SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 25
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ประเทศไทยจะได้ อะไร
                                                             จากการเปลี่ยนแปลง
                                                       ด้ านเศรษฐกิจในเมียนมาร์

                                                                             นายไพโรจน์ โพธิ ว งศ์
                                                          ที่ ป รึ ก ษาด้ า นนโยบายและแผนงาน
                                             สํา นั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ งชาติ




วันศุกร์ ท่ ี 6 กรกฎาคม 2555 เวลา 09.30-10.30น. ณ ห้ อง Sapphire Suite ชัน 7 โรงแรมโนโวเทล กรุ งเทพ แพลตทิน่ ัม
                                                                         ้

                                              www.nesdb.go.th                                                     1
Agenda


  1        ั
      ความสมพ ันธ์ระหว่างไทยและเมียนมาร์


  2   การเปลียนแปลงทางเศรษฐกิจและการเมืองของ
             ่
      เมียนมาร์

  3   ผลต่อประเทศไทย และการพ ัฒนาท่าเรือนําลึกและ
                                          ้
      นิคมอุตสาหกรรมทวาย




                          www.nesdb.go.th           2
ความร่วมมือด้านการค้าไทย-เมียนมาร์


 สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศและ
   การค้าชายแดนไทย – เมียนมาร์                              การอํานวยความสะดวกทางการค้า
 ในปี 2554 ไทยเป็ นคูค ้าอันดับ 2 ของ
                           ่                              เมือวันที่ 11 มิ.ย. 2554 กระทรวงพาณิชย์
                                                                   ่
  เมียนมาร์ (หลังจากทีไทยเคยครอง
                         ่                                 เมียนมาร์ออกใบอนุญาตให ้สามารถนํ าเข ้า
  อันดับ 1 จนกระทั่ง ปี 2553 ปั จจุบนั                         ิ
                                                           สนค ้าทีรัฐบาลเมียนมาร์ออกประกาศ
                                                                     ่
  อันดับ 1 คือ จีน)                                                               ิ
                                                           มาตรการห ้ามนํ าเข ้าสนค ้า 15 รายการ
 การค ้าไทย - เมียนมาร์ปี 2554 มีมลค่าู                                     ึ่      ั
                                                           ตังแต่ปี 2541 ซงไทยมีศกยภาพในสนค ้า
                                                                 ้                              ิ
  185,602 ล ้านบาท (เพิมขึนกว่าร ้อยละ
                             ่ ้                           ผลิตภัณฑ์พลาสติก นํ้ าหวาน เครืองดืม
                                                                                            ่     ่
  19)                                                      อาหารกระป๋ อง ผงชูรส และผลไม ้
 การค ้าชายแดนมีมลค่า 157,590 ล ้าน
                    ู                                     ผู ้ประกอบการไทยต ้องดําเนินธุรกิจผ่าน
  บาท คิดเป็ นร ้อยละ 85 ของมูลค่าการค ้า                  ตัวแทนของเมียนมาร์ และต ้องขอ
  รวมทังหมด
        ้                                                  ใบอนุญาตนํ าเข ้าก่อนจะสามารถนํ าเข ้า
 ไทยขาดดุลการค ้าเนืองจากนํ าเข ้าก๊าซ
                       ่                                     ิ
                                                           สนค ้า 15 รายการดังกล่าวได ้
  ธรรมชาติจากเมียนมาร์สงถึงกว่าร ้อยละ
                              ู
  96 ของการนํ าเข ้าทางชายแดนทังหมด้




                                       www.nesdb.go.th                                                3
การลงทุนของไทยในเมียนมาร์
   มูลค่าการลงทุนสะสมของไทย ตังแต่ปี 2531 รวมมูลค่า 9,568 ล ้าน USD เป็ นอันดับสองรองจากจีนและฮองกง
                                  ้                                                                  ่
    สาขาการลงทุนสําคัญ ได ้แก่ พลังงานฟ้ า การผลิต ประมง ปศุสตว์ โดยผู ้ลงทุนรายใหญ่ ได ้แก่ ปตท.สผ. กฟผ.
                                                             ั
                   ี     ิ
    อิตาเลียนไทย ซพี ปูนซเมนต์ไทย เป็ นต ้น

   สาขาพลังงาน

     •   ก๊าซธรรมชาติ โดย ปตท.สผ. ร่วมลงทุนผลิตและสํารวจแหล่งก๊าซธรรมชาติในเมียนมาร์ ในโครงการยาดานา
         โครงการเยตากุนและโครงการซอติก ้าในอ่าวเมาะตะมะ

     •        ่                          ่   ั      ่                                                     ึ
         เขือนไฟฟ้ าพลังนํ้ า ได ้แก่ เขือนฮจจี (อยูระหว่างพิจารณาผลการรับฟั งความคิดเห็นและร่างขอบเขตการศกษา
         ผลกระทบต่อประชาชนในพืนทีฝ่ั งไทยของ กฟผ.) เขือนมายต่อง (คาดว่าจะแล ้วเสร็จและเสนอกรมไฟฟ้ าพลัง
                                       ้ ่                     ่
                          ิ้
         นํ้ าเมียนมาร์ในสนเดือน ก.ค. 2555) เขือนตะนาวศรีบนลุมแม่นํ้าตะนาวศรี อยูในขันตอนการออกแบบ โดยคาด
                                                  ่              ่                 ่   ้
                                           ่   ึ
         ว่าจะแล ้วเสร็จในปี 2555 ก่อนทีจะศกษาความคุ ้มค่าในการลงทุนและเริมก่อสร ้างเขือนต่อไป
                                                                               ่         ่

   การลงทุนด ้านอาหาร อาทิ กลุมบริษัทในเครือเจริญโภคภัณฑ์โดยบริษัท Myanmar C.P. Livestock ลงทุนด ้าน
                               ่
           ั                ั                       ั
    อาหารสตว์ การเพาะเลียงสตว์นํ้า และการเพาะเลียงสตว์บก (หมูและไก่) บริษัท Ayeyawaddy Foods ลงทุนใน
                        ้                       ้
    ผลิตภัณฑ์มาม่า และบริษัท CPT Bakery

              ่    ่                                                 ้
    ความตกลงเพือการสงเสริมและคุ ้มครองการลงทุนระหว่างไทย – พม่า มีผลใชบังคับแล ้วตังแต่วันที่ 8 มิ.ย. 2555
                                                                                   ้




                                               www.nesdb.go.th                                               4
โครงการความร่วมมือระหว่างไทย-เมียนมาร์
ฝั่ งตะวันตกของ EWEC ในเมียนมาร์                                                    D
 การปรับปรุงและก่อสร ้างถนนเมียวดี-กอกะเรก                                     C
           ่
 การซอมแซมสะพานข ้ามแม่นํ้าเมย แห่งที่ 1
 การเตรียมการก่อสร ้างสะพานข ้ามแม่นํ้าเมย                                 B               F
      แห่งที่ 2
                                                                                A       E   G
              ้     ื่
 การพัฒนาเสนทางเชอมโยง เมียนมาร์ ขอ สพพ.ให ้
 จัดทํา FS การพัฒนา ถนนสามฝ่ ายไทย-เมียนมาร์-
            ่
   อินเดีย ชวงเมืองมอญยอ-ยาจี-กาเลวะ (Monywa -
   Yagyi – Kalewa) 24 กม. (15 ไมล์)
                                     ิ
 จัดทํา FS การพัฒนา ถนนจากด่านสงขร-เมืองมอ
   ต่อง-เมืองตะนาวศรี-เมืองมะริด 180 กม.

 ด่านพรมแดน
  จุดผ่านแดนถาวร 3 แห่ง ได ้แก่ แม่สอด แม่สาย
    และระนอง และมีจดผ่อนปรนการค ้า
                       ุ
  อยูระหว่างหารือเพือยกระดับจุดผ่านแดน
      ่              ่
    ระหว่างกัน

 Cross Border Transport Facilitation
           ี           ่    ิ
  ยังไม่มการแลกเปลียนสทธิจราจรระหว่างกัน
                    ั
  CBTA (ไทยให ้สตยาบัน ภาคผนวกและพิธสาร  ี             การพัฒนาท่าเรือนํ้ าลึกและนิคมอุตสาหกรรมทวาย
                          ั
    14 ฉบับ เมียนมาร์ให ้สตยาบัน ภาคผนวกและพิธ ี
    สาร 15 ฉบับ)                                                           ้       ื่
                                                       ท่าเรือ ถนน และเสนทางรถไฟเชอมโยงทวาย-
ทางรถไฟ                                                 ชายแดนไทย
 กาญจนบุร ี – ทวาย                                    นิคมอุตสาหกรรม
 ด่านเจดีย ์ 3 องค์ - ธันบูซายัต                      ไฟฟ้ า ท่อนํ้ ามัน
                                    www.nesdb.go.th                                              5
การเปิ ดจุดผ่านแดนเพิมเติม
                                                                      ่
 จุดผ่อนปรน                                                                   จุดผ่อนปรนการค้า
   ่ั
 ชวคราวพระ                                                                         ตะโกบน
เจดียสามองค์
      ์
ภาคเอกชนเสนอขอ
ยกระดับ แต่เมียนมาร์ยัง
ไม่พร ้อมเนืองจากมีปัญหา
            ่
ความไม่สงบ และเมียน
มาร์ปิดด่าน
                                                                                    คณะอนุกรรมการ
                                                                                    พิจารณาการเปิ ดจุด
                                                                                    ผ่านแดน ครังที่้
                                                                                    4/2554 (28 ธ.ค.) มี
                                                                                    มติไม่อนุญาตให ้
      ่
     ชองทางบ้านพุนําร้อน
                   ้                                                                ยกระดับเนืองจาก (1)
                                                                                                 ่
                                                                                    ปั ญหาความไม่สงบ
 ด่ า น บ้ า น พุ นํ ้ า ร้ อ น อ . เ มื อ ง จ .                                    เรียบร ้อยบริเวณ
 กาญจนบุร ี ไทยและเมียนมาร์ร่วมจั ดทํ า                                             ชายแดน และ (2)
 Joint Detail Survey แล ้วเสร็ จและ                                                            ั
                                                                                    ความไม่ชดเจนเรือง่
 กระทรวง มหาดไทยได ้เปิ ดชองทางเป็ น   ่                                            เส ้นเขตแดน
 จุ ด ผ่ า น แ ด น ช่ั ว ค ร า ว แ ล ว เ มื่ อ เ ดื อ น
                                     ้
               ึ่             ่
 มิถนายน ซงจะนํ าไปสูการยกระดับเป็ นจุด
     ุ
 ผ่านแดนถาวรต่อไป                                                                       จุดผ่อนปรน
                                                                                               ิ
                                                                                        การค้าสงขร




              ่
             ชองทางอืนๆ
                     ่                                                           อยูระหว่างเตรียมความ
                                                                                    ่
                                                                                 พร ้อมในฝั่ งเมียนมาร์ และ
 ทีประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาการเปิ ดจุดผ่านแดน ครังที่
   ่                                                      ้                      เตรียมจัดทํา Joint Detail
 1/2555 โดย สมช. มีมติให ้กระทรวงฯ ประสานฝ่ ายเมียนมาร์                          Survey
 เกียวกับการเปิ ดจุดผ่านแดนบ ้านห ้วยต ้นนุ่นและด่านกิวผาวอก
     ่                                                ่
       ี          ี
 อ.เชยงดาว จ.เชยงใหม่
                                                           www.nesdb.go.th                            6
โครงการความร่วมมือระหว่างไทย-เมียนมาร์
 Border Economic Zone
  เมียวดี-แม่สอด
  กาญจนบุร-ทวาย
             ี



           ิ่
 เกษตรและสงแวดล ้อม
  การดําเนินงาน Contract Farming ในกรอบ
               ่              ั                    Tourism
    ACMECS เชน ข ้าวโพดเลียงสตว์ และถั่วเหลือง
                          ้
                 ั                                  “Golden Civilization Program”
  การพัฒนาปศุสตว์ บริเวณพืนทีชายแดน
                            ้ ่
                                                          ่ ่
                                                       เพือสงเสริมการตลาด 2 ประเทศ
                                                       1 จุดหมายปลายทาง
HRD
                ่
 การให ้ความชวยเหลือพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    ภายใต ้กรอบของ สพร.
 ความร่วมมือในการสอนภาษาไทย
    ในมหาวิทยาลัยย่างกุ ้ง
 การปรับปรุงโรงพยาบาลท่าขีเหล็ก
                           ้



               ั
 การพัฒนาด ้านสงคม
  การจดทะเบียนแรงงาน นํ าร่องทีจังหวัดระนอง
                                 ่                 พลังงาน
  ความร่วมมือเพือการป้ องกันการค ้ามนุษย์
                 ่                                                                 ่     ื้
                                                    การลงนามบันทึกความเข ้าใจเพือการซอขาย
  การพัฒนาทางเลือก และการป้ องกันยาเสพติด            ไฟฟ้ าร่วมกัน (ลงนามเมือปี 2540 และ 2548)
                                                                             ่
                                                    การพัฒนาสถานีไฟฟ้ าพลังนํ้ าเพือขายไฟให ้
                                                                                     ่
                                                               ่ ั
                                                      ไทย เชน ฮจจี และทวาย


                                 www.nesdb.go.th                                            7
Agenda

  1        ั
      ความสมพ ันธ์ระหว่างไทยและเมียนมาร์


      การเปลียนแปลงทางเศรษฐกิจและการเมืองของ
             ่
  2   เมียนมาร์

  3   ผลต่อประเทศไทย และการพ ัฒนาท่าเรือนําลึกและ
                                          ้
      นิคมอุตสาหกรรมทวาย




                          www.nesdb.go.th           8
พ ัฒนาการทางการเมืองในเมียนมาร์
                                                                        ความก้าวหน้าล่าสุด

