SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 72
Downloaden Sie, um offline zu lesen
“ความเข้าใจเชิงกลยุทธต่อสภาวะแวดล้อมใหม่
     ทางเศรษฐกิจและธุรกิจของโลก”
                     25 พฤษภาคม 2555
                           เสนอโดย
                     สุรศักดิ ธรรมโม
           ผูอานวยการของบริษทหลักทรัพย์จดการกองทุนฟินันซ่า
             ้ ํ               ั            ั
                    คอลัมนิสต์ของหนังสือพิมพ์โพสต์ทเดย์
                                                   ู
               คอลัมนิสต์ด้านการเงิน การลงทุนของ GM Biz
   วิทยากรให้ความเห็นการเงิน การลงทุน ทางคลืนความคิด FM 96.5
     ผูร่วมก่อตัง http://www.siamintelligence.com/
      ้
ประวัตย่อวิทยากร:สุรศักดิ ธรรมโม
      ิ
  เศรษฐศาสตร์ บั ณ ฑิ ต จากจุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย และเศรษฐศาสตร์ มหาบั ณ ฑิ ต จาก
  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  มีประสบการณ์ มากกว่ า10 ปี ในด้ านวิจัยเศรษฐกิจ วิเคราะห์ การลงทุน นักเศรษฐศาสตร์ นักกล
  ยุทธการลงทุน และคณะกรรมการ การลงทุน (Investment Committee) ของบริ ษัทหลักทรั พย์
  จัดการกองทุนฟิ นันซ่ า (บลจ.ฟิ นันซ่ า)
  ผ่ านการทํางานใน ภาควิชาการ (นั กวิจัยของคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาและธรรมศาสตร์ ) ภาค
  เศรษฐกิจจริ ง (บริ ษัทนําตาลวังขนาย) สถาบันการเงิน (ธนาคารไทยพาณิชย์ ) ตลาดทุน (บริ ษัท
  บริ ษัทหลักทรั พย์ นครหลวงไทยและบริ ษัทหลักทรั พย์ จัดการกองทุนฟิ นันซ่ า จํากัด)
  ในช่ วงวิกฤติการเมืองประเทศไทยหลังรั ฐประหารปี 49 ร่ วมกับเพือนกลุ่มหนึงทีมีอุดมการณ์ ใน
  เรื อง “ข้ อมู ล คื อ อํ า นาจ” ก่ อตั งเวปไซต์ ข่ าวสารเชิ ง วิ เ คราะห์ (Intelligence News)
  http://www.siamintelligence.com โดยไม่ คิดมูลค่ าในการเข้ าถึงข้ อมูล โดยเน้ นความเป็ นกลาง
  ทางการเมือง ท่ ามกลางความแตกแยกทางความคิดในประเทศไทย ข้ อมูลวิเคราะห์ เชิงลึกทาง
  เศรษฐกิจ การเมืองระหว่ างประเทศ โดยเน้ นเอเชียแปซิฟิก รู ปแบบการดําเนินธุรกิจ กลยุทธ
  ธุรกิจ และกลยุทธการลงทุน
  เป็ นคอลัมนิสต์ ประจําหนั งสือพิมพ์ โพสต์ ทูเดย์ และผู้ให้ ความเห็นเรื องการเงิน การลงทุน ทาง
  คลืนความคิด FM 96.5 เป็ นประจําทุกวันศุกร์ เวลา 10.00-11.00 น.
  ข้ อมูลอืนๆทีไม่ ได้ ระบุในนีสามารถ search ได้ จาก Google
หัวข้ อนําเสนอวันนี
  เศรษฐกิจโลกหลังวิกฤติซับไพรม์ สหรั ฐอเมริ กาในปี 2551 และการก่ อตัวของวิกฤติ
  หนีสินสาธารณะของกลุ่มประเทศสกุลเงินยูโร (Euro Zone)ในปั จจุบัน กําลัง
  ก่ อ ให้ เ กิด การเปลี ยนแปลงทางแนวโน้ ม เศรษฐกิจ รู ป แบบการดํา เนิ น ธุ ร กิจของ
  บริ ษัทต่ างๆ และโครงสร้ างความสัมพันธ์ ระหว่ างประเทศ โดยประเด็นนําเสนอ จะ
  มุ่งเน้ นไปที โอกาสและความเสียงต่ อการวิเคราะห์ ธุรกิจ
  การปฏิวั ติอุ ต สาหกรรมครั งที 3        และนั ย ต่ อ เศรษฐกิจ และธุ ร กิ จ จะเกิ ด การ
  เปลียนแปลงในทุกภาคการผลิต ซึงจะเห็นได้ ชัดภายใน 10                ปี นี โดยประเด็น
  นําเสนอจะมุ่งเน้ นไปที รู ปแบบการดําเนินธุรกิจทีเปลียนแปลงไป
   “ประชาคมอาเซียน” จะเน้ นการนําเสนอไปทีความเข้ าใจเชิงกลยุทธธุรกิจ ภาคธุรกิจ
  ทีจะได้ ประโยชน์ และการเตรี ยมตัวรั บมือกับโอกาสและความเสียงจาก AEC
  การประเมินดัชนีความเสียงของกลุ่มธุรกิจไทย ภายใต้ การลดลงของเศรษฐกิจ3 กลุ่ม
  มหาอํานาจโลก สหรั ฐฯ สหภาพยุโรป และญีปุ่ น ผ่ านการวิเคราะห์ แบบ Stress Test
  ศักยภาพของอุตสาหกรรมไทยในการลงทุนจากมุมมอง 4 ด้ าน ใช้ วิธีการวิเคราะห์
  แบบจําลองเศรษฐมิตมหภาค (Macro Econometrics)
                           ิ
จุดกําเนิด วิกฤติการเงิน
                                                                                                                     การบริโภคลดลง (Lower             มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิ จ
                        การสินสุดยุคของฟองสบู่ในตลาดอสังหาริมทรัพย์ ตามมาด้วยการ                                                                      - การลงทุนของรัฐในโครงการ
                                                                                                                     Consumption) ภาคเศรษฐกิจจริง
                        ปรับลงของราคาบ้านนําไปสู่การผิดชําระหนีสินเชืออสังหาริมทรัพย์                                                                 สาธารณูปโภคพืนฐาน
                                                                                                                     หดตัว อัตราว่างงานเพิมสูงขึน
                        (Default in Mortgage)
                                                                                                                                                      - การลดภาษี

    สถาบันการเงินลดการปล่อยสินเชืออสังหาริมทรัพย์ ทําให้ราคาสินทรัพย์ปรับลง ซําเติมภาวการณ์ผด   ิ                       GDP ลดลง (GDP contract)
    ชําระหนีสินเชืออสังหาฯ ส่งผลให้ราคาหลักทรัพย์ทอ้างอิงรายได้จากสินเชืออสังหาริมทรัพย์ (Mortgage
                                                  ี
    Backed Securities; CDO ) ผันผวน



การปรับลดอันดับเครดิตของหลักทรัพย์               การประเมินมูลค่าและราคาของ                ตลาดหุนปรับลดลง (Stock
                                                                                                 ้                             สถาบันการเงินลดการ
                                                                                                                                                      มาตรการแก้ไขปัญหาวิ กฤติ
จากสถาบันจัดอันดับเครดิต (Rating                 หลักทรัพย์ใหม่ (Credit Re-pricing)                market decline)             ปล่อยสินเชือ (Reduce
                                                                                                                               lending) ส่งผลให้      สถาบันการเงิ น
Downgrade)                                       ส่งผลให้ราคาหลักทรัพย์บางประเภท
                                                 ไม่มราคาเพราะไม่มราคาตลาด/ไม่ม ี
                                                     ี              ี                                                          อัตราการขยายตัวของ     - การลดอัตราดอกเบียนโยบาย
                                                                                                                               สินเชือลดลง (Lower
                                                 สภาพคล่อง เช่นตราสาร Sub-Prime            เกิดภาวะสภาพคล่องตึงตัว                                    - การคําประกันหนีธนาคารโดยรัฐ/
                                                                                                  (Liquidity Squeeze)          credit growth)
                                                                                                                                                      ธนาคารกลาง
                                                                                                                                                      -       ธนาคารกลางเข้าซือเข้าซือ
                                                                                                                                                      หนีเสียและตราสารการเงินทีขาด
                        สถาบันการเงินขาดสภาพคล่องนําไปสู่การเร่งขายสินทรัพย์                  เกิดภาวะสินเชือหดตัว (Credit Crunch) นําไปสู่
                                                                                                                                                      สภาพคล่องของสถาบันการเงิน
                        (Asset Liquidation) และ เร่งการคืนหนีสิน (Deleveraging)               การปรับขึนอัตราดอกเบียกูยมระหว่างธนาคาร
                                                                                                                       ้ ื                            เอกชน
                                                                                              (High inter-bank rate)
                                                                                                                                                      - การเพิมทุนสถาบันการเงินโดยรัฐ

