมามีลักษณะคดงอ ใบมีลักษณะเป็นรูปใบหอก หรือรูปขอบขนาน มีความกว้างประมาณ 2-3 ซม. ยาวประมาณ 7-14 ซม. โคนใบมนหรือสอบ ปลายใบแหลม ใบหนา ขอบใบเรียบ ใบ ออกเรียงสลับกันที่ปลายกิ่งประมาณ 5-8 ใบ ด้านบนของใบจะมีสีเขียวสด แต่ส่วนล่างจะมีขน และเกล็ดสีเทาอมน้าตาลอยู่เส้นใบจะแตกแขนงข้างละ 12-14 เส้น ดอกจะมีลักษณะคล้าย รูประฆัง ยาวประมาณ 1.5-2 ซม. มีกลีบดอกสีแดงเลือดนกส่วนปลายแยกเป็น 5-6 กลีบ มัก ออกตามปลายกิ่งประมาณ 4-12 ดอก มีช่อดอกสั้น ดอกที่บานเต็มที่แล้วจะมีความกว้าง ประมาณ 3.5-4.5 ซม. มีเกสรตัวผู้ที่ยาวไม่เท่ากันประมาณ 10 อัน มีขนสีขาวอยู่อย่าง หนาแน่นในรังไข่ มีก้านชูอับเรณูสีขาว โคนก้านมีสีม่วงอมแดง ฝักหรือผลเป็นรูปทรงกระบอก มีความกว้างประมาณ 6-7 มม. ยาวประมาณ 1.3-1.6 ซม. ผลที่แก่แล้วสามารถแตกออกได้ ภายในผลจะมีเมล็ดเล็กๆ จานวนมาก มีลักษณะแบน รอบๆ เมล็ดจะมีลักษณะคล้ายปีกบาง ใสปกคลุมอยู่ กุหลาบพันปีมักออกดอกสวยงามให้เห็นในราวๆ เดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ การขยายพันธุ์ทาได้ด้วยการใช้เมล็ดโปรยหว่านตามแหล่งธรรมชาติ การปักชา หรือเสียบกิ่ง ดอกไม้ประจาชาติของเนปาลคือ ดอกกุหลาบพันปี (Rhododendron Forest)
  • 9. ประเทศเนปาล มีความสัมพันธ์กับธิเบต และอินเดียมา นานแล้ว ฉะนั้น การแต่งกายของ ชาวเนปาลจึงได้รับ วัฒนธรรมบางส่วนมาจากอินเดีย และบางส่วนมาจากจีน ประกอบด้วยภูมิอากาศ ของเนปาลจะหนาว เครื่องแต่ง กายจึงมีหลายชิ้น การแต่งกายของสตรี นุ่งกระโปรงยาวคร่อม เท้า ห่มสาหรี่ เครื่องประดับงดงามมีสีสัน ใน ฤดูหนาวจะ ใส่เสื้อผ้าขนสัตว์ซึ่งทอเอง ตัวยาวถึงข้อเท้า มีผ้าลักษณะ คล้ายผ้ากันเปื้อนสีสวย 2 ชิ้น คาดข้างหน้า และข้างหลัง ผู้ชาย นุ่งกางเกงขายาว สวมเสื้อตัวยาว แขนยาว บางคน สวมเสื้อกัก สีต่าง ๆ โพกผ้า เหมือนชาวอินเดีย ชุดประจาชาติ
  • 10. Dal Bhat หรือซุปถั่ว อาหารประจาชาติ Dal แปลว่า ซุปถั่ว Bhat แปลว่า ข้าว อาหารประจาชาติเนปาลจานนี้จึงแปลง่ายๆว่าเป็นข้าวกับซุปถั่วนั่นเอง คนเนปาลจะรับประทาน Dal Bhat กันทุกวัน เป็นอาหารหลัก สืบเนื่องมาจากสมัยก่อนซึ่งคนส่วนมากมีฐานะยากจน ไม่สามารถหาเนื้อสัตว์มา ทานได้เป็นประจา ประกอบกับมีภูมิประเทศเป็นหุบเขา ต้องเดินและใช้แรงงาน มากในแต่ละวัน จึงต้องการอาหารที่ให้พลังงานและโปรตีนสูง ชาวเนปาลว่ากันว่า หากนักท่องเที่ยวที่ไปเดินเขาในเนปาลได้ทาน Dal Bhat แล้วจะมีแรงเทรคไป ทั้งวันเลยทีเดียว ซึ่งซุปถั่วที่ว่านี้ก็จะทาจากถั่วหลายชนิด ที่นิยมกันคือถั่วเหลือและถั่วดา นาไปต้ม ในหม้อความดันและปรุงรสชาติเล็กน้อย นามาคลุกทานกับข้าว