                                           เมียนมาร์มพ ัฒนาการทางการเมืองอย่างต่อเนือง โดยได ้
                                                      ี                              ่
                                              จัดตังรัฐบาลทีมประธานาธิบดีเป็ นประมุขและหัวหน ้ารัฐบาล เมือ
                                                   ้        ่ ี                                          ่
 การผ่อนคลายมาตรการควําบาตร
                      ่                       30 มีนาคม 2554 หลังจากได ้จัดการเลือกตังทั่วไปเมือ 7
                                                                                     ้         ่
          เมียนมาร์                           พฤศจิกายน 2553 โดยพรรค Union Solidarity and
                                                                                         ี
                                              Development Party: USDP ของรัฐบาลเดิมได ้เสยงข ้างมาก
  EU ผ่อนคลายการควําบาตร 1 ปี และ
                     ่
       ื
   คืนสทธิพเศษ GSP ให ้เมียนมาร์
           ิ                                                 ้ ่                           ึ่
                                           ภายหลังการเลือกตังซอมเมือปลายเดือนเมษายน 2555 ซง
                                                                    ่
  การยกเลิกการควําบาตรขึนอยูกบ
                  ่       ้   ่ ั
   พัฒนาการประชาธิปไตยในเมียนมาร์             พรรค NLD ได ้ทีนั่งจํานวนมาก การเมืองในเมียนมาร์ม ี
                                                             ่
   และการปรองดองกับชนกลุมน ้อย
                            ่
                                                       ่ ี ้ึ
                                              แนวโน้มทีดขนจากการทํางานร่วมก ันระหว่าง
                                                                ่
                                              ประธานาธิบดีเต็งเสง จากพรรค USDP และนางออง
                                              ซานซูจ ี ผู ้นํ าพรรคฝ่ ายค ้าน

                                           พรรค USDP ตอบสนองต่อความต ้องการการปฏิรประบบ
                                                                                   ู
 พัฒนาการทางการเมืองนํ าไปสู่                                                                  ่ั
                                              การเมืองของประชาชน โดยประกาศนโยบายกําจัดการคอรัปชน
  โอกาสเติบโตทางเศรษฐกิจ                       ่                             ิ
                                              สงเสริมการกระจายอํานาจในการตัดสนใจ และมีการปรับเปลียน
                                                                                                 ่
                                              รองประธานาธิบดีคนใหม่ รวมถึงการให ้นางอองซานซูจเดินทาง
                                                                                             ี
 เงินลงทุนจากต่างประเทศ                      ไปเยือนนานาประเทศ
                         ื
 การพัฒนาฐานการผลิตเชอมโยง
  ภูมภาค ด ้วยการสนับสนุนด ้านเงินทุน
      ิ
  เทคโนโลยี และการพัฒนาบุคลากร
  จากประเทศตะวันตก


                                             ‐9‐
                                        www.nesdb.go.th                                                  9
สถานการณ์เศรษฐกิจของเมียนมาร์
Economic Intelligence Unit, EIU-UK คาดการณ์ภาวะเศรษฐกิจของสหภาพพม่า จะเติบโตเฉลียร้อยละ 4.8 ต่อปี
                                                                                ่
   ่
ในชวงปี 2012-13 และจะเพิมขึนอย่างรวดเร็วเป็ นร ้อยละ 6.5 ต่อปี ในปี 2014-2016 โดยมีสาเหตุสําคัญจากเงินลงทุนจาก
                        ่ ้
ต่างประเทศทีเพิมขึนเนืองจากทิศทางการผ่อนคลายมาตรการควําบาตรในปี 2013
            ่ ่ ้     ่                               ่
                                                                                          อัตราการเติบโดทางเศรษฐกิจของสหภาพพม่า ปี 2007-2013

• นโยบายเศรษฐกิจ รัฐบาลพม่าเน ้นการลงทุนจากต่างประเทศ
• ระบบแลกเปลียนเงินตราระหว่างประเทศ มีความก ้าวหน ้าในการ
               ่
                        ่
  ปฏิรปจากการให ้ความชวยเหลือของ IMF แต่ยังไม่สามารถปรับได ้
      ู
  อย่างเต็มระบบก่อน ปี 2016
         ั
• ความสมพ ันธ์ระหว่างระหว่างประเทศ ปั จจุบันรัฐบาลพม่ามุงหวัง
                                                        ่
    ่                                         ่      ่
  ทีจะพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างพม่ากับประเทศทีให ้การชวยเหลือ
             ึ่
  ทางการเงินซงต ้องการแรงขับเคลือนอย่างมาก
                                ่

                         ปริมาณการค ้ากับประเทศคูค ้าสําคัญ ปี 2010
                                                 ่
                                                                                                                   ่
                                                                                          • การค้าระหว่างประเทศ ในชวงปี 2000-2010              ประเทศคูค ้าที่
                                                                                                                                                       ่
                                                                                            สํ า คั ญ ของสหภาพพม่า ได ้แก่ จีน ไทย อิน เดีย และส ง คโปร์
                                                                                                                                                 ิ
                                                                                                           ่
                                                                                            โดยปี 2010 การสงออก มีไทยเป็ นคูค ้าอันดับ 1 (ร ้อยละ 40.3)
                                                                                                                            ่
                                                                                            รองลงมาได ้แก่ อินเดีย (ร ้อยละ 15.8) และจีน (ร ้อยละ 13.6)
                                                                                            ในขณะที่ มีสัด ส่ว นการนํ า เข ้าจากจีน เป็ นอั น ดั บ แรก (ร ้อยละ
                                                                                                                                         ิ
                                                                                            38.9) รองลงมา ได ้แก่ ไทย (ร ้อยละ 23.2) และสงคโปร์ (ร ้อย
                                                                                                    ึ่ ่
                                                                                            ละ 13) ซงสวนใหญ่อยูในรูปแบบการค ้าผ่านชายแดน
                                                                                                               ่


       Myanmar’s Major Export Partners                  Myanmar’s Major Import Partners
ทีมา Economist Intelligence Unit, Country Report of Myanmar 2012
  ่                                                                   www.nesdb.go.th                                                                      10
ภาพรวมด้านเศรษฐกิจ
    1                                         4
เศรษฐกิจมหภาค                                                 การลงทุน
• ประชากร 58.38 ล ้านคน พืนที่ 676,563 ตร.กม. (1.3 เท่า
                          ้                                                                                    ั
                                                              Myanmar Investment Commission ได ้พัฒนาศกยภาพในการ
  ของไทย)                                                     อนุมัตการลงทุนจากต่างประเทศและนักลงทุนต่างชาติให ้รวดเร็ว
                                                                     ิ
• GDP ในปี 2554 เท่ากับ 497 พันล ้าน USD (ไทย 355                      ิ
                                                              มีประสทธิภาพ และโปร่งใสขึน รวมถึงเมียนมาร์อยูระหว่าง
                                                                                           ้                     ่
  พันล ้าน USD)                                               ปรับปรุงกฎหมายต่างๆ เชน   ่
• GDP Per Capita เท่ากับ 3,590 USD (ไทย 5,598 USD)            • กฎหมายการลงทุนจากต่างชาติ: ร่างกฎหมายผ่านการ
•                                                                เห็นชอบของรัฐสภาแล ้ว
2                                                             • กฎหมายเขตเศรษฐกิจพิเศษ (SEZ law) อยูระหว่าง  ่
                                                                            ึ่
                                                                 ปรับปรุง ซง SEZ law และ Dawei SEZ law คาดว่าจะมีการ
ล ักษณะของเศรษฐกิจเมียนมาร์
                                                                 แก ้ไขสารัตถะกว่าร ้อยละ 80
• พึงพาสาขาพลังงานและเกษตรอย่างมาก โดยพลังงานเป็ น
     ่
                                                              • การพ ัฒนาภาคอุตสาหกรรม มีการจัดตังเขตอุตสาหกรรม
                                                                                                         ้
                       ่
  แหล่งรายได ้การสงออกหลัก
                                                                               ่                      ่    ิ
                                                                 ในรัฐกะเหรียงแล ้ว (มุขมนตรีรัฐกะเหรียงเชญชวนไทยไป
          ่
• รัฐบาลสงเสริมการเกษตร โดยเพิมเงินกู ้ให ้เกษตรกร ขยาย
                                    ่
                                                                 ลงทุน) และกําลังอยูระหว่างจัดตังเขตอุตสาหกรรมในรัฐมอญ
                                                                                      ่          ้
                 ่ ่ ิ
  ระยะเวลาเชาทีดนทํากิน และปรับปรุงผลผลิตทางการ
                                                                 และยะไข่
  เกษตร
• เงินทุนสํารองระหว่างประเทศยังอยูในเกณฑ์ด ี แต่การได ้
                                      ่
  ดุลการค ้าเริมมีแนวโน ้มลดลง เนืองจากพึงพาการนํ าเข ้า
               ่                  ่      ่
                   ิ
  พลังงานและสนค ้าทุนเพือสนับสนุนกิจการของต่างชาติ
                           ่                                   5
                                                                   การเงิน การธนาคาร
    3                                                              • ปฏิรปอัตราแลกเปลียนเป็ นระบบอัตราแลกเปลียน
                                                                          ู              ่
                                                                      ลอยตัวแบบจัดการ ตังแต่ 1 เมษายน 2555
                                                                                           ้
                                                                                                                 ่

    การลงทุน                                                       • จัดตังคณะทํางานพัฒนาตลาดทุน เพือจัดตังตลาด
                                                                            ้                           ่      ้
    • รัฐบาลเมียนมาร์สามารถเจรจาหยุดยิงกับ                            หลักทรัพย์ทยางกุ ้ง และมัณฑะเลย์
                                                                                    ี่ ่
      ชนกลุมน ้อยได ้หลายกลุม และเป็ นไปอย่าง
              ่              ่                                     • อนุญาตให ้ธนาคารต่างชาติเปิ ดสํานักงานผู ้แทนใน
      ต่อเนือง
            ่                                                         เมียนมาร์ได ้
                ่
    • รัฐบาลสงเสริมการเปิ ดจุดผ่านแดน หรือ ยกระดับ
      จุดผ่านแดนกับประเทศเพือนบ ้าน
                               ่

                                                             ‐ 11 ‐
                                                     www.nesdb.go.th                                                   11
การคาดการณ์เศรษฐกิจเมียนมาร์
                   ่                                 ่       ี ั    ี่
   เศรษฐกิจในชวง 2-3 ปี แรกขยายต ัวอย่างต่อเนือง แต่มปจจ ัยเสยงต่อเสถียรภาพในระยะยาวเรืองภาวะเงินเฟอ ่          ้
   และความยากจน เศรษฐกิจเมียนมาร์ทคาดว่าจะเติบโตประมาณ 5%-5.3% ในระหว่างปี 2555-2557 และขยายตัวอย่าง
                                          ี่
                                                                                                            ่
   รวดเร็วเพิมเป็ น 6.4% ต่อปี ระหว่างปี 2559-2560 เนื่องมาจากการยกเลิกมาตรการควํ่าบาตร และการขยายตัวในชวงสองปี
               ่
   แรกนี้เ ป็ นผลมาจากการลงทุน ทางด ้านพลัง งานและโครงสร ้างพื้น ฐานทางเศรษฐกิจ โดยได ้รั บ เงิน ลงทุน จากประเทศจีน
   เกาหลี และไทย

ปั ญหาที่ต้องแก้ ไขเพื่อการเติบโต       1    ภาวะเงินเฟอ ทีคาดว่าจะปรับตัวสูงขึนเป็ น 6.1%
                                                       ้   ่                   ้

     ทางเศรษฐกิจที่ย่ ังยืน             2    การแข็งค่าของเงินจต หลังจากการเปลียนระบบอัตราแลกเปลียนแบบคง
                                                               ๊ั              ่                 ่
                                             ทีมาเป็ นแบบลอยตัว เงินจั๊ตของพม่าได ้อ่อนตัวลงอย่างมาก แต่มแนวโน ้มจะ
                                               ่                                                         ี
                                             แข็งขึนอย่างต่อเนือง โดยเป็ นผลมาจากการไหลเข ้าของเงินทุนต่างประเทศ
                                                   ้           ่

                                        3    การค้าระหว่างประเทศ คาดการณ์วาปริมาณการค ้าระหว่างประเทศของพม่า
                                                                          ่
                                             ระหว่างปี 2557-2559 จะมีอตราการเติบโตถึงปี ละ 15% เนืองจากการผ่อน
                                                                      ั                           ่
                                             คลายและการยกเลิกการควําบาตรในอนาคต แต่ต ้องสร ้างความสมดุลการค ้า
                                                                   ่
                                             เนืองจากมีแนวโน ้มจะขาดดุลการค ้า
                                                ่


                                        4    นโยบายการเงินและการคล ัง รัฐบาลจะประสบปั ญหาขาดดุลการคลัง
                                                                                        ้
                                             ระหว่างปี 2555-2559 โดยจําเป็ นต ้องลดค่าใชจ่ายทางทหาร และการพิมพิ์
                                             ธนบัตรเพิมของรัฐทําให ้เงินเฟ้ อเพิมขึน ในขณะทีรัฐยังไม่สามารถแก ้ปั ญหา
                                                      ่                         ่ ้         ่
                                             ปริมาณเงินทีมมากเกินในระบบเศรษฐกิจ เมียนมาร์จงต ้องรับภาระหนีใน
                                                         ่ ี                              ึ               ้
                                             ประเทศสูงมากขึน
                                                           ้

                                                    www.nesdb.go.th                                                   12
การท่องเทียวของเมียนมาร์
                                   ่

             ั
            ศกยภาพ



                                                              ่
                                            นโยบายการพัฒนาและสงเสริมการท่องเทียว
                                                                              ่

                                           มีนโยบายที่       มีการพัฒนาภาค        สนับสนุนให ้
                                           สนับสนุนการการ      ่
                                                             สวนทีเกียวข ้อง
                                                                  ่ ่             ประชาชนและ
                                           ไหลเข ้าของ       กับการท่องเทียว
                                                                           ่      ธุรกิจท ้องถิน มี
                                                                                               ่
                                           เงินทุน           อย่างต่อเนือง
                                                                        ่           ่
“All That Glitters          ่
                     ในชวงต ้นปี                                                  สวนร่วมและ
                                           ต่างประเทศ
is Not Gold, But     2012 ปริมาณ                                                  รับผิดชอบในการ
Myanmar Is.”         นักท่องเทียว
                                ่                                                 พัฒนาการ
                     เพิมขึน 36.5%
                          ่ ้                                                     ท่องเทียว
                                                                                         ่
                     เมือเทียบกับปี ท ี่
                        ่                   มีการผ่อนปรน     สาธารณูปโภค
                              ่             และลด            สนามบิน โรงแรม
                     แล ้วในชวง
                                            กระบวนการทาง        ั
                                                             ศกยภาพ
ในปี 2012 พม่าอยู่   เดียวกัน               กฎหมายต่างๆ      บุคลากร รวมทัง  ้    ฝึ กฝนและอบรม
ในอันดับที่ 3 ของ                           เพือพัฒนา
                                               ่             ยังคํานึงถึงความ     ทักษะให ้ประชาชน
ประเทศที่                                    ั
                                            ศกยภาพในการ      ปลอดภัยของ           โดยเน ้นไปทีการ่
นักท่องเทียวอยาก
           ่                                ท่องเทียวของ
                                                   ่         นั กท่องเทียวเป็ น
                                                                        ่         บริการและสร ้าง
มาเทียวทีสด โดย
     ่    ่ ุ                               ประเทศพม่า       หลักด ้วย            สาธารณูปโภคใน
แหล่งข่าว CNN                                                                     พืนทีการท่องเทียว
                                                                                     ้ ่            ่
                                                                                  ทียังไม่ได ้รับการ
                                                                                      ่
                                                                                  พัฒนา
                                           www.nesdb.go.th                                              13
ี
                          เมียนมาร์ก ับอาเซยน