                                                                สถาบันการเงินบางแห่งล้ม ในขณะทีบางแห่งอาจจะถูกรัฐบาล
                                                                เข้ายึดกิจการ และบางแห่งถูกควบรวมกิจการ



    Source: Macrofinancial           Risk Analysis (2008) by Dale Gray and Samuel Malone และปรั บ Chart เพิมเติมโดย สุรศักดิ ธรรมโม
ผลจากการแก้ ไขปั ญหาวิกฤติการเงินคือการขาดดุลการคลัง
     % GDP
      2                    ในขณะที ประเทศกํา ลังพัฒนาจะมีศกยภาพในการลดการขาดดุลทางการคลังได้ดีกว่าประเทศ
                                                          ั
                           พัฒนาแล้ว ดังนัน การขึนอัตราภาษี จึงกระทํา ได้ในอัตราทีน้ อยกว่ารวมทังไม่จา เป็ นต้ องลดการ
                                                                                                     ํ
                           ใช้ จ่ายภาครัฐในระดับเดียวกับประเทศพัฒนาแล้ว
      0
                           Advanced economies
                           Emerging and developing economies
                           World
     -2


     -4


     -6
                                ประเทศพัฒ นาแล้วมีแนวโน้ มเผชิ ญ ปั ญหาการขาดดุลการคลังมากที สุด
                                เป็ นประวัติการณ์ บ่งชี ว่าในอนาคตรัฐบาลประเทศพัฒนาแล้วจํา เป็ นต้ องขึน
                                ภาษี และลดการใช้ จ่ายภาครัฐเพือลดการขาดดุลการคลังซึ งมีนัยยะต่ อว่าการ
     -8                         บริ โภคในประเทศพัฒนาแล้วจะลดลง


    -10
          1970
          1971
          1972
          1973
          1974
          1975
          1976
          1977
          1978
          1979
          1980
          1981
          1982
          1983
          1984
          1985
          1986
          1987
          1988
          1989
          1990
          1991
          1992
          1993
          1994
          1995
          1996
          1997
          1998
          1999
          2000
          2001
          2002
          2003
          2004
          2005
          2006
          2007
          2008
          2009
          2010
          2011
          2012
          2013
          2014
Source: IMF April 2012
ผลทีตามมาคือหนีสาธารณะเร่ งตัวเพิมขึน




  Source: IMF April 2012
ส่ งผลให้ เกิดการเปลียนโครงสร้ างเศรษฐกิจครั งใหญ่




Source: IMF April 2012
ความเสียงของเศรษฐกิจโลก




Source: World Economic Forum , January 2012
ความเสียงของเศรษฐกิจโลก




Source: World Economic Forum, January 2012
เอเชียได้ รับผลกระทบระดับปานกลางจากวิกฤติค่าเงินยูโร




Source: IMF - Global Financial Stabilty Report , April 2012
สถาบันการเงินโลกหลังวิกฤต
การลดสินทรั พย์ ของสถาบันการเงินยุโรป
การเปลียนแปลงของสินทรั พย์ การเงินเอเชียของสถาบัน
การเงินยุโรป
การถือครองสินทรั พย์ เอเชียของสถาบันการเงินยุโรป
สถาบันการเงินในประเทศสําคัญลดขนาดสินทรั พย์ ลง
อย่ างต่ อเนือง
สินเชือและทุนของสถาบันการเงินเอเชีย
เศรษฐกิจเอเชียสามารถแยกตัวจากเศรษฐกิจ G-3 ได้ หรื อไม่ ?




ทีมา: ADB June 2009
ภาพใหญ่ :เศรษฐกิจโลกหลังวิกฤติ
  เศรษฐกิจกลุ่มประเทศมหาอํานาจเดิม (G-3 ประกอบไปด้ วย สหรั ฐอเมริ กา
  สหภาพยุโรปและญี ปุ่ น) ยังติดอยู่กับผลพวงจากวิกฤติเศรษฐกิจโลกตังแต่ ปี
  2551 จนถึงปั จจุบัน
  การขยายตัวทางเศรษฐกิจของ G-3 จะอยู่ในอัตราทีตําไปอีกนับทศวรรษและ
  ดึงให้ เศรษฐกิจโลกในอีก 5 ปี มีการขยายตัวทีตํา เนืองจากสัดส่ วนของ G-3
  นันสูงถึงกว่ า 60 % ของเศรษฐกิจโลก
  เศรษฐกิจโลกในภาพรวมจะดีขึนได้ ในอีก 5 ปี ถัดไปจากการขยายตัวของ
  เศรษฐกิจประเทศกําลังพัฒนา อันมีกลุ่ม BRICS (ประกอบไปด้ วย บราซิล
  รั สเซีย อินเดีย จีน และแอฟริ กาใต้ ) ประชาคมอาเซียน (AEC) เป็ นกําลัง
  สํ า คั ญ ร่ วมกั บ ประเทศเอเชี ย พั ฒ นาแล้ ว เกาหลี ใ ต้ ออสเตรเลี ย และ
  นิวซีแลนด์
  แต่ เศรษฐกิจโลกอาจจะกลับมาขยายตัวดีกว่ านั น ถ้ าสหรั ฐอเมริ กาสามารถ
  ปฏิวัติพลังงานผ่ านเทคโนโลยี Shale Gas ได้ สําเร็ จและจะส่ งผลให้ สหรั ฐ
  เป็ นชาติเดียวใน G-3 ทีจะกลับมามีการขยายตัวทางเศรษฐกิจในอัตราปกติ
  และสหรั ฐฯ กลับคืนความเป็ นอภิมหาอํานาจทางเศรษฐกิจได้
ภาพใหญ่ :เศรษฐกิจโลกหลังวิกฤติ
  เศรษฐกิจเอเชียในปั จจุบันมีการพึงพาอุปสงค์ จากประเทศ G-3 ในระดับสูงผ่ านการ
  ส่ งออก
  การตกตําของเศรษฐกิจ G-3 ย่ อมกระทบต่ อประเทศเอเชียจํานวนมากทีเน้ นการ
  ส่ งออก
  แต่ ด้วยการที สถาบันการเงินเอเชียทีแข็งแกร่ งมาก ทําให้ มูลค่ าการส่ งออกทีลดลง
  เป็ นแค่ การลดลงของรายได้ มิใช่ วิกฤติของธุรกิจและเศรษฐกิจ อีกทังตลาดภายใน
  ไม่ ได้ รับความกระทบกระเทือนจากเศรษฐกิจโลกมาก
  ในเอเชีย ประเทศกําลังพัฒนาทีมีตลาดภายในทีเข้ มแข็งและไม่ พงพาการส่ งออกคือ
                                                                 ึ
  “อินเดีย” และ “อินโดนีเซีย”
  แต่ ในอนาคตข้ างหน้ า ด้ วยข้ อตกลงทางการค้ าเสรี ระหว่ างประเทศเอเชียด้ วยกันเอง
  จะทําให้ เศรษฐกิจเอเชียมาพึงพากันเองมากขึน ลดความเสียงจากยุโรป
  กระบวนการนีได้ เริ มต้ นมาระยะหนึงแล้ ว ผลคือ เศรษฐกิจเอเชียหลายประเทศเริ ม
  มีวัฎจักรเศรษฐกิจเชือมโยงกับ “จีน” มากขึน ตัวอย่ างชัดเจนคือ “ออสเตรเลีย”
  ดัง นั น เสถีย รภาพทางเศรษฐกิจ และการเมื อ งของ จีน จึง มี ส่ ว นสํา คั ญ ต่ อ การ
  ขยายตัวของเศรษฐกิจโลกและเอเชียต่ อจากนีไป
ภาพใหญ่ :เศรษฐกิจโลกหลังวิกฤติ
  ภาวะหนี เสี ยของสถาบั น การเงิน เป็ นหล่ ม ปลั ก ทางเศรษฐกิจ ที ฉุ ด เศรษฐกิ จ
  ภาพรวมไม่ ให้ ขยายตัว ดังจะเห็นจากประสบการณ์ ของญีปุ่นในทศวรรษ1990
  (2534) จนถึงปั จจุบัน เศรษฐกิจญีปุ่ นยังไม่ ฟืน จนกลายเป็ น Two Lost
  Decade หรื อ 2 ทศวรรษทีสาบสูญทางเศรษฐกิจ กระทบต่ อโครงสร้ างสังคม
  และความรู้ สกนึกคิดของคนญีปุ่ นรุ่ นใหม่ ทีแตกต่ างจากคนรุ่ นก่ อนมาก
                 ึ
  กรณี ยุ โ รป ในระยะต่ อ ไปกํ า ลั ง เข้ า ข่ า ย “ทศวรรษแห่ ง การสาบสู ญ ทาง
  เศรษฐกิจ” เพราะ สถาบันการเงินอ่ อนแอมาก และสังคมเป็ น สังคมคนชรา
  ถ้ า เยอรมั น ช่ ว ยทางการเงิน ในลั ก ษณะ เป็ น “สหภาพทางการคลั ง ” (Fiscal
  Union) คือร่ วมกันรั บผิดชอบทังนโยบายภาษีและค่ าใช้ จ่ายทางการคลัง ซึง
  เยอรมันจะต้ องรั บภาระประเทศอืนๆมาเป็ นของตัวได้ ผลคือ เศรษฐกิจยุโรป
  จะพ้ นจากภาวะ Lost Decade ได้ แต่ คนเยอรมันจะจนลงจากเดิมไม่ ตากว่ า 20ํ
  ปี แต่ คนอิตาลี สเปน ฝรั งเศส โปรตุเกส และ กรี ซ จะรอดพ้ นจากความ
  ลําบากแม้ จะไม่ สบายเท่ ากับก่ อนวิกฤติแต่ จะดีกว่ าคนเยอรมันมาก
ภาพย่ อย:ภาคธุรกิจคิดอย่ างไร
  บรรษัทขนาดใหญ่ ของสหรั ฐและยุโรป จํานวนมากกําลังมองหา “ตลาด” ทีมี
  การขยายตั ว อย่ า งต่ อ เนื อง เพื อสร้ างผลประกอบการและกํ า ไรให้ เ พิ มขึ น
  รวมทังราคาหุ้นให้ เพิมขึน
  บรรษัทใหญ่ ๆของโลก มีกรอบคิดอยู่แค่ นี คือ “กําไร” และ “ราคาหุ้น”
  สถาบันการเงิน ของยุ โ รปทีแข็งแกร่ งจะเริ มต้ น ด้ วย การย้ ายฐานธุ ร กิจมายั ง
  เอเชีย เช่ น ธนาคาร HSBC ธนาคาร Stanchart เป็ นต้ น
  ธุ รกิจในภาคการผลิตอืนๆกําลังเริ มขยับตามทังในเรื องของการย้ ายฐานการ
  ผลิตและการเจาะตลาดเอเชียอย่ างจริงจัง
  ความรวดเร็ วอย่ างมากในการยกเลิกการควําบาตรของประเทศตะวั นตกต่ อ
  พม่ า เป็ นตัวอย่ างทีชัดเจนว่ าประเทศตะวันตกกําลังต้ องการเอเชียมากกว่ าที
  เอเชียต้ องการตะวันตก
ในอนาคต การค้ าโลกกระจุกตัวทีเอเชีย




