SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 13
Downloaden Sie, um offline zu lesen
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย : แนวโน้มใหม่
ฮากีม ผูหาดา
ผู้ช่วยนักวิจัย
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต
http://kotpolski.files.wordpress.com/2013/05/img_571
The New Trend in Urban Lifestyle in the Kingdom of Thailand
1
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย: แนวโน้มใหม่
เรียบเรียงโดย
ฮากีม ผูหาดา
ผู้ช่วยนักวิจัย
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง
ความเป็นเมืองมีนิยามที่หลากหลายซึ่งนักวิชาการต่างพยายามนิยามความเป็นเมืองไปตามมิติ
ของศาสตร์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นมิติทางด้านรัฐศาสตร์ มิติทางด้านผังเมือง มิติทางด้านสิ่งแวดล้อม ฯลฯ จึง
เห็นได้ว่าไม่มีนิยามของคาว่า “เมือง” ที่หยุดนิ่งและตายตัว แต่นิยามที่นักวิชาการส่วนใหญ่เห็นตรงกัน
คือการนิยามจากการพิจารณาจานวนประชากร กล่าวคือพื้นที่ใดที่มีประชากรประมาณ 10 – 12 ล้านคน
พื้นที่นั้นสามารถนิยามได้ว่าเป็น “เมือง” และเมื่อพิจารณาความเป็นเมืองจากประชากรแล้ว แน่นอนว่า
การทาความเข้าใจ “เมือง” จาเป็นต้องสารวจพื้นที่ของ “คน” อันมีพลวัตรสาคัญในการขับเคลื่อนความ
เป็นเมือง ดังนั้นการศึกษาถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนจึงมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับการศึกษาเมือง
อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
รายงานศึกษา “The New Trend in Urban Lifestyle in the Kingdom of Thailand”1
ที่ฉาย
ภาพความเคลื่อนไหวของวิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทยผ่านพฤติกรรมการบริโภค ซึ่งสะท้อนการ
ขับเคลื่อนความเป็นเมืองตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ตลอดจนคาดการณ์ถึงอนาคต จึงมีความน่าสนใจ
สาหรับผู้ที่ต้องการทาความเข้าใจเมืองที่กาลังเคลื่อนไหวผ่านวิถีชีวิตของผู้คน โดยรายงานวิจัยดังกล่าว
มีประเด็นที่น่าสนใจ ดังนี้
ประเด็นที่ 1 ความเปลี่ยนแปลงในสังคมไทยในมิติต่างๆ ซึ่งเริ่มด้วยความเปลี่ยนแปลง
ในมิติของประชากรที่มีอัตราการเกิดที่ลดลง จากแนวโน้มของการใช้ชีวิตโสด และไม่ต้องการ
แต่งงานของผู้หญิง เนื่องจากการได้รับการศึกษาสูง และมีการงานที่มั่นคงจนสามารถดูแลตัวเองได้
โดยในปี 1960 ประชากรที่มีอายุ 0 – 19 ปี มีอยู่ 53% แต่ในปี 2011 ลดลงเหลือ 28% และคาดการณ์
ว่าในปี 2027 จะเหลือเพียง 20% ซึ่งตรงกันข้ามกับประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป หรือประชากรที่อยู่ใน
วัยชรา ซึ่งในปี 1960 มีเพียง 5% แต่ด้วยพัฒนาการด้านสาธารณสุขของไทย ส่งผลให้ประชาชนมีอายุ
สูงขึ้น โดยในปี 2011 เพิ่มขึ้น 12% และคาดว่าจะเพิ่มขึ้นถึง 23% ในปี 2027 แสดงให้เห็นว่าสังคมไทย
ขยับเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเรียบร้อยแล้ว (ดูรูปที่ 1ก และ รูปที่ 1ข)
1
Nuttapol Assarut, “The New Trends in Urban Lifestyle in the Kingdom of Thailand”, Public-Interest
Incorporated foundation, n.d.
The New Trend in Urban Lifestyle in the Kingdom of Thailand
2
รูปที่ 1 ก แสดงสถิติและแนวโน้มของประชากรไทย แบ่งตามช่วงวัย ในระหว่างปี 1960-2007
ที่มา : Office of the National Economics and Social Development Board, Thailand
รูปที่ 1 ข แสดงอัตราการเพิ่มของประชากรไทย แบ่งตามช่วงวัยในระหว่างปี 1960-2007