                                                      ั
                                                     ศกยภาพของเมียนมาร์
          ื่
    ความเชอมโยงกับ AEC
                                        • ด ้านจุดทีตงทีสําคัญต่อการเชอมโยงกับ
                                                     ่ ั้ ่           ื่
• เมียนมาร์ตงกรอบเวลาด ้านการ
             ั้                                 ี
                                          อาเซยน อินเดีย และจีน
  พัฒนาเศรษฐกิจหลายด ้านให ้            • มีทรัพยากรธรรมชาติทอดมสมบูรณ์ แรงงาน
                                                                 ่ี ุ
  สามารถบรรลุผลได ้ภายในปี                                ั
                                          เข ้มข ้น จึงมีศกยภาพในการเติบโตทาง
  2558 สะท ้อนถึงการเร่งสร ้าง            เศรษฐกิจสูง
  คะแนนนิยมก่อนการเลือกตัง     ้        • หากสามารถพัฒนาระบบเศรษฐกิจให ้ทันสมัย
  ทั่วไป และการเตรียมพร ้อม               และสอดคล ้องกับอาเซยนได ้ี
  ประเทศให ้เข ้าสู่ AEC ในปี
  2558
                         ี
• การเป็ นประธานอาเซยนในปี
  2557 มีความสําคัญต่อเมียน
  มาร์ เป็ นผลงานของรัฐบาลก่อน
  การเลือกตังทั่วไปในปี ถดไป
                ้          ั
                       ั
  และเป็ นการพิสจน์ศกยภาพ
                  ู
  ของเมียนมาร์ในการมีบทบาท
  นํ าในประชาคมระดับภูมภาค   ิ




                                   www.nesdb.go.th                                14
เมียนมาร์ก ับอนุภมภาคลุมแม่นําโขง
                  ู ิ   ่     ้
                     ้
• เมียนมาร์มแนวเสนทางการคมนาคมลําดับ
              ี
  ความสําคัญสูงทีแผนงาน GMS ได ้กําหนด
                   ่
                             ้
  ร่วมกันไว ้ พาดผ่าน 4 แนวเสนทาง จาก
                ้
  ทังหมด 9 เสนทาง ได ้แก่
     ้
      - Western Corridor
      - Northern Corridor
      - East West Corridor
      - Southern Corridor
                           ึ
• ADB ได ้ทําการประเมินและศกษาแนวเสนทาง   ้
                      ้      ่ ี ั
  ดังกล่าวและระบุวาเสนทางทีมศกยภาพในการ
                  ่
  เป็ น New Trade Route ของอนุภมภาค คือ
                                      ู ิ
      ้
  เสนทาง Southern Corridor เชอมโยง ื่
  ทวาย-กทม.-พนมเปญ-โฮจิมนห์   ิ
• ADB ได ้กําหนดโครงการลําดับความสําคัญสูง
                     ่
  ที่ ADB จะให ้ความชวยเหลือได ้แก่ การพัฒนา
      ้
  เสนทางเมียวดี-กอกะเรก และการพัฒนา
                                   ึ่
  บริเวณชายแดนไทย-เมียนมาร์ ซงสอดคล ้อง
  กับความต ้องการของไทย โดย สพพ. และ
                                 ่
  ADB จะได ้ประสานการให ้ความชวยเหลือ
  เมียนมาร์ตอไป
             ่

                                       www.nesdb.go.th   15
ั
                           เมียนมาร์ก ับความสมพ ันธ์ระหว่างประเทศ
                                                                                       Muse-Ruili
                                                                                   Cross-border Trade
อินเดีย
- มีค ้าขายชายแดนผ่านด่านชายแดน 3 แห่งใน Manipur,
  Mizoram และ Nagaland                                                                                  จีน
         ั        ั
- กระชบความสมพันธ์กบพม่าภายใต ้กรอบBIMSTEC
                         ั                                                                                                                   ่
                                                                                                        - ลงทุนในพม่ากว่า 12,000 USD สวนใหญ่เป็ นโครงสร ้างพืนฐาน
                                                                                                                                                                ้
- ผลักดันให ้ใช ้ Sittwe port เป็ น India’s N-E gateway                                                   ด ้านการขนสง   ่
                                                                                                                             ่
                                                                                                        - กําลังก่อสร ้างท่อสงนํ้ ามันจากอ่าวเบงกอล ผ่านท่าเรือ
                                                                                                          Kyaukpyu ไปยัง Kunming ระยะทาง 2,000 กม. มูลค่า
                                                                                                                                                     ้
                                                                                                          โครงการ 15,000 ล ้าน USD (จีนออกค่าใชจ่ายทังหมด)
                                                                                                                                                         ้
                                   Kyaukpyu                                                                                                            ่
                                                                                                        - มีแผนก่อสร ้างรถไฟความเร็วสูงตามแนวท่อสงนํ้ ามัน Kyaukpyu
                                                                                                          - Kunming
                                     SEZ                                                                - เป็ นผู ้ลงทุนรายใหญ่ในสาขาพลังงานและก๊าซธรรมชาติ และ
                                                                                                          SEZ 2 ใน 3 แห่ง ได ้แก่ Kyaukpyu และ Thilawa
                                                                                                        - Muse-Ruili มีปริมาณการค ้าชายแดน เพิมขึนอย่างมาก (10
                                                                                                                                                   ่ ้
                                                                                                          ล ้านคนและรถ 2.2 ล ้านคน ในปี 2011)
เกาหลีใต้
- ตังแต่ 1990-ปั จจุบัน มี FDI ในพม่าเพิมขึนถึง 10
     ้                                              ่ ้           Thilawa
  เท่ า ส่ว นใหญ่ ล งทุ น ในอุ ต ฯ ขุด เจาะนํ้ า มั น และก๊ า ซ
         ึ                              ึ่
  การศกษา เทคโนโลยี และการค ้า ซงขยายตัวสูงขึนทุกปี     ้          SEZ
- ปั จจุบนเกาหลีใต ้เป็ นตลาดการค ้าอันดับ 7 ของพม่า
           ั
- ต ้นปี 2554 เริมหารือการจัดตังตลาดหลักทรัพย์พม่า
                 ่               ้
                                                                                                                            ไทย
                                                                                                                            - เป็ นคู่ ค า หลั ก อั น ดั บ 1-2 ของพม่ า และ
                                                                                                                                         ้
                                                                                                         Dawei                             ั
                                                                                                                              มีความสมพันธ์อนดีมาโดยตลอด
                                                                                                                                                   ั
ญีปน
   ่ ุ่
              ั
- ยุตความสมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับพม่าทังหมด หลังการ
          ิ                               ้                                                               SEZ               - โอกาสในการร่ วมลงทุ นพั ฒนาพื้ น ที่
                                                                                                                              เศรษฐกิจทวาย
  ควําบาตรในปี 2007 คาดว่าจะยกเลิกภายในปี 2011
        ่
- เมื่ อ ธ.ค. 2011 รั ฐ มนตรี ต่ า งประเทศญี่ ปุ่ น Koichiro          ิ
                                                                    สงคโปร์
  Genba เยือนพม่าและเข ้าพบประธานาธิบดี Thein Sein                                 ิ
                                                                    - ในปี 2009 สงคโปร์ลงทุนในพม่าสูงเป็ นอันดับ 3 รอง
  เพื่ อ เจรจาข อ ตกลงทางการค า การลงทุ น ระหว่ า ง 2
                ้                   ้                                                  ่
                                                                      จากจีนและไทย สวนใหญ่เป็ นการลงทุนโครงสร ้าง
  ประเทศ ในรอบ 10 ปี                                                  พืนฐาน โรงแรม การต่อเรือ และสาขาบริการ
                                                                        ้
                                                                                             ิ
                                                                    - เดือนม.ค. 2012 รัฐบาลสงคโปร์และรัฐบาลพม่าได ้ลง
                                                                      นาม MOU การสนับสนุนการทางวิชาการของสงคโปร์ิ
      พืนที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ (Special Economic Zone: SEZ)
        ้
                                                                  16         www.nesdb.go.th
                                                                      ในด ้านการพัฒนาเมือง การท่องเทียว และการธนาคาร
                                                                                                     ่                                                             16
Agenda


  1        ั
      ความสมพ ันธ์ระหว่างไทยและเมียนมาร์

      การเปลียนแปลงทางเศรษฐกิจและการเมืองของ
             ่
  2   เมียนมาร์

  3   ผลต่อประเทศไทย และการพ ัฒนาท่าเรือนําลึก
                                          ้
      และนิคมอุตสาหกรรมทวาย




                          www.nesdb.go.th        17
แนวนโยบายของไทยต่อเมียนมาร์

                                                                      3
                         2                  ั
                              ไทยมีความสมพ ันธ์อ ันดีก ับเมียนมาร์        สน ับสนุนให้เอกชนของไทย เข้าไป
                              ในกรอบ GMS และย ังเปนประเทศ
                                                    ็                     ดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและลงทุน
                              เดียวทีมนโยบายสน ับสนุนการมีสวน
                                      ่ ี                     ่           ในเมียนมาร์ โดยภาคร ัฐเปนผูอํานวย
                                                                                                     ็   ้
1                             ร่วมของเมียนมาร์นกรอบ GMS มา
                                          ้
                              ตลอด บนพืนฐานที่ GMS เปนกรอบ็
                                                                                                       ั
                                                                          ความสะดวกและร ักษาความสมพ ันธ์ใน
                                                                          ระด ับทวิภาคีอ ันดีไว้ โดยสาขาทีม ี
                                                                                                           ่     4
                              ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ และเมียน             ศ ักยภาพ ได้แก่ พล ังงาน ท่องเทียว ่
    ความสมพ ันธ์ั
                                    ็                 ํ
                              มาร์เปนจุดยุทธศาสตร์สาค ัญในการ             การค้า โลจิสติกส ์ และเกษตร
    ทวิภาคีไทย-เมียน             ื่                     ี                                                      ภาคตะว ันตกของไทย
                              เชอมโยง GMS และเอเชยใต้
    มาร์ ไทยเปนคูคา
                  ็     ่ ้                                                                                    จะมีบทบาทเปน    ็
    และน ักลงทุนราย                                                                                            ฐานเศรษฐกิจใหม่ และ
    ใหญ่ของเมียนมาร์                                                                                           เปนประตูการค้า
                                                                                                                 ็
    มายาวนาน และให้                                                                                            (Gateway) ทีสําค ัญ
                                                                                                                                 ่
            ่
    ความชวยเหลือ                                                                                               ของไทยเชอมสู่ื่
    เมียนมาร์ในด้าน                                                                                            นานาชาติ ด้วยการ
    การเงินและ                                                                                                     ื่
                                                                                                               เชอมโยงก ับการ
    วิชาการอย่าง                                                                                               พ ัฒนาท่าเรือนําลึก ้
    ต่อเนือง แต่เปน
          ่           ็                                                                                               ้ ่ ิ
                                                                                                               และพืนทีนคม
              ่
    ความชวยเหลือบน                                                                                             อุตสาหกรรมเมือง
                                                                                                               ทวายของเมียนมาร์
      ้
    พืนฐานของ
    ประโยชน์รวมก ัน ่




                                                             www.nesdb.go.th                                                     18
ประโยชน์ทไทยจะได้ร ับ
                                    ี่
                          ั
เสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสงคมและการเติบโตท่าง
                        ่
เศรษฐกิจของเมียนมาร์ จะชวยให ้ :
 รัฐบาลไทยสามารถดําเนินงานความร่วมมือกับเมียน             Energy
                           ึ่
  มาร์ได ้อย่างเต็มรูปแบบ ซงเมียนมาร์เปนแหล่ง
                                       ็
  พล ังงาน ว ัตถุดบเกษตร และแรงงานสน ับสนุน
                    ิ                                      Security
  ประเทศไทย
        ่                   ั       ่
 ลดชองว่างทางเศรษฐกิจและสงคม อันจะสงผล
  ให ้บรรเทาปัญหาข้ามพรมแดน                                Food
 ลดแนวโน้มทีจะเกิดความไม่สงบทางการเมือง
              ่
  และความไม่สงบตามแนวชายแดน                               Security
              ื้          ึ่     ่    ิ
 เพิมกําลังซอของประชาชน ซงไทยจะสงออกสนค้า
     ่
  ได้มากขึน ้
 รูปแบบการลงทุนของภาคเอกชนไทยใน
                                 ้
  เมียนมาร์จะหลากหลายมากขึน เนืองจากมี
                                     ่                    Human
  ทุนจากต่างชาติเข ้ามาร่วม เพิมโอกาสการลงทุนใน
                               ่                          Security
  โครงการขนาดใหญ่
 เพิมโอกาสในการบริหารจ ัดการแรงงานอย่าง
      ่
  เป็ นระบบ
                                    ่
 ภาคีการพ ัฒนาต่างๆจะเข้ามาชวยพ ัฒนาเมียน
  มาร์ ทําให ้มีความพร ้อมสําหรับรองรับกิจกรรมทาง
                     ื่
  เศรษฐกิจ รวมถึงเชอมโยงกับไทย

                                        www.nesdb.go.th               19
ประเด็นท้าทาย

                                                  ั
                  ภาคเอกชนไทยต้องเร่งเสริมสร้างศกยภาพในการดําเนินธุรกิจ
                  เพือให้สามารถแข่งข ันได้ ในบริบททีการยกเลิกมาตรการควําบาตร
                     ่                              ่                  ่
                  จากนานาประเทศจะทําให้ประเทศตะว ันตกสามารถเข้ามาลงทุนใน
           1      เมียนมาร์ได้


           ภาคเอกชนไทยควรคํานึงถึงประโยชน์ของภาคประชาชนเมียนมาร์เปน   ็
           สําค ัญ และพยายามสร้างความเข้าใจให้ประชาชน โดยเฉพาะคนรุนใหม่
                                                                    ่
      2    ของเมียนมาร์ให้เข้าใจถึงกระบวนการทีโปร่งใสและประโยชน์ทประชาชน
                                              ่                  ี่
           จะได้ร ับ