                                      Source: CITI Investment Research and
                                      Analysis, December 2011
ในอนาคต การค้ าโลก กระจุกตัวทีเอเชีย
ศูนย์ กลางการค้ าทางทะเลอยู่ทเอเชีย
                             ี
เอเชียจะเป็ นศูนย์ กลางการค้ าโลก
อนาคตอันโชติช่วงของเอเชีย
อนาคตอันโชติช่วงของเอเชีย
เอเชียเต็มไปด้ วยคนหนุ่มสาวในปั จจุบน
                                    ั
ประเทศพัฒนาแล้ วเต็มไปด้ วยคนแก่
แต่ ในอนาคต เอเชียก็เข้ าสู่สังคม “คนชรา”




Source: World Economic Forum Report , 2012
แต่ ในอนาคต เอเชียก็เข้ าสู่สังคม “คนชรา”
การอ่ านสถานการณ์ สาหรั บนายธนาคาร
                   ํ
  ข้ อมูลเรื องเศรษฐกิจทีล้ นเกินอยู่ตอนนี เป็ นข้ อมูลภาพใหญ่ ทีบอก
  ว่ าเศรษฐกิจจะเป็ นอย่ างไร จีดีพีขยายตัวเท่ าใด การเกินดุลบัญชี
  เดินสะพัด มูลค่ าการค้ า มูลค่ าส่ งออก อัตราเงินเฟอ อัตราดอกเบีย
                                                              ้
  ฯลฯ
  ข้ อมูลภาพใหญ่ พวกนี มีประโยชน์ มากก็จริ ง แต่ ไม่ สามารถช่ วยให้
  เข้ าใจโลกธุรกิจได้ ทังหมด และไม่ สามารถนําไปสู่การวิเคราะห์ ความ
  เป็ นไปได้ ของธุรกิจได้ ครบถ้ วน
  จะต้ อ งคิ ด แบบ นั ก ธุ ร กิ จ นั ก วิ เ คราะห์ ห ลั ก ทรั พ ย์ และผู้ จั ด การ
  กองทุน จึงสามารถเข้ าใจธุ รกิจ และทําหน้ าทีนายธนาคารทีตรง
  ความต้ องการลูกค้ าได้
  การมองไปข้ างหน้ าและการอ่ านความต้ องการลูกค้ า คือปั จจัยสําคัญ
  ในการอ่ านแนวโน้ มธุรกิจและรู ปแบบการทําธุรกิจ (Business Model)
รู ปแบบของธุรกิจ
  บรรษัทขนาดใหญ่ ของโลก
  บรรษัทขนาดใหญ่ ระดับภูมภาค    ิ
  บริษัทมหาชนระดับประเทศ
  บริษัทจํากัดในประเทศ
  ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่ อม
  ผู้ประกอบการอิสระ
  รั ฐ วิ ส าหกิ จ ข้ ามชาติ (โดยมากคื อ บริ ษั ท พลั ง งาน
  แห่ งชาติ)
  รั ฐวิสาหกิจในประเทศ
รู ปแบบการผลิต
 ห่ วงโซ่ อุปทานการผลิตขนาดใหญ่ ของโลก (Global
 Supply Chain)
 ห่ ว งโซ่ อุ ป ทานการผลิ ต ของบริ ษั ท มหาชนขนาด
 ใหญ่
 การผลิตในระบบผูกขาด
 การผลิตในตลาดแข่ งขันเสรี
การปฏิวัตอุตสาหกรรมครั งที 3
         ิ




Source: The Economist , April 2012
การหลอมรวมเทคโนโลยีและการออกแบบ




Source: The Economist , April 2012
การจัดการ “ข้ อมูลจํานวนมหาศาล” (BIG DATA) คือปั จจัย
สําคัญในการดําเนินธุรกิจ
ระบบห่ วงโซ่ อุปทานการผลิต (Supply Chain)
ห่ วงโซ่ อุปทานการผลิตคือปั จจัยสําคัญของธุรกิจ
ประชาคมอาเซียน (AEC)




Source:โดยธนาคารแห่ งประเทศไทย , 2554
ประชาคมอาเซียน (AEC)




Source: โดยธนาคารแห่ งประเทศไทย , 2554
ประชาคมอาเซียน (AEC)




Source: โดยธนาคารแห่ งประเทศไทย , 2554
ประชาคมอาเซียน (AEC)




             Source: โดยธนาคารแห่ งประเทศไทย , 2554
ประชาคมอาเซียน (AEC)




Source: โดยธนาคารแห่ งประเทศไทย , 2554
ประชาคมอาเซียน (AEC)




Source: โดยธนาคารแห่ งประเทศไทย , 2554
ประชาคมอาเซียน (AEC)




Source: โดยธนาคารแห่ งประเทศไทย , 2554
ประชาคมอาเซียน (AEC)




Source: โดยธนาคารแห่ งประเทศไทย , 2554
ประชาคมอาเซียน (AEC)