ที่มา : Office of the National Economics and Social Development Board, Thailand
อีกมิติหนึ่งคือแนวโน้มของการเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น เมื่อ 30 ปีที่ผ่านมาประชากรไทย
มีอัตราเพิ่มขึ้น ส่งผลให้มีการเพิ่มของครัวเรือนจาก 9 ล้าน เป็น 20 ล้านครัวเรือน แต่ขนาดของ
ครัวเรือนกลับลดลงจาก 4.5 คน เหลือเพียง 3.3 คน สาเหตุส่วนหนึ่งมาจากการไม่ได้อยู่ด้วยกันของ
ผู้ปกครองกับลูก และครอบครัวใหม่อาศัยแยกจากครอบครัวเก่า ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบที่อยู่
0
10,000
20,000
30,000
40,000
50,000
60,000
70,000
80,000
1960 1970 1980 2007 2011 2017 2027
0 – 19 20 – 59 60 ขึ้นไป รวม
พัน
0
10
20
30
40
50
60
70
1960 1970 1980 2007 2011 2017 2027
0 – 19 20 – 59 60 ขึ้นไป%
The New Trend in Urban Lifestyle in the Kingdom of Thailand
3
อาศัย โดยคอนโดมิเนียม และบ้านแถวซึ่งเป็นรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสาหรับครอบครัวเดี่ยวได้รับ
ความนิยมมากขึ้น โดยในปี 2000 คอนโดมิเนียม และบ้านแถวมีสัดส่วนเพียง 3% และ 4% ตามลาดับ
แต่ในปี 2011 ความนิยมในคอนโดมิเนียมมีถึง 8% และบ้านแถวได้รับความนิยม 6% โดยเฉพาะใน
กรุงเทพฯ อัตราของครอบครัวที่อาศัยอยู่ในคอนโดมิเนียมสูงถึง 31% (ดูรูปที่ 2ก และ รูปที่ 2ข)
รูปที่ 2 ก แสดงจานวนครัวเรือนในประเทศไทยiระหว่างปี 1981-2011
ที่มา: National Statistics Office, Thailand
รูปที่ 2 ข แสดงขนาดครอบครัวในประเทศไทย ระหว่างปี 1981-2011
ที่มา: National Statistics Office, Thailand
ต่อมาคือความเปลี่ยนแปลงในรายได้ครัวเรือนที่สูงขึ้น 7 เท่า ใน 30 ปีที่ผ่านมา, ในขณะที่
ช่องว่างของรายได้ระหว่างชนบทกับเมืองขยายกว้างขึ้น โดยในปี 1981 รายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือนอยู่ที่
3,378 บาท ในขณะที่ปี 2011 รายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือนเพิ่มขึ้นเป็น 23,544 บาท เมื่อเปรียบเทียบรายได้
ต่อครัวเรือนในแต่ละพื้นที่ ปรากฏว่าประชาชนในกรุงเทพฯมีรายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือนสูงสุด โดยอยู่ที่
0
5,000
10,000
15,000
20,000
25,000
1981 1992 2000 2004 2006 2009 2011
จำนวนครัวเรือน (พันคน)
จำนวนครัวเรือน (พันคน)
0
1
2
3
4
5
1981 1992 2000 2004 2006 2009 2011
ขนำดครอบครัว
ขนำดครอบครัว
คน
The New Trend in Urban Lifestyle in the Kingdom of Thailand
4
43,669 บาท ในขณะที่ประชาชนในพื้นที่ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีรายได้ไม่ถึงครึ่งของ
รายได้เฉลี่ยของประชาชนในกรุงเทพฯ (ดูรูปที่ 3ก และ รูปที่ 3ข)
เมื่อรายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือนพุ่งสูงขึ้น ผลที่ตามมาคือความสามารถในการเข้าสู่ระบบ
การศึกษาที่สูงขึ้นด้วย และแน่นอนว่าส่วนใหญ่ของผู้ที่เข้าสู่ระบบการศึกษาคือกลุ่มผู้หญิงที่จะเป็น
ทรัพยากรแรงงานที่มีคุณภาพ ตลอดจนเป็นผู้สร้างรายได้หลักให้ครอบครัวอีกด้วย
รูปที่ 3 ก แสดงรายได้/รายจ่ายต่อครัวเรือนในประเทศไทย
ที่มา: National Statistics Office, Thailand
รูปที่ 3 ข แสดงค่าใช้จ่าย/รายได้ของครัวเรือนในประเทศไทย
ที่มา: National Statistics Office, Thailand
0
5,000
10,000
15,000
20,000
25,000
1981 1992 2000 2004 2006 2009 2011
รำยได้ต่อครัวเรือน ค่ำใช้จ่ำยต่อครัวเรือนบำท
0%
20%
40%
60%
80%
100%
120%