                                     ่              ้ ่
                  ภาคเอกชนไทยควรมีสวนร ับผิดชอบในพืนทีลงทุนด้วยการดําเนิน
            3     กิจกรรม Corporate Social Responsibility ทีเหมาะสมควบคูไป
                  ด้วย
                                                            ่           ่




                ็                                              ั้   ิ
           จําเปนต้องมีการพ ัฒนาและยกระด ับแรงงานชาวเมียนมาร์ ทงในเชง
       4   ปริมาณและคุณภาพให้สามารถรองร ับการพ ัฒนาและขยายฐานการ
           ผลิตจากไทยในอนาคตได้



                             www.nesdb.go.th                                 20
โครงการท่าเรือนําลึกและนิคมอุตสาหกรรมทวาย
                                    ้
เรืองเดิม
   ่
• 19 พ.ค. 51 ลงนามในบันทึกความเข ้าใจว่าด ้วยการสร ้างท่าเรือ
  นํ้ าลึกทวาย ระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาลเมียนมาร์ (G-G)
                                                                                                                    Dawei Factsheet
• 29        มิ.ย. 53 ครม. มีมติรับทราบผลการประชุมคณะกรรมการ
  กบส. ครั ง ที่ 1/2553 โดยเห็ น ชอบแนวทางที่จ ะสนั บ สนุ น การ
               ้                                                                               • ตงอยูในเขตตะนาวศรี
                                                                                                   ั้  ่
  พัฒนาท่าเรือนํ้ าลึกทวายของเมียนมาร์ ต่อมาว ันที่ 22 ก.พ. 54                                   ห่างจากชายแดนไทย – เมียนมาร์ 160 กม.
                                                                                   ทีตง
                                                                                     ่ ั้
  มีม ติรั บ ทราบผลการประชุม คณะกรรมการ กบส. ครั ง ที่ 1/2554
                                                     ้                                           ห่างจาก จ.กาญจนบุรี 230 กม. ห่างจาก
  โดยเห็ น ชอบแนวทางการดํ า เนิน งานของไทยในการเตรีย มการ                                        กทม. 317 กม. และ 427 กม. จาก ESB
                      ้      ื่
  พัฒนาโครงสร ้างพืนฐานเชอมโยงกับโครงการทวายฯ                                                  • 204 ตร.กม.ประมาณ 127,500 ไร่ (มากกว่า
• 30 พ.ย. 53 ครม. มีม ติรั บ ทราบผลการประชุม ผู ้นํ าประเทศลุ่ม                      ้
                                                                               ขนาดพืนที่        10 เท่าของพืนทีนคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดของ
                                                                                                             ้ ่ ิ
  แม่ น้ํ าโขง-ญี่ ปุ่ น ครั ้ง ที่ 2 โดยเห็ น ชอบแผนปฏิบั ต ิก ารด า น้                         กนอ.)
  เศรษฐกิจและอุตสาหกรรม (MJ-CI Action Plan) ซงได ้บรรจุ      ึ่                                                        ้
                                                                                               • วงเงินลงทุนโครงสร้างพืนฐานรวม 15 ปี ใน
  ข ้อเสนอการดํ า เนิน งานเพื่อ ส่ง เสริม การพั ฒ นาท่า เรือ นํ้ า ลึก ฝั่ ง                     เบื้องต้น ประมาณ 270,000 ลบ. (รวมค่า
  ตะวั น ตกของอนุ ภู ม ภ าคลุ่ม แม่นํ้ า โขง ได ้แก่ การพั ฒ นาท่า เรือ
                          ิ                                                     การลงทุน         Relocation) โดยมีการลงทุนถนน ท่าเรือนํา้
                                       ้
  ทวายในเมียนมาร์ และการใชประโยชน์ท่าเรือระนองในประเทศ                                           ลึก และโรงไฟฟาระยะที่ 1 ประมาณ 120,000
                                                                                                                ้
                                                                                                                    ้
                                                                                                 ลบ. และโครงสร้างพืนฐานและสาธารณู ปโภค
  ไทย                                                                                            นิคมอุตสาหกรรม ประมาณ 81,000 ลบ.
• 19 – 20 ธ.ค. 54 ผลการหารือกับประธานาธิบดีเมียนมาร์ในการ                        ั
                                                                                สมปทาน                       ั
                                                                                               • 60 ปี + ต่อสญญาได้สงสุด 75 ปี
                                                                                                                    ู
  ประชุมสุดยอดผู ้นํ า 6 ประเทศลุมแม่นํ้าโขง (GMS Summit) ครัง
                                  ่                           ้
  ที่ 4 ณ กรุงเนปิ ดอว์ สหภาพเมียนมาร์ นรม. ของไทยยืนยันทีจะ่                                  •            ิ
                                                                                                   รองร ับสนค้าได้ 200 ล้านต ันต่อปี หรือ 14 ล้าน
  ร่วมผลักดันโครงการพัฒนาท่าเรือและนิคมอุตสาหกรรมทวายให ้                                          TEU ในปี 2580 เทียบกับขีดความสามารถของ
  สําเร็จเป็ นรูปธรรม โดยวันที่ 10 ม.ค. 55 ครม. มีมติเห็นชอบผล                                                                ึ่
                                                                                                   ท่าเรือแหลมฉบัง เฟส 2 ซงรองรับได ้ 7.7 ล ้าน TEU
  การประชุม GMS Summit ดังกล่าว                                                  ขีดความ
                                                                                                   ต่อปี (ไม่รวมท่าเทียบเรือ D1, D2, D3)
                                                                                 สามารถ
• 21 เม.ย. 55 นายกรัฐมนตรีของไทยได ้ร่วมการประชุมผู ้นํ าลุมนํ้ า
                                                           ่                                   •   รองร ับเรือขนาด 100,000 DWT เทียบกับท่าเรือ
                                                                               ท่าเรือนําลึก
                                                                                        ้                       ึ่
                                                                                                   แหลมฉบังซงรองรับเรือได ้เพียง 80,000 DWT
  โขงกับญีปน ครังที่ 4 โดยเสนอการสนั บสนุนการพัฒนาโครงการ
            ่ ุ่ ้
                                                                                  ทวาย             ความลึกหน้าท่า 25-40 เมตร ในขณะทีทาเรือ่ ่
        ้            ้ ่                      ิ
  ตามเสนทางแนวพืนทีเศรษฐกิจทางใต ้ ด ้วยการเชญชวนให ้ญีปน    ่ ุ่                              •
                                                                                                   แหลมฉบังมีความลึกเพียง 14-16 เมตร
                   ่
  สนั บสนุ นและมีสวนร่วมในโครงการพัฒนาท่าเรือนํ้ าลึกและนิคม
  อุตสาหกรรมทวายในเมียนมาร์
                                                             www.nesdb.go.th                                                                 21
ํ      ิ
ความสาค ัญเชงยุทธศาสตร์ระด ับภูมภาค
                                ิ                                                            ต ัวข ับเคลือนเศรษฐกิจแห่ง
                                                                                                         ่
                                                                                                     ใหม่ของภูมภาค
                                                                                                               ิ
                                                                                        เปนโครงการขนาดใหญ่ทมลําด ับความสําค ัญสูง
                                                                                           ็                     ่ี ี
                                                                                                               ่
                                                                                         ระด ับระหว่างประเทศ เชน Master Plan on
                                                                                         ASEAN Connectivity, GMS และ Mekong-
       Dawei
                                                                                         Japan
                      132 km
                                                                                              ั
                                                                                        มีศกยภาพในการเปิ ดประตูการค้าฝั่งตะว ันตกของ
                         300 km
                                                                                            ิ       ่           ื่
                                                                                         ภูมภาค เพือสร้างความเชอมโยงทางเศรษฐกิจและ
                                                                                                                           ี
                                                                                         การค้าระหว่างประเทศในภูมภาคอาเซยนก ับตลาด
                                                                                                                   ิ
                                                                                                      ่   ี
                                                                                         ตะว ันตก เชน เอเชยใต้ แอฟริกา และยุโรป
                                                                                        นิคมอุตสาหกรรมทวายถือเปนเปนหนึงในเขต
                                                                                                                ็      ็ ่
                                                                                                     ่ ี          ี่ ุ     ิ  ี
                                                                                         อุตสาหกรรมทีมขนาดใหญ่ทสดในภูมภาคอาเซยน
                                                                                        โครงการทวายสน ับสนุนการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ
                                                                                                                       ่
                                                                                                  ื่                     ่
                                                                                         ด้วยการเชอมต่อก ับโครงข่ายการขนสงภายใน
                                                                                             ี                               ี
                                                                                         เอเชย และเปนแหล่งพล ังงานใหม่ของอาเซยน
                                                                                                     ็

                                                                                                ้                ์ ้
                                                                                             “เสนทางล ัดโลจิสติกส”เสน
                                                                                                  ใหม่ของภูมภาค
                                                                                                             ิ
                                                                                                 ่                     ่ ิ
                                                                                        การเปลียน Landscape การขนสงสนค้าของภูมภาค
                                                                                                                                 ิ
                                                                                                   ้             ่ ิ       ้       ี
                                                                                         โดยสร้างเสนทางการขนสงสนค้าเสนใหม่ไปเอเชยใต้
                                                                                                                         ่
                                                                                         ตะว ันออกกลาง ยุโรป ไม่ตองผ่านชองแคบมะละกา
                                                                                                                  ้
                                                                                                  ่
                                                                                        การขนสงระหว่าง กทม. ก ับเมืองเชนไน เดิมต้องผ่าน
                                                                                         สงคโปร์ใชเวลาทงสน 6 ว ัน หากมีทาเรือทวายจะใช ้
                                                                                           ิ         ้    ั้ ิ้          ่
                                                                                         เวลาลดลงเหลือ 3 ว น และการขนส ่ง ระหว่า ง กทม.
                                                                                                                ั
   Source: * DHL Interview in The Nation March 5, 2012, **UNESCAP report
                                                                                                       ้
                                                                                         ก ับยุโรป จะใชเวลาลดลงประมาณ 7 ว ัน

                                                                           www.nesdb.go.th                                           22
ื่
                 โอกาสทางเศรษฐกิจของไทยจากการเชอมโยงก ับทวาย
  1       ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ                            2   โอกาสการขยายอุตสาหกรรม                       3            ้ ่
                                                                                                                 พ ัฒนาพืนทีเศรษฐกิจตามแนว
                                                                                                                 ชายแดนฝั่งตะว ันตกและตลอด
                                                               ต้นนํา
                                                                    ้
                                                                                                                 ระเบียงเศรษฐกิจ

             ึ
   ผลการศกษาของ ERIA ระบุ                                  โ ค ร ง ก า ร ท ว า ย จ ะ ส น บ ส นุ น ก า ร
                                                                                          ั                 ข ย า ย ค ว า ม เ จ ริ ญ ด้ า น
   ว่า โครงการทวายนอกจากจะ                                 เ ช ื่ อ ม โ ย ง โ ซ่ อุ ป ท า น ใ น ส า ข า     โ ค ร ง ส ร้ า ง พื้ น ฐ า น ก า ร
                                                           อุ ต สาหกรรมของภู ม ภ าค สอดร บ
                                                                                        ิ               ั
                                                                                                            พ ัฒนาอุตสาหกรรม การค้า
   เป นประโยชน์ก บ เมีย นมาร์
       ็                   ั                                                                                ก า ร ล ง ทุ น ต ล อ ด เ ส ้ น ท า ง
                                                           ก บ ความจํ า เป นในการหาฐานการ
                                                              ั               ็
   แ ล้ ว ไ ท ย ก็ มี โ อ ก า ส ไ ด้ ร บั                                                                   เศรษฐกิจ รวมท ง เพิม การั้   ่
                                                           ผ ลิ ต อุ ต ส า ห ก ร ร ม ห น ก แ ล ะ ก า ร
                                                                                            ั               จ้า งงาน จากกิจ กรรมทีใ ช ้     ่
   ประโยชน์ในอ ันด ับแรกๆ จาก
                                                                       ้ ่ ุ
                                                           ขยายพืนทีอตสาหกรรมของไทยใน                       ว ต ถุ ด ิบ จากประเทศเพื่อ น
                                                                                                              ั
   การเช ื่ อ มโยงก บ โครงการั
                                                           อนาคต โดยเฉพาะการเป นแหล่ ง        ็             บ้ า น ใ น พื้ น ที่ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
   ทวาย โดยจะเพิม GDP ของ่                                 ผลิตเหล็ กต้นนํ าทีประเทศไทยต้อง
                                                                                ้ ่                         ชายแดนของไทย และเป น              ็
   ไทยถึง 1.9%                   และเปน
                                      ็                    นํ า เข้า ประมาณ 10 ล้า นต น ต่ อ ปี  ั          เ ค รื่ อ ง มื อ ใ น ก า ร ส ร้ า ง
   โ อ ก า ส เ ป ลี่ ย น จ า ก ร ะ บ บ                                                                      ความมนคงระด ับพืนที่ โดยมี
                                                                                                                      ่ั               ้
                                                           ก๊า ซธรรมชาติ 320                    พ น ล้า น
                                                                                                   ั
                                                                                                            กาญจนบุรเปนแกนหล ัก
                                                                                                                           ี ็
   เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ที่ เ น้ น แ ร ง ง า น                   ลู ก บาศก์ฟุ ต ต่อ ปี รวมถึง นํ า ม น ดิบ
                                                                                                ้ ั
     ่
   สูระบบเศรษฐกิจทีเน้นมูลค่า  ่                           300 ล้านบาร์เรลต่อปี


ERIA : Economic Research Institute for Asean & East Asia

  4       ทางเลือกประตูการค้ าและ                          โครงการทวาย จะสน ับสนุน
          สนับสนุนบทบาทผู้ให้ บริการ                       บทบาทการเปนศูนย์กลาง
                                                                       ็
                                                                             ์
                                                           ให้บริการโลจิสติกสของไทย และเปน
                                                                                         ็
          โลจิสติกส์ ไทยในภูมภาค
                             ิ                                                                   ์
                                                           โอกาสให้ภาคเอกชนไทยขยายบริการโลจิสติกสในภูมภาค
                                                                                                      ิ
                                                                      www.nesdb.go.th                                                      23
Burma   Thai relations
Burma   Thai relations

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...Dr.Choen Krainara
 
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...Klangpanya
 
Plan dev12 2
Plan  dev12 2Plan  dev12 2
Plan dev12 2Nus Venus
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3suchinmam
 
บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)Love Plukkie Zaa
 
eTAT journal 3/2555
eTAT journal 3/2555eTAT journal 3/2555
eTAT journal 3/2555Zabitan
 
How can Thai Family Business survive?
How can Thai Family Business survive?How can Thai Family Business survive?
How can Thai Family Business survive?DrDanai Thienphut
 
เศรษฐศาสตร์บทที่ 3
เศรษฐศาสตร์บทที่ 3เศรษฐศาสตร์บทที่ 3
เศรษฐศาสตร์บทที่ 3songyangwtps
 
เศรษฐศาสตร์บทที่ 2
เศรษฐศาสตร์บทที่ 2เศรษฐศาสตร์บทที่ 2
เศรษฐศาสตร์บทที่ 2songyangwtps
 
Time management(thai)
Time management(thai)Time management(thai)
Time management(thai)Paul Robere
 
การพัฒนาและการบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนในต่างประเทศ
การพัฒนาและการบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนในต่างประเทศการพัฒนาและการบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนในต่างประเทศ
การพัฒนาและการบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนในต่างประเทศDr.Choen Krainara
 
ICT2020 Presentation For NITC
ICT2020 Presentation For  NITCICT2020 Presentation For  NITC
ICT2020 Presentation For NITCICT2020
 
ประวัติการทำงาน อ.พันธุ์ิทิตต์
ประวัติการทำงาน อ.พันธุ์ิทิตต์ประวัติการทำงาน อ.พันธุ์ิทิตต์
ประวัติการทำงาน อ.พันธุ์ิทิตต์Pantit Sirapobthada
 
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmarคู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmarวิระศักดิ์ บัวคำ
 

Was ist angesagt? (17)

การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...
 
