SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 39
โครงงานเรื่อง “สูงวัยกับโรคซึมเศร้า”
(elderly people major depressive disorder)
หากคุณมีอาการของโรคซึมเศร้าหรือไม่รู้สึกเศร้าใจ หม่นหมอง หงุดหงิด หรือรู้สึกกังวลใจ
ไม่สบายใจขาดความสนใจต่อสิ่งแวดล้อมรอบข้าง หรือสิ่งที่เคยให้ความสนุกสนานในอดีต
น้้าหนักลดลง หรือเพิ่มขึ้น ความอยากอาหารเปลี่ยนแปลงไปนอนไม่หลับ หรือนอนมาก
เกินกว่าปกติรู้สึกผิด สิ้นหวัง หรือรู้สึกว่าตนเองไร้ค่าไม่มีสมาธิ ไม่สามารถตัดสินใจเองได้
ความจ้าแย่ลงอ่อนเพลีย เมื่อยล้า ไม่มีเรี่ยวแรงกระวนกระวาย ไม่อยากท้ากิจกรรมใดๆ
คิดถึงแต่ความตาย และอยากที่จะฆ่าตัวตายถ้าหากคุณมีอาการเช่นนี้หลายข้อ เป็นเวลา
มากกว่า 2 สัปดาห์ คุณอาจจะก้าลังเป็นโรคซึมเศร้า
รู้หรือไม่ ?
โรคซึมเศร้า
เป็นโรคหนึ่งซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ในช่วงชีวิตของคนเรา เหมือนกับโรคทางกายอื่นๆ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง การเป็น
โรคซึมเศร้าไม่ได้หมายความว่า ผู้ที่เป็นนั้นจะเป็นคนอ่อนแอ ล้มเหลว หรือไม่มีความสามารถ แต่เป็นเพียงการเจ็บป่วยอย่าง
หนึ่ง เกิดได้ทั้งมีสาเหตุ เช่น การสูญเสีย การหย่าร้าง ความผิดหวัง และเกิดได้เองโดยไม่มีสาเหตุใดๆ ซึ่งในปัจจุบันโรคนี้
สามารถรักษาหายได้ด้วยการใช้ยา การรักษาทางจิตใจ หรือทั้งสองอย่างรวมกันโรคซึมเศร้า (อังกฤษ: Major depressive
disorder ตัวย่อ MDD) เป็นความผิดปกติทางจิตซึ่งท้าให้ผู้ป่วยเกิดอารมณ์ซึมเศร้าอย่างน้อย 2 สัปดาห์ในแทบทุกสถานการณ์
มักเกิดร่วมกับการขาดความภูมิใจแห่งตน การเสียความสนใจในกิจกรรมที่ปกติท้าให้เพลิดเพลินใจ อาการไร้เรี่ยวแรง และ
อาการปวดซึ่งไม่มีสาเหตุชัดเจนผู้ป่วยอาจมีอาการหลงผิดหรือมีอาการประสาทหลอน ผู้ป่วยบางรายมีช่วงเวลาที่มีอารมณ์
ซึมเศร้าห่างกันเป็นปี ๆ ส่วนบางรายอาจมีอาการตลอดเวลา โรคซึมเศร้าสามารถส่งผลกระทบในแง่ลบให้กับผู้ป่วยในหลาย ๆ
เรื่อง เช่น ชีวิตส่วนตัว ชีวิตในที่ท้างานหรือโรงเรียน ตลอดจนการหลับ อุปนิสัยการกิน และสุขภาพโดยทั่วไปผู้ป่วยโรคซึมเศร้า
ผู้ใหญ่ประมาณ 2–7% เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตายและประมาณ 60% ของผู้ฆ่าตัวตายกลุ่มนี้มีโรคซึมเศร้าร่วมกับความผิด
ปกติทางอารมณ์ชนิดอื่น
ค้าว่า ความซึมเศร้า สามารถใช้ได้หลายทาง คือ มักใช้เพื่อหมายถึงกลุ่มอาการนี้ แต่อาจหมายถึงความผิดปกติทางจิต
อื่นหรือหมายถึงเพียงภาวะซึมเศร้าก็ได้ โรคซึมเศร้าเป็นภาวะท้าให้พิการ (disabling) ซึ่งมีผลเสียต่อครอบครัว งานหรือ
ชีวิตโรงเรียน นิสัยการหลับและกิน และสุขภาพโดยรวมของบุคคล ในสหรัฐอเมริกา ราว 3.4% ของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า
ฆ่าตัวตายและมากถึง 60% ของผู้ที่ฆ่าตัวตายนั้นมีภาวะซึมเศร้าหรือความผิดปกติทางอารมณ์อย่างอื่น ในประเทศไทย
โรคซึมเศร้าเป็นความผิดปกติทางจิตที่พบมากที่สุด (3.7% ที่เข้าถึงบริการ)[เป็นโรคที่สร้างภาระโรค (DALY) สูงสุด 10
อันดับแรกโดยเป็นอันดับ 1 ในหญิง และอันดับ 4 ในชายการวินิจฉัยโรคซึมเศร้าอาศัยประสบการณ์ที่รายงานของบุคคล
และการทดสอบสุขภาพจิตไม่มีการทดสอบทางห้องปฏิบัติการส้าหรับโรคซึมเศร้า ทว่า แพทย์อาจส่งตรวจเพื่อแยกภาวะ
ทางกายซึ่งสามารถก่อให้เกิดอาการคล้ายกันออก ควรแยกโรคซึมเศร้าจากความเศร้าซึ่งเป็นธรรมดาของชีวิตและไม่
รุนแรงเท่า มีการตั้งชื่อ อธิบาย และจัดกลุ่มอาการซึมเศร้าว่าเป็นความผิดปกติทางอารมณ์ (mood disorder) ในคู่มือ
การวินิจฉัยและสถิติวัดความผิดปกติทางจิตปี 2523 ของสมาคมจิตแพทย์อเมริกัน คณะท้างานบริการป้องกันสหรัฐ
(USPSTF) แนะน้าให้คัดกรองโรคซึมเศร้าในบุคคลอายุมากกว่า 12 ปี แต่บทปฏิทัศน์คอเครนก่อนหน้านี้ไม่พบหลักฐาน
เพียงพอส้าหรับการคัดกรองโรค
สาเหตุของโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าเกิดจากความผิดปกติของสารเคมีที่อยู่ในสมองที่มีชื่อว่า เซโรโทนิน (Serotonin) เมื่อสารเคมี
ดังกล่าวมีปริมาณน้อยลงจากเดิมก็ท้าให้ผู้ป่วยมีอาการป่วยทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจและทางความคิด ซึ่ง
โดยรวมจะสังเกตเห็นได้ว่าผู้ป่วยจะมีความรู้สึกท้อแท้ เบื่อหน่าย เหงา ไม่มีชีวิตชีวา ไม่สนุกสนานกับ
ชีวิตประจ้าวัน นอนไม่หลับ มักสะดุ้งตื่นในกลางดึก ฝันร้ายบ่อย เหล่านี้ยังเป็นพฤติกรรมที่ส่งผลกระทบ
ต่อความสามารถในการท้างานที่ลดลง
ส้าหรับสาเหตุที่ท้าให้เกิดอาการซึมเศร้านั้นมาจากหลากหลายปัจจัยด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นในด้านของ
กรรมพันธุ์ ด้านพัฒนาการของจิตใจ รวมทั้งด้านสิ่งแวดล้อมที่ต้องเผชิญ ตัวอย่างเช่น ผู้ป่วยประสบกับ
ความเครียดที่แสนหนัก เจอมรสุมชีวิตที่ไม่ทันได้ตั้งตัว เกิดอาการเจ็บป่วยเรื้อรังจนท้าให้หมดก้าลังใจ ตก
งาน มีปัญหาเรื่องการเงินที่หาทางออกไม่ได้ มีปัญหาเกี่ยวกับความสัมพันธ์กับคนใกล้ชิด รวมทั้งพบเจอ
กับความสูญเสียในชีวิตที่ท้าให้เสียใจเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นการสูญเสียพ่อแม่ในขณะที่ยังอยู่ในช่วง
ของวัยเด็ก สูญเสียคนรัก สูญเสียครอบครัว และยังรวมถึงปัจจัยทางชีวภาพ เช่น เกิดการเปลี่ยนแปลงของ
ระดับสารเคมีในสมองบางชนิด ก็สามารถส่งผลท้าให้เกิดโรคซึมเศร้าได้เช่นเดียวกัน
ชนิดของโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าแบ่งออกเป็น 3 ชนิด ด้วยกัน ซึ่งแต่ละชนิดมีรายละเอียดที่แตกต่างกันไปดังนี้
Major depression (โรคซึมเศร้าแบบรุนแรง) โรคซึมเศร้าชนิดนี้จะรบกวนการท้างาน การรับประทาน
อาหาร การนอนหลับ การเรียน รวมทั้งอารมณ์สุนทรีย์ ซึ่งอาการของโรคซึมเศร้าชนิดนี้จะเกิดเป็นครั้งๆ
แล้วหายไป แต่ทั้งนี้ก็สามารถเกิดได้บ่อยครั้ง
Dysthymia (โรคซึมเศร้าเรื้อรัง) เป็นโรคซึมเศร้าชนิดที่อยู่ในภาวะที่รุนแรง และสามารถเป็นแบบเรื้อรัง
ทั้งนี้มันสามารถท้าให้ผู้ป่วยเกิดการสูญเสียความสามารถในการท้างานและความรู้สึกที่ดีได้
Bipolar หรือ Manic-depressive illness (โรคซึมเศร้าอารมณ์ตก) เป็นโรคซึมเศร้าชนิดที่ผู้ป่วยมีการ
เปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์ ซึ่งส้าหรับบางคนอาจจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยส่วนมากจะค่อยเป็น
ค่อยไป เมื่อซึมเศร้าก็จะมีอาการมากบ้างน้อยบ้าง แต่เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นช่วงอารมณ์สนุกคึกคัก
เกินเหตุ จะท้าให้ผู้ป่วยมีอาการพูดมากกว่าที่เคยเป็น มีความกระฉับกระเฉงมากเกินกว่าเหตุ มีพลังงานใน
ร่างกายที่เหลือเฟือ ในช่วงอารมณ์สนุกคึกคักเกินเหตุนั้น จะมีผลกระทบต่อความคิดและการตัดสินใจของ
ผู้ป่วย รวมทั้งพฤติกรรมของผู้ป่วยอาจจะหลงผิด หากผู้ป่วยในภาวะนี้ไม่ได้รับการรักษาจะท้าให้ผู้ป่วย
กลายเป็นโรคจิต
นพ.พิชัย อิฏฐสกุล จิตแพทย์ โรงพยาบาลมนารมย์ อธิบายเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าให้ฟังว่า โรคซึมเศร้าถือเป็นโรค
ทางด้านจิตเวชที่พบมากเป็นอันดับต้นๆ ของเมืองไทย เกิดจาก 2 สาเหตุหลักคือปัจจัยทางชีวภาพหรือพันธุกรรม
เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงของเคมีในสมอง เช่นความผันผวนของระดับฮอร์โมนที่สาคัญ สืบทอดจากพ่อแม่สู่ลูก
และเกิดจากปัจจัยด้านจิตใจหรือสิ่งแวดล้อมที่เรียกว่าปัจจัยทางอารมณ์ เป็นผลมาจากสถานการณ์ความตึงเครียด
ทางอารมณ์ เช่นหากเป็นภาวะซึมเศร้าในวัยเด็ก (Childhood Depression) อาจมีสาเหตุจากความตึงเครียดใน
ครอบครัว เหตุการณ์สะเทือนใจอย่างรุนแรง หรือความคาดหวังทางการศึกษาเล่าเรียนที่สูงส่งเกินความสามารถของ
ตน ภาวะซึมเศร้าในโรคประสาท (Neurotic depression) ซึ่งอาจพบร่องรอยว่าถูกบีบคั้นอย่างมากในวัยเด็ก แล้ว
ปะทุออกมาในช่วงชีวิตภายหลัง ภาวะซึมเศร้าเพราะความชรา (Depression of age) เกิดเพราะความสามารถใน
การปรับตัวลดน้อยลง มีชีวิตโดดเดี่ยว ปัญหาช่องว่างระหว่างวัยหรือปัญหาที่เรียกกันว่า ภาวะสะเทือนใจหลังเกษียณ
(สูญเสียคุณค่าในตนไม่มีงาน ความรู้สึกว่าไร้สมรรถภาพ) นอกจากนี้ยังรวมไปถึงภาวะซึมเศร้าจากปฏิกิริยาทางใจ
(Reactive depression) เช่น อาการซึมเศร้าภายหลังจากคู่แต่งงานเสียชีวิต
โรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
อ้างอิง: https://www.youtube.com/watch?v=4qZeUkRjX24&t=56s
ทาไมผู้สูงอายุจึงมีโอกาสเป็นโรคซึมเศร้ามากกว่าวัยอื่น
ในวัยสูงอายุจะมีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างที่ท้าให้เกิดโรคซึมเศร้าได้ง่ายได้แก่
– การเปลี่ยนแปลงของสารสื่อประสาทในสมอง ท้าให้เกิดโรคซึมเศร้าได้ง่าย
– การมีโรคบางอย่าง เช่น โรคสมองเสื่อม โรคหลอดเลือดสมอง โรคมะเร็ง