Source: NESDB, 2011
ประชาคมอาเซียน (AEC) ในสายตาธุรกิจ




Source: PTT ,2012
ประชาคมอาเซียน (AEC) ในสายตาธุรกิจ




Source: PTT ,2012
ประชาคมอาเซียน (AEC) ในสายตาธุรกิจ




Source: PTT ,2012
โครงสร้ างการผลิตไทย




Source: โดยธนาคารแห่ งประเทศไทย , 2554
โครงสร้ างการผลิตไทย




    Source: โดยธนาคารแห่ งประเทศไทย , 2554
โครงสร้ างการผลิตไทย




Source: โดยธนาคารแห่ งประเทศไทย , 2554
โครงสร้ างการผลิตไทย




Source: โดยธนาคารแห่ งประเทศไทย , 2554
ความเสียงในการประกอบธุร
อนาคตอันโชติช่วงของเอเชียกิจไทย
บรรษัทแห่ งภูมภาค AEC
              ิ




Source: Boston Consulting Group , January 2012
บรรษัทแห่ งภูมภาค AEC
              ิ
บรรษัทแห่ งภูมิภาค AEC ทีเป็ นของไทย




Source: Boston Consulting Group , January 2012
AEC:SWOT Analysis แบบเอกชน
ประชาคมอาเซียน (AEC) ในสายตาธุรกิจ
บรรษัทข้ ามชาติทเป็ นของไทย:CPF
                ี




Source: Boston Consulting Group , January 2012
บรรษัทข้ ามชาติทเป็ นของไทย:CPF
                ี




            Source: Boston Consulting Group , January 2012
ความเสียงและโอกาสในการลงทุนอุตสาหกรรมไทย

                                                  INVESTMENT RATING
            Paradise Zone                                                              Adventure Zone
                     Low Risk / High Rating                                    High Risk / High Rating
                                                           2.50




                                                   Home
                                          Media
               Commerce                                    Packaging          Energy
RISK INDEX Agro&Food                              ICT
                                                             Petro Healthcare
                                                           0.50




             -2.50                -1.50            -0.50                0.50             1.50            2.50




                                                   Property       Conmat
                                                             Auto
                                                           -1.50




              Safe Zone                                                                Dangerous Zone
                                                                   Tourism
              Low Risk / Low Rating                                             High Risk / Low Rating
                                                           -3.50




Source: คํานวณโดย สุ รศักดิ ธรรมโม, 2554
ความผันผวนระหว่ างรายได้ อุตสาหกรรมใน SET กับ GDP

                                              5.00   ความผ นผวนระหว่า ง รายได อ ุต สาหกรรม ก ับ GDP
                                                           ั                  ้




                                              4.00             PROP

                              High                          ENERGY
                                                                               BA NK
                                                                               PETRO
                                                          COMM                 A UTO
                                              3.00             MEDIA


                              Medium                           ICT       FIN

                                                                      CONMA T                     ETRON

           TRA NS                             2.00                        HOME                              TOURISM
                                                                       A GRI
                                              FOOD


                              Low             1.00




                                                                                                      Sector revenue growth
                                              0.00
 -25.00%            -15.00%          -5.00%                 5.00%                      15.00%               25.00%




Source: คํานวณโดย สุ รศักดิ ธรรมโม, 2554
Sensitivity of G-3 Imports to Thai Industry
Degree of Sensitivity
   3.5

     3                                                      เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์
                         ผลิตภัณฑ์ยาง
   2.5                                                                                            เครืองใช้ไฟฟ้ าและ
                                                                                                  ส่วนประกอบอืนๆ
                                        เม็ดพลาสติก
     2
            อาหารทะเล                       แผงวงจรไฟฟ้ า                            รถยนต์ อุปกรณ์ และ
   1.5   กระป๋ องและแปรรูป
                                                                                          ส่วนประกอบ
     1
                                                                                                                ข้าว
   0.5
   Source: SCRI                                                 เครืองคอมพิวเตอร์
                                                             อุปกรณ์ และส่วนประกอบ
     0


Source: คํานวณโดย สุ รศักดิ ธรรมโม, 2554
รู ปแบบทางเศรษฐกิจและธุรกิจของ AEC
  รั ฐ บรรษั ท ของประเทศในเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ โดยเฉพาะ
  สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย
  บรรษั ท ข้ ามชาติ ร ะดั บ ภู มิ ภ าคอาเซี ย น ที เริ มขยายการลงทุ น ใน
  ภูมิภาคอาเซียนด้ วยกันเองทังในด้ านเป็ นแหล่ งวัตถุดบและเป็ นตลาด
                                                           ิ
  สําหรั บสินค้ าของตน
  บริ ษัทขนาดกลางและเล็ กของแต่ ละประเทศในประชาคมอาเซียน
  โดยมากจะเป็ นทางด้ านอุตสาหกรรมบริ การขนาดเล็ก เช่ น ออกแบบ
  สถาปั ตยกรรม กฏหมาย สุขภาพ บัญชี เป็ นต้ น
AEC โดยสรุ ป
  จุดขาย AEC จริ งๆ คือ AEC +3 ,AEC+6 ซึงรวม จีน เกาหลีใต้
  ญีปุ่ น อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์
  การขยายตัวของเศรษฐกิจจีนและอินเดีย ทีจะเป็ นหัวรถจักรในการ
  ขับเคลือนเศรษฐกิจภูมิภาค
  ห่ วงโซ่ อุปทานการผลิตระดับโลกของบรรษัทข้ ามชาติ ทีแต่ เดิมใช้
  เอเชียเป็ นฐานการผลิตเพือส่ งสินค้ าสําเร็ จรู ปตอบสนองอุปสงค์ ใน
  สหรั ฐ ยุ โ รป และญี ปุ่ น จะกลายมาเป็ นผลิ ตในประชาคมอาเซี ย น
  เพือตอบสนองอุปสงค์ ในเอเชีย/ประชาคมอาเซียนเป็ นหลัก
  ผลคือ โครงสร้ างต้ นทุนขนส่ งและภาษี ของสินค้ าสําเร็ จรู ป จะถูก
  กว่ าสินค้ าประเภทเดียวกันทีขายในยุโรป
  บรรษั ท ข้ ามชาติจ ากสหรั ฐอเมริ ก าและยุโ รปจะมุ่ งหน้ า ตังฐานการ
  ผลิตใน AEC มากขึนและเจาะตลาดใน AEC มากขึน
AEC โดยสรุ ป
  เมือผนวกกับ ปั จจัยเป็ นคุณของประชาคมอาเซียน ได้ แก่ โครงสร้ าง
  ประชากรที เป็ นวั ย กํ า ลั ง แรงงาน สถานะทางเศรษฐกิ จ มหภาคที
  เข้ มแข็ง (หนีสาธารณะในระดับตําและมีการเกินดุลบัญชีเดินสะพัด)
  สถาบันการเงินทีเข้ มแข็ง ผลก็คือ การขยายตัวของการบริ โภคใน
  เอเชีย/ประชาคมอาเซียน จะสูงมาก และยิงชักจูงให้ บรรษัทข้ ามชาติ
  จากต่ างประเทศมุ่งหน้ ามาเจาะตลาดใน AEC มากขึน
  การแข่ งขันในธุรกิจจะเข้ มข้ นขึนในอนาคตโดยเฉพาะธุรกิจทีเปิ ดให้
  เคลือนย้ ายเงินทุน/แรงงานอย่ างเสรีใน AEC
  นี คื อ ทีมาของการควบรวมกั น ธุ ร กิ จ โรงพยาบาลในไทยอย่ า งหนั ก
  ในช่ วงปี ทีผ่ านมา
  ธุรกิจขนาดใหญ่ ของไทยก็เร่ งควบรวมกันมากขึนทังในไทยและไปซือ
  กิจการต่ างประเทศ เพือรองรั บระดับการแข่ งขันทีเข้ มข้ นมากใน
  อนาคต
ความเสียงของ AEC ในส่ วนของภาพรวมไทย
  ไทยจะผนึ ก ทางเศรษฐกิ จ และการค้ า กั บเศรษฐกิ จ กํา ลั ง พั ฒนาทีมี
  ความเปราะบางในด้ า นสถาบั น การเมื อ ง สถาบั น ทางสั ง คม และ
  แนวคิดความมันคงทีแตกต่ างจากประเทศตะวันตก
   เพราะในเอเชี ย /อาเซีย น “รั ฐ ” เป็ นตัว กําหนด ในขณะทีประเทศ
  ตะวันตก “ภาคประชาสังคม” มีบทบาทในการกําหนดวาระระหว่ าง
  ประเทศ
  ดังจะเห็นได้ จาก ความล้ มเหลวของการแก้ ปัญหาลุ่ มนําโขง ปั ญหา
  ชายแดนในทะเลจีนใต้ ปั ญหาชนกลุ่มน้ อยในพม่ า เป็ นต้ น
ความเสียงของ AEC ในส่ วนของธุรกิจไทย
  ธุ รกิจขนาดกลางและเล็ก มี ความเสี ยงทีจะเผชิญการแข่ งขันอย่ าง
  มากจาก ธุ รกิจประเภทเดียวกันในประเทศตะวันตกและประชาคม
  อาเซียน
  แนวทางการพัฒนาทรั พยากรมนุ ษย์ ของประเทศไทยเน้ นสายศิลป
  ศาสตร์ ไม่ ใ ช่ วิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ทําให้ เ ป็ นข้ อจํากั ดด้ า น
  ศักยภาพในการหาประโยชน์ เชิงรุ กจาก AEC แต่ ธุรกิจของประเทศ
  อืนๆจะมารุ กในประเทศไทย
ถามและตอบ