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
 
Plan dev12 2
Plan  dev12 2Plan  dev12 2
Plan dev12 2
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
 
หัวข้อ 08
หัวข้อ 08หัวข้อ 08
หัวข้อ 08
 
บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)
 
eTAT journal 3/2555
eTAT journal 3/2555eTAT journal 3/2555
eTAT journal 3/2555
 
How can Thai Family Business survive?
How can Thai Family Business survive?How can Thai Family Business survive?
How can Thai Family Business survive?
 
เศรษฐศาสตร์บทที่ 3
เศรษฐศาสตร์บทที่ 3เศรษฐศาสตร์บทที่ 3
เศรษฐศาสตร์บทที่ 3
 
เศรษฐศาสตร์บทที่ 2
เศรษฐศาสตร์บทที่ 2เศรษฐศาสตร์บทที่ 2
เศรษฐศาสตร์บทที่ 2
 
Present 26 01-2556
Present 26 01-2556Present 26 01-2556
Present 26 01-2556
 
Time management(thai)
Time management(thai)Time management(thai)
Time management(thai)
 
การพัฒนาและการบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนในต่างประเทศ
การพัฒนาและการบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนในต่างประเทศการพัฒนาและการบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนในต่างประเทศ
การพัฒนาและการบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนในต่างประเทศ
 
ICT2020 Presentation For NITC
ICT2020 Presentation For  NITCICT2020 Presentation For  NITC
ICT2020 Presentation For NITC
 
ประวัติการทำงาน อ.พันธุ์ิทิตต์
ประวัติการทำงาน อ.พันธุ์ิทิตต์ประวัติการทำงาน อ.พันธุ์ิทิตต์
ประวัติการทำงาน อ.พันธุ์ิทิตต์
 
Ppt 271005 mahidol miraclegrand
Ppt 271005 mahidol miraclegrandPpt 271005 mahidol miraclegrand
Ppt 271005 mahidol miraclegrand
 
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmarคู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
 

Ähnlich wie Burma Thai relations

คู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่าคู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่าSompop Petkleang
 
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยงกับประเทศเมี...
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยงกับประเทศเมี...การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยงกับประเทศเมี...
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยงกับประเทศเมี...Dr.Choen Krainara
 
ความก้าวหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยง...
ความก้าวหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยง...ความก้าวหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยง...
ความก้าวหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยง...Dr.Choen Krainara
 
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29Kamolkan Thippaboon
 
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v12013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1Nopporn Thepsithar
 

Ähnlich wie Burma Thai relations (9)

คู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่าคู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
 
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยงกับประเทศเมี...
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยงกับประเทศเมี...การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยงกับประเทศเมี...
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยงกับประเทศเมี...
 
ความก้าวหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยง...
ความก้าวหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยง...ความก้าวหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยง...
ความก้าวหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยง...
 
ASEAN marketing
ASEAN marketingASEAN marketing
ASEAN marketing
 
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
 
Ptt energy choices
Ptt energy choicesPtt energy choices
Ptt energy choices
 
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v12013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
 
Ptt energy choices
Ptt energy choicesPtt energy choices
Ptt energy choices
 
Ptt energy choices
Ptt energy choicesPtt energy choices
Ptt energy choices
 

Mehr von FishFly

ข้อเท็จจริงการเสียชีวิตและความรุนแรง พฤษภา 53
ข้อเท็จจริงการเสียชีวิตและความรุนแรง พฤษภา 53ข้อเท็จจริงการเสียชีวิตและความรุนแรง พฤษภา 53
ข้อเท็จจริงการเสียชีวิตและความรุนแรง พฤษภา 53FishFly
 
รายงานฉบับสมบูรณ์ คอป กรกฏาคม 2553 กรกฏาคม 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ คอป กรกฏาคม 2553  กรกฏาคม 2554รายงานฉบับสมบูรณ์ คอป กรกฏาคม 2553  กรกฏาคม 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ คอป กรกฏาคม 2553 กรกฏาคม 2554FishFly
 
ศูนย์วิจัย ม.กรุงเทพ โพลสำรวจประเมินผลงานรัฐบาลยิ่งลักษณ์
ศูนย์วิจัย ม.กรุงเทพ โพลสำรวจประเมินผลงานรัฐบาลยิ่งลักษณ์ศูนย์วิจัย ม.กรุงเทพ โพลสำรวจประเมินผลงานรัฐบาลยิ่งลักษณ์
ศูนย์วิจัย ม.กรุงเทพ โพลสำรวจประเมินผลงานรัฐบาลยิ่งลักษณ์FishFly
 
คู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
คู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีคู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
คู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีFishFly
 
Siu new enviroment of economy and business (1)
Siu new  enviroment  of  economy   and business (1)Siu new  enviroment  of  economy   and business (1)
Siu new enviroment of economy and business (1)FishFly
 
Trade and development report 2011
Trade and development report 2011Trade and development report 2011
Trade and development report 2011FishFly
 
Howard Schultz
Howard SchultzHoward Schultz
Howard SchultzFishFly
 
System theory
System theorySystem theory
System theoryFishFly
 

Mehr von FishFly (8)

ข้อเท็จจริงการเสียชีวิตและความรุนแรง พฤษภา 53
ข้อเท็จจริงการเสียชีวิตและความรุนแรง พฤษภา 53ข้อเท็จจริงการเสียชีวิตและความรุนแรง พฤษภา 53
ข้อเท็จจริงการเสียชีวิตและความรุนแรง พฤษภา 53
 
รายงานฉบับสมบูรณ์ คอป กรกฏาคม 2553 กรกฏาคม 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ คอป กรกฏาคม 2553  กรกฏาคม 2554รายงานฉบับสมบูรณ์ คอป กรกฏาคม 2553  กรกฏาคม 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ คอป กรกฏาคม 2553 กรกฏาคม 2554
 
ศูนย์วิจัย ม.กรุงเทพ โพลสำรวจประเมินผลงานรัฐบาลยิ่งลักษณ์
ศูนย์วิจัย ม.กรุงเทพ โพลสำรวจประเมินผลงานรัฐบาลยิ่งลักษณ์ศูนย์วิจัย ม.กรุงเทพ โพลสำรวจประเมินผลงานรัฐบาลยิ่งลักษณ์
ศูนย์วิจัย ม.กรุงเทพ โพลสำรวจประเมินผลงานรัฐบาลยิ่งลักษณ์
 
คู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
คู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีคู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
คู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
 
Siu new enviroment of economy and business (1)
Siu new  enviroment  of  economy   and business (1)Siu new  enviroment  of  economy   and business (1)
Siu new enviroment of economy and business (1)
 
Trade and development report 2011
Trade and development report 2011Trade and development report 2011
Trade and development report 2011
 