– การเจ็บป่วยทางกายที่ไม่ได้กระทบต่อสมองโดยตรง แต่ท้าให้เกิดความทุกข์ทรมาน ความเจ็บปวด หรือ
ความรู้สึกว่าร่างกายไม่แข็งแรง เช่น ป่วยเป็นโรคหัวใจ โรคไต ไขข้อ
– ยาหลายชนิดอาจท้าให้มีอารมณ์เศร้าได้เช่นกัน เช่นยาลดความดันโลหิตบางชนิด
– การเลี่ยนแปลงทางจิตใจ เช่น ต้องสูญเสียคู่ชีวิตหรือต้องออกจากงานเนื่องจากเกษียณอายุ ท้าให้ต้อง
ปรับตัวกับการด้าเนินชีวิตแบบใหม่คือไม่มีเพื่อนร่วมงาน
– การเปลี่ยนแปลงทางสังคม เช่นการต้องเปลี่ยนบทบาทจากผู้น้าครอบครัวเป็นผู้ตาม หรือไม่ได้รับการ
ยอมรับจากลูกหลาน
บ่อยครั้งที่เรามักเห็นคนแก่นั่งเหม่อลอยอยู่คนเดียว เรื่องราวที่ผ่านมาชีวิตอันยาวนานทาให้ไม่สามารถ
ลบออกจากห้วงค้านึงได้ง่ายๆ และบ่อยครั้งที่อยากกลับย้อนไปอยู่ในอดีตที่ผ่านมา เคยได้ทางานได้ทา
กับข้าว ได้ดูแลผู้คนมากมาย แต่ปัจจุบันกลับต้องกลายเป็นผู้ถูกดูแล ทาให้ผู้สูงอายุหลายคนรู้สึกไร้
คุณค่า รู้สึกขาดความส้าคัญแลขาดความมั่นใจในตัวเอง ภาวะซึมเศร้าจึงรุกเร้าเข้ามาแทนที่ จากการที่
พบว่าผู้สูงอายุมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเช่นนี้ถ้าเป็นไม่มากนักอาจเข้าข่าย “ภาวะซึมเศร้า” แต่หาก
มีอาการมากและกินระยะเวลานานก็สามารถพัฒนากลายเป็น “โรคซึมเศร้า” ซึ่งจะทาให้ไม่มีความสุขใน
ชีวิต ทากิจกรรมต่างๆในชีวิตประจาวันได้ไม่ดีเหมือนเดิมและบางรายอาจท้อแท้หรือหมดหวัง อาจส่งผล
ให้ไม่อยากมีชีวิตอยู่ต่อไป
อาการของภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุเป็นอย่างไร
รู้สึกเบื่อหน่าย : ผู้สูงอายุจะรู้สึกเบื่อหน่าย สนใจสิ่งต่างๆ น้อยลงหรือหมดความสนใจ หมดอาลัยตาย
อยากในชีวิต ไม่เบิกบาน ห่อเหี่ยว หดหู่ หรือเซ็ง ภาษาถิ่นเรียกว่า ก้าย (เหนือ), เป็นตะหน่ายแท่ อุกอั่ง
(อีสาน), เอือน (ใต้)
รู้สึกเศร้า : ผู้สูงอายุจะเศร้าโศกเสียใจง่าย น้อยใจง่าย ร้องไห้ง่าย รวมถึงมักรู้สึกท้อใจ
พฤติกรรมการนอนเปลี่ยนแปลง : ผู้สูงอายุจะนอนไม่หลับ หลับๆ ตื่นๆ ตื่นเช้ากว่าปกติ หรืออาจนอน
มากขึ้น หลับทั้งวันทั้งคืน นอนขี้เซา
พฤติกรรมการกินเปลี่ยนแปลง : เบื่ออาหาร ไม่ค่อยหิว หรืออาจกินจุขึ้น ของที่เคยชอบกินกลับไม่อยาก
กิน หรือบางรายอาจอยากกินของที่ปกติไม่กิน เช่น ของหวานๆ
การเคลื่อนไหวของร่างกายเปลี่ยนแปลง : ผู้สูงอายุอาจเคลื่อนไหวเชื่องช้าลงหรือเคลื่อนไหวมากขึ้น
กระวนกระวาย ภาษาอีสานเรียกว่า หนหวย หรือ บ่เป็นตะอยู่
ก้าลังกายเปลี่ยนแปลง : อ่อนเพลียง่าย ก้าลังวังชาลดน้อยถอยลง รู้สึกไม่ค่อยแข็งแรงเหมือนเดิม ไม่
ค่อยมีแรง บางรายอาจบ่นเกี่ยวกับอาการทางร่างกายหลายอย่างที่ตรวจไม่พบสาเหตุ หรือมีอาการ
มากกว่าอาการปกติของโรคนั้นๆ
ความรู้สึกต่อตนเองเปลี่ยนแปลง : รู้สึกไร้ค่า รู้สึกผิด หรือรู้สึกแย่กับตัวเอง คิดว่าตนเป็นภาระของ
ลูกหลาน ไม่มีความสามารถเหมือนที่เคยเป็น ความภาคภูมิใจในตนเองลดลง อับจนหนหาง หมด
หวังในชีวิต
สมาธิและความจ้าบกพร่อง : หลงลืมบ่อย โดยเฉพาะลืมเรื่องใหม่ๆ ใจลอย คิดไม่ค่อยออก มักลังเล
หรือตัดสินใจผิดพลาด
ท้าร้ายตัวเอง : ผู้สูงอายุบางรายที่มีอาการมากๆ อาจรู้สึกไม่อยากมีชีวิตอยู่อีกต่อไป บางรายจะคิด
หรือพูดถึงความตายบ่อยๆ นึกอยากตาย และอาจวางแผนท้าร้ายร่างกาย เช่น เตรียมสะสมยา
จ้านวนมากๆ เตรียมวัสดุอุปกรณ์ จากนั้นอาจลงมือท้าาร้ายตัวเองด้วยวิธีต่างๆ เช่น กินยาเกิน
ขนาด กินยาฆ่าแมลงหรือยาฆ่าหญ้า แขวนคอ หรือใช้อาวุธท้าร้ายตนเอง ผู้สูงอายุบางรายอาจไม่
ยอมกินยาประจ้าตัว เพื่อปล่อยให้อาการทรุดลงจนเสียชีวิต
สาเหตุของโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
ด้านร่างกาย
- โรคทางกายบางอย่างที่มักเกิดในผู้สูงอายุ เช่น ภาวะสมองเสื่อม หลอดเลือดสมอง
อุดตัน โรคพาร์กินสัน โรคต่อมธัยรอยด์ มะเร็งของตับอ่อน เป็นต้น
- ยาที่ใช้เพื่อรักษาโรคต่างๆ
- มีการขาดหรือลดน้อยลง ของสารสื่อประสาทบางชนิดในสมอง
ด้านจิตใจ
- เหตุการณ์ร้ายแรงที่มากระทบกระเทือนความรู้สึก เช่น การสูญเสียคนที่รัก
เป็นโรคทางร่างกายที่ร้ายแรง ปัญหาด้านการเงิน
- การดูแลเอาใจใส่จากครอบครัว และคนรอบข้าง
โรคซึมเศร้านั้นก่อให้เกิดการสูญเสียด้านสุขภาพอย่างมีนัยส้าคัญ และสงผลกระทบต่อประชากรทั่วโลก องค์การอนามัย
โลกได้ประมาณการว่า มีประชากรมากกว่า 300 ล้านคนเป็นโรคซึมเศร้า ซึ่งมากกว่าร้อยละ 4 ของประชากรโลก พบ
จ้านวนผู้ที่ป่วยด้วยโรคซึมเศร้านั้นเพิ่มมากขึ้นถึงร้อยละ 18 ในช่วงปี 2548 ถึงปี 2558 โดยเป็นผลจากจ้านวนประชากร
โลก และผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้น ซึ่งจะพบโรคซึมเศร้าได้ ้มากในประชากรกลุ่มนี้โรคซึมเศร้าเป็นสาเหตุใหญ่ที่ท้าให้เกิดความ
บกพร่องทางสุขภาพในประชากรทั่วโลก (คิดเป็นร้อยละ 7.5 ของการสูญเสียปีสุขภาวะจากภาวะบกพร่องทางสุขภาพ)
มากกว่าร้อยละ 80 ของภาระโรคที่เกิดขึ้นจากโรคซึมเศร้านี้อยู่ในประเทศที่มีรายได้ต่ํา และปานกลาง เกือบครึ่งหนึ่ง
ของผู้ที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้าอาศัยอยู่ในภูมิภาคเอเชียใต้และ ตะวันออก และแปซิฟิกตะวันตก ซึ่งเป็นสองภูมิภาคที่มี
ประชากรอาศัยอยู่มากที่สุด โรคทางจิตเวชนั้นมีผลในเชิงเศรษฐกิจอย่างรุนแรง ประมาณการว่าโรคซึมเศร้านั้นก่อให้เกิด
ความสูญเสียต่อ เศรษฐกิจเป็นมูลค่าถึง 800 ล้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2553 และคาดว่ามูลค่าของความสูญเสียนี้จะ
เพิ่มขึ้นมากกว่า สองเท่าในปี 2573 จากรายงานการส้ารวจแผนที่สุขภาพจิตของโลก ปี 2557 พบว่าประเทศที่มีรายได้
ต่ําและปานกลางจัดสรร งบประมาณ น้อยกว่า 2 ดอลลาร์สหรัฐต่อปีต่อประชากรหนึ่งคนเพื่อการรักษาและป้องกันโรค
ซึมเศร้า ในขณะที่ ประเทศที่พัฒนาแล้ว มีการจัดสรรงบประมาณเฉลี่ยสูงถึง 50 ดอลลาร์สหรัฐต่อปีผลของการจัดสรร
งบประมาณที่ จ้ากัดส้าาหรับงานสุขภาพจิต ท้าให้เกิดช่องว่างในการเข้าถึงบริการและการรักษาโรคทางจิตเวช
สถานการณ์โลกของโรคซึมเศร้า
สถานการณ์โรคซึมเศร้าในไทย
โรคซึมเศร้านั้นจัดเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่ส้าคัญของประเทศไทย จากรายงานภาระโรคและการบาดเจ็บของ ประชากรไทย
ปี 2556 พบว่า โรคซึมเศร้านั้นเป็นสาเหตุหลักอันดับหนึ่งที่ท้าให้เกิดการสูญเสียปีสุขภาวะจากภาวะ ุ บกพร่องทางสุขภาพใน
เพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 12.6 รองลงมาคือ โรคต้อกระจก ร้อยละ 8.5 และโรคข้อเสื่อม ร้อยละ 7.4 7 จากรายงานการส้ารวจ
ทางระบาดวิทยาสุขภาพจิตคนไทย ปี 2551 โดยกรมสุขภาพจิต ในคนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป พบโรคซึมเศร้ารุนแรงชนิดครั้งคราว
ร้อยละ 2.4 และชนิดเรื้อรัง ร้อยละ 0.3 รวมทั้งสองโรค ประมาณการว่ามี 1.5 ล้านคนที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้า นั่นหมายความว่า
ในประชากรไทย 100 คน จะมี 3 คนที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้า ทั้งนี้ เพศหญิงนั้นเสี่ยงต่อการป่วยเป็นโรคซึมเศร้ามากกว่าเพศชาย
ถึง 1.7 เท่า (ความชุกในเพศหญิง และเพศชายนั้นอยู่ที่ รอยละ ้ 2.9 และ 1.7 ตามลาดับ) 8 ผู้ที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้านั้นเสี่ยงต่อ
การฆ่าตัวตายสูง จากการประเมินด้วย Mini International Neuropsychiatric Interview ในปี 2551 พบว่าผู้ป่วยโรคซึมเศร้า
มีอัตราความรุนแรงที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายสูง (ร้อยละ 20.4) เมอื่ เปรียบเทียบกับโรคจิตเภทประเภทอื่นๆ 9 จากข้อมูลของ
ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า ซึ่งมีการประเมินความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย พบว่าผู้ป่วยโรคซึมเศราํ ที่เป็นกลุ่มวัยรนอาย ุ่ ุ 15-
19 ปีนั้นจะมีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายระดับสูงมากกว่ากลุ่มผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) ที่ร้อยละ 6.4 และ ร้อยละ 1.17 ตามล้าดับ
1
กรมสุขภาพจิตนั้นเป็นหน่วยงานระดับประเทศในการด้าเนินงานด้านสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิตได้ด้าเนินโครงการทศวรรษการป้องกันและ
แก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้า พ.ศ. 2553-2563 โดยมีเป้าหมาย ที่จะลดความชุก และภาระโรคของโรคซึมเศร้า 11 ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา กรม
สุขภาพจิตได้ประสบความส้าเร็จในการด้าเนินแผนงานต่างๆ ดังนี้ o สร้างความรู้ และความตระหนักในเรื่องการป้องกันและรักษาโรคซึมเศร้า
แก่ประชาชนไทย ผ่านทางสื่อ สังคมออนไลน์ (ศูนย์ความรู้เทคโนโลยีโรคซึมเศร้าไทย) และสื่อในช่องทางอื่นๆ o สร้างระบบดูแลเฝ้าระวังโรค