1981 1992 2000 2004 2006 2009 2011
สัดส่วนค่ำใช้จ่ำย/รำยได้
The New Trend in Urban Lifestyle in the Kingdom of Thailand
5
ความเปลี่ยนแปลงต่อมาคือ การเข้าสู่สังคมยานยนตร์(motorized society) ส่วนหนึ่งเป็นผล
จากนโยบายต่างๆที่เอื้อให้ประชาชนมีรถยนต์เป็นของตัวเอง แต่ผู้ใช้รถใช้ถนนต้องประสบกับปัญหา
จราจรติดขัดด้วยปริมาณรถยนต์ที่มากขึ้นบนท้องถนนโดยเฉพาะในกรุงเทพฯ อย่างไรก็ตามการมี
รถยนต์ส่วนตัวก็เอื้อให้การเคลื่อนตัวของประชากรไปยังชานเมืองมากขึ้น หมู่บ้านจัดสรรที่อยู่ตามชาน
เมืองจึงเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วเช่นกัน
สุดท้ายคือความเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยี โดย 80% ของประชากรในกรุงเทพฯ มี
โทรศัพท์เคลื่อนที่ และ 50% ของประชากรในกรุงเทพฯ เป็นเจ้าของคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เนต เมื่อ
พิจารณาตัวเลขดังกล่าว กรุงเทพฯจึงกลายเป็นสังคมที่มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเหมือนในประเทศ
ที่พัฒนาแล้ว (ดูรูปที่ 4 )
รูปที่ 4 แสดงจานวนการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย
ที่มา: National Statistics Office, Thailand
ประเด็นที่ 2 วิถีชีวิต และพฤติกรรมการบริโภคของคนไทยผ่านการจัดกลุ่มวิถีชีวิตของกลุ่ม
ตัวอย่าง 600 คนในกรุงเทพฯ ที่อยู่ในช่วงอายุ 35 – 59 ปี ด้วยการสัมภาษณ์วิถีชีวิต ค่านิยม และข้อมูล
ส่วนตัว เช่น อายุ, เพศ, การศึกษา และอาชีพ ทั้งนี้คาตอบจากการสัมภาษณ์ได้ถูกวิเคราะห์ด้วย the
method of multivariate analysis ซึ่งสามารถจาแนกกลุ่มวิถีชีวิตของคนได้เป็น 11 กลุ่ม คือ
1)Traditional Paternalists 2)New Paternalists 3)Self-employed 4)Freelances 5)Male Managers
6)Optimistic Female Managers 7)Pessimistic Female Managers 8)Male Clerks 9)Female Clerks
10)Laborers 11)Males and Females with Unsociable Sense of Values โดยในแต่ละกลุ่มจะมีวิถี
ชีวิต และค่านิยมที่แตกต่างกันไป
0
20
40
60
80
100
120
140
2003 2004 2005 2006 2011
อินเทอร์เนต คอมพิวเตอร์ส่วนตัว โทรศัพท์เคลื่อนที่
The New Trend in Urban Lifestyle in the Kingdom of Thailand
6
โดยในกลุ่ม Male Managers และ Optimistic Female Managers คือกลุ่มที่นาสังคมสู่การ
บริโภค ซึ่งมีอายุระหว่าง 35 – 49 ปี และมีการศึกษาในระดับปริญญาตรีเป็นอย่างต่า อยู่กลุ่มของนัก
ธุรกิจที่มีรายได้อย่างน้อย 40,000 บาท เป็นกลุ่มที่มีความกระตือรือร้นในด้านแฟชั่น กิจกรรมทางสังคม
มีรถเป็นของตัวเอง และอาศัยอยู่ในบ้านเดี่ยว ตลอดจนเป็นผู้ที่มีความใส่ใจในด้านสุขภาพ ความงาม
และการพัฒนาตนเอง นอกจากนี้เวลาว่างส่วนใหญ่จะถูกใช้ไปกับกิจกรรมนันทนาการ เช่น การ
ท่องเที่ยว อาสาสมัครช่วยเหลือสังคม อ่านหนังสือ เป็นต้น
สาหรับกลุ่ม Paternalists เป็นกลุ่มที่มีวิถีชีวิตแบบดั้งเดิม มีธุรกิจเป็นของตัวเอง เช่น
ร้านค้า หรือโรงงาน โดยสามารถแบ่งย่อยได้ 2 กลุ่มคือ Traditional Paternalists เป็นคนไทยเชื้อสายจีน
อายุระหว่าง 35 – 59 ปี และมีรายได้ 40,000 บาทขึ้นไป มักจะอาศัยอยู่ใน shophouse(บ้านที่ชั้นล่าง
เปิดเป็นร้านค้า ส่วนชั้นต่อมาเป็นที่พักอาศัย) สาหรับ New Paternalists เป็นกลุ่มคนที่มีอายุน้อยกว่า
รายได้ต่ากว่า และอาศัยอยู่ในคอนโดมิเนียม ทั้ง Traditional Paternalists และ New Paternalists ต่างก็
มีความใส่ใจในสุขภาพ และไม่มีโอกาสทากิจกรรมทางสังคม หรือพบปะกับผู้คน