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie Siu new enviroment of economy and business (1)

งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสmaysupaporn
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสmaysupaporn
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสขอ พรดาว
 
Loan Management for Microfinance and Bank.pdf
Loan Management for Microfinance and Bank.pdfLoan Management for Microfinance and Bank.pdf
Loan Management for Microfinance and Bank.pdfHRDevision
 

Ähnlich wie Siu new enviroment of economy and business (1) (6)

งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
BM 697 3.วิกฤติการเงิน
BM 697 3.วิกฤติการเงินBM 697 3.วิกฤติการเงิน
BM 697 3.วิกฤติการเงิน
 
วิกฤติการเงิน
วิกฤติการเงินวิกฤติการเงิน
วิกฤติการเงิน
 
Loan Management for Microfinance and Bank.pdf
Loan Management for Microfinance and Bank.pdfLoan Management for Microfinance and Bank.pdf
Loan Management for Microfinance and Bank.pdf
 

Mehr von FishFly

รายงานฉบับสมบูรณ์ คอป กรกฏาคม 2553 กรกฏาคม 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ คอป กรกฏาคม 2553  กรกฏาคม 2554รายงานฉบับสมบูรณ์ คอป กรกฏาคม 2553  กรกฏาคม 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ คอป กรกฏาคม 2553 กรกฏาคม 2554FishFly
 
ศูนย์วิจัย ม.กรุงเทพ โพลสำรวจประเมินผลงานรัฐบาลยิ่งลักษณ์
ศูนย์วิจัย ม.กรุงเทพ โพลสำรวจประเมินผลงานรัฐบาลยิ่งลักษณ์ศูนย์วิจัย ม.กรุงเทพ โพลสำรวจประเมินผลงานรัฐบาลยิ่งลักษณ์
ศูนย์วิจัย ม.กรุงเทพ โพลสำรวจประเมินผลงานรัฐบาลยิ่งลักษณ์FishFly
 
Burma Thai relations
Burma   Thai relationsBurma   Thai relations
Burma Thai relationsFishFly
 
คู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
คู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีคู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
คู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีFishFly
 
Trade and development report 2011
Trade and development report 2011Trade and development report 2011
Trade and development report 2011FishFly
 
Howard Schultz
Howard SchultzHoward Schultz
Howard SchultzFishFly
 
System theory
System theorySystem theory
System theoryFishFly
 

Mehr von FishFly (7)

รายงานฉบับสมบูรณ์ คอป กรกฏาคม 2553 กรกฏาคม 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ คอป กรกฏาคม 2553  กรกฏาคม 2554รายงานฉบับสมบูรณ์ คอป กรกฏาคม 2553  กรกฏาคม 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ คอป กรกฏาคม 2553 กรกฏาคม 2554
 
ศูนย์วิจัย ม.กรุงเทพ โพลสำรวจประเมินผลงานรัฐบาลยิ่งลักษณ์
ศูนย์วิจัย ม.กรุงเทพ โพลสำรวจประเมินผลงานรัฐบาลยิ่งลักษณ์ศูนย์วิจัย ม.กรุงเทพ โพลสำรวจประเมินผลงานรัฐบาลยิ่งลักษณ์
ศูนย์วิจัย ม.กรุงเทพ โพลสำรวจประเมินผลงานรัฐบาลยิ่งลักษณ์
 
Burma Thai relations
Burma   Thai relationsBurma   Thai relations
Burma Thai relations
 
คู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
คู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีคู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
คู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
 
Trade and development report 2011
Trade and development report 2011Trade and development report 2011
Trade and development report 2011
 
Howard Schultz
Howard SchultzHoward Schultz
Howard Schultz
 
System theory
System theorySystem theory
System theory
 

Siu new enviroment of economy and business (1)