ซึมเศร้าในระดับจังหวัด (SDDPX 4/4 พัฒนาคุณภาพการให้บริการ โดยการจัดท้าแนวทางการจัดการโรคซึมเศร้าส้าหรับแพทย์และพยาบาล
รวมถึงฐานข้อมูลออนไลน์เรื่องโรคซึมเศร้า (www.thaidepression.com) o เพิ่มศักยภาพของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข โดย
การอบรมทีมส้าหรับการจดการโรคซึมเศร้าใน หน่วยบริการสุขภาพ ซึ่งประกอบด้วย ทีมแพทย์ผสอนผู้แพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป พยาบาล
เจ้าหน้าที่ สาธารณสุข และอาสาสมัครสาธารณสุขประจ้าหมู่บ้าน (อสม.) ร่วมมือกับเครือข่าย เช่น อสม. ผู้น้าชุมชน องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น และผู้ดูแลผู้ป่วย เพื่อส่งเสริมการคัด กรองผู้ป่วยรายใหม่ เพิ่มการเข้าถึงการรักษา และส่งเสริมการดูํแลโดยชุมชน และจากผลส้าเร็จ
ของการด้าเนินงานดังกล่าวข้างต้น ท้าให้อัตราการเข้าถึงการรักษาของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเพิ่มขึ้น จากร้อยละ 3.7 ในปี 2551 เป็น 50.1 ในปี
2560 ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ประชาชนไทยกลุ่มเสี่ยงจ้านวน 14 ล้านคน ได้รับการคัดกรอง และได้รับความรู้เรื่องโรคซึมเศร้าผู้ป่วยโรคซึมเศร้า
จ้านวน 7 แสนกว่าคนได้รับการรักษาด้วยยา และการบ้าบัดทางสังคมจิตใจ ซึ่งในจ้านวนนี้ร้อยละ 80 ได้รับการรักษาจนหายขาด
การด้าเนินงานการช่วยผู้สูงอายุในโรคซึมเศร้าของประเทศไทย
โรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุ : การรักาา
เราควรทาความเข้าใจเรื่องความแตกต่างระหว่างอารมณ์เศร้าและโรคซึมเศร้าก่อนอารมณ์เศร้าเป็นเรื่อง
ธรรมดาของคนเรา เกิดขึ้นและหายไปธรรมดา แต่บางครั้งอารมณ์เศร้าเกาะกุมอยู่นานมากและไม่ยอม
หาย แต่อาจไม่รุนแรง ไม่กระทบชีวิต ไม่มีความคิดอยากฆ่าตัวตาย อารมณ์เศร้าที่ไม่ถึงกับเป็นโรคซึมเศร้า
สามารถรักาาได้ด้วยการพบผู้ให้คาปรึกาาที่ได้รับการฝึกอบรมมาเป็นอย่างดี นักจิตวิทยา จิตแพทย์ หรือทา
จิตบาบัด
ส่วนโรคซึมเศร้าเป็นโรค และสารเคมีบางตัวในสมองเสียสมดุล ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าจะได้รับประโยชน์จากยา
ต้านอารมณ์เศร้า แต่ขึ้นอยู่กับผู้รักาาและความร่วมมือของผู้ป่วยและญาติด้วย เป็นเรื่องธรรมดาของการ
รักาาโรคภัยไข้เจ็บทั่วไป
ยาต้านเศร้า (anti-depressant) เป็นยาที่ออกฤทธิ์ต่อสมองและระบบประสาทส่วนกลางโดยตรง ช่วย
ปรับสมดุลของสารสื่อประสาทให้เข้าที่ ซึ่งยาต้านเศร้าทุกตัวมีข้อเสียคือความง่วง บ้างมีอาการคอแห้ง
ท้องผูก และลุกเร็วหน้ามืด เหล่านี้เป็นอาการข้างเคียงที่เลี่ยงไม่ได้ แต่สามารถรอเวลาให้ร่างกายชินยา
ได้ โดยทั่วไปจะดีขึ้นเองในเวลา 2 – 4 สัปดาห์
โรคซึมเศร้ารักษาให้หายขาดได้หรือไม่
บางคนก็หายขาดได้ บ่อยครั้งที่ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าไม่หายขาด แต่มาไกลในระดับอาการสงบ ซึ่ง
แบ่งเป็นอาการสงบอย่างสมบูรณ์ หรืออาการสงบบางส่วน มีอาการบางส่วนอยู่บ้าง
ตัวชี้วัดที่ดีกว่าค้าว่าหายขาดหรืออาการสงบ คือคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเอง กินอาหารได้ดีหรือไม่
นอนหลับได้ดีหรือไม่ สมาธิในการท้างานดีหรือไม่ ชีวิตทางเพศปกติสุขดีหรือไม่ ปราศจากความหด
หู่ ท้อแท้ และไม่มีความคิดอยากฆ่าตัวตาย
ข้อควรปฏิบัติสาหรับผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า โดยมีหลัก 9 ข้อดังต่อไปนี้
1. อย่าตั้งเป้าหมายในการทางาน และปฏิบัติตัวที่ยากเกินไป หรือรับผิดชอบมากเกินไป
2. แยกแยะปัญหาใหญ่ๆ ให้เป็นส่วนย่อยๆ พร้อมทั้งจัดเรียงความสาคัญก่อนหลังและลงมือทาเท่าที่สามารถทาได้
3. อย่าพยายามบังคับตนเอง หรือตั้งเป้ากับตนเองให้สูงเกินไป เพราะอาจไปเพิ่มความรู้สึกล้มเหลวในภายหลัง
4. พยายามทากิจกรรมต่างๆร่วมกับบุคคลอื่น ซึ่งดีกว่าอยู่เพียงลาพัง
5. เลือกทากิจกรรมที่จะสร้างความรู้สึกที่ดีขึ้น หรือเพลิดเพลินและไม่หนักเกินไปเช่นการออกกาลังเบาๆ การชม
ภาพยนตร์ การร่วมทากิจกรรมทางสังคม
6. อย่าตัดสินใจในเรื่องที่ส้าคัญต่อชีวิตมากๆ เช่น การลาออกจากงาน การแต่งงาน หรือ การหย่าร้าง โดยไม่ได้ปรึกษาผู้
ใกล้ชิดที่รู้จักผู้ป่วยดี และ ต้องเป็นบุคคลที่สามารถพิจารณาเหตุการณ์นั้นอย่าง ที่ยงตรง มีความเป็นกลาง และ
ปราศจากอคติที่เกิดจากอารมณ์มาบดบัง ถ้าเป็นไปได้ และ ดีที่สุด คือ เลื่อนการตัดสินใจออกไปจนกว่าภาวะโรค
ซึมเศร้าจะหายไปหรือดีขึ้น มากแล้ว
7. ไม่ควรต้าหนิ หรือลงโทษตนเองที่ไม่สามารถทา ได้อย่างที่ต้องการ เพราะ ไมใช่ความผิดของผู้ป่วย ควรทาเท่าที่ตนเองทาได้
8. อย่ายอมรับว่าความคิดในแง่ร้ายที่เกิดขึ้นในภาวะ ซึมเศร้าว่าเป็นส่วนหนึ่งที่แท้จริงของตนเองเพราะโดยแท้จริงแล้วมันเป็น
ส่วนหนึ่งของโรค หรือ ความเจ็บป่วย และ สามารถหายไปได้เมื่อรักษา
9. ในขณะที่ผู้ป่วยโรคซึมเศร้ากลายเป็นคนที่ต้องการ ความช่วยเหลือจากบุคคลอื่นแต่ก็อาจมีบุคคลรอบตัวๆ ที่ไม่เข้าใจใน
ความเจ็บป่วยของผู้ป่วย และ อาจสนองตอบในทางตรงกันข้ามและกลายเป็น การซ้้าเติมโดยไม่ได้ตั้งใจ
วิธีการดูแลผู้สูงอายุที่เป็นโรคซึมเศร้า
1. การช่วยพยุง หรือประคับประคองทางอารมณ์นับเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดอันได้แก่การรับฟัง ความเข้าใจ
ความอดทน ความห่วงใย
2. การสนับสนุนและให้กาลังใจการรับฟังผู้ป่วยอย่างตั้งใจ โดยแทนที่จะแสดงท่าทีราคาญ หรือดูแคลน
ผู้ป่วย แต่ควรจะชี้ให้เห็นถึงความเป็นจริงตลอดจนความหวัง
3. การชักชวนผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม หรืองานอดิเรกที่เคยให้ความสนุกสนานต่อผู้ป่วย มาก่อน
เช่น เดินเล่น ชมภาพยนตร์ หรือเล่นกีฬา แต่ไม่ควรผลักดันมากเกินไป และเร็วเกินกว่าที่ผู้ป่วยจะรับได้
เพราะอาจไปเพิ่มความรู้สึกไร้ค่าไร้ความ สามารถให้มากขึ้น
4. อย่าเรียกร้องให้ผู้ป่วยต้องหายจากโรคอย่างรวดเร็ว อย่ากล่าวโทาผู้ป่วยซึมเศร้าว่าแสร้งทา หรือขี้เกียจ
เพราะถึงแม้ผู้ป่วยที่ได้รับการรักาาก็ยังต้องใช้เวลา ช่วงหนึ่งจึงจะมีอาการดีขึ้น
การปฏิบัติตัว
ผู้สูงอายุถ้าสงสัยว่าเป็นโรคซึมเศร้า ควรปฏิบัติดังนี้
– ผู้สูงอายุควรหลีกเลี่ยงการอยู่คนเดียว เมื่อเกิดอารมณ์เศร้า คอยคุยกับเพื่อนหรือผู้อื่น
– พยายามปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแลงต่างๆ ที่เกิดขึ้นในวัยนี้ ไม่ว่าจะเป็นโรคทางกาย
ความสามารถ บทบาทที่เปลี่ยนไป
– ท้ากิจกรรม หรืองานอดิเรกที่ชอบ เช่น ปลูกต้นไม้ เย็บปักถักร้อย
– ท้ากิจกรรมร่วมกับผู้อื่น เช่น การเข้าชมรมผู้สูงอายุ หรือ ออกก้าลังกาย พบปะเพื่อนเก่าๆ
– ไปพบแพทย์เพื่อขอค้าแนะน้า
หากผู้ป่วยพูดถึงเรื่องอยากตาย อย่าบอกว่า “อย่าคิดมาก” “ให้เลิกคิด” หรือ “อย่าสร้างความเดือดร้อนให้คนอื่น” ค้าพูดท้านองนี้อาจท้าให้
เขารู้สึกว่าญาติไม่สนใจรับรู้ปัญหา เห็นว่าเขาเหลวไหล ญาติควรให้ความสนใจ เปิดโอกาสให้เขาได้พูดถึงความคับข้องใจ จากประสบการณ์การ
เป็นแพทย์ของผู้เขียนพบว่า ผู้ป่วยจ้านวนไม่น้อย ไม่มีโอกาส หรือไม่ได้พูดความคับข้องใจหรือปัญหาของตนเองให้คนใกล้ชิด เพราะมีความรู้สึก
ว่า “เขาคงไม่สนใจ” “ไม่อยากรบกวนเขา” “ไม่รู้ว่าจะเล่าให้เขาฟังตอนไหน” ในช่วงภาวะวิกฤตินั้นสิ่งที่ผู้ที่ทุกข์ใจต้องการมากคือผู้ที่พร้อม
จะรับฟังปัญหาของเขาด้วยความเข้าใจ อย่าเพิ่งรีบไปให้ค้าแนะน้าโดยที่เขายังไม่ได้พูดอะไร การที่เขาได้พูดระบายออกมาเป็นการเปิดโอกาสให้
ญาติได้เห็นชัดเจนขึ้นว่าปัญหา หรือสิ่งที่ผู้ป่วยเห็นว่าส้าคัญคืออะไร ซึ่งอาจจะแตกต่างจากที่ญาติเคยคิดมาก่อนก็ได้
เมื่อผู้ป่วยได้พูดระบายความคับข้องใจออกมา จิตใจจะผ่อนคลายลง สภาพจิตใจตอนนี้เริ่มจะเปิดกว้างพร้อมที่จะรับฟังผู้อื่น โดยเฉพาะผู้ที่เขา
เกิดความไว้วางใจ ซึ่งก็คือผู้ที่รับฟังปัญหาของเขายามที่เขาทุกข์ใจมากที่สุดนั่นเอง ณ จุดนี้ ญาติจะสามารถชี้ให้ผู้ป่วยได้มองปัญหาจากแง่มุม
อื่นๆ ได้เห็นทางเลือกอื่นๆ ในการแก้ปัญหา หากได้พูดคุยแล้วเห็นว่าผู้ป่วยยังมีความรู้สึกท้อแท้อยู่สูง มีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายมากก็อย่าได้
ไว้วางใจ ควรพาไปพบแพทย์ในช่วงที่ผู้ป่วยมีอาการซึมเศร้ามากนั้น หากเขายังท้าอะไรไม่ได้ก็ควรจะให้พักผ่อนไปจะดีกว่าการไปบังคับให้เขาท้า
โดยที่ยังไม่พร้อม หากอาการเริ่มดีขึ้น ก็อาจค่อยๆ ให้งานหรือชวนให้เขาร่วมกิจกรรมที่พอท้าได้บ้าง เป็นงานที่ไม่ต้องอาศัยสมาธิมากนัก หาก
เป็นงานที่มีการเคลื่อนไหว เคลื่อนที่จะดีกว่างานที่ผู้ป่วยนั่งอยู่เฉยๆ เพราะการมีกิจกรรมจะท้าให้ความคิดฟุ้งซ่าน การอยู่กับตนเองลดลง
อย่างไรก็ตาม
ผู้จัดท้า
นางสาวศุภนิดา ทาส้าว เลขที่ 32 ม.6/5
นางสาวธวัลรัตน์ จันต๊ะ เลขที่ 37 ม.6/5