ถือเป็นแหล่ง โปรตีนชั้นเลิศ และอีกอย่างที่ขาดไปไม่ได้คือ Saag หรือผักโขมหั่นเล็กๆและเอา ไปผัด รสชาติอร่อยมาก ไม่ขมเหมือนผักบ้านเรา มีไฟเบอร์และธาตุเหล็กสูงมาก นอกจากนั้น จะมีผัดผักประเภทอื่นๆเช่น มันฝรั่ง หน่อไม้ ดอกกะหล่า ซึ่งส่วนมาก จะมีรสชาติเผ็ดเล็กน้อย แต่จะไม่มีกลิ่นเครื่องเทศรุนแรงแบบอาหารอินเดีย ส่วน ใครที่ชื่นชอบเนื้อสัตว์ สามารถสั่ง Dal Bhat เซทที่มีเนื้อสัตว์ได้โดยจะมีตั้งแต่ แกงไก่ แพะ ปลา ทาเป็นแกงขลุกขลิกหรือผัดแห้ง ชาวเนปาลโดยทั่วไปจะนิยมทาน Dal Bhat โดยคลุกทุกอย่างเข้าด้วยกันและ ใช้มือรับประทาน หากอยากลองใช้ชีวิตแบบโลคอล ต้องลองใช้มือเปิบ Dal Bhat ดู แล้วจะรู้ว่าแซ่บแค่ไหน
  • 11. สุดยอดสถานที่ท่องเที่ยวในเนปาล Nepal อันดับ:1 เที่ยวยอดเขาเอเวอเรสต์ (Mount Everest) เอเวอเรสต์ยอดเขาที่ใครๆ ก็ต้องเคยได้ยินชื่อเสียงเรียงนาม กันมาอย่างแน่นอนนน เพราะเป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในโลก!! ที่กลุ่มนักปีนเขาต้องการจะมาพิชิตกันให้ได้สักครั้งในชีวิตต >”< อยู่ในแนวเทือกเขาหิมาลัย อยู่ในแนวเทือกเขาหิมาลัย มีความสูงจากระดับน้าทะเลอยู่ที่ 29,035 ฟุต หรือ 8,848 เมตรค่ะ เป็นภูเขาหินดินดานผสมกับหินปูนและหินอ่อน เกิดจากการชนกันของแผ่นเปลือกโลก ทุกๆ ปีพอแผ่น เปลือกโลกเคลื่อนตัวเข้าหากันจนเกิดการโก่งตัวของแผ่น เปลือกโลก ทาให้ยกตัวสูงขึ้นเรื่อยๆ ปีละประมาณ 0.25 นิ้ว ซึ่งเกิดขึ้นมายาวนานมากกว่า 60 ล้านปีแล้วค่ะ ด้วยความที่ ยอดเขาเอเวอเรสต์มีความสูงจากระดับน้าทะเลมาก จึงทา ให้มีความกดอากาศต่า บนยอดเขามีออกซิเจนแค่ 1 ใน 3 ของออกซิเจนในบรรยากาศปกติเองง อากาศหนาวเย็นจับ ใจในช่วงหน้าหนาว มีหิมะปกคลุมยอดเขาตลอดทั้งปี ต้อง ไต่เขาขึ้นไปท่ามกลางลมแรงๆ โชคไม่ดีอาจจะเจอพายุหิมะ
  • 12. อันดับ:2เอเวอเรสต์เบสแคมป์ (Everest Base Camp) เส้นทางในการไปพิชิตยอดเขาเอเวอเรสต์ ที่ได้รับความนิยมจาก นักท่องเที่ยวมากก็คือ เส้นทางจากทางฝั่งเมืองลุกลา (Lukla) ของ ประเทศเนปาลค่ะ หรือเรียกว่าเอเวอเรสต์เบสแคมป์ เพราะเรา สามารถเดินเท้าขึ้นไปชื่นชมความงามของเทือกเขาหิมาลัยและยอด เขาเอเวอเรสต์ได้อย่างใกล้ชิดด และเป็นหนึ่งในเส้นทางเดินเขาที่ สวยที่สุดในโลก!! ผ่านภูมิทัศน์ที่หลากหลาย แรกๆ ก็จะมีหมู่บ้านให้ แวะพัก มีลาธาร ต้นไม้สูงให้ร่มเงาตลอดทาง ใครโชคดีก็จะได้เห็น ดอกไม้ต่างๆ และซากุระบานสะพรั่งงงให้ชุ่มชื่นหัวใจก่อนไปเจอ ความโหดของจริงง >,< ถือเป็นเส้นทางที่ง่ายที่สุดแต่ก็ไม่หมูนะจ๊ะ เพราะต้องไต่เขาและเดินข้ามช่องเขาแคบๆ ชันๆ ที่เต็มไปไปด้วย กรวดหิน ยิ่งสูงเท่าไร