  • 1. “ความเข้าใจเชิงกลยุทธต่อสภาวะแวดล้อมใหม่ ทางเศรษฐกิจและธุรกิจของโลก” 25 พฤษภาคม 2555 เสนอโดย สุรศักดิ ธรรมโม ผูอานวยการของบริษทหลักทรัพย์จดการกองทุนฟินันซ่า ้ ํ ั ั คอลัมนิสต์ของหนังสือพิมพ์โพสต์ทเดย์ ู คอลัมนิสต์ด้านการเงิน การลงทุนของ GM Biz วิทยากรให้ความเห็นการเงิน การลงทุน ทางคลืนความคิด FM 96.5 ผูร่วมก่อตัง http://www.siamintelligence.com/ ้
  • 2. ประวัตย่อวิทยากร:สุรศักดิ ธรรมโม ิ เศรษฐศาสตร์ บั ณ ฑิ ต จากจุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย และเศรษฐศาสตร์ มหาบั ณ ฑิ ต จาก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีประสบการณ์ มากกว่ า10 ปี ในด้ านวิจัยเศรษฐกิจ วิเคราะห์ การลงทุน นักเศรษฐศาสตร์ นักกล ยุทธการลงทุน และคณะกรรมการ การลงทุน (Investment Committee) ของบริ ษัทหลักทรั พย์ จัดการกองทุนฟิ นันซ่ า (บลจ.ฟิ นันซ่ า) ผ่ านการทํางานใน ภาควิชาการ (นั กวิจัยของคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาและธรรมศาสตร์ ) ภาค เศรษฐกิจจริ ง (บริ ษัทนําตาลวังขนาย) สถาบันการเงิน (ธนาคารไทยพาณิชย์ ) ตลาดทุน (บริ ษัท บริ ษัทหลักทรั พย์ นครหลวงไทยและบริ ษัทหลักทรั พย์ จัดการกองทุนฟิ นันซ่ า จํากัด) ในช่ วงวิกฤติการเมืองประเทศไทยหลังรั ฐประหารปี 49 ร่ วมกับเพือนกลุ่มหนึงทีมีอุดมการณ์ ใน เรื อง “ข้ อมู ล คื อ อํ า นาจ” ก่ อตั งเวปไซต์ ข่ าวสารเชิ ง วิ เ คราะห์ (Intelligence News) http://www.siamintelligence.com โดยไม่ คิดมูลค่ าในการเข้ าถึงข้ อมูล โดยเน้ นความเป็ นกลาง ทางการเมือง ท่ ามกลางความแตกแยกทางความคิดในประเทศไทย ข้ อมูลวิเคราะห์ เชิงลึกทาง เศรษฐกิจ การเมืองระหว่ างประเทศ โดยเน้ นเอเชียแปซิฟิก รู ปแบบการดําเนินธุรกิจ กลยุทธ ธุรกิจ และกลยุทธการลงทุน เป็ นคอลัมนิสต์ ประจําหนั งสือพิมพ์ โพสต์ ทูเดย์ และผู้ให้ ความเห็นเรื องการเงิน การลงทุน ทาง คลืนความคิด FM 96.5 เป็ นประจําทุกวันศุกร์ เวลา 10.00-11.00 น. ข้ อมูลอืนๆทีไม่ ได้ ระบุในนีสามารถ search ได้ จาก Google
  • 3. หัวข้ อนําเสนอวันนี เศรษฐกิจโลกหลังวิกฤติซับไพรม์ สหรั ฐอเมริ กาในปี 2551 และการก่ อตัวของวิกฤติ หนีสินสาธารณะของกลุ่มประเทศสกุลเงินยูโร (Euro Zone)ในปั จจุบัน กําลัง ก่ อ ให้ เ กิด การเปลี ยนแปลงทางแนวโน้ ม เศรษฐกิจ รู ป แบบการดํา เนิ น ธุ ร กิจของ บริ ษัทต่ างๆ และโครงสร้ างความสัมพันธ์ ระหว่ างประเทศ โดยประเด็นนําเสนอ จะ มุ่งเน้ นไปที โอกาสและความเสียงต่ อการวิเคราะห์ ธุรกิจ การปฏิวั ติอุ ต สาหกรรมครั งที 3 และนั ย ต่ อ เศรษฐกิจ และธุ ร กิ จ จะเกิ ด การ เปลียนแปลงในทุกภาคการผลิต ซึงจะเห็นได้ ชัดภายใน 10 ปี นี โดยประเด็น นําเสนอจะมุ่งเน้ นไปที รู ปแบบการดําเนินธุรกิจทีเปลียนแปลงไป “ประชาคมอาเซียน” จะเน้ นการนําเสนอไปทีความเข้ าใจเชิงกลยุทธธุรกิจ ภาคธุรกิจ ทีจะได้ ประโยชน์ และการเตรี ยมตัวรั บมือกับโอกาสและความเสียงจาก AEC การประเมินดัชนีความเสียงของกลุ่มธุรกิจไทย ภายใต้ การลดลงของเศรษฐกิจ3 กลุ่ม มหาอํานาจโลก สหรั ฐฯ สหภาพยุโรป และญีปุ่ น ผ่ านการวิเคราะห์ แบบ Stress Test ศักยภาพของอุตสาหกรรมไทยในการลงทุนจากมุมมอง 4 ด้ าน ใช้ วิธีการวิเคราะห์ แบบจําลองเศรษฐมิตมหภาค (Macro Econometrics) ิ
  • 4. จุดกําเนิด วิกฤติการเงิน การบริโภคลดลง (Lower มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิ จ การสินสุดยุคของฟองสบู่ในตลาดอสังหาริมทรัพย์ ตามมาด้วยการ - การลงทุนของรัฐในโครงการ Consumption) ภาคเศรษฐกิจจริง ปรับลงของราคาบ้านนําไปสู่การผิดชําระหนีสินเชืออสังหาริมทรัพย์ สาธารณูปโภคพืนฐาน หดตัว อัตราว่างงานเพิมสูงขึน (Default in Mortgage) - การลดภาษี สถาบันการเงินลดการปล่อยสินเชืออสังหาริมทรัพย์ ทําให้ราคาสินทรัพย์ปรับลง ซําเติมภาวการณ์ผด ิ GDP ลดลง (GDP contract) ชําระหนีสินเชืออสังหาฯ ส่งผลให้ราคาหลักทรัพย์ทอ้างอิงรายได้จากสินเชืออสังหาริมทรัพย์ (Mortgage ี Backed Securities; CDO ) ผันผวน การปรับลดอันดับเครดิตของหลักทรัพย์ การประเมินมูลค่าและราคาของ ตลาดหุนปรับลดลง (Stock ้ สถาบันการเงินลดการ มาตรการแก้ไขปัญหาวิ กฤติ จากสถาบันจัดอันดับเครดิต (Rating หลักทรัพย์ใหม่ (Credit Re-pricing) market decline) ปล่อยสินเชือ (Reduce lending) ส่งผลให้ สถาบันการเงิ น Downgrade) ส่งผลให้ราคาหลักทรัพย์บางประเภท ไม่มราคาเพราะไม่มราคาตลาด/ไม่ม ี ี ี อัตราการขยายตัวของ - การลดอัตราดอกเบียนโยบาย สินเชือลดลง (Lower สภาพคล่อง เช่นตราสาร Sub-Prime เกิดภาวะสภาพคล่องตึงตัว - การคําประกันหนีธนาคารโดยรัฐ/ (Liquidity Squeeze) credit growth) ธนาคารกลาง - ธนาคารกลางเข้าซือเข้าซือ หนีเสียและตราสารการเงินทีขาด สถาบันการเงินขาดสภาพคล่องนําไปสู่การเร่งขายสินทรัพย์ เกิดภาวะสินเชือหดตัว (Credit Crunch) นําไปสู่ สภาพคล่องของสถาบันการเงิน (Asset Liquidation) และ เร่งการคืนหนีสิน (Deleveraging) การปรับขึนอัตราดอกเบียกูยมระหว่างธนาคาร ้ ื เอกชน (High inter-bank rate) - การเพิมทุนสถาบันการเงินโดยรัฐ สถาบันการเงินบางแห่งล้ม ในขณะทีบางแห่งอาจจะถูกรัฐบาล เข้ายึดกิจการ และบางแห่งถูกควบรวมกิจการ Source: Macrofinancial Risk Analysis (2008) by Dale Gray and Samuel Malone และปรั บ Chart เพิมเติมโดย สุรศักดิ ธรรมโม
  • 5. ผลจากการแก้ ไขปั ญหาวิกฤติการเงินคือการขาดดุลการคลัง % GDP 2 ในขณะที ประเทศกํา ลังพัฒนาจะมีศกยภาพในการลดการขาดดุลทางการคลังได้ดีกว่าประเทศ ั พัฒนาแล้ว ดังนัน การขึนอัตราภาษี จึงกระทํา ได้ในอัตราทีน้ อยกว่ารวมทังไม่จา เป็ นต้ องลดการ ํ ใช้ จ่ายภาครัฐในระดับเดียวกับประเทศพัฒนาแล้ว 0 Advanced economies Emerging and developing economies World -2 -4 -6 ประเทศพัฒ นาแล้วมีแนวโน้ มเผชิ ญ ปั ญหาการขาดดุลการคลังมากที สุด เป็ นประวัติการณ์ บ่งชี ว่าในอนาคตรัฐบาลประเทศพัฒนาแล้วจํา เป็ นต้ องขึน ภาษี และลดการใช้ จ่ายภาครัฐเพือลดการขาดดุลการคลังซึ งมีนัยยะต่ อว่าการ -8 บริ โภคในประเทศพัฒนาแล้วจะลดลง -10 1970 1971 1972 1973 1974 1975 1976 1977 1978 1979 1980 1981 1982 1983 1984 1985 1986 1987 1988 1989 1990 1991 1992 1993 1994 1995 1996 1997 1998 1999 2000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011 2012 2013 2014 Source: IMF April 2012