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษาSambushi Kritsada
 
ปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลSumon Kananit
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPrachaya Sriswang
 
โรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงbird090533
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรSasithon Charoenchai
 
กินอยู่อย่างไรให้ห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรให้ห่างไกลโรคกินอยู่อย่างไรให้ห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรให้ห่างไกลโรคสปสช นครสวรรค์
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
Chula mental test
Chula mental testChula mental test
Chula mental testtaem
 
Common problems in trauma of elderly
Common problems in trauma of elderlyCommon problems in trauma of elderly
Common problems in trauma of elderlyKrongdai Unhasuta
 

Was ist angesagt? (20)

Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
Teenage pregnancy
Teenage pregnancyTeenage pregnancy
Teenage pregnancy
 
Ppt.ht
Ppt.htPpt.ht
Ppt.ht
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
 
ปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาล
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านม
 
โรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูง
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
 
กินอยู่อย่างไรให้ห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรให้ห่างไกลโรคกินอยู่อย่างไรให้ห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรให้ห่างไกลโรค
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 
Chula mental test
Chula mental testChula mental test
Chula mental test
 
Ppt.stroke
Ppt.strokePpt.stroke
Ppt.stroke
 
Common problems in trauma of elderly
Common problems in trauma of elderlyCommon problems in trauma of elderly
Common problems in trauma of elderly
 
03 ma
03 ma03 ma
03 ma
 
Rdu
RduRdu
Rdu
 

Ähnlich wie สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่

โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าธนัชพร ส่งงาน
 
สูงวัยกับโรคซึมเศร้า
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าสูงวัยกับโรคซึมเศร้า
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าGear Tanatchaporn
 
สูงวัยกับโรคซึมเศร้า
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าสูงวัยกับโรคซึมเศร้า
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าGear Tanatchaporn
 
medication counseling for asolescent with depression
medication counseling for asolescent with depressionmedication counseling for asolescent with depression
medication counseling for asolescent with depressionkamolwantnok
 
โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)
โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)
โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)satjakornii
 
ปัญหาสุขภาพจิต
ปัญหาสุขภาพจิตปัญหาสุขภาพจิต
ปัญหาสุขภาพจิตgeekan
 
โครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิก
โครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิกโครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิก
โครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิกphurinwisachai
 