และกลุ่ม Freelances และ Male Clerks ไม่ใช่กลุ่มที่มีความกระตือรือร้นในการบริโภค
โดยเป็นกลุ่มคนที่มีอายุระหว่าง 35 – 49 ปี การศึกษาต่ากว่าระดับอุดมศึกษา รายได้ต่ากว่า 20,000
บาท และส่วนใหญ่ไม่แต่งงาน โดยคนกลุ่มนี้มักไม่มีเวลาว่าง และไม่คิดถึงชีวิตในระยะยาว เนื่องจากใช้
เวลาส่วนใหญ่ในการทางาน อย่างไรก็ตามทั้งสองกลุ่มมีความใส่ใจในสุขภาพ แต่ไม่สนใจเรื่องความงาม
และการพัฒนาตนเอง เพราะไม่มีกิจกรรมที่ต้องพบปะสังสรรค์กับสังคม ทั้งนี้ Freelances มักอาศัยอยู่
ใน shophouse ส่วน Male Clerks อาศัยอยู่ในบ้านเดี่ยว
ประเด็นสุดท้าย อดีต ปัจจุบัน และอนาคตของกรุงเทพ ฯ จากความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
ในสังคม ส่งผลต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนในสังคม โดยเฉพาะกรุงเทพมหานคร เมืองหลวงของ
ประเทศไทย ซึ่งจะได้เห็นความเคลื่อนไหวในวิถีชีวิตของผู้คนจากอดีต ปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคต
ดังต่อไปนี้
1) ที่อยู่อาศัย
1.1)การเกิดขึ้นของคอนโดมิเนียมรูปแบบใหม่ โดยจากเดิมคอนโดมิเนียมมีขนาด 80 ตาราง
เมตร ซึ่งมีราคาแพง และส่วนใหญ่จะถูกซื้อโดยนักธุรกิจต่างประเทศ หรือชนชั้นนาที่จบการศึกษาจาก
ต่างประเทศเท่านั้น ตลอดจนมักจะตั้งอยู่เฉพาะแถบสุขุมวิท และสีลมเท่านั้น แต่ปัจจุบันคอนโดมิเนียม
ลดขนาดลงเหลือ 27 - 60 ตารางเมตร และสร้างขึ้นบริเวณที่ระบบขนส่งสาธารณะสามารถเข้าถึงอย่าง
สะดวก และมีราคาที่ไม่แพงเท่าคอนโดรูปแบบเก่า จึงเหมาะสาหรับพนักงานทั่วไป นักศึกษา คู่แต่งงาน
ใหม่ หรือผู้ที่ถูกจัดอยู่ในชนชั้นกลางระดับบน เพื่อรองรับกับการขยายตัวของครอบครัวเดี่ยว
1.2)หมู่บ้านจัดสรรแถบชานเมือง ก็เป็นอีกรูปแบบหนึ่งของที่อยู่อาศัยซึ่งเป็นที่นิยมในปัจจุบัน
โดยเฉพาะในกลุ่มคนไทยเชื้อสายจีน หรือกลุ่มเจ้าของธุรกิจขนาดเล็ก ผู้บริหารบริษัทขนาดใหญ่ และ
ข้าราชการ ทั้งนี้การอาศัยอยู่บริเวณชานเมืองจึงต้องมาพร้อมกับการมีรถยนต์ส่วนตัว เนื่องจากบริเวณ
ชานเมืองยังไม่มีระบบขนส่งสาธารณะที่ดีพอ
The New Trend in Urban Lifestyle in the Kingdom of Thailand
7
2) การค้าสมัยใหม่
การขยายตัวของผู้คนที่ปรับวิถีชีวิตสู่คนเมืองได้ให้กาเนิดซึ่งการค้าในรูปแบบใหม่ เช่น
hypermarket, supermarket, mini supermarket, convenience store, department store และ
shopping mall โดยการค้าสมัยใหม่ได้แย่งส่วนแบ่งตลาดไปจากการค้าแบบดั้งเดิม หรือที่รู้จักกันในนาม
โชว์ห่วย หรือตลาดสด ด้วยความสะดวกสบาย สินค้าที่หลากหลายให้เลือกซื้อ และยังเป็นพื้นที่ที่
รวบรวมความบันเทิงสาหรับพักผ่อนหย่อนใจ การค้ารูปแบบใหม่จึงเป็นที่นิยมในหมู่คนรุ่นใหม่อย่างมาก
นอกจากนี้การค้ารูปแบบใหม่ที่กาลังเป็นที่นิยมคือ การค้าผ่านระบบออนไลน์ ด้วยผู้ใช้อินเทอร์
เนตในประเทศไทยมีมากถึง 18 ล้านคน การซื้อขายสินค้าผ่านระบบออนไลน์จึงเป็นช่องทางใหม่ในยุค
ไซเบอร์โดยเฉพาะวัยรุ่น ดังนั้นการค้าผ่านระบบออนไลน์จึงเป็นที่น่าจับตามอง ในถานะพฤติกรรมการ
ซื้อขายสมัยใหม่
3) อาหารที่ “ง่าย” และ “เร็ว”
ในขณะที่คนยุคก่อนผูกขาดกับการรับประทานอาหารไทย แต่คนยุคปัจจุบันกลับต้องการอาหาร
ที่มีความหลากหลาย และแปลกใหม่ กระแสความนิยมในอาหารที่ “ง่าย” และ “เร็ว” จึงผุดขึ้น เนื่องด้วย
ความเหนื่อยล้าจากการทางานจน หรือการที่ต้องประสบกับปัญหาจราจรติดขัดในเมือง ฯลฯ ส่งผลให้ไม่
มีเวลาสาหรับเข้าครัวประกอบอาหาร สิ่งที่คนเมืองต้องการคืออาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการครบถ้วน