  • 7. ส่ งผลให้ เกิดการเปลียนโครงสร้ างเศรษฐกิจครั งใหญ่ Source: IMF April 2012
  • 18. ภาพใหญ่ :เศรษฐกิจโลกหลังวิกฤติ เศรษฐกิจกลุ่มประเทศมหาอํานาจเดิม (G-3 ประกอบไปด้ วย สหรั ฐอเมริ กา สหภาพยุโรปและญี ปุ่ น) ยังติดอยู่กับผลพวงจากวิกฤติเศรษฐกิจโลกตังแต่ ปี 2551 จนถึงปั จจุบัน การขยายตัวทางเศรษฐกิจของ G-3 จะอยู่ในอัตราทีตําไปอีกนับทศวรรษและ ดึงให้ เศรษฐกิจโลกในอีก 5 ปี มีการขยายตัวทีตํา เนืองจากสัดส่ วนของ G-3 นันสูงถึงกว่ า 60 % ของเศรษฐกิจโลก เศรษฐกิจโลกในภาพรวมจะดีขึนได้ ในอีก 5 ปี ถัดไปจากการขยายตัวของ เศรษฐกิจประเทศกําลังพัฒนา อันมีกลุ่ม BRICS (ประกอบไปด้ วย บราซิล รั สเซีย อินเดีย จีน และแอฟริ กาใต้ ) ประชาคมอาเซียน (AEC) เป็ นกําลัง สํ า คั ญ ร่ วมกั บ ประเทศเอเชี ย พั ฒ นาแล้ ว เกาหลี ใ ต้ ออสเตรเลี ย และ นิวซีแลนด์ แต่ เศรษฐกิจโลกอาจจะกลับมาขยายตัวดีกว่ านั น ถ้ าสหรั ฐอเมริ กาสามารถ ปฏิวัติพลังงานผ่ านเทคโนโลยี Shale Gas ได้ สําเร็ จและจะส่ งผลให้ สหรั ฐ เป็ นชาติเดียวใน G-3 ทีจะกลับมามีการขยายตัวทางเศรษฐกิจในอัตราปกติ และสหรั ฐฯ กลับคืนความเป็ นอภิมหาอํานาจทางเศรษฐกิจได้
  • 19. ภาพใหญ่ :เศรษฐกิจโลกหลังวิกฤติ เศรษฐกิจเอเชียในปั จจุบันมีการพึงพาอุปสงค์ จากประเทศ G-3 ในระดับสูงผ่ านการ ส่ งออก การตกตําของเศรษฐกิจ G-3 ย่ อมกระทบต่ อประเทศเอเชียจํานวนมากทีเน้ นการ ส่ งออก แต่ ด้วยการที สถาบันการเงินเอเชียทีแข็งแกร่ งมาก ทําให้ มูลค่ าการส่ งออกทีลดลง เป็ นแค่ การลดลงของรายได้ มิใช่ วิกฤติของธุรกิจและเศรษฐกิจ อีกทังตลาดภายใน ไม่ ได้ รับความกระทบกระเทือนจากเศรษฐกิจโลกมาก ในเอเชีย ประเทศกําลังพัฒนาทีมีตลาดภายในทีเข้ มแข็งและไม่ พงพาการส่ งออกคือ ึ “อินเดีย” และ “อินโดนีเซีย” แต่ ในอนาคตข้ างหน้ า ด้ วยข้ อตกลงทางการค้ าเสรี ระหว่ างประเทศเอเชียด้ วยกันเอง จะทําให้ เศรษฐกิจเอเชียมาพึงพากันเองมากขึน ลดความเสียงจากยุโรป กระบวนการนีได้ เริ มต้ นมาระยะหนึงแล้ ว ผลคือ เศรษฐกิจเอเชียหลายประเทศเริ ม มีวัฎจักรเศรษฐกิจเชือมโยงกับ “จีน” มากขึน ตัวอย่ างชัดเจนคือ “ออสเตรเลีย” ดัง นั น เสถีย รภาพทางเศรษฐกิจ และการเมื อ งของ จีน จึง มี ส่ ว นสํา คั ญ ต่ อ การ ขยายตัวของเศรษฐกิจโลกและเอเชียต่ อจากนีไป
  • 20. ภาพใหญ่ :เศรษฐกิจโลกหลังวิกฤติ ภาวะหนี เสี ยของสถาบั น การเงิน เป็ นหล่ ม ปลั ก ทางเศรษฐกิจ ที ฉุ ด เศรษฐกิ จ ภาพรวมไม่ ให้ ขยายตัว ดังจะเห็นจากประสบการณ์ ของญีปุ่นในทศวรรษ1990 (2534) จนถึงปั จจุบัน เศรษฐกิจญีปุ่ นยังไม่ ฟืน จนกลายเป็ น Two Lost Decade หรื อ 2 ทศวรรษทีสาบสูญทางเศรษฐกิจ กระทบต่ อโครงสร้ างสังคม และความรู้ สกนึกคิดของคนญีปุ่ นรุ่ นใหม่ ทีแตกต่ างจากคนรุ่ นก่ อนมาก ึ กรณี ยุ โ รป ในระยะต่ อ ไปกํ า ลั ง เข้ า ข่ า ย “ทศวรรษแห่ ง การสาบสู ญ ทาง เศรษฐกิจ” เพราะ สถาบันการเงินอ่ อนแอมาก และสังคมเป็ น สังคมคนชรา ถ้ า เยอรมั น ช่ ว ยทางการเงิน ในลั ก ษณะ เป็ น “สหภาพทางการคลั ง ” (Fiscal Union) คือร่ วมกันรั บผิดชอบทังนโยบายภาษีและค่ าใช้ จ่ายทางการคลัง ซึง เยอรมันจะต้ องรั บภาระประเทศอืนๆมาเป็ นของตัวได้ ผลคือ เศรษฐกิจยุโรป จะพ้ นจากภาวะ Lost Decade ได้ แต่ คนเยอรมันจะจนลงจากเดิมไม่ ตากว่ า 20ํ ปี แต่ คนอิตาลี สเปน ฝรั งเศส โปรตุเกส และ กรี ซ จะรอดพ้ นจากความ ลําบากแม้ จะไม่ สบายเท่ ากับก่ อนวิกฤติแต่ จะดีกว่ าคนเยอรมันมาก
  • 21. ภาพย่ อย:ภาคธุรกิจคิดอย่ างไร บรรษัทขนาดใหญ่ ของสหรั ฐและยุโรป จํานวนมากกําลังมองหา “ตลาด” ทีมี การขยายตั ว อย่ า งต่ อ เนื อง เพื อสร้ างผลประกอบการและกํ า ไรให้ เ พิ มขึ น รวมทังราคาหุ้นให้ เพิมขึน บรรษัทใหญ่ ๆของโลก มีกรอบคิดอยู่แค่ นี คือ “กําไร” และ “ราคาหุ้น” สถาบันการเงิน ของยุ โ รปทีแข็งแกร่ งจะเริ มต้ น ด้ วย การย้ ายฐานธุ ร กิจมายั ง เอเชีย เช่ น ธนาคาร HSBC ธนาคาร Stanchart เป็ นต้ น ธุ รกิจในภาคการผลิตอืนๆกําลังเริ มขยับตามทังในเรื องของการย้ ายฐานการ ผลิตและการเจาะตลาดเอเชียอย่ างจริงจัง ความรวดเร็ วอย่ างมากในการยกเลิกการควําบาตรของประเทศตะวั นตกต่ อ พม่ า เป็ นตัวอย่ างทีชัดเจนว่ าประเทศตะวันตกกําลังต้ องการเอเชียมากกว่ าที เอเชียต้ องการตะวันตก
  • 23. ในอนาคต การค้ าโลก กระจุกตัวทีเอเชีย
  • 30. แต่ ในอนาคต เอเชียก็เข้ าสู่สังคม “คนชรา” Source: World Economic Forum Report , 2012
  • 31. แต่ ในอนาคต เอเชียก็เข้ าสู่สังคม “คนชรา”
  • 32. การอ่ านสถานการณ์ สาหรั บนายธนาคาร ํ ข้ อมูลเรื องเศรษฐกิจทีล้ นเกินอยู่ตอนนี เป็ นข้ อมูลภาพใหญ่ ทีบอก ว่ าเศรษฐกิจจะเป็ นอย่ างไร จีดีพีขยายตัวเท่ าใด การเกินดุลบัญชี เดินสะพัด มูลค่ าการค้ า มูลค่ าส่ งออก อัตราเงินเฟอ อัตราดอกเบีย ้ ฯลฯ ข้ อมูลภาพใหญ่ พวกนี มีประโยชน์ มากก็จริ ง แต่ ไม่ สามารถช่ วยให้ เข้ าใจโลกธุรกิจได้ ทังหมด และไม่ สามารถนําไปสู่การวิเคราะห์ ความ เป็ นไปได้ ของธุรกิจได้ ครบถ้ วน จะต้ อ งคิ ด แบบ นั ก ธุ ร กิ จ นั ก วิ เ คราะห์ ห ลั ก ทรั พ ย์ และผู้ จั ด การ กองทุน จึงสามารถเข้ าใจธุ รกิจ และทําหน้ าทีนายธนาคารทีตรง ความต้ องการลูกค้ าได้ การมองไปข้ างหน้ าและการอ่ านความต้ องการลูกค้ า คือปั จจัยสําคัญ ในการอ่ านแนวโน้ มธุรกิจและรู ปแบบการทําธุรกิจ (Business Model)
  • 33. รู ปแบบของธุรกิจ บรรษัทขนาดใหญ่ ของโลก บรรษัทขนาดใหญ่ ระดับภูมภาค ิ บริษัทมหาชนระดับประเทศ บริษัทจํากัดในประเทศ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่ อม ผู้ประกอบการอิสระ รั ฐ วิ ส าหกิ จ ข้ ามชาติ (โดยมากคื อ บริ ษั ท พลั ง งาน แห่ งชาติ) รั ฐวิสาหกิจในประเทศ
  • 34. รู ปแบบการผลิต ห่ วงโซ่ อุปทานการผลิตขนาดใหญ่ ของโลก (Global Supply Chain) ห่ ว งโซ่ อุ ป ทานการผลิ ต ของบริ ษั ท มหาชนขนาด ใหญ่ การผลิตในระบบผูกขาด การผลิตในตลาดแข่ งขันเสรี
  • 37. การจัดการ “ข้ อมูลจํานวนมหาศาล” (BIG DATA) คือปั จจัย สําคัญในการดําเนินธุรกิจ
  • 39. ห่ วงโซ่ อุปทานการผลิตคือปั จจัยสําคัญของธุรกิจ
  • 43. ประชาคมอาเซียน (AEC) Source: โดยธนาคารแห่ งประเทศไทย , 2554
  • 53. โครงสร้ างการผลิตไทย Source: โดยธนาคารแห่ งประเทศไทย , 2554
  • 57. บรรษัทแห่ งภูมภาค AEC ิ Source: Boston Consulting Group , January 2012
  • 59. บรรษัทแห่ งภูมิภาค AEC ทีเป็ นของไทย Source: Boston Consulting Group , January 2012
  • 62. บรรษัทข้ ามชาติทเป็ นของไทย:CPF ี Source: Boston Consulting Group , January 2012
  • 63. บรรษัทข้ ามชาติทเป็ นของไทย:CPF ี Source: Boston Consulting Group , January 2012
  • 64. ความเสียงและโอกาสในการลงทุนอุตสาหกรรมไทย INVESTMENT RATING Paradise Zone Adventure Zone Low Risk / High Rating High Risk / High Rating 2.50 Home Media Commerce Packaging Energy RISK INDEX Agro&Food ICT Petro Healthcare 0.50 -2.50 -1.50 -0.50 0.50 1.50 2.50 Property Conmat Auto -1.50 Safe Zone Dangerous Zone Tourism Low Risk / Low Rating High Risk / Low Rating -3.50 Source: คํานวณโดย สุ รศักดิ ธรรมโม, 2554
  • 65. ความผันผวนระหว่ างรายได้ อุตสาหกรรมใน SET กับ GDP 5.00 ความผ นผวนระหว่า ง รายได อ ุต สาหกรรม ก ับ GDP ั ้ 4.00 PROP High ENERGY BA NK PETRO COMM A UTO 3.00 MEDIA Medium ICT FIN CONMA T ETRON TRA NS 2.00 HOME TOURISM A GRI FOOD Low 1.00 Sector revenue growth 0.00 -25.00% -15.00% -5.00% 5.00% 15.00% 25.00% Source: คํานวณโดย สุ รศักดิ ธรรมโม, 2554
  • 66. Sensitivity of G-3 Imports to Thai Industry Degree of Sensitivity 3.5 3 เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ยาง 2.5 เครืองใช้ไฟฟ้ าและ ส่วนประกอบอืนๆ เม็ดพลาสติก 2 อาหารทะเล แผงวงจรไฟฟ้ า รถยนต์ อุปกรณ์ และ 1.5 กระป๋ องและแปรรูป ส่วนประกอบ 1 ข้าว 0.5 Source: SCRI เครืองคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ และส่วนประกอบ 0 Source: คํานวณโดย สุ รศักดิ ธรรมโม, 2554
  • 67. รู ปแบบทางเศรษฐกิจและธุรกิจของ AEC รั ฐ บรรษั ท ของประเทศในเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ โดยเฉพาะ สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย บรรษั ท ข้ ามชาติ ร ะดั บ ภู มิ ภ าคอาเซี ย น ที เริ มขยายการลงทุ น ใน ภูมิภาคอาเซียนด้ วยกันเองทังในด้ านเป็ นแหล่ งวัตถุดบและเป็ นตลาด ิ สําหรั บสินค้ าของตน บริ ษัทขนาดกลางและเล็ กของแต่ ละประเทศในประชาคมอาเซียน โดยมากจะเป็ นทางด้ านอุตสาหกรรมบริ การขนาดเล็ก เช่ น ออกแบบ สถาปั ตยกรรม กฏหมาย สุขภาพ บัญชี เป็ นต้ น
  • 68. AEC โดยสรุ ป จุดขาย AEC จริ งๆ คือ AEC +3 ,AEC+6 ซึงรวม จีน เกาหลีใต้ ญีปุ่ น อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ การขยายตัวของเศรษฐกิจจีนและอินเดีย ทีจะเป็ นหัวรถจักรในการ ขับเคลือนเศรษฐกิจภูมิภาค ห่ วงโซ่ อุปทานการผลิตระดับโลกของบรรษัทข้ ามชาติ ทีแต่ เดิมใช้ เอเชียเป็ นฐานการผลิตเพือส่ งสินค้ าสําเร็ จรู ปตอบสนองอุปสงค์ ใน สหรั ฐ ยุ โ รป และญี ปุ่ น จะกลายมาเป็ นผลิ ตในประชาคมอาเซี ย น เพือตอบสนองอุปสงค์ ในเอเชีย/ประชาคมอาเซียนเป็ นหลัก ผลคือ โครงสร้ างต้ นทุนขนส่ งและภาษี ของสินค้ าสําเร็ จรู ป จะถูก กว่ าสินค้ าประเภทเดียวกันทีขายในยุโรป บรรษั ท ข้ ามชาติจ ากสหรั ฐอเมริ ก าและยุโ รปจะมุ่ งหน้ า ตังฐานการ ผลิตใน AEC มากขึนและเจาะตลาดใน AEC มากขึน
  • 69. AEC โดยสรุ ป เมือผนวกกับ ปั จจัยเป็ นคุณของประชาคมอาเซียน ได้ แก่ โครงสร้ าง ประชากรที เป็ นวั ย กํ า ลั ง แรงงาน สถานะทางเศรษฐกิ จ มหภาคที เข้ มแข็ง (หนีสาธารณะในระดับตําและมีการเกินดุลบัญชีเดินสะพัด) สถาบันการเงินทีเข้ มแข็ง ผลก็คือ การขยายตัวของการบริ โภคใน เอเชีย/ประชาคมอาเซียน จะสูงมาก และยิงชักจูงให้ บรรษัทข้ ามชาติ จากต่ างประเทศมุ่งหน้ ามาเจาะตลาดใน AEC มากขึน การแข่ งขันในธุรกิจจะเข้ มข้ นขึนในอนาคตโดยเฉพาะธุรกิจทีเปิ ดให้ เคลือนย้ ายเงินทุน/แรงงานอย่ างเสรีใน AEC นี คื อ ทีมาของการควบรวมกั น ธุ ร กิ จ โรงพยาบาลในไทยอย่ า งหนั ก ในช่ วงปี ทีผ่ านมา ธุรกิจขนาดใหญ่ ของไทยก็เร่ งควบรวมกันมากขึนทังในไทยและไปซือ กิจการต่ างประเทศ เพือรองรั บระดับการแข่ งขันทีเข้ มข้ นมากใน อนาคต
  • 70. ความเสียงของ AEC ในส่ วนของภาพรวมไทย ไทยจะผนึ ก ทางเศรษฐกิ จ และการค้ า กั บเศรษฐกิ จ กํา ลั ง พั ฒนาทีมี ความเปราะบางในด้ า นสถาบั น การเมื อ ง สถาบั น ทางสั ง คม และ แนวคิดความมันคงทีแตกต่ างจากประเทศตะวันตก เพราะในเอเชี ย /อาเซีย น “รั ฐ ” เป็ นตัว กําหนด ในขณะทีประเทศ ตะวันตก “ภาคประชาสังคม” มีบทบาทในการกําหนดวาระระหว่ าง ประเทศ ดังจะเห็นได้ จาก ความล้ มเหลวของการแก้ ปัญหาลุ่ มนําโขง ปั ญหา ชายแดนในทะเลจีนใต้ ปั ญหาชนกลุ่มน้ อยในพม่ า เป็ นต้ น
  • 71. ความเสียงของ AEC ในส่ วนของธุรกิจไทย ธุ รกิจขนาดกลางและเล็ก มี ความเสี ยงทีจะเผชิญการแข่ งขันอย่ าง มากจาก ธุ รกิจประเภทเดียวกันในประเทศตะวันตกและประชาคม อาเซียน แนวทางการพัฒนาทรั พยากรมนุ ษย์ ของประเทศไทยเน้ นสายศิลป ศาสตร์ ไม่ ใ ช่ วิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ทําให้ เ ป็ นข้ อจํากั ดด้ า น ศักยภาพในการหาประโยชน์ เชิงรุ กจาก AEC แต่ ธุรกิจของประเทศ อืนๆจะมารุ กในประเทศไทย