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทยปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทยgeekan
 
Poster_อธิสรา_22_154
Poster_อธิสรา_22_154Poster_อธิสรา_22_154
Poster_อธิสรา_22_154AthisaraMarayart
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Tuk Diving
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Tuk Diving
 
Presentation final no.32,36
Presentation final no.32,36Presentation final no.32,36
Presentation final no.32,36Thanatchaya21
 
โรควิตกกังวลคืออะไร
โรควิตกกังวลคืออะไรโรควิตกกังวลคืออะไร
โรควิตกกังวลคืออะไรfifa23122544
 
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)Utai Sukviwatsirikul
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าGear Tanatchaporn
 
งานนำเสนอ14
งานนำเสนอ14งานนำเสนอ14
งานนำเสนอ14Min Chatchadaporn
 
โรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
โรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศโรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
โรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศWan Ngamwongwan
 

Ähnlich wie สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่ (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
 
สูงวัยกับโรคซึมเศร้า
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าสูงวัยกับโรคซึมเศร้า
สูงวัยกับโรคซึมเศร้า
 
สูงวัยกับโรคซึมเศร้า
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าสูงวัยกับโรคซึมเศร้า
สูงวัยกับโรคซึมเศร้า
 
Depression and suicide
Depression and suicide Depression and suicide
Depression and suicide
 
medication counseling for asolescent with depression
medication counseling for asolescent with depressionmedication counseling for asolescent with depression
medication counseling for asolescent with depression
 
โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)
โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)
โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)
 
ปัญหาสุขภาพจิต
ปัญหาสุขภาพจิตปัญหาสุขภาพจิต
ปัญหาสุขภาพจิต
 
โครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิก
โครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิกโครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิก
โครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิก
 
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทยปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
 
Poster_อธิสรา_22_154
Poster_อธิสรา_22_154Poster_อธิสรา_22_154
Poster_อธิสรา_22_154
 
Poster_wichai_154_no22
Poster_wichai_154_no22Poster_wichai_154_no22
Poster_wichai_154_no22
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
Presentation final no.32,36
Presentation final no.32,36Presentation final no.32,36
Presentation final no.32,36
 
โรควิตกกังวลคืออะไร
โรควิตกกังวลคืออะไรโรควิตกกังวลคืออะไร
โรควิตกกังวลคืออะไร
 
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
 
Kronggnan kuu
Kronggnan kuuKronggnan kuu
Kronggnan kuu
 
งานนำเสนอ14
งานนำเสนอ14งานนำเสนอ14
งานนำเสนอ14
 
โรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
โรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศโรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
โรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
 

สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่

  • 2. หากคุณมีอาการของโรคซึมเศร้าหรือไม่รู้สึกเศร้าใจ หม่นหมอง หงุดหงิด หรือรู้สึกกังวลใจ ไม่สบายใจขาดความสนใจต่อสิ่งแวดล้อมรอบข้าง หรือสิ่งที่เคยให้ความสนุกสนานในอดีต น้้าหนักลดลง หรือเพิ่มขึ้น ความอยากอาหารเปลี่ยนแปลงไปนอนไม่หลับ หรือนอนมาก เกินกว่าปกติรู้สึกผิด สิ้นหวัง หรือรู้สึกว่าตนเองไร้ค่าไม่มีสมาธิ ไม่สามารถตัดสินใจเองได้ ความจ้าแย่ลงอ่อนเพลีย เมื่อยล้า ไม่มีเรี่ยวแรงกระวนกระวาย ไม่อยากท้ากิจกรรมใดๆ คิดถึงแต่ความตาย และอยากที่จะฆ่าตัวตายถ้าหากคุณมีอาการเช่นนี้หลายข้อ เป็นเวลา มากกว่า 2 สัปดาห์ คุณอาจจะก้าลังเป็นโรคซึมเศร้า รู้หรือไม่ ?
  • 3.
  • 4. โรคซึมเศร้า เป็นโรคหนึ่งซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ในช่วงชีวิตของคนเรา เหมือนกับโรคทางกายอื่นๆ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง การเป็น โรคซึมเศร้าไม่ได้หมายความว่า ผู้ที่เป็นนั้นจะเป็นคนอ่อนแอ ล้มเหลว หรือไม่มีความสามารถ แต่เป็นเพียงการเจ็บป่วยอย่าง หนึ่ง เกิดได้ทั้งมีสาเหตุ เช่น การสูญเสีย การหย่าร้าง ความผิดหวัง และเกิดได้เองโดยไม่มีสาเหตุใดๆ ซึ่งในปัจจุบันโรคนี้ สามารถรักษาหายได้ด้วยการใช้ยา การรักษาทางจิตใจ หรือทั้งสองอย่างรวมกันโรคซึมเศร้า (อังกฤษ: Major depressive disorder ตัวย่อ MDD) เป็นความผิดปกติทางจิตซึ่งท้าให้ผู้ป่วยเกิดอารมณ์ซึมเศร้าอย่างน้อย 2 สัปดาห์ในแทบทุกสถานการณ์ มักเกิดร่วมกับการขาดความภูมิใจแห่งตน การเสียความสนใจในกิจกรรมที่ปกติท้าให้เพลิดเพลินใจ อาการไร้เรี่ยวแรง และ อาการปวดซึ่งไม่มีสาเหตุชัดเจนผู้ป่วยอาจมีอาการหลงผิดหรือมีอาการประสาทหลอน ผู้ป่วยบางรายมีช่วงเวลาที่มีอารมณ์ ซึมเศร้าห่างกันเป็นปี ๆ ส่วนบางรายอาจมีอาการตลอดเวลา โรคซึมเศร้าสามารถส่งผลกระทบในแง่ลบให้กับผู้ป่วยในหลาย ๆ เรื่อง เช่น ชีวิตส่วนตัว ชีวิตในที่ท้างานหรือโรงเรียน ตลอดจนการหลับ อุปนิสัยการกิน และสุขภาพโดยทั่วไปผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ผู้ใหญ่ประมาณ 2–7% เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตายและประมาณ 60% ของผู้ฆ่าตัวตายกลุ่มนี้มีโรคซึมเศร้าร่วมกับความผิด ปกติทางอารมณ์ชนิดอื่น
  • 5. ค้าว่า ความซึมเศร้า สามารถใช้ได้หลายทาง คือ มักใช้เพื่อหมายถึงกลุ่มอาการนี้ แต่อาจหมายถึงความผิดปกติทางจิต อื่นหรือหมายถึงเพียงภาวะซึมเศร้าก็ได้ โรคซึมเศร้าเป็นภาวะท้าให้พิการ (disabling) ซึ่งมีผลเสียต่อครอบครัว งานหรือ ชีวิตโรงเรียน นิสัยการหลับและกิน และสุขภาพโดยรวมของบุคคล ในสหรัฐอเมริกา ราว 3.4% ของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ฆ่าตัวตายและมากถึง 60% ของผู้ที่ฆ่าตัวตายนั้นมีภาวะซึมเศร้าหรือความผิดปกติทางอารมณ์อย่างอื่น ในประเทศไทย โรคซึมเศร้าเป็นความผิดปกติทางจิตที่พบมากที่สุด (3.7% ที่เข้าถึงบริการ)[เป็นโรคที่สร้างภาระโรค (DALY) สูงสุด 10 อันดับแรกโดยเป็นอันดับ 1 ในหญิง และอันดับ 4 ในชายการวินิจฉัยโรคซึมเศร้าอาศัยประสบการณ์ที่รายงานของบุคคล และการทดสอบสุขภาพจิตไม่มีการทดสอบทางห้องปฏิบัติการส้าหรับโรคซึมเศร้า ทว่า แพทย์อาจส่งตรวจเพื่อแยกภาวะ ทางกายซึ่งสามารถก่อให้เกิดอาการคล้ายกันออก ควรแยกโรคซึมเศร้าจากความเศร้าซึ่งเป็นธรรมดาของชีวิตและไม่ รุนแรงเท่า มีการตั้งชื่อ อธิบาย และจัดกลุ่มอาการซึมเศร้าว่าเป็นความผิดปกติทางอารมณ์ (mood disorder) ในคู่มือ การวินิจฉัยและสถิติวัดความผิดปกติทางจิตปี 2523 ของสมาคมจิตแพทย์อเมริกัน คณะท้างานบริการป้องกันสหรัฐ (USPSTF) แนะน้าให้คัดกรองโรคซึมเศร้าในบุคคลอายุมากกว่า 12 ปี แต่บทปฏิทัศน์คอเครนก่อนหน้านี้ไม่พบหลักฐาน เพียงพอส้าหรับการคัดกรองโรค
  • 6. สาเหตุของโรคซึมเศร้า โรคซึมเศร้าเกิดจากความผิดปกติของสารเคมีที่อยู่ในสมองที่มีชื่อว่า เซโรโทนิน (Serotonin) เมื่อสารเคมี ดังกล่าวมีปริมาณน้อยลงจากเดิมก็ท้าให้ผู้ป่วยมีอาการป่วยทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจและทางความคิด ซึ่ง โดยรวมจะสังเกตเห็นได้ว่าผู้ป่วยจะมีความรู้สึกท้อแท้ เบื่อหน่าย เหงา ไม่มีชีวิตชีวา ไม่สนุกสนานกับ ชีวิตประจ้าวัน นอนไม่หลับ มักสะดุ้งตื่นในกลางดึก ฝันร้ายบ่อย เหล่านี้ยังเป็นพฤติกรรมที่ส่งผลกระทบ ต่อความสามารถในการท้างานที่ลดลง ส้าหรับสาเหตุที่ท้าให้เกิดอาการซึมเศร้านั้นมาจากหลากหลายปัจจัยด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นในด้านของ กรรมพันธุ์ ด้านพัฒนาการของจิตใจ รวมทั้งด้านสิ่งแวดล้อมที่ต้องเผชิญ ตัวอย่างเช่น ผู้ป่วยประสบกับ ความเครียดที่แสนหนัก เจอมรสุมชีวิตที่ไม่ทันได้ตั้งตัว เกิดอาการเจ็บป่วยเรื้อรังจนท้าให้หมดก้าลังใจ ตก งาน มีปัญหาเรื่องการเงินที่หาทางออกไม่ได้ มีปัญหาเกี่ยวกับความสัมพันธ์กับคนใกล้ชิด รวมทั้งพบเจอ กับความสูญเสียในชีวิตที่ท้าให้เสียใจเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นการสูญเสียพ่อแม่ในขณะที่ยังอยู่ในช่วง ของวัยเด็ก สูญเสียคนรัก สูญเสียครอบครัว และยังรวมถึงปัจจัยทางชีวภาพ เช่น เกิดการเปลี่ยนแปลงของ ระดับสารเคมีในสมองบางชนิด ก็สามารถส่งผลท้าให้เกิดโรคซึมเศร้าได้เช่นเดียวกัน
  • 7. ชนิดของโรคซึมเศร้า โรคซึมเศร้าแบ่งออกเป็น 3 ชนิด ด้วยกัน ซึ่งแต่ละชนิดมีรายละเอียดที่แตกต่างกันไปดังนี้ Major depression (โรคซึมเศร้าแบบรุนแรง) โรคซึมเศร้าชนิดนี้จะรบกวนการท้างาน การรับประทาน อาหาร การนอนหลับ การเรียน รวมทั้งอารมณ์สุนทรีย์ ซึ่งอาการของโรคซึมเศร้าชนิดนี้จะเกิดเป็นครั้งๆ แล้วหายไป แต่ทั้งนี้ก็สามารถเกิดได้บ่อยครั้ง Dysthymia (โรคซึมเศร้าเรื้อรัง) เป็นโรคซึมเศร้าชนิดที่อยู่ในภาวะที่รุนแรง และสามารถเป็นแบบเรื้อรัง ทั้งนี้มันสามารถท้าให้ผู้ป่วยเกิดการสูญเสียความสามารถในการท้างานและความรู้สึกที่ดีได้ Bipolar หรือ Manic-depressive illness (โรคซึมเศร้าอารมณ์ตก) เป็นโรคซึมเศร้าชนิดที่ผู้ป่วยมีการ เปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์ ซึ่งส้าหรับบางคนอาจจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยส่วนมากจะค่อยเป็น ค่อยไป เมื่อซึมเศร้าก็จะมีอาการมากบ้างน้อยบ้าง แต่เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นช่วงอารมณ์สนุกคึกคัก เกินเหตุ จะท้าให้ผู้ป่วยมีอาการพูดมากกว่าที่เคยเป็น มีความกระฉับกระเฉงมากเกินกว่าเหตุ มีพลังงานใน ร่างกายที่เหลือเฟือ ในช่วงอารมณ์สนุกคึกคักเกินเหตุนั้น จะมีผลกระทบต่อความคิดและการตัดสินใจของ ผู้ป่วย รวมทั้งพฤติกรรมของผู้ป่วยอาจจะหลงผิด หากผู้ป่วยในภาวะนี้ไม่ได้รับการรักษาจะท้าให้ผู้ป่วย กลายเป็นโรคจิต
  • 8. นพ.พิชัย อิฏฐสกุล จิตแพทย์ โรงพยาบาลมนารมย์ อธิบายเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าให้ฟังว่า โรคซึมเศร้าถือเป็นโรค ทางด้านจิตเวชที่พบมากเป็นอันดับต้นๆ ของเมืองไทย เกิดจาก 2 สาเหตุหลักคือปัจจัยทางชีวภาพหรือพันธุกรรม เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงของเคมีในสมอง เช่นความผันผวนของระดับฮอร์โมนที่สาคัญ สืบทอดจากพ่อแม่สู่ลูก และเกิดจากปัจจัยด้านจิตใจหรือสิ่งแวดล้อมที่เรียกว่าปัจจัยทางอารมณ์ เป็นผลมาจากสถานการณ์ความตึงเครียด ทางอารมณ์ เช่นหากเป็นภาวะซึมเศร้าในวัยเด็ก (Childhood Depression) อาจมีสาเหตุจากความตึงเครียดใน ครอบครัว เหตุการณ์สะเทือนใจอย่างรุนแรง หรือความคาดหวังทางการศึกษาเล่าเรียนที่สูงส่งเกินความสามารถของ ตน ภาวะซึมเศร้าในโรคประสาท (Neurotic depression) ซึ่งอาจพบร่องรอยว่าถูกบีบคั้นอย่างมากในวัยเด็ก แล้ว ปะทุออกมาในช่วงชีวิตภายหลัง ภาวะซึมเศร้าเพราะความชรา (Depression of age) เกิดเพราะความสามารถใน การปรับตัวลดน้อยลง มีชีวิตโดดเดี่ยว ปัญหาช่องว่างระหว่างวัยหรือปัญหาที่เรียกกันว่า ภาวะสะเทือนใจหลังเกษียณ (สูญเสียคุณค่าในตนไม่มีงาน ความรู้สึกว่าไร้สมรรถภาพ) นอกจากนี้ยังรวมไปถึงภาวะซึมเศร้าจากปฏิกิริยาทางใจ (Reactive depression) เช่น อาการซึมเศร้าภายหลังจากคู่แต่งงานเสียชีวิต
  • 9.