แต่ต้องไม่เป็นอุปสรรคในการทาครัว
4) บริการสาหรับเด็กรูปแบบใหม่ในยุคอัตราการเกิดลดลง
ในยุคที่มีอัตราการเกิดลดลง ตลอดจนเศรษฐกิจที่ดีขึ้น ส่งผลให้ผู้ปกครองต้องการส่งลูกหลาน
เข้าสู่ระบบการศึกษาที่ดีตั้งแต่วัยเด็ก เพื่อรองรับกับความต้องการดังกล่าว บริการสาหรับเด็กจึงเป็นที่
นิยมมากขึ้นในหมู่ชนชั้นกลาง เช่น สถานรับเลี้ยงเด็กก่อนวัยเรียนที่เริ่มมีการสอนดนตรี การฝึกสมอง
ฯลฯ ซึ่งบริการเหล่านี้เองได้นารูปแบบใหม่ของบริการดูแลเด็กให้กับวิถีชีวิตคนเมือง
5) วิถีชีวิตแบบญี่ปุ่นนิยมมีรากฐานที่เหนียวแน่นในกรุงเทพฯ
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับญี่ปุ่นมีมาอย่างยาวนาน และเป็นไปด้วย โดยคนไทยเองมีความ
นิยมชมชอบในสินค้าญี่ปุ่นเป็นอย่างมาก สังเกตได้จากรถยนต์ และเครื่องใช้ต่างๆ ที่มาจากญี่ปุ่น ซึ่งไม่
เพียงแต่ในแง่ของสินค้าที่เป็นเครื่องใช้เท่านั้นที่เป็นที่นิยมในหมู่ชาวไทย สินค้าทางวัฒนธรรมของญี่ปุ่น
ก็เป็นที่นิยมเช่นเดียวกัน เช่น อาหารญี่ปุ่น หนังสือการ์ตูน เกมส์ เป็นต้น สินค้าเหล่านี้ส่งผลให้คนไทยมี
ความสนใจถึงวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่นอีกด้วย
5.1)วิถีชีวิตของคนญี่ปุ่นที่อาศัยอยู่ในไทยมีส่วนช่วยในการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีต่อประเทศญี่ปุ่น
ด้วยในกรุงเทพฯ มีชาวญี่ปุ่นอาศัยอยู่ประมาณ 1 แสนคน ทาให้ร้านสะดวกซื้อต่างๆ ได้อานวยความ
สะดวกให้กับชาวญี่ปุ่นในไทยผ่านการนาเข้าสินค้าญี่ปุ่น ไม่ว่าจะเป็นวัตถุดิบในการปรุงอาหาร หรือ
The New Trend in Urban Lifestyle in the Kingdom of Thailand
8
สินค้าจิปาถะต่างๆ ตลอดจนการเข้ามาเปิดสาขาของบริษัทญี่ปุ่นในไทย เช่น Ryohin Keikaku,
UNIQLO และ Daiso ซึ่งเป็นที่รู้กันดีว่าราคาสูง คุณภาพดี มีชื่อเสียง และบ่งบอกถึงรสนิยมที่มีระดับ
ดังนั้นสินค้าต่างๆ ของญี่ปุ่นจึงเป็นที่สนใจของชนชั้นกลางในเมืองไทยอย่างรวดเร็ว และยาวนาน
5.2)อาหารญี่ปุ่นเพิ่มความชมชอบให้นิยมญี่ปุ่นมากขึ้น วัฒนธรรมการกินของชาวญี่ปุ่นมีความ
เหมือนกับชาวไทยคือมีข้าวเป็นอาหารหลัก ดังนั้นอาหารญี่ปุ่นจึงมีรถชาติที่ค่อนข้างถูกปากคนไทย
ร้านอาหารญี่ปุ่นมากมายในศูนย์การค้าต่างๆ จึงเป็นที่นิยมในหมู่ชนชั้นกลางที่ใส่ใจเรื่องสุขภาพ และ
ชอบรับประทานอาหารนอกบ้าน โดยเมื่อประมาณ 10 ปีที่แล้ว ร้านอาหารญี่ปุ่นในไทยได้ปรุงรสชาติ
อาหารญี่ปุ่นมีรสชาติแบบอาหารไทยคือมีรสชาติหวาน แต่ความนิยมในการท่องเที่ยวญี่ปุ่นของคนไทย
เพิ่มสูงขึ้น ดังนั้นคนไทยในกรุงเทพฯ จึงมีความต้องการอาหารญี่ปุ่นที่มีรสชาติแบบญี่ปุ่นจริงๆ
6) คนไทยมีลักษณะ “ตื่นง่าย หน่ายเร็ว” (quickly heat up but cool down just as easily)
จากการศึกษาของ Hofstede พบว่า ประเทศไทยและญี่ปุ่นถูกจัดอยู่ในกลุ่มสังคมที่มีวัฒนธรรม
รวมหมู่นิยม(Collectivism culture) คือ ความคิดและการกระทาต่างๆ จะคานึงถึงความรู้สึกของผู้อื่นหรือ
ของกลุ่มเป็นหลัก และมีความเชื่อมั่นในความเห็นของหัวหน้ากลุ่มอย่างหนักแน่น ดังนั้นพฤติกรรมการ
บริโภคจึงขึ้นอยู่กับสังคม/กลุ่ม หรือหัวหน้ากลุ่มว่ากาลังบริโภคสินค้าชนิดไหนอยู่ อย่างไรก็ตามพบว่ามี
ความมีแตกต่างอยู่บ้างระหว่างวัฒนธรรมของไทยและญี่ปุ่น กล่าวคือแม้คนญี่ปุ่นจะเชื่อมั่นในวิถีการ
บริโภคของสังคมหรือผู้นา แต่ก็เป็นแค่ในช่วงเริ่มต้นเท่านั้น เพราะหลังจากพิจารณาการใช้งานของ
สินค้าด้วยตัวเองแล้ว จึงจะตัดสินใจเลือกบริโภคสินค้าด้วยจุดยืนของตนเอง ในขณะที่คนไทยจะให้
ความสาคัญกับปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับรูปลักษณ์ สถานะ หรือรสนิยม มากกว่าพิจารณาถึงลักษณะการใช้
งาน ตลอดจนมักจะเลียนแบบการบริโภคตามสังคม/ผู้นาอยู่ตลอดเวลา
7) ค่านิยมทางสังคมของคนกรุงเทพฯ, ความคิดของคนไทย
7.1)สังคมชนชั้นที่ชนชั้นกลางและชนชั้นล่างอยู่ร่วมกัน ช่องว่างทางสังคมไม่ได้มีเพียงความห่าง
ระหว่างเมืองกับชนบทเท่านั้น แต่ยังมีช่องว่างระหว่างชนชั้นสูง/ชนชั้นกลางกับชนชั้นล่างที่อยู่ในเมือง
เดียวกัน ซึ่งมีค่า Gini coefficient กากับอยู่ว่าหากเมืองได้มีค่า Gini coefficient เกินกว่า 0.4 เมืองนั้นมี
แนวโน้มที่จะเกิดจลาจล แต่ในกรุงเทพฯ มีค่า Gini coefficient สูงถึง 0.536 กลับไม่เกิดจลาจล แสดงให้
เห็นว่าชนชั้นสูง/ชนชั้นกลางสามารถอยู่กับชนชั้นล่างอย่างไม่มีความขัดแย้งที่นาไปสู่ความรุนแรง
สาเหตุสาคัญเนื่องจากชนชั้นล่างสามารถอยู่ได้ภายใต้สภาพแวดล้อมที่มีอาหาร, เสื้อผ้า และที่
อยู่อาศัยอย่างเพียงพอในราคาต่า และแรงงานต่างจังหวัดที่เข้ามาทางานในกรุงเทพฯ สามารถเดินทาง
กลับไปทาการเกษตรในชนบทในกรณีที่ไม่สามารถอยู่กรุงเทพฯ ได้ ซึ่งบางครั้งชนชั้นล่างก็ทางานหนัก
จนสามารถเคลื่อนเข้าสู่ชนชั้นกลาง อย่างไรก็ตาม การศึกษาและเศรษฐกิจที่ตกต่าในคนชั้นล่างจะต้อง
ถูกพัฒนาขึ้น เพื่อเพิ่มศักยภาพให้กับคนทุกกลุ่ม อันจะเป็นหยุดวงจรของการผลิตซ้าความยากจนใน
อนาคต
The New Trend in Urban Lifestyle in the Kingdom of Thailand
9
7.2)พุทธศาสนาคือส่วนหนึ่งในชีวิตประจาวันที่สร้างความกลมกลืนให้กับชุมชน ศาสนาพุทธมี
อิทธิพลต่อสังคม วัฒนธรรม ตลอดจนค่านิยมของคนในสังคม คาสอนที่ว่าด้วยสังสารวัฏ ที่ว่า “หากใคร
ทาความชั่วในโลกนี้ เขาจะต้องโชคร้ายในโลกหน้า ดังนั้นจงทาแต่แต่ความดี” มีส่วนทาให้คนไทยมีจิต
วิญญาณที่จะกระตือรือร้นในการทางานเพื่อสังคม อ่อนโยน สามัคคี และเคารพในครอบครัว อันจะเป็น
เหตุผลสาคัญที่ทาให้สังคมไทยมีความมั่นคงแน่นอน แม้จะมีช่องว่างระหว่างชนชั้นที่กว้างขึ้น
8)มุมมองที่สาคัญซึ่งสามารถคาดการณ์ทิศทางของวิถีชีวิตในอนาคต
8.1)การรับมือกับภาวะอัตราการเกิดที่ต่าลง ดังที่กล่าวไว้แล้วข้างต้นว่าปัจจุบันประเทศไทยมี
อัตราการเกิดลดลงอันจะเป็นปัญหาในอนาคต ทั้งในแง่ของแรงงานตลอดจนเศรษฐกิจระดับกว้าง ทาให้
วิถีชีวิตและวิถีการทางานต้องเปลี่ยนไป ดังนั้นการรบมือกับปัญหาดังกล่าวคือการสร้างโอกาสในการ
ทางานให้กับผู้หญิง และแรงงานสูงอายุ อันจะกลายเป็นวิถีชีวิตและวิถีการทางานใหม่ในอนาคต
8.2)การรับมือกับสังคมสูงวัย ด้วยเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ทันสมัยทาให้ค่าเฉลี่ยอายุขัยของ
คนไทยอยู่ที่ 73.9 ปี (ปี 2011) โดยประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไปมี 7% ในปี 2001 ทาให้ประเทศไทย
กลายเป็น “สังคมผู้สูงอายุ” ตามนิยามของ UN และถูกคาดว่าประชากรผู้สูงอายุจะสูงถึง 13.3% ในปี
2025 ซึ่งเป็นตัวเลขที่สูงกว่าประเทศญี่ปุ่น วิถีชีวิตในอนาคตสาหรับชนชั้นที่ร่ารวยคือบริการสาหรับ
ผู้สูงอายุ เช่น การจ้างผู้ช่วยดูแล(care helpers) หรือการจ้างพยาบาลสาหรับผู้สูงวัย(old age at nursing
home) แต่สาหรับชนชั้นกลางระดับล่างไม่มีความสามารถในการจ่ายบริการดังกล่าว ดังนั้นจึงควร
ยกระดับการดูแลผู้สูงอายุให้ดีขึ้น เช่น การเพิ่มกองทุนสาหรับดูแลผู้สูงอายุ หรือหลักประกันสุขภาพ
สาหรับผู้สูงอายุ เป็นต้น
9) วิถีชีวิตคนกรุงในอนาคต
ประเทศไทยกลายเป็นศูนย์กลางของ ASEAN ดังนั้นกรุงเทพฯ จึงต้องมีความเป็นโลกาภิวัตน์