Howard Schultz
Howard SchultzHoward Schultz
Howard Schultz
 
System theory
System theorySystem theory
System theory
 

Burma Thai relations

  • 1. ประเทศไทยจะได้ อะไร จากการเปลี่ยนแปลง ด้ านเศรษฐกิจในเมียนมาร์ นายไพโรจน์ โพธิ ว งศ์ ที่ ป รึ ก ษาด้ า นนโยบายและแผนงาน สํา นั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ งชาติ วันศุกร์ ท่ ี 6 กรกฎาคม 2555 เวลา 09.30-10.30น. ณ ห้ อง Sapphire Suite ชัน 7 โรงแรมโนโวเทล กรุ งเทพ แพลตทิน่ ัม ้ www.nesdb.go.th 1
  • 2. Agenda 1 ั ความสมพ ันธ์ระหว่างไทยและเมียนมาร์ 2 การเปลียนแปลงทางเศรษฐกิจและการเมืองของ ่ เมียนมาร์ 3 ผลต่อประเทศไทย และการพ ัฒนาท่าเรือนําลึกและ ้ นิคมอุตสาหกรรมทวาย www.nesdb.go.th 2
  • 3. ความร่วมมือด้านการค้าไทย-เมียนมาร์ สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศและ การค้าชายแดนไทย – เมียนมาร์ การอํานวยความสะดวกทางการค้า  ในปี 2554 ไทยเป็ นคูค ้าอันดับ 2 ของ ่  เมือวันที่ 11 มิ.ย. 2554 กระทรวงพาณิชย์ ่ เมียนมาร์ (หลังจากทีไทยเคยครอง ่ เมียนมาร์ออกใบอนุญาตให ้สามารถนํ าเข ้า อันดับ 1 จนกระทั่ง ปี 2553 ปั จจุบนั ิ สนค ้าทีรัฐบาลเมียนมาร์ออกประกาศ ่ อันดับ 1 คือ จีน) ิ มาตรการห ้ามนํ าเข ้าสนค ้า 15 รายการ  การค ้าไทย - เมียนมาร์ปี 2554 มีมลค่าู ึ่ ั ตังแต่ปี 2541 ซงไทยมีศกยภาพในสนค ้า ้ ิ 185,602 ล ้านบาท (เพิมขึนกว่าร ้อยละ ่ ้ ผลิตภัณฑ์พลาสติก นํ้ าหวาน เครืองดืม ่ ่ 19) อาหารกระป๋ อง ผงชูรส และผลไม ้  การค ้าชายแดนมีมลค่า 157,590 ล ้าน ู  ผู ้ประกอบการไทยต ้องดําเนินธุรกิจผ่าน บาท คิดเป็ นร ้อยละ 85 ของมูลค่าการค ้า ตัวแทนของเมียนมาร์ และต ้องขอ รวมทังหมด ้ ใบอนุญาตนํ าเข ้าก่อนจะสามารถนํ าเข ้า  ไทยขาดดุลการค ้าเนืองจากนํ าเข ้าก๊าซ ่ ิ สนค ้า 15 รายการดังกล่าวได ้ ธรรมชาติจากเมียนมาร์สงถึงกว่าร ้อยละ ู 96 ของการนํ าเข ้าทางชายแดนทังหมด้ www.nesdb.go.th 3
  • 4. การลงทุนของไทยในเมียนมาร์  มูลค่าการลงทุนสะสมของไทย ตังแต่ปี 2531 รวมมูลค่า 9,568 ล ้าน USD เป็ นอันดับสองรองจากจีนและฮองกง ้ ่ สาขาการลงทุนสําคัญ ได ้แก่ พลังงานฟ้ า การผลิต ประมง ปศุสตว์ โดยผู ้ลงทุนรายใหญ่ ได ้แก่ ปตท.สผ. กฟผ. ั ี ิ อิตาเลียนไทย ซพี ปูนซเมนต์ไทย เป็ นต ้น  สาขาพลังงาน • ก๊าซธรรมชาติ โดย ปตท.สผ. ร่วมลงทุนผลิตและสํารวจแหล่งก๊าซธรรมชาติในเมียนมาร์ ในโครงการยาดานา โครงการเยตากุนและโครงการซอติก ้าในอ่าวเมาะตะมะ • ่ ่ ั ่ ึ เขือนไฟฟ้ าพลังนํ้ า ได ้แก่ เขือนฮจจี (อยูระหว่างพิจารณาผลการรับฟั งความคิดเห็นและร่างขอบเขตการศกษา ผลกระทบต่อประชาชนในพืนทีฝ่ั งไทยของ กฟผ.) เขือนมายต่อง (คาดว่าจะแล ้วเสร็จและเสนอกรมไฟฟ้ าพลัง ้ ่ ่ ิ้ นํ้ าเมียนมาร์ในสนเดือน ก.ค. 2555) เขือนตะนาวศรีบนลุมแม่นํ้าตะนาวศรี อยูในขันตอนการออกแบบ โดยคาด ่ ่ ่ ้ ่ ึ ว่าจะแล ้วเสร็จในปี 2555 ก่อนทีจะศกษาความคุ ้มค่าในการลงทุนและเริมก่อสร ้างเขือนต่อไป ่ ่  การลงทุนด ้านอาหาร อาทิ กลุมบริษัทในเครือเจริญโภคภัณฑ์โดยบริษัท Myanmar C.P. Livestock ลงทุนด ้าน ่ ั ั ั อาหารสตว์ การเพาะเลียงสตว์นํ้า และการเพาะเลียงสตว์บก (หมูและไก่) บริษัท Ayeyawaddy Foods ลงทุนใน ้ ้ ผลิตภัณฑ์มาม่า และบริษัท CPT Bakery  ่ ่ ้ ความตกลงเพือการสงเสริมและคุ ้มครองการลงทุนระหว่างไทย – พม่า มีผลใชบังคับแล ้วตังแต่วันที่ 8 มิ.ย. 2555 ้ www.nesdb.go.th 4
  • 5. โครงการความร่วมมือระหว่างไทย-เมียนมาร์ ฝั่ งตะวันตกของ EWEC ในเมียนมาร์ D  การปรับปรุงและก่อสร ้างถนนเมียวดี-กอกะเรก C ่  การซอมแซมสะพานข ้ามแม่นํ้าเมย แห่งที่ 1  การเตรียมการก่อสร ้างสะพานข ้ามแม่นํ้าเมย B F แห่งที่ 2 A E G ้ ื่ การพัฒนาเสนทางเชอมโยง เมียนมาร์ ขอ สพพ.ให ้ จัดทํา FS การพัฒนา ถนนสามฝ่ ายไทย-เมียนมาร์- ่ อินเดีย ชวงเมืองมอญยอ-ยาจี-กาเลวะ (Monywa - Yagyi – Kalewa) 24 กม. (15 ไมล์) ิ จัดทํา FS การพัฒนา ถนนจากด่านสงขร-เมืองมอ ต่อง-เมืองตะนาวศรี-เมืองมะริด 180 กม. ด่านพรมแดน  จุดผ่านแดนถาวร 3 แห่ง ได ้แก่ แม่สอด แม่สาย และระนอง และมีจดผ่อนปรนการค ้า ุ  อยูระหว่างหารือเพือยกระดับจุดผ่านแดน ่ ่ ระหว่างกัน Cross Border Transport Facilitation ี ่ ิ  ยังไม่มการแลกเปลียนสทธิจราจรระหว่างกัน ั  CBTA (ไทยให ้สตยาบัน ภาคผนวกและพิธสาร ี การพัฒนาท่าเรือนํ้ าลึกและนิคมอุตสาหกรรมทวาย ั 14 ฉบับ เมียนมาร์ให ้สตยาบัน ภาคผนวกและพิธ ี สาร 15 ฉบับ) ้ ื่  ท่าเรือ ถนน และเสนทางรถไฟเชอมโยงทวาย- ทางรถไฟ ชายแดนไทย  กาญจนบุร ี – ทวาย  นิคมอุตสาหกรรม  ด่านเจดีย ์ 3 องค์ - ธันบูซายัต  ไฟฟ้ า ท่อนํ้ ามัน www.nesdb.go.th 5
  • 6. การเปิ ดจุดผ่านแดนเพิมเติม ่ จุดผ่อนปรน จุดผ่อนปรนการค้า ่ั ชวคราวพระ ตะโกบน เจดียสามองค์ ์ ภาคเอกชนเสนอขอ ยกระดับ แต่เมียนมาร์ยัง ไม่พร ้อมเนืองจากมีปัญหา ่ ความไม่สงบ และเมียน มาร์ปิดด่าน คณะอนุกรรมการ พิจารณาการเปิ ดจุด ผ่านแดน ครังที่้ 4/2554 (28 ธ.ค.) มี มติไม่อนุญาตให ้ ่ ชองทางบ้านพุนําร้อน ้ ยกระดับเนืองจาก (1) ่ ปั ญหาความไม่สงบ ด่ า น บ้ า น พุ นํ ้ า ร้ อ น อ . เ มื อ ง จ . เรียบร ้อยบริเวณ กาญจนบุร ี ไทยและเมียนมาร์ร่วมจั ดทํ า ชายแดน และ (2) Joint Detail Survey แล ้วเสร็ จและ ั ความไม่ชดเจนเรือง่ กระทรวง มหาดไทยได ้เปิ ดชองทางเป็ น ่ เส ้นเขตแดน จุ ด ผ่ า น แ ด น ช่ั ว ค ร า ว แ ล ว เ มื่ อ เ ดื อ น ้ ึ่ ่ มิถนายน ซงจะนํ าไปสูการยกระดับเป็ นจุด ุ ผ่านแดนถาวรต่อไป จุดผ่อนปรน ิ การค้าสงขร ่ ชองทางอืนๆ ่ อยูระหว่างเตรียมความ ่ พร ้อมในฝั่ งเมียนมาร์ และ ทีประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาการเปิ ดจุดผ่านแดน ครังที่ ่ ้ เตรียมจัดทํา Joint Detail 1/2555 โดย สมช. มีมติให ้กระทรวงฯ ประสานฝ่ ายเมียนมาร์ Survey เกียวกับการเปิ ดจุดผ่านแดนบ ้านห ้วยต ้นนุ่นและด่านกิวผาวอก ่ ่ ี ี อ.เชยงดาว จ.เชยงใหม่ www.nesdb.go.th 6
  • 7. โครงการความร่วมมือระหว่างไทย-เมียนมาร์ Border Economic Zone  เมียวดี-แม่สอด  กาญจนบุร-ทวาย ี ิ่ เกษตรและสงแวดล ้อม  การดําเนินงาน Contract Farming ในกรอบ ่ ั Tourism ACMECS เชน ข ้าวโพดเลียงสตว์ และถั่วเหลือง ้ ั  “Golden Civilization Program”  การพัฒนาปศุสตว์ บริเวณพืนทีชายแดน ้ ่ ่ ่ เพือสงเสริมการตลาด 2 ประเทศ 1 จุดหมายปลายทาง HRD ่  การให ้ความชวยเหลือพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ภายใต ้กรอบของ สพร.  ความร่วมมือในการสอนภาษาไทย ในมหาวิทยาลัยย่างกุ ้ง  การปรับปรุงโรงพยาบาลท่าขีเหล็ก ้ ั การพัฒนาด ้านสงคม  การจดทะเบียนแรงงาน นํ าร่องทีจังหวัดระนอง ่ พลังงาน  ความร่วมมือเพือการป้ องกันการค ้ามนุษย์ ่ ่ ื้  การลงนามบันทึกความเข ้าใจเพือการซอขาย  การพัฒนาทางเลือก และการป้ องกันยาเสพติด ไฟฟ้ าร่วมกัน (ลงนามเมือปี 2540 และ 2548) ่  การพัฒนาสถานีไฟฟ้ าพลังนํ้ าเพือขายไฟให ้ ่ ่ ั ไทย เชน ฮจจี และทวาย www.nesdb.go.th 7
  • 8. Agenda 1 ั ความสมพ ันธ์ระหว่างไทยและเมียนมาร์ การเปลียนแปลงทางเศรษฐกิจและการเมืองของ ่ 2 เมียนมาร์ 3 ผลต่อประเทศไทย และการพ ัฒนาท่าเรือนําลึกและ ้ นิคมอุตสาหกรรมทวาย www.nesdb.go.th 8
  • 9. พ ัฒนาการทางการเมืองในเมียนมาร์ ความก้าวหน้าล่าสุด  เมียนมาร์มพ ัฒนาการทางการเมืองอย่างต่อเนือง โดยได ้ ี ่ จัดตังรัฐบาลทีมประธานาธิบดีเป็ นประมุขและหัวหน ้ารัฐบาล เมือ ้ ่ ี ่ การผ่อนคลายมาตรการควําบาตร ่ 30 มีนาคม 2554 หลังจากได ้จัดการเลือกตังทั่วไปเมือ 7 ้ ่ เมียนมาร์ พฤศจิกายน 2553 โดยพรรค Union Solidarity and ี Development Party: USDP ของรัฐบาลเดิมได ้เสยงข ้างมาก  EU ผ่อนคลายการควําบาตร 1 ปี และ ่ ื คืนสทธิพเศษ GSP ให ้เมียนมาร์ ิ ้ ่ ึ่  ภายหลังการเลือกตังซอมเมือปลายเดือนเมษายน 2555 ซง ่  การยกเลิกการควําบาตรขึนอยูกบ ่ ้ ่ ั พัฒนาการประชาธิปไตยในเมียนมาร์ พรรค NLD ได ้ทีนั่งจํานวนมาก การเมืองในเมียนมาร์ม ี ่ และการปรองดองกับชนกลุมน ้อย ่ ่ ี ้ึ แนวโน้มทีดขนจากการทํางานร่วมก ันระหว่าง ่ ประธานาธิบดีเต็งเสง จากพรรค USDP และนางออง ซานซูจ ี ผู ้นํ าพรรคฝ่ ายค ้าน  พรรค USDP ตอบสนองต่อความต ้องการการปฏิรประบบ ู พัฒนาการทางการเมืองนํ าไปสู่ ่ั การเมืองของประชาชน โดยประกาศนโยบายกําจัดการคอรัปชน โอกาสเติบโตทางเศรษฐกิจ ่ ิ สงเสริมการกระจายอํานาจในการตัดสนใจ และมีการปรับเปลียน ่ รองประธานาธิบดีคนใหม่ รวมถึงการให ้นางอองซานซูจเดินทาง ี  เงินลงทุนจากต่างประเทศ ไปเยือนนานาประเทศ ื  การพัฒนาฐานการผลิตเชอมโยง ภูมภาค ด ้วยการสนับสนุนด ้านเงินทุน ิ เทคโนโลยี และการพัฒนาบุคลากร จากประเทศตะวันตก ‐9‐ www.nesdb.go.th 9
  • 10. สถานการณ์เศรษฐกิจของเมียนมาร์ Economic Intelligence Unit, EIU-UK คาดการณ์ภาวะเศรษฐกิจของสหภาพพม่า จะเติบโตเฉลียร้อยละ 4.8 ต่อปี ่ ่ ในชวงปี 2012-13 และจะเพิมขึนอย่างรวดเร็วเป็ นร ้อยละ 6.5 ต่อปี ในปี 2014-2016 โดยมีสาเหตุสําคัญจากเงินลงทุนจาก ่ ้ ต่างประเทศทีเพิมขึนเนืองจากทิศทางการผ่อนคลายมาตรการควําบาตรในปี 2013 ่ ่ ้ ่ ่ อัตราการเติบโดทางเศรษฐกิจของสหภาพพม่า ปี 2007-2013 • นโยบายเศรษฐกิจ รัฐบาลพม่าเน ้นการลงทุนจากต่างประเทศ • ระบบแลกเปลียนเงินตราระหว่างประเทศ มีความก ้าวหน ้าในการ ่ ่ ปฏิรปจากการให ้ความชวยเหลือของ IMF แต่ยังไม่สามารถปรับได ้ ู อย่างเต็มระบบก่อน ปี 2016 ั • ความสมพ ันธ์ระหว่างระหว่างประเทศ ปั จจุบันรัฐบาลพม่ามุงหวัง ่ ่ ่ ่ ทีจะพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างพม่ากับประเทศทีให ้การชวยเหลือ ึ่ ทางการเงินซงต ้องการแรงขับเคลือนอย่างมาก ่ ปริมาณการค ้ากับประเทศคูค ้าสําคัญ ปี 2010 ่ ่ • การค้าระหว่างประเทศ ในชวงปี 2000-2010 ประเทศคูค ้าที่ ่ สํ า คั ญ ของสหภาพพม่า ได ้แก่ จีน ไทย อิน เดีย และส ง คโปร์ ิ ่ โดยปี 2010 การสงออก มีไทยเป็ นคูค ้าอันดับ 1 (ร ้อยละ 40.3) ่ รองลงมาได ้แก่ อินเดีย (ร ้อยละ 15.8) และจีน (ร ้อยละ 13.6) ในขณะที่ มีสัด ส่ว นการนํ า เข ้าจากจีน เป็ นอั น ดั บ แรก (ร ้อยละ ิ 38.9) รองลงมา ได ้แก่ ไทย (ร ้อยละ 23.2) และสงคโปร์ (ร ้อย ึ่ ่ ละ 13) ซงสวนใหญ่อยูในรูปแบบการค ้าผ่านชายแดน ่ Myanmar’s Major Export Partners Myanmar’s Major Import Partners ทีมา Economist Intelligence Unit, Country Report of Myanmar 2012 ่ www.nesdb.go.th 10