ออกซิเจนก็ยิ่งน้อยลง วิวสองข้างทางจากที่เป็น ทุ่งข้าว ป่าสน มีใบไม้สีเขียวเริ่มเปลี่ยนเป็นสีน้าตาล ล้อมรอบด้วยผู้ เขาหิมะ อากาศหนาว ลมแรง แต่มีแดดอันอบอุ่น อันดับ:3มหาเจดีย์พุทธนาถ (Boudhanath Stupa) เป็นเจดีย์ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศเนปาล และได้รับการขึ้น ทะเบียนเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรมโดยองค์การยูเนสโก ตั้งอยู่ทางตะวันออกของเมืองกาฐมาณฑุห่างออกไป 7 กิโลเมตร อยู่ในหมู่บ้านชาวธิเบตที่อพยพมา ถือเป็นโบราณ สถานที่สาคัญในพุทธศาสนานิกายมหายาน จุดเด่นของที่นี่ นอกจากเจดีย์ขนาดใหญ่แล้ว ตามบ้านเรือนรอบๆ วัดจะ ประดับไปด้วยธงทิวสีต่างๆ เพื่อเป็นการบูชาธาตุดิน น้า ลม ไฟ และอากาศนั่นเอง
  • 13. เทศกาลสาคัญในประเทศเนปาล เทศกาล Sonam Lhosar (12 กุมภาพันธ์ 2021) ในวันเทศกาลนี้ ชาวพุทธจะสวดมนต์ ตกแต่งบ้านและวัดในชุมชน ถวาย อาหารให้กับเทวดาและเทพเจ้าตามความเชื่อของแต่ละชุมชน การเฉลิมฉลองในแต่ละครอบครัวจะมีการร่วมรับประทานอาหารแสน อร่อยซึ่งเป็นสูตรที่สืบทอดกันมายาวนาน ชาวบ้านในแต่ละชุมชนจะใส่ ชุดประจาเชื้อชาติของตนเอง นอกจากนั้นจะมีการมารวมตัวกัน ผู้ใหญ่ ให้พรกับเด็กๆ ร้องเพลงและเต้นร่วมกัน ทาให้โดยรวมเป็นวันเทศกาลที่ น่าจดจาวันหนึ่งของปี ในกาฐมาณฑุ ทุกๆปีชาว Tamang จะมารวมตัวกันที่ Tudhikhel ซึ่งเป็นพื้นที่จตุรัสกลางเมือง เพื่อเฉลิมฉลองเทศกาล Sonam Lhosar นี้
  • 14. เทศกาลมหาศิวะราตรี Maha Shivaratri ในช่วงวันเทศกาลนี้ จะมีการเฉลิมฉลองในวัดฮินดูทุกแห่งในประเทศ เพื่อเป็นการบูชาพระศิวะ ชาวฮินดูจะเดินทางไปสวดมนต์ อดอาหารและ ทาสมาธิ จะมีการทาพิธีตลอดคืนเพื่อทาพิธีการอันศักดิ์สิทธิ์นี้ นักดนตรี จะเล่นดนตรีและเต้นราถวายตลอดคืน หญิงที่แต่งงานแล้วจะสวดมนต์ขอพรให้สามีและครอบครัวมีสุขภาพ แข็งแรง เจริญก้าวหน้าในหน้าที่การงาน ส่วนหญิงที่ยังไม่แต่งงานจะสวด มนต์ขอพรให้ได้สามีที่ดีเหมือนพระศิวะ เทศกาลโฮลี่ Holi ทศกาลนี้เฉลิมฉลองอย่างกว้างขวางทั่วประเทศเนปาลอย่างสนุกสนาน ในเนปาลจะมีการเฉลิมฉลองเป็นเวลา 2 วัน โดยในวันแรกจะฉลองใน เขตเทือกเขาสูง และวันถัดมาจะฉลองในเขตที่ราบ นอกจากนี้ยังนับเป็นวันหยุดทางราชการ เทศกาลนี้เป็นเทศกาลที่โด่งดัง และมีนักท่องเที่ยวเดินทางมาจากหลากหลายประเทศทั่วโลกเพื่อร่วม เล่นสาดสี โดยใช้น้าผสมกับผงสี และเล่นกันตามสถานที่สาธารณะทั่วไป คล้ายกับเทศกาลสงกรานต์ของบ้านเรานั่นเอง เด็กๆชาวเนปาลจะชอบ เทศกาลนี้มากเนื่องจากจะได้เล่นลูกโป่งน้า ได้ทานขนมและอาหาร อร่อยๆ ที่นาไปแลกเปลี่ยนกับเพื่อนบ้านและคนใกล้ชิด