สูงขึ้น และวิถีชีวิตใหม่ๆ ก็ได้ถือกาเนิดขึ้นเรื่อยๆ การพัฒนาเครือข่ายผ่านเทคโนโลยีที่สูงขึ้น ทาให้
ประชาชนไม่สนใจเพียงแค่ข้อมูลในระดับท้องถิ่นเท่านั้น เพราะสามารถเข้าถึงข้อมูลในระดับโลกอัน
รวมถึงแนวโน้มวิถีชีวิตแบบต่างๆ หรือข้อมูลทางธุรกิจที่รวดเร็ว ดังนั้นวิถีชีวิตใหม่จึงถูกคาดหวังว่าจะมี
พื้นฐานมาจากข้อมูลของชีวิตทั่วทุกมุมโลก
แม้ว่าคนกรุงเทพฯ จะเก็บรักษาวิถีชีวิตที่ดีงามแบบดั้งเดิมไว้ ไม่ว่าจะเป็นค่านิยมเกี่ยวกับ
ครอบครัว หรือค่านิยมความเป็นท้องถิ่นที่เข้มแข็งก็ตาม แต่คนกรุงเทพเองก็มีความยืดหยุ่นในการลอง
วัฒนธรรมใหม่ๆ และรับในส่วนที่ดีมาปรับใช้ อนาคตของคนกรุงเทพฯ หรือพื้นที่อื่นก็ตามที่กาลัง
ขยายตัวสู่การเป็นเมือง คือการมีความพร้อมในการรองรับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวิถีชีวิตได้
อย่างแนบเนียน ผ่านการลองผิดลองถูก
The New Trend in Urban Lifestyle in the Kingdom of Thailand
10
สรุป
ด้วยหลายพื้นที่ในประเทศไทยกาลังเปลี่ยนไปสู่ความเป็นเมือง ดังนั้นรายงานศึกษานี้จึงมี
ความสาคัญต่อการทาความเข้าใจถึงความเคลื่อนไหวของวิถีชีวิตคนเมือง อันจะส่งเสริมให้เกิดการ
วางแผนพัฒนาเมืองที่สอดคล้องกับความต้องการของคนในพื้นที่ได้อย่างแท้จริง ตลอดจนสามารถ
รองรับกับความเปลี่ยนแปลงของวิถีชีวิตคนเมืองในอนาคตได้อย่างเท่าทัน
The New Trend in Urban Lifestyle in the Kingdom of Thailand
11
ภาคผนวก
ตารางที่ 1 แสดงสถิติและแนวโน้มของประชากรไทย แบ่งตามช่วงวัย
หน่วยพันคน
ช่วงวัย 1960 1970 1980 2007 2011 2017 2027
0 – 19 13,819 19,224 22,574 17,635 18,855 17,192 14,241
20 – 59 11,185 13,449 19,805 37,200 40,444 41,571 40,343
60 ขึ้นไป 1,208 1,681 1,944 6,705 8,172 10,691 16,055
รวม 26,212 34,354 44,324 61,540 67,471 69,454 70,639
%
0 – 19 53 56 51 29 28 25 20
20 – 59 43 39 45 60 60 60 57
60 ขึ้นไป 5 5 4 11 12 15 23
Source : Office of the National Economics and Social Development Board, Thailand
ตารางที่ 2 แสดงแสดงจานวนครัวเรือน และขนาดครอบครัวในประเทศไทย
1981 1992 2000 2004 2006 2009 2011
จานวนครัวเรือน
(x1000)
9,005 14,996 17,186 18,905 18,055 19,580 19,986
ขนาดครอบครัว 4.5 3.9 3.8 3.4 3.4 3.3 3.3
Source: National Statistics Office, Thailand
ตารางที่ 3 แสดงรายได้/รายจ่ายต่อครัวเรือนในประเทศไทย
1981 1992 2000 2004 2006 2009 2011
รายได้ต่อครัวเรือน 3,378 7,062 12,150 14,963 17,787 20,903 23,544
ค่าใช้จ่ายต่อครัวเรือน 3,374 6,529 9,848 12,297 14,311 16,205 17,861
ค่าใช้จ่าย/รายได้ 100% 92% 81% 82% 80% 78% 76%
Source: National Statistics Office, Thailand
ตารางที่ 4 แสดงจานวนการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย
2003 2004 2005 2006 2011
โทรศัพท์เคลื่อนที่ 22.5 28.5 36.7 41.6 66.4
คอมพิวเตอร์ส่วนตัว 19.6 21.4 24.5 25.9 32.0
อินเทอร์เนต 10.4 11.9 12.0 14.2 23.7
Source: National Statistics Office, Thailand
The New Trend in Urban Lifestyle in the Kingdom of Thailand
12
อ้างอิง
http://www.hilife.or.jp/english/2013/07/the_new_trends_in_urban_lifest.html เข้าถึงเมื่อ 15
กรกฎาคม 2557
http://www.hilife.or.jp/english/2013/07/the_new_trends_in_urban_lifest_1.html เข้าถึงเมื่อ 15
กรกฎาคม 2557
http://www.hilife.or.jp/english/2013/07/the_kingdom_of_thailand_part_3.html เข้าถึงเมื่อ 15
กรกฎาคม 2557