  • 11. ภาพรวมด้านเศรษฐกิจ 1 4 เศรษฐกิจมหภาค การลงทุน • ประชากร 58.38 ล ้านคน พืนที่ 676,563 ตร.กม. (1.3 เท่า ้ ั Myanmar Investment Commission ได ้พัฒนาศกยภาพในการ ของไทย) อนุมัตการลงทุนจากต่างประเทศและนักลงทุนต่างชาติให ้รวดเร็ว ิ • GDP ในปี 2554 เท่ากับ 497 พันล ้าน USD (ไทย 355 ิ มีประสทธิภาพ และโปร่งใสขึน รวมถึงเมียนมาร์อยูระหว่าง ้ ่ พันล ้าน USD) ปรับปรุงกฎหมายต่างๆ เชน ่ • GDP Per Capita เท่ากับ 3,590 USD (ไทย 5,598 USD) • กฎหมายการลงทุนจากต่างชาติ: ร่างกฎหมายผ่านการ • เห็นชอบของรัฐสภาแล ้ว 2 • กฎหมายเขตเศรษฐกิจพิเศษ (SEZ law) อยูระหว่าง ่ ึ่ ปรับปรุง ซง SEZ law และ Dawei SEZ law คาดว่าจะมีการ ล ักษณะของเศรษฐกิจเมียนมาร์ แก ้ไขสารัตถะกว่าร ้อยละ 80 • พึงพาสาขาพลังงานและเกษตรอย่างมาก โดยพลังงานเป็ น ่ • การพ ัฒนาภาคอุตสาหกรรม มีการจัดตังเขตอุตสาหกรรม ้ ่ แหล่งรายได ้การสงออกหลัก ่ ่ ิ ในรัฐกะเหรียงแล ้ว (มุขมนตรีรัฐกะเหรียงเชญชวนไทยไป ่ • รัฐบาลสงเสริมการเกษตร โดยเพิมเงินกู ้ให ้เกษตรกร ขยาย ่ ลงทุน) และกําลังอยูระหว่างจัดตังเขตอุตสาหกรรมในรัฐมอญ ่ ้ ่ ่ ิ ระยะเวลาเชาทีดนทํากิน และปรับปรุงผลผลิตทางการ และยะไข่ เกษตร • เงินทุนสํารองระหว่างประเทศยังอยูในเกณฑ์ด ี แต่การได ้ ่ ดุลการค ้าเริมมีแนวโน ้มลดลง เนืองจากพึงพาการนํ าเข ้า ่ ่ ่ ิ พลังงานและสนค ้าทุนเพือสนับสนุนกิจการของต่างชาติ ่ 5 การเงิน การธนาคาร 3 • ปฏิรปอัตราแลกเปลียนเป็ นระบบอัตราแลกเปลียน ู ่ ลอยตัวแบบจัดการ ตังแต่ 1 เมษายน 2555 ้ ่ การลงทุน • จัดตังคณะทํางานพัฒนาตลาดทุน เพือจัดตังตลาด ้ ่ ้ • รัฐบาลเมียนมาร์สามารถเจรจาหยุดยิงกับ หลักทรัพย์ทยางกุ ้ง และมัณฑะเลย์ ี่ ่ ชนกลุมน ้อยได ้หลายกลุม และเป็ นไปอย่าง ่ ่ • อนุญาตให ้ธนาคารต่างชาติเปิ ดสํานักงานผู ้แทนใน ต่อเนือง ่ เมียนมาร์ได ้ ่ • รัฐบาลสงเสริมการเปิ ดจุดผ่านแดน หรือ ยกระดับ จุดผ่านแดนกับประเทศเพือนบ ้าน ่ ‐ 11 ‐ www.nesdb.go.th 11
  • 12. การคาดการณ์เศรษฐกิจเมียนมาร์ ่ ่ ี ั ี่ เศรษฐกิจในชวง 2-3 ปี แรกขยายต ัวอย่างต่อเนือง แต่มปจจ ัยเสยงต่อเสถียรภาพในระยะยาวเรืองภาวะเงินเฟอ ่ ้ และความยากจน เศรษฐกิจเมียนมาร์ทคาดว่าจะเติบโตประมาณ 5%-5.3% ในระหว่างปี 2555-2557 และขยายตัวอย่าง ี่ ่ รวดเร็วเพิมเป็ น 6.4% ต่อปี ระหว่างปี 2559-2560 เนื่องมาจากการยกเลิกมาตรการควํ่าบาตร และการขยายตัวในชวงสองปี ่ แรกนี้เ ป็ นผลมาจากการลงทุน ทางด ้านพลัง งานและโครงสร ้างพื้น ฐานทางเศรษฐกิจ โดยได ้รั บ เงิน ลงทุน จากประเทศจีน เกาหลี และไทย ปั ญหาที่ต้องแก้ ไขเพื่อการเติบโต 1 ภาวะเงินเฟอ ทีคาดว่าจะปรับตัวสูงขึนเป็ น 6.1% ้ ่ ้ ทางเศรษฐกิจที่ย่ ังยืน 2 การแข็งค่าของเงินจต หลังจากการเปลียนระบบอัตราแลกเปลียนแบบคง ๊ั ่ ่ ทีมาเป็ นแบบลอยตัว เงินจั๊ตของพม่าได ้อ่อนตัวลงอย่างมาก แต่มแนวโน ้มจะ ่ ี แข็งขึนอย่างต่อเนือง โดยเป็ นผลมาจากการไหลเข ้าของเงินทุนต่างประเทศ ้ ่ 3 การค้าระหว่างประเทศ คาดการณ์วาปริมาณการค ้าระหว่างประเทศของพม่า ่ ระหว่างปี 2557-2559 จะมีอตราการเติบโตถึงปี ละ 15% เนืองจากการผ่อน ั ่ คลายและการยกเลิกการควําบาตรในอนาคต แต่ต ้องสร ้างความสมดุลการค ้า ่ เนืองจากมีแนวโน ้มจะขาดดุลการค ้า ่ 4 นโยบายการเงินและการคล ัง รัฐบาลจะประสบปั ญหาขาดดุลการคลัง ้ ระหว่างปี 2555-2559 โดยจําเป็ นต ้องลดค่าใชจ่ายทางทหาร และการพิมพิ์ ธนบัตรเพิมของรัฐทําให ้เงินเฟ้ อเพิมขึน ในขณะทีรัฐยังไม่สามารถแก ้ปั ญหา ่ ่ ้ ่ ปริมาณเงินทีมมากเกินในระบบเศรษฐกิจ เมียนมาร์จงต ้องรับภาระหนีใน ่ ี ึ ้ ประเทศสูงมากขึน ้ www.nesdb.go.th 12
  • 13. การท่องเทียวของเมียนมาร์ ่ ั ศกยภาพ ่ นโยบายการพัฒนาและสงเสริมการท่องเทียว ่ มีนโยบายที่ มีการพัฒนาภาค สนับสนุนให ้ สนับสนุนการการ ่ สวนทีเกียวข ้อง ่ ่ ประชาชนและ ไหลเข ้าของ กับการท่องเทียว ่ ธุรกิจท ้องถิน มี ่ เงินทุน อย่างต่อเนือง ่ ่ “All That Glitters ่ ในชวงต ้นปี สวนร่วมและ ต่างประเทศ is Not Gold, But 2012 ปริมาณ รับผิดชอบในการ Myanmar Is.” นักท่องเทียว ่ พัฒนาการ เพิมขึน 36.5% ่ ้ ท่องเทียว ่ เมือเทียบกับปี ท ี่ ่ มีการผ่อนปรน สาธารณูปโภค ่ และลด สนามบิน โรงแรม แล ้วในชวง กระบวนการทาง ั ศกยภาพ ในปี 2012 พม่าอยู่ เดียวกัน กฎหมายต่างๆ บุคลากร รวมทัง ้ ฝึ กฝนและอบรม ในอันดับที่ 3 ของ เพือพัฒนา ่ ยังคํานึงถึงความ ทักษะให ้ประชาชน ประเทศที่ ั ศกยภาพในการ ปลอดภัยของ โดยเน ้นไปทีการ่ นักท่องเทียวอยาก ่ ท่องเทียวของ ่ นั กท่องเทียวเป็ น ่ บริการและสร ้าง มาเทียวทีสด โดย ่ ่ ุ ประเทศพม่า หลักด ้วย สาธารณูปโภคใน แหล่งข่าว CNN พืนทีการท่องเทียว ้ ่ ่ ทียังไม่ได ้รับการ ่ พัฒนา www.nesdb.go.th 13
  • 14. เมียนมาร์ก ับอาเซยน ั ศกยภาพของเมียนมาร์ ื่ ความเชอมโยงกับ AEC • ด ้านจุดทีตงทีสําคัญต่อการเชอมโยงกับ ่ ั้ ่ ื่ • เมียนมาร์ตงกรอบเวลาด ้านการ ั้ ี อาเซยน อินเดีย และจีน พัฒนาเศรษฐกิจหลายด ้านให ้ • มีทรัพยากรธรรมชาติทอดมสมบูรณ์ แรงงาน ่ี ุ สามารถบรรลุผลได ้ภายในปี ั เข ้มข ้น จึงมีศกยภาพในการเติบโตทาง 2558 สะท ้อนถึงการเร่งสร ้าง เศรษฐกิจสูง คะแนนนิยมก่อนการเลือกตัง ้ • หากสามารถพัฒนาระบบเศรษฐกิจให ้ทันสมัย ทั่วไป และการเตรียมพร ้อม และสอดคล ้องกับอาเซยนได ้ี ประเทศให ้เข ้าสู่ AEC ในปี 2558 ี • การเป็ นประธานอาเซยนในปี 2557 มีความสําคัญต่อเมียน มาร์ เป็ นผลงานของรัฐบาลก่อน การเลือกตังทั่วไปในปี ถดไป ้ ั ั และเป็ นการพิสจน์ศกยภาพ ู ของเมียนมาร์ในการมีบทบาท นํ าในประชาคมระดับภูมภาค ิ www.nesdb.go.th 14
  • 15. เมียนมาร์ก ับอนุภมภาคลุมแม่นําโขง ู ิ ่ ้ ้ • เมียนมาร์มแนวเสนทางการคมนาคมลําดับ ี ความสําคัญสูงทีแผนงาน GMS ได ้กําหนด ่ ้ ร่วมกันไว ้ พาดผ่าน 4 แนวเสนทาง จาก ้ ทังหมด 9 เสนทาง ได ้แก่ ้ - Western Corridor - Northern Corridor - East West Corridor - Southern Corridor ึ • ADB ได ้ทําการประเมินและศกษาแนวเสนทาง ้ ้ ่ ี ั ดังกล่าวและระบุวาเสนทางทีมศกยภาพในการ ่ เป็ น New Trade Route ของอนุภมภาค คือ ู ิ ้ เสนทาง Southern Corridor เชอมโยง ื่ ทวาย-กทม.-พนมเปญ-โฮจิมนห์ ิ • ADB ได ้กําหนดโครงการลําดับความสําคัญสูง ่ ที่ ADB จะให ้ความชวยเหลือได ้แก่ การพัฒนา ้ เสนทางเมียวดี-กอกะเรก และการพัฒนา ึ่ บริเวณชายแดนไทย-เมียนมาร์ ซงสอดคล ้อง กับความต ้องการของไทย โดย สพพ. และ ่ ADB จะได ้ประสานการให ้ความชวยเหลือ เมียนมาร์ตอไป ่ www.nesdb.go.th 15
  • 16. เมียนมาร์ก ับความสมพ ันธ์ระหว่างประเทศ Muse-Ruili Cross-border Trade อินเดีย - มีค ้าขายชายแดนผ่านด่านชายแดน 3 แห่งใน Manipur, Mizoram และ Nagaland จีน ั ั - กระชบความสมพันธ์กบพม่าภายใต ้กรอบBIMSTEC ั ่ - ลงทุนในพม่ากว่า 12,000 USD สวนใหญ่เป็ นโครงสร ้างพืนฐาน ้ - ผลักดันให ้ใช ้ Sittwe port เป็ น India’s N-E gateway ด ้านการขนสง ่ ่ - กําลังก่อสร ้างท่อสงนํ้ ามันจากอ่าวเบงกอล ผ่านท่าเรือ Kyaukpyu ไปยัง Kunming ระยะทาง 2,000 กม. มูลค่า ้ โครงการ 15,000 ล ้าน USD (จีนออกค่าใชจ่ายทังหมด) ้ Kyaukpyu ่ - มีแผนก่อสร ้างรถไฟความเร็วสูงตามแนวท่อสงนํ้ ามัน Kyaukpyu - Kunming SEZ - เป็ นผู ้ลงทุนรายใหญ่ในสาขาพลังงานและก๊าซธรรมชาติ และ SEZ 2 ใน 3 แห่ง ได ้แก่ Kyaukpyu และ Thilawa - Muse-Ruili มีปริมาณการค ้าชายแดน เพิมขึนอย่างมาก (10 ่ ้ ล ้านคนและรถ 2.2 ล ้านคน ในปี 2011) เกาหลีใต้ - ตังแต่ 1990-ปั จจุบัน มี FDI ในพม่าเพิมขึนถึง 10 ้ ่ ้ Thilawa เท่ า ส่ว นใหญ่ ล งทุ น ในอุ ต ฯ ขุด เจาะนํ้ า มั น และก๊ า ซ ึ ึ่ การศกษา เทคโนโลยี และการค ้า ซงขยายตัวสูงขึนทุกปี ้ SEZ - ปั จจุบนเกาหลีใต ้เป็ นตลาดการค ้าอันดับ 7 ของพม่า ั - ต ้นปี 2554 เริมหารือการจัดตังตลาดหลักทรัพย์พม่า ่ ้ ไทย - เป็ นคู่ ค า หลั ก อั น ดั บ 1-2 ของพม่ า และ ้ Dawei ั มีความสมพันธ์อนดีมาโดยตลอด ั ญีปน ่ ุ่ ั - ยุตความสมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับพม่าทังหมด หลังการ ิ ้ SEZ - โอกาสในการร่ วมลงทุ นพั ฒนาพื้ น ที่ เศรษฐกิจทวาย ควําบาตรในปี 2007 คาดว่าจะยกเลิกภายในปี 2011 ่ - เมื่ อ ธ.ค. 2011 รั ฐ มนตรี ต่ า งประเทศญี่ ปุ่ น Koichiro ิ สงคโปร์ Genba เยือนพม่าและเข ้าพบประธานาธิบดี Thein Sein ิ - ในปี 2009 สงคโปร์ลงทุนในพม่าสูงเป็ นอันดับ 3 รอง เพื่ อ เจรจาข อ ตกลงทางการค า การลงทุ น ระหว่ า ง 2 ้ ้ ่ จากจีนและไทย สวนใหญ่เป็ นการลงทุนโครงสร ้าง ประเทศ ในรอบ 10 ปี พืนฐาน โรงแรม การต่อเรือ และสาขาบริการ ้ ิ - เดือนม.ค. 2012 รัฐบาลสงคโปร์และรัฐบาลพม่าได ้ลง นาม MOU การสนับสนุนการทางวิชาการของสงคโปร์ิ พืนที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ (Special Economic Zone: SEZ) ้ 16 www.nesdb.go.th ในด ้านการพัฒนาเมือง การท่องเทียว และการธนาคาร ่ 16
  • 17. Agenda 1 ั ความสมพ ันธ์ระหว่างไทยและเมียนมาร์ การเปลียนแปลงทางเศรษฐกิจและการเมืองของ ่ 2 เมียนมาร์ 3 ผลต่อประเทศไทย และการพ ัฒนาท่าเรือนําลึก ้ และนิคมอุตสาหกรรมทวาย www.nesdb.go.th 17