  • 11. ทาไมผู้สูงอายุจึงมีโอกาสเป็นโรคซึมเศร้ามากกว่าวัยอื่น ในวัยสูงอายุจะมีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างที่ท้าให้เกิดโรคซึมเศร้าได้ง่ายได้แก่ – การเปลี่ยนแปลงของสารสื่อประสาทในสมอง ท้าให้เกิดโรคซึมเศร้าได้ง่าย – การมีโรคบางอย่าง เช่น โรคสมองเสื่อม โรคหลอดเลือดสมอง โรคมะเร็ง – การเจ็บป่วยทางกายที่ไม่ได้กระทบต่อสมองโดยตรง แต่ท้าให้เกิดความทุกข์ทรมาน ความเจ็บปวด หรือ ความรู้สึกว่าร่างกายไม่แข็งแรง เช่น ป่วยเป็นโรคหัวใจ โรคไต ไขข้อ – ยาหลายชนิดอาจท้าให้มีอารมณ์เศร้าได้เช่นกัน เช่นยาลดความดันโลหิตบางชนิด – การเลี่ยนแปลงทางจิตใจ เช่น ต้องสูญเสียคู่ชีวิตหรือต้องออกจากงานเนื่องจากเกษียณอายุ ท้าให้ต้อง ปรับตัวกับการด้าเนินชีวิตแบบใหม่คือไม่มีเพื่อนร่วมงาน – การเปลี่ยนแปลงทางสังคม เช่นการต้องเปลี่ยนบทบาทจากผู้น้าครอบครัวเป็นผู้ตาม หรือไม่ได้รับการ ยอมรับจากลูกหลาน
  • 12.
  • 13. บ่อยครั้งที่เรามักเห็นคนแก่นั่งเหม่อลอยอยู่คนเดียว เรื่องราวที่ผ่านมาชีวิตอันยาวนานทาให้ไม่สามารถ ลบออกจากห้วงค้านึงได้ง่ายๆ และบ่อยครั้งที่อยากกลับย้อนไปอยู่ในอดีตที่ผ่านมา เคยได้ทางานได้ทา กับข้าว ได้ดูแลผู้คนมากมาย แต่ปัจจุบันกลับต้องกลายเป็นผู้ถูกดูแล ทาให้ผู้สูงอายุหลายคนรู้สึกไร้ คุณค่า รู้สึกขาดความส้าคัญแลขาดความมั่นใจในตัวเอง ภาวะซึมเศร้าจึงรุกเร้าเข้ามาแทนที่ จากการที่ พบว่าผู้สูงอายุมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเช่นนี้ถ้าเป็นไม่มากนักอาจเข้าข่าย “ภาวะซึมเศร้า” แต่หาก มีอาการมากและกินระยะเวลานานก็สามารถพัฒนากลายเป็น “โรคซึมเศร้า” ซึ่งจะทาให้ไม่มีความสุขใน ชีวิต ทากิจกรรมต่างๆในชีวิตประจาวันได้ไม่ดีเหมือนเดิมและบางรายอาจท้อแท้หรือหมดหวัง อาจส่งผล ให้ไม่อยากมีชีวิตอยู่ต่อไป
  • 15. รู้สึกเบื่อหน่าย : ผู้สูงอายุจะรู้สึกเบื่อหน่าย สนใจสิ่งต่างๆ น้อยลงหรือหมดความสนใจ หมดอาลัยตาย อยากในชีวิต ไม่เบิกบาน ห่อเหี่ยว หดหู่ หรือเซ็ง ภาษาถิ่นเรียกว่า ก้าย (เหนือ), เป็นตะหน่ายแท่ อุกอั่ง (อีสาน), เอือน (ใต้) รู้สึกเศร้า : ผู้สูงอายุจะเศร้าโศกเสียใจง่าย น้อยใจง่าย ร้องไห้ง่าย รวมถึงมักรู้สึกท้อใจ พฤติกรรมการนอนเปลี่ยนแปลง : ผู้สูงอายุจะนอนไม่หลับ หลับๆ ตื่นๆ ตื่นเช้ากว่าปกติ หรืออาจนอน มากขึ้น หลับทั้งวันทั้งคืน นอนขี้เซา พฤติกรรมการกินเปลี่ยนแปลง : เบื่ออาหาร ไม่ค่อยหิว หรืออาจกินจุขึ้น ของที่เคยชอบกินกลับไม่อยาก กิน หรือบางรายอาจอยากกินของที่ปกติไม่กิน เช่น ของหวานๆ การเคลื่อนไหวของร่างกายเปลี่ยนแปลง : ผู้สูงอายุอาจเคลื่อนไหวเชื่องช้าลงหรือเคลื่อนไหวมากขึ้น กระวนกระวาย ภาษาอีสานเรียกว่า หนหวย หรือ บ่เป็นตะอยู่ ก้าลังกายเปลี่ยนแปลง : อ่อนเพลียง่าย ก้าลังวังชาลดน้อยถอยลง รู้สึกไม่ค่อยแข็งแรงเหมือนเดิม ไม่ ค่อยมีแรง บางรายอาจบ่นเกี่ยวกับอาการทางร่างกายหลายอย่างที่ตรวจไม่พบสาเหตุ หรือมีอาการ มากกว่าอาการปกติของโรคนั้นๆ
  • 16. ความรู้สึกต่อตนเองเปลี่ยนแปลง : รู้สึกไร้ค่า รู้สึกผิด หรือรู้สึกแย่กับตัวเอง คิดว่าตนเป็นภาระของ ลูกหลาน ไม่มีความสามารถเหมือนที่เคยเป็น ความภาคภูมิใจในตนเองลดลง อับจนหนหาง หมด หวังในชีวิต สมาธิและความจ้าบกพร่อง : หลงลืมบ่อย โดยเฉพาะลืมเรื่องใหม่ๆ ใจลอย คิดไม่ค่อยออก มักลังเล หรือตัดสินใจผิดพลาด ท้าร้ายตัวเอง : ผู้สูงอายุบางรายที่มีอาการมากๆ อาจรู้สึกไม่อยากมีชีวิตอยู่อีกต่อไป บางรายจะคิด หรือพูดถึงความตายบ่อยๆ นึกอยากตาย และอาจวางแผนท้าร้ายร่างกาย เช่น เตรียมสะสมยา จ้านวนมากๆ เตรียมวัสดุอุปกรณ์ จากนั้นอาจลงมือท้าาร้ายตัวเองด้วยวิธีต่างๆ เช่น กินยาเกิน ขนาด กินยาฆ่าแมลงหรือยาฆ่าหญ้า แขวนคอ หรือใช้อาวุธท้าร้ายตนเอง ผู้สูงอายุบางรายอาจไม่ ยอมกินยาประจ้าตัว เพื่อปล่อยให้อาการทรุดลงจนเสียชีวิต
  • 18. ด้านร่างกาย - โรคทางกายบางอย่างที่มักเกิดในผู้สูงอายุ เช่น ภาวะสมองเสื่อม หลอดเลือดสมอง อุดตัน โรคพาร์กินสัน โรคต่อมธัยรอยด์ มะเร็งของตับอ่อน เป็นต้น - ยาที่ใช้เพื่อรักษาโรคต่างๆ - มีการขาดหรือลดน้อยลง ของสารสื่อประสาทบางชนิดในสมอง
  • 19. ด้านจิตใจ - เหตุการณ์ร้ายแรงที่มากระทบกระเทือนความรู้สึก เช่น การสูญเสียคนที่รัก เป็นโรคทางร่างกายที่ร้ายแรง ปัญหาด้านการเงิน - การดูแลเอาใจใส่จากครอบครัว และคนรอบข้าง
  • 20. โรคซึมเศร้านั้นก่อให้เกิดการสูญเสียด้านสุขภาพอย่างมีนัยส้าคัญ และสงผลกระทบต่อประชากรทั่วโลก องค์การอนามัย โลกได้ประมาณการว่า มีประชากรมากกว่า 300 ล้านคนเป็นโรคซึมเศร้า ซึ่งมากกว่าร้อยละ 4 ของประชากรโลก พบ จ้านวนผู้ที่ป่วยด้วยโรคซึมเศร้านั้นเพิ่มมากขึ้นถึงร้อยละ 18 ในช่วงปี 2548 ถึงปี 2558 โดยเป็นผลจากจ้านวนประชากร โลก และผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้น ซึ่งจะพบโรคซึมเศร้าได้ ้มากในประชากรกลุ่มนี้โรคซึมเศร้าเป็นสาเหตุใหญ่ที่ท้าให้เกิดความ บกพร่องทางสุขภาพในประชากรทั่วโลก (คิดเป็นร้อยละ 7.5 ของการสูญเสียปีสุขภาวะจากภาวะบกพร่องทางสุขภาพ) มากกว่าร้อยละ 80 ของภาระโรคที่เกิดขึ้นจากโรคซึมเศร้านี้อยู่ในประเทศที่มีรายได้ต่ํา และปานกลาง เกือบครึ่งหนึ่ง ของผู้ที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้าอาศัยอยู่ในภูมิภาคเอเชียใต้และ ตะวันออก และแปซิฟิกตะวันตก ซึ่งเป็นสองภูมิภาคที่มี ประชากรอาศัยอยู่มากที่สุด โรคทางจิตเวชนั้นมีผลในเชิงเศรษฐกิจอย่างรุนแรง ประมาณการว่าโรคซึมเศร้านั้นก่อให้เกิด ความสูญเสียต่อ เศรษฐกิจเป็นมูลค่าถึง 800 ล้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2553 และคาดว่ามูลค่าของความสูญเสียนี้จะ เพิ่มขึ้นมากกว่า สองเท่าในปี 2573 จากรายงานการส้ารวจแผนที่สุขภาพจิตของโลก ปี 2557 พบว่าประเทศที่มีรายได้ ต่ําและปานกลางจัดสรร งบประมาณ น้อยกว่า 2 ดอลลาร์สหรัฐต่อปีต่อประชากรหนึ่งคนเพื่อการรักษาและป้องกันโรค ซึมเศร้า ในขณะที่ ประเทศที่พัฒนาแล้ว มีการจัดสรรงบประมาณเฉลี่ยสูงถึง 50 ดอลลาร์สหรัฐต่อปีผลของการจัดสรร งบประมาณที่ จ้ากัดส้าาหรับงานสุขภาพจิต ท้าให้เกิดช่องว่างในการเข้าถึงบริการและการรักษาโรคทางจิตเวช สถานการณ์โลกของโรคซึมเศร้า
  • 21. สถานการณ์โรคซึมเศร้าในไทย โรคซึมเศร้านั้นจัดเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่ส้าคัญของประเทศไทย จากรายงานภาระโรคและการบาดเจ็บของ ประชากรไทย ปี 2556 พบว่า โรคซึมเศร้านั้นเป็นสาเหตุหลักอันดับหนึ่งที่ท้าให้เกิดการสูญเสียปีสุขภาวะจากภาวะ ุ บกพร่องทางสุขภาพใน เพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 12.6 รองลงมาคือ โรคต้อกระจก ร้อยละ 8.5 และโรคข้อเสื่อม ร้อยละ 7.4 7 จากรายงานการส้ารวจ ทางระบาดวิทยาสุขภาพจิตคนไทย ปี 2551 โดยกรมสุขภาพจิต ในคนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป พบโรคซึมเศร้ารุนแรงชนิดครั้งคราว ร้อยละ 2.4 และชนิดเรื้อรัง ร้อยละ 0.3 รวมทั้งสองโรค ประมาณการว่ามี 1.5 ล้านคนที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้า นั่นหมายความว่า ในประชากรไทย 100 คน จะมี 3 คนที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้า ทั้งนี้ เพศหญิงนั้นเสี่ยงต่อการป่วยเป็นโรคซึมเศร้ามากกว่าเพศชาย ถึง 1.7 เท่า (ความชุกในเพศหญิง และเพศชายนั้นอยู่ที่ รอยละ ้ 2.9 และ 1.7 ตามลาดับ) 8 ผู้ที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้านั้นเสี่ยงต่อ การฆ่าตัวตายสูง จากการประเมินด้วย Mini International Neuropsychiatric Interview ในปี 2551 พบว่าผู้ป่วยโรคซึมเศร้า มีอัตราความรุนแรงที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายสูง (ร้อยละ 20.4) เมอื่ เปรียบเทียบกับโรคจิตเภทประเภทอื่นๆ 9 จากข้อมูลของ ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า ซึ่งมีการประเมินความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย พบว่าผู้ป่วยโรคซึมเศราํ ที่เป็นกลุ่มวัยรนอาย ุ่ ุ 15- 19 ปีนั้นจะมีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายระดับสูงมากกว่ากลุ่มผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) ที่ร้อยละ 6.4 และ ร้อยละ 1.17 ตามล้าดับ 1