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติPreeyapat Lengrabam
 
digital marketing
digital marketingdigital marketing
digital marketingAew Zhiitzu
 
141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8Chuta Tharachai
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำklarharn
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดNattakorn Sunkdon
 
หมู่บ้านเพื่อนก้อง -- การจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชนเมืองโดยใช้หลักการเศรษฐกิจพอเ...
หมู่บ้านเพื่อนก้อง  -- การจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชนเมืองโดยใช้หลักการเศรษฐกิจพอเ...หมู่บ้านเพื่อนก้อง  -- การจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชนเมืองโดยใช้หลักการเศรษฐกิจพอเ...
หมู่บ้านเพื่อนก้อง -- การจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชนเมืองโดยใช้หลักการเศรษฐกิจพอเ...freelance
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมวิศิษฏ์ ชูทอง
 
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการภาครัฐ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการภาครัฐระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการภาครัฐ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการภาครัฐPrachyanun Nilsook
 
บทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่าง
บทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่างบทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่าง
บทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่างTeetut Tresirichod
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21Prachyanun Nilsook
 
การกระจัด
การกระจัดการกระจัด
การกระจัดdnavaroj
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมวิศิษฏ์ ชูทอง
 
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟThida Noodaeng
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์Thida Noodaeng
 
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภาการบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภาUtai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 5 พฤติกรรมผู้บริโภค การตลาดบนอินเทอร์เน็ตและการโฆษณา
บทที่ 5 พฤติกรรมผู้บริโภค การตลาดบนอินเทอร์เน็ตและการโฆษณาบทที่ 5 พฤติกรรมผู้บริโภค การตลาดบนอินเทอร์เน็ตและการโฆษณา
บทที่ 5 พฤติกรรมผู้บริโภค การตลาดบนอินเทอร์เน็ตและการโฆษณาTeetut Tresirichod
 

Was ist angesagt? (20)

4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
 
digital marketing
digital marketingdigital marketing
digital marketing
 
141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
 
หมู่บ้านเพื่อนก้อง -- การจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชนเมืองโดยใช้หลักการเศรษฐกิจพอเ...
หมู่บ้านเพื่อนก้อง  -- การจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชนเมืองโดยใช้หลักการเศรษฐกิจพอเ...หมู่บ้านเพื่อนก้อง  -- การจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชนเมืองโดยใช้หลักการเศรษฐกิจพอเ...
หมู่บ้านเพื่อนก้อง -- การจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชนเมืองโดยใช้หลักการเศรษฐกิจพอเ...
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
 
01
0101
01
 
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการภาครัฐ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการภาครัฐระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการภาครัฐ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการภาครัฐ
 
บทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่าง
บทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่างบทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่าง
บทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่าง
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
 
การกระจัด
การกระจัดการกระจัด
การกระจัด
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภาการบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
 
บทที่ 5 พฤติกรรมผู้บริโภค การตลาดบนอินเทอร์เน็ตและการโฆษณา
บทที่ 5 พฤติกรรมผู้บริโภค การตลาดบนอินเทอร์เน็ตและการโฆษณาบทที่ 5 พฤติกรรมผู้บริโภค การตลาดบนอินเทอร์เน็ตและการโฆษณา
บทที่ 5 พฤติกรรมผู้บริโภค การตลาดบนอินเทอร์