  • 18. แนวนโยบายของไทยต่อเมียนมาร์ 3 2 ั ไทยมีความสมพ ันธ์อ ันดีก ับเมียนมาร์ สน ับสนุนให้เอกชนของไทย เข้าไป ในกรอบ GMS และย ังเปนประเทศ ็ ดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและลงทุน เดียวทีมนโยบายสน ับสนุนการมีสวน ่ ี ่ ในเมียนมาร์ โดยภาคร ัฐเปนผูอํานวย ็ ้ 1 ร่วมของเมียนมาร์นกรอบ GMS มา ้ ตลอด บนพืนฐานที่ GMS เปนกรอบ็ ั ความสะดวกและร ักษาความสมพ ันธ์ใน ระด ับทวิภาคีอ ันดีไว้ โดยสาขาทีม ี ่ 4 ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ และเมียน ศ ักยภาพ ได้แก่ พล ังงาน ท่องเทียว ่ ความสมพ ันธ์ั ็ ํ มาร์เปนจุดยุทธศาสตร์สาค ัญในการ การค้า โลจิสติกส ์ และเกษตร ทวิภาคีไทย-เมียน ื่ ี ภาคตะว ันตกของไทย เชอมโยง GMS และเอเชยใต้ มาร์ ไทยเปนคูคา ็ ่ ้ จะมีบทบาทเปน ็ และน ักลงทุนราย ฐานเศรษฐกิจใหม่ และ ใหญ่ของเมียนมาร์ เปนประตูการค้า ็ มายาวนาน และให้ (Gateway) ทีสําค ัญ ่ ่ ความชวยเหลือ ของไทยเชอมสู่ื่ เมียนมาร์ในด้าน นานาชาติ ด้วยการ การเงินและ ื่ เชอมโยงก ับการ วิชาการอย่าง พ ัฒนาท่าเรือนําลึก ้ ต่อเนือง แต่เปน ่ ็ ้ ่ ิ และพืนทีนคม ่ ความชวยเหลือบน อุตสาหกรรมเมือง ทวายของเมียนมาร์ ้ พืนฐานของ ประโยชน์รวมก ัน ่ www.nesdb.go.th 18
  • 19. ประโยชน์ทไทยจะได้ร ับ ี่ ั เสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสงคมและการเติบโตท่าง ่ เศรษฐกิจของเมียนมาร์ จะชวยให ้ :  รัฐบาลไทยสามารถดําเนินงานความร่วมมือกับเมียน Energy ึ่ มาร์ได ้อย่างเต็มรูปแบบ ซงเมียนมาร์เปนแหล่ง ็ พล ังงาน ว ัตถุดบเกษตร และแรงงานสน ับสนุน ิ Security ประเทศไทย ่ ั ่  ลดชองว่างทางเศรษฐกิจและสงคม อันจะสงผล ให ้บรรเทาปัญหาข้ามพรมแดน Food  ลดแนวโน้มทีจะเกิดความไม่สงบทางการเมือง ่ และความไม่สงบตามแนวชายแดน Security ื้ ึ่ ่ ิ  เพิมกําลังซอของประชาชน ซงไทยจะสงออกสนค้า ่ ได้มากขึน ้  รูปแบบการลงทุนของภาคเอกชนไทยใน ้ เมียนมาร์จะหลากหลายมากขึน เนืองจากมี ่ Human ทุนจากต่างชาติเข ้ามาร่วม เพิมโอกาสการลงทุนใน ่ Security โครงการขนาดใหญ่  เพิมโอกาสในการบริหารจ ัดการแรงงานอย่าง ่ เป็ นระบบ ่  ภาคีการพ ัฒนาต่างๆจะเข้ามาชวยพ ัฒนาเมียน มาร์ ทําให ้มีความพร ้อมสําหรับรองรับกิจกรรมทาง ื่ เศรษฐกิจ รวมถึงเชอมโยงกับไทย www.nesdb.go.th 19
  • 20. ประเด็นท้าทาย ั ภาคเอกชนไทยต้องเร่งเสริมสร้างศกยภาพในการดําเนินธุรกิจ เพือให้สามารถแข่งข ันได้ ในบริบททีการยกเลิกมาตรการควําบาตร ่ ่ ่ จากนานาประเทศจะทําให้ประเทศตะว ันตกสามารถเข้ามาลงทุนใน 1 เมียนมาร์ได้ ภาคเอกชนไทยควรคํานึงถึงประโยชน์ของภาคประชาชนเมียนมาร์เปน ็ สําค ัญ และพยายามสร้างความเข้าใจให้ประชาชน โดยเฉพาะคนรุนใหม่ ่ 2 ของเมียนมาร์ให้เข้าใจถึงกระบวนการทีโปร่งใสและประโยชน์ทประชาชน ่ ี่ จะได้ร ับ ่ ้ ่ ภาคเอกชนไทยควรมีสวนร ับผิดชอบในพืนทีลงทุนด้วยการดําเนิน 3 กิจกรรม Corporate Social Responsibility ทีเหมาะสมควบคูไป ด้วย ่ ่ ็ ั้ ิ จําเปนต้องมีการพ ัฒนาและยกระด ับแรงงานชาวเมียนมาร์ ทงในเชง 4 ปริมาณและคุณภาพให้สามารถรองร ับการพ ัฒนาและขยายฐานการ ผลิตจากไทยในอนาคตได้ www.nesdb.go.th 20
  • 21. โครงการท่าเรือนําลึกและนิคมอุตสาหกรรมทวาย ้ เรืองเดิม ่ • 19 พ.ค. 51 ลงนามในบันทึกความเข ้าใจว่าด ้วยการสร ้างท่าเรือ นํ้ าลึกทวาย ระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาลเมียนมาร์ (G-G) Dawei Factsheet • 29 มิ.ย. 53 ครม. มีมติรับทราบผลการประชุมคณะกรรมการ กบส. ครั ง ที่ 1/2553 โดยเห็ น ชอบแนวทางที่จ ะสนั บ สนุ น การ ้ • ตงอยูในเขตตะนาวศรี ั้ ่ พัฒนาท่าเรือนํ้ าลึกทวายของเมียนมาร์ ต่อมาว ันที่ 22 ก.พ. 54 ห่างจากชายแดนไทย – เมียนมาร์ 160 กม. ทีตง ่ ั้ มีม ติรั บ ทราบผลการประชุม คณะกรรมการ กบส. ครั ง ที่ 1/2554 ้ ห่างจาก จ.กาญจนบุรี 230 กม. ห่างจาก โดยเห็ น ชอบแนวทางการดํ า เนิน งานของไทยในการเตรีย มการ กทม. 317 กม. และ 427 กม. จาก ESB ้ ื่ พัฒนาโครงสร ้างพืนฐานเชอมโยงกับโครงการทวายฯ • 204 ตร.กม.ประมาณ 127,500 ไร่ (มากกว่า • 30 พ.ย. 53 ครม. มีม ติรั บ ทราบผลการประชุม ผู ้นํ าประเทศลุ่ม ้ ขนาดพืนที่ 10 เท่าของพืนทีนคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดของ ้ ่ ิ แม่ น้ํ าโขง-ญี่ ปุ่ น ครั ้ง ที่ 2 โดยเห็ น ชอบแผนปฏิบั ต ิก ารด า น้ กนอ.) เศรษฐกิจและอุตสาหกรรม (MJ-CI Action Plan) ซงได ้บรรจุ ึ่ ้ • วงเงินลงทุนโครงสร้างพืนฐานรวม 15 ปี ใน ข ้อเสนอการดํ า เนิน งานเพื่อ ส่ง เสริม การพั ฒ นาท่า เรือ นํ้ า ลึก ฝั่ ง เบื้องต้น ประมาณ 270,000 ลบ. (รวมค่า ตะวั น ตกของอนุ ภู ม ภ าคลุ่ม แม่นํ้ า โขง ได ้แก่ การพั ฒ นาท่า เรือ ิ การลงทุน Relocation) โดยมีการลงทุนถนน ท่าเรือนํา้ ้ ทวายในเมียนมาร์ และการใชประโยชน์ท่าเรือระนองในประเทศ ลึก และโรงไฟฟาระยะที่ 1 ประมาณ 120,000 ้ ้ ลบ. และโครงสร้างพืนฐานและสาธารณู ปโภค ไทย นิคมอุตสาหกรรม ประมาณ 81,000 ลบ. • 19 – 20 ธ.ค. 54 ผลการหารือกับประธานาธิบดีเมียนมาร์ในการ ั สมปทาน ั • 60 ปี + ต่อสญญาได้สงสุด 75 ปี ู ประชุมสุดยอดผู ้นํ า 6 ประเทศลุมแม่นํ้าโขง (GMS Summit) ครัง ่ ้ ที่ 4 ณ กรุงเนปิ ดอว์ สหภาพเมียนมาร์ นรม. ของไทยยืนยันทีจะ่ • ิ รองร ับสนค้าได้ 200 ล้านต ันต่อปี หรือ 14 ล้าน ร่วมผลักดันโครงการพัฒนาท่าเรือและนิคมอุตสาหกรรมทวายให ้ TEU ในปี 2580 เทียบกับขีดความสามารถของ สําเร็จเป็ นรูปธรรม โดยวันที่ 10 ม.ค. 55 ครม. มีมติเห็นชอบผล ึ่ ท่าเรือแหลมฉบัง เฟส 2 ซงรองรับได ้ 7.7 ล ้าน TEU การประชุม GMS Summit ดังกล่าว ขีดความ ต่อปี (ไม่รวมท่าเทียบเรือ D1, D2, D3) สามารถ • 21 เม.ย. 55 นายกรัฐมนตรีของไทยได ้ร่วมการประชุมผู ้นํ าลุมนํ้ า ่ • รองร ับเรือขนาด 100,000 DWT เทียบกับท่าเรือ ท่าเรือนําลึก ้ ึ่ แหลมฉบังซงรองรับเรือได ้เพียง 80,000 DWT โขงกับญีปน ครังที่ 4 โดยเสนอการสนั บสนุนการพัฒนาโครงการ ่ ุ่ ้ ทวาย ความลึกหน้าท่า 25-40 เมตร ในขณะทีทาเรือ่ ่ ้ ้ ่ ิ ตามเสนทางแนวพืนทีเศรษฐกิจทางใต ้ ด ้วยการเชญชวนให ้ญีปน ่ ุ่ • แหลมฉบังมีความลึกเพียง 14-16 เมตร ่ สนั บสนุ นและมีสวนร่วมในโครงการพัฒนาท่าเรือนํ้ าลึกและนิคม อุตสาหกรรมทวายในเมียนมาร์ www.nesdb.go.th 21
  • 22. ิ ความสาค ัญเชงยุทธศาสตร์ระด ับภูมภาค ิ ต ัวข ับเคลือนเศรษฐกิจแห่ง ่ ใหม่ของภูมภาค ิ  เปนโครงการขนาดใหญ่ทมลําด ับความสําค ัญสูง ็ ่ี ี ่ ระด ับระหว่างประเทศ เชน Master Plan on ASEAN Connectivity, GMS และ Mekong- Dawei Japan 132 km ั  มีศกยภาพในการเปิ ดประตูการค้าฝั่งตะว ันตกของ 300 km ิ ่ ื่ ภูมภาค เพือสร้างความเชอมโยงทางเศรษฐกิจและ ี การค้าระหว่างประเทศในภูมภาคอาเซยนก ับตลาด ิ ่ ี ตะว ันตก เชน เอเชยใต้ แอฟริกา และยุโรป  นิคมอุตสาหกรรมทวายถือเปนเปนหนึงในเขต ็ ็ ่ ่ ี ี่ ุ ิ ี อุตสาหกรรมทีมขนาดใหญ่ทสดในภูมภาคอาเซยน  โครงการทวายสน ับสนุนการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ ่ ื่ ่ ด้วยการเชอมต่อก ับโครงข่ายการขนสงภายใน ี ี เอเชย และเปนแหล่งพล ังงานใหม่ของอาเซยน ็ ้ ์ ้ “เสนทางล ัดโลจิสติกส”เสน ใหม่ของภูมภาค ิ ่ ่ ิ  การเปลียน Landscape การขนสงสนค้าของภูมภาค ิ ้ ่ ิ ้ ี โดยสร้างเสนทางการขนสงสนค้าเสนใหม่ไปเอเชยใต้ ่ ตะว ันออกกลาง ยุโรป ไม่ตองผ่านชองแคบมะละกา ้ ่  การขนสงระหว่าง กทม. ก ับเมืองเชนไน เดิมต้องผ่าน สงคโปร์ใชเวลาทงสน 6 ว ัน หากมีทาเรือทวายจะใช ้ ิ ้ ั้ ิ้ ่ เวลาลดลงเหลือ 3 ว น และการขนส ่ง ระหว่า ง กทม. ั Source: * DHL Interview in The Nation March 5, 2012, **UNESCAP report ้ ก ับยุโรป จะใชเวลาลดลงประมาณ 7 ว ัน www.nesdb.go.th 22
  • 23. ื่ โอกาสทางเศรษฐกิจของไทยจากการเชอมโยงก ับทวาย 1 ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ 2 โอกาสการขยายอุตสาหกรรม 3 ้ ่ พ ัฒนาพืนทีเศรษฐกิจตามแนว ชายแดนฝั่งตะว ันตกและตลอด ต้นนํา ้ ระเบียงเศรษฐกิจ ึ ผลการศกษาของ ERIA ระบุ โ ค ร ง ก า ร ท ว า ย จ ะ ส น บ ส นุ น ก า ร ั ข ย า ย ค ว า ม เ จ ริ ญ ด้ า น ว่า โครงการทวายนอกจากจะ เ ช ื่ อ ม โ ย ง โ ซ่ อุ ป ท า น ใ น ส า ข า โ ค ร ง ส ร้ า ง พื้ น ฐ า น ก า ร อุ ต สาหกรรมของภู ม ภ าค สอดร บ ิ ั พ ัฒนาอุตสาหกรรม การค้า เป นประโยชน์ก บ เมีย นมาร์ ็ ั ก า ร ล ง ทุ น ต ล อ ด เ ส ้ น ท า ง ก บ ความจํ า เป นในการหาฐานการ ั ็ แ ล้ ว ไ ท ย ก็ มี โ อ ก า ส ไ ด้ ร บั เศรษฐกิจ รวมท ง เพิม การั้ ่ ผ ลิ ต อุ ต ส า ห ก ร ร ม ห น ก แ ล ะ ก า ร ั จ้า งงาน จากกิจ กรรมทีใ ช ้ ่ ประโยชน์ในอ ันด ับแรกๆ จาก ้ ่ ุ ขยายพืนทีอตสาหกรรมของไทยใน ว ต ถุ ด ิบ จากประเทศเพื่อ น ั การเช ื่ อ มโยงก บ โครงการั อนาคต โดยเฉพาะการเป นแหล่ ง ็ บ้ า น ใ น พื้ น ที่ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ทวาย โดยจะเพิม GDP ของ่ ผลิตเหล็ กต้นนํ าทีประเทศไทยต้อง ้ ่ ชายแดนของไทย และเป น ็ ไทยถึง 1.9% และเปน ็ นํ า เข้า ประมาณ 10 ล้า นต น ต่ อ ปี ั เ ค รื่ อ ง มื อ ใ น ก า ร ส ร้ า ง โ อ ก า ส เ ป ลี่ ย น จ า ก ร ะ บ บ ความมนคงระด ับพืนที่ โดยมี ่ั ้ ก๊า ซธรรมชาติ 320 พ น ล้า น ั กาญจนบุรเปนแกนหล ัก ี ็ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ที่ เ น้ น แ ร ง ง า น ลู ก บาศก์ฟุ ต ต่อ ปี รวมถึง นํ า ม น ดิบ ้ ั ่ สูระบบเศรษฐกิจทีเน้นมูลค่า ่ 300 ล้านบาร์เรลต่อปี ERIA : Economic Research Institute for Asean & East Asia 4 ทางเลือกประตูการค้ าและ โครงการทวาย จะสน ับสนุน สนับสนุนบทบาทผู้ให้ บริการ บทบาทการเปนศูนย์กลาง ็ ์ ให้บริการโลจิสติกสของไทย และเปน ็ โลจิสติกส์ ไทยในภูมภาค ิ ์ โอกาสให้ภาคเอกชนไทยขยายบริการโลจิสติกสในภูมภาค ิ www.nesdb.go.th 23