  • 22. กรมสุขภาพจิตนั้นเป็นหน่วยงานระดับประเทศในการด้าเนินงานด้านสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิตได้ด้าเนินโครงการทศวรรษการป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้า พ.ศ. 2553-2563 โดยมีเป้าหมาย ที่จะลดความชุก และภาระโรคของโรคซึมเศร้า 11 ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา กรม สุขภาพจิตได้ประสบความส้าเร็จในการด้าเนินแผนงานต่างๆ ดังนี้ o สร้างความรู้ และความตระหนักในเรื่องการป้องกันและรักษาโรคซึมเศร้า แก่ประชาชนไทย ผ่านทางสื่อ สังคมออนไลน์ (ศูนย์ความรู้เทคโนโลยีโรคซึมเศร้าไทย) และสื่อในช่องทางอื่นๆ o สร้างระบบดูแลเฝ้าระวังโรค ซึมเศร้าในระดับจังหวัด (SDDPX 4/4 พัฒนาคุณภาพการให้บริการ โดยการจัดท้าแนวทางการจัดการโรคซึมเศร้าส้าหรับแพทย์และพยาบาล รวมถึงฐานข้อมูลออนไลน์เรื่องโรคซึมเศร้า (www.thaidepression.com) o เพิ่มศักยภาพของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข โดย การอบรมทีมส้าหรับการจดการโรคซึมเศร้าใน หน่วยบริการสุขภาพ ซึ่งประกอบด้วย ทีมแพทย์ผสอนผู้แพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป พยาบาล เจ้าหน้าที่ สาธารณสุข และอาสาสมัครสาธารณสุขประจ้าหมู่บ้าน (อสม.) ร่วมมือกับเครือข่าย เช่น อสม. ผู้น้าชุมชน องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น และผู้ดูแลผู้ป่วย เพื่อส่งเสริมการคัด กรองผู้ป่วยรายใหม่ เพิ่มการเข้าถึงการรักษา และส่งเสริมการดูํแลโดยชุมชน และจากผลส้าเร็จ ของการด้าเนินงานดังกล่าวข้างต้น ท้าให้อัตราการเข้าถึงการรักษาของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเพิ่มขึ้น จากร้อยละ 3.7 ในปี 2551 เป็น 50.1 ในปี 2560 ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ประชาชนไทยกลุ่มเสี่ยงจ้านวน 14 ล้านคน ได้รับการคัดกรอง และได้รับความรู้เรื่องโรคซึมเศร้าผู้ป่วยโรคซึมเศร้า จ้านวน 7 แสนกว่าคนได้รับการรักษาด้วยยา และการบ้าบัดทางสังคมจิตใจ ซึ่งในจ้านวนนี้ร้อยละ 80 ได้รับการรักษาจนหายขาด การด้าเนินงานการช่วยผู้สูงอายุในโรคซึมเศร้าของประเทศไทย
  • 23. โรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุ : การรักาา เราควรทาความเข้าใจเรื่องความแตกต่างระหว่างอารมณ์เศร้าและโรคซึมเศร้าก่อนอารมณ์เศร้าเป็นเรื่อง ธรรมดาของคนเรา เกิดขึ้นและหายไปธรรมดา แต่บางครั้งอารมณ์เศร้าเกาะกุมอยู่นานมากและไม่ยอม หาย แต่อาจไม่รุนแรง ไม่กระทบชีวิต ไม่มีความคิดอยากฆ่าตัวตาย อารมณ์เศร้าที่ไม่ถึงกับเป็นโรคซึมเศร้า สามารถรักาาได้ด้วยการพบผู้ให้คาปรึกาาที่ได้รับการฝึกอบรมมาเป็นอย่างดี นักจิตวิทยา จิตแพทย์ หรือทา จิตบาบัด ส่วนโรคซึมเศร้าเป็นโรค และสารเคมีบางตัวในสมองเสียสมดุล ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าจะได้รับประโยชน์จากยา ต้านอารมณ์เศร้า แต่ขึ้นอยู่กับผู้รักาาและความร่วมมือของผู้ป่วยและญาติด้วย เป็นเรื่องธรรมดาของการ รักาาโรคภัยไข้เจ็บทั่วไป
  • 24. ยาต้านเศร้า (anti-depressant) เป็นยาที่ออกฤทธิ์ต่อสมองและระบบประสาทส่วนกลางโดยตรง ช่วย ปรับสมดุลของสารสื่อประสาทให้เข้าที่ ซึ่งยาต้านเศร้าทุกตัวมีข้อเสียคือความง่วง บ้างมีอาการคอแห้ง ท้องผูก และลุกเร็วหน้ามืด เหล่านี้เป็นอาการข้างเคียงที่เลี่ยงไม่ได้ แต่สามารถรอเวลาให้ร่างกายชินยา ได้ โดยทั่วไปจะดีขึ้นเองในเวลา 2 – 4 สัปดาห์
  • 25. โรคซึมเศร้ารักษาให้หายขาดได้หรือไม่ บางคนก็หายขาดได้ บ่อยครั้งที่ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าไม่หายขาด แต่มาไกลในระดับอาการสงบ ซึ่ง แบ่งเป็นอาการสงบอย่างสมบูรณ์ หรืออาการสงบบางส่วน มีอาการบางส่วนอยู่บ้าง ตัวชี้วัดที่ดีกว่าค้าว่าหายขาดหรืออาการสงบ คือคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเอง กินอาหารได้ดีหรือไม่ นอนหลับได้ดีหรือไม่ สมาธิในการท้างานดีหรือไม่ ชีวิตทางเพศปกติสุขดีหรือไม่ ปราศจากความหด หู่ ท้อแท้ และไม่มีความคิดอยากฆ่าตัวตาย
  • 27. 1. อย่าตั้งเป้าหมายในการทางาน และปฏิบัติตัวที่ยากเกินไป หรือรับผิดชอบมากเกินไป 2. แยกแยะปัญหาใหญ่ๆ ให้เป็นส่วนย่อยๆ พร้อมทั้งจัดเรียงความสาคัญก่อนหลังและลงมือทาเท่าที่สามารถทาได้ 3. อย่าพยายามบังคับตนเอง หรือตั้งเป้ากับตนเองให้สูงเกินไป เพราะอาจไปเพิ่มความรู้สึกล้มเหลวในภายหลัง 4. พยายามทากิจกรรมต่างๆร่วมกับบุคคลอื่น ซึ่งดีกว่าอยู่เพียงลาพัง
  • 28. 5. เลือกทากิจกรรมที่จะสร้างความรู้สึกที่ดีขึ้น หรือเพลิดเพลินและไม่หนักเกินไปเช่นการออกกาลังเบาๆ การชม ภาพยนตร์ การร่วมทากิจกรรมทางสังคม 6. อย่าตัดสินใจในเรื่องที่ส้าคัญต่อชีวิตมากๆ เช่น การลาออกจากงาน การแต่งงาน หรือ การหย่าร้าง โดยไม่ได้ปรึกษาผู้ ใกล้ชิดที่รู้จักผู้ป่วยดี และ ต้องเป็นบุคคลที่สามารถพิจารณาเหตุการณ์นั้นอย่าง ที่ยงตรง มีความเป็นกลาง และ ปราศจากอคติที่เกิดจากอารมณ์มาบดบัง ถ้าเป็นไปได้ และ ดีที่สุด คือ เลื่อนการตัดสินใจออกไปจนกว่าภาวะโรค ซึมเศร้าจะหายไปหรือดีขึ้น มากแล้ว
  • 29. 7. ไม่ควรต้าหนิ หรือลงโทษตนเองที่ไม่สามารถทา ได้อย่างที่ต้องการ เพราะ ไมใช่ความผิดของผู้ป่วย ควรทาเท่าที่ตนเองทาได้ 8. อย่ายอมรับว่าความคิดในแง่ร้ายที่เกิดขึ้นในภาวะ ซึมเศร้าว่าเป็นส่วนหนึ่งที่แท้จริงของตนเองเพราะโดยแท้จริงแล้วมันเป็น ส่วนหนึ่งของโรค หรือ ความเจ็บป่วย และ สามารถหายไปได้เมื่อรักษา 9. ในขณะที่ผู้ป่วยโรคซึมเศร้ากลายเป็นคนที่ต้องการ ความช่วยเหลือจากบุคคลอื่นแต่ก็อาจมีบุคคลรอบตัวๆ ที่ไม่เข้าใจใน ความเจ็บป่วยของผู้ป่วย และ อาจสนองตอบในทางตรงกันข้ามและกลายเป็น การซ้้าเติมโดยไม่ได้ตั้งใจ
  • 31.
  • 32.
  • 33.
  • 34.
  • 35. 1. การช่วยพยุง หรือประคับประคองทางอารมณ์นับเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดอันได้แก่การรับฟัง ความเข้าใจ ความอดทน ความห่วงใย 2. การสนับสนุนและให้กาลังใจการรับฟังผู้ป่วยอย่างตั้งใจ โดยแทนที่จะแสดงท่าทีราคาญ หรือดูแคลน ผู้ป่วย แต่ควรจะชี้ให้เห็นถึงความเป็นจริงตลอดจนความหวัง 3. การชักชวนผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม หรืองานอดิเรกที่เคยให้ความสนุกสนานต่อผู้ป่วย มาก่อน เช่น เดินเล่น ชมภาพยนตร์ หรือเล่นกีฬา แต่ไม่ควรผลักดันมากเกินไป และเร็วเกินกว่าที่ผู้ป่วยจะรับได้ เพราะอาจไปเพิ่มความรู้สึกไร้ค่าไร้ความ สามารถให้มากขึ้น 4. อย่าเรียกร้องให้ผู้ป่วยต้องหายจากโรคอย่างรวดเร็ว อย่ากล่าวโทาผู้ป่วยซึมเศร้าว่าแสร้งทา หรือขี้เกียจ เพราะถึงแม้ผู้ป่วยที่ได้รับการรักาาก็ยังต้องใช้เวลา ช่วงหนึ่งจึงจะมีอาการดีขึ้น
  • 36. การปฏิบัติตัว ผู้สูงอายุถ้าสงสัยว่าเป็นโรคซึมเศร้า ควรปฏิบัติดังนี้ – ผู้สูงอายุควรหลีกเลี่ยงการอยู่คนเดียว เมื่อเกิดอารมณ์เศร้า คอยคุยกับเพื่อนหรือผู้อื่น – พยายามปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแลงต่างๆ ที่เกิดขึ้นในวัยนี้ ไม่ว่าจะเป็นโรคทางกาย ความสามารถ บทบาทที่เปลี่ยนไป – ท้ากิจกรรม หรืองานอดิเรกที่ชอบ เช่น ปลูกต้นไม้ เย็บปักถักร้อย – ท้ากิจกรรมร่วมกับผู้อื่น เช่น การเข้าชมรมผู้สูงอายุ หรือ ออกก้าลังกาย พบปะเพื่อนเก่าๆ – ไปพบแพทย์เพื่อขอค้าแนะน้า
  • 37. หากผู้ป่วยพูดถึงเรื่องอยากตาย อย่าบอกว่า “อย่าคิดมาก” “ให้เลิกคิด” หรือ “อย่าสร้างความเดือดร้อนให้คนอื่น” ค้าพูดท้านองนี้อาจท้าให้ เขารู้สึกว่าญาติไม่สนใจรับรู้ปัญหา เห็นว่าเขาเหลวไหล ญาติควรให้ความสนใจ เปิดโอกาสให้เขาได้พูดถึงความคับข้องใจ จากประสบการณ์การ เป็นแพทย์ของผู้เขียนพบว่า ผู้ป่วยจ้านวนไม่น้อย ไม่มีโอกาส หรือไม่ได้พูดความคับข้องใจหรือปัญหาของตนเองให้คนใกล้ชิด เพราะมีความรู้สึก ว่า “เขาคงไม่สนใจ” “ไม่อยากรบกวนเขา” “ไม่รู้ว่าจะเล่าให้เขาฟังตอนไหน” ในช่วงภาวะวิกฤตินั้นสิ่งที่ผู้ที่ทุกข์ใจต้องการมากคือผู้ที่พร้อม จะรับฟังปัญหาของเขาด้วยความเข้าใจ อย่าเพิ่งรีบไปให้ค้าแนะน้าโดยที่เขายังไม่ได้พูดอะไร การที่เขาได้พูดระบายออกมาเป็นการเปิดโอกาสให้ ญาติได้เห็นชัดเจนขึ้นว่าปัญหา หรือสิ่งที่ผู้ป่วยเห็นว่าส้าคัญคืออะไร ซึ่งอาจจะแตกต่างจากที่ญาติเคยคิดมาก่อนก็ได้ เมื่อผู้ป่วยได้พูดระบายความคับข้องใจออกมา จิตใจจะผ่อนคลายลง สภาพจิตใจตอนนี้เริ่มจะเปิดกว้างพร้อมที่จะรับฟังผู้อื่น โดยเฉพาะผู้ที่เขา เกิดความไว้วางใจ ซึ่งก็คือผู้ที่รับฟังปัญหาของเขายามที่เขาทุกข์ใจมากที่สุดนั่นเอง ณ จุดนี้ ญาติจะสามารถชี้ให้ผู้ป่วยได้มองปัญหาจากแง่มุม อื่นๆ ได้เห็นทางเลือกอื่นๆ ในการแก้ปัญหา หากได้พูดคุยแล้วเห็นว่าผู้ป่วยยังมีความรู้สึกท้อแท้อยู่สูง มีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายมากก็อย่าได้ ไว้วางใจ ควรพาไปพบแพทย์ในช่วงที่ผู้ป่วยมีอาการซึมเศร้ามากนั้น หากเขายังท้าอะไรไม่ได้ก็ควรจะให้พักผ่อนไปจะดีกว่าการไปบังคับให้เขาท้า โดยที่ยังไม่พร้อม หากอาการเริ่มดีขึ้น ก็อาจค่อยๆ ให้งานหรือชวนให้เขาร่วมกิจกรรมที่พอท้าได้บ้าง เป็นงานที่ไม่ต้องอาศัยสมาธิมากนัก หาก เป็นงานที่มีการเคลื่อนไหว เคลื่อนที่จะดีกว่างานที่ผู้ป่วยนั่งอยู่เฉยๆ เพราะการมีกิจกรรมจะท้าให้ความคิดฟุ้งซ่าน การอยู่กับตนเองลดลง อย่างไรก็ตาม
  • 38.
  • 39. ผู้จัดท้า นางสาวศุภนิดา ทาส้าว เลขที่ 32 ม.6/5 นางสาวธวัลรัตน์ จันต๊ะ เลขที่ 37 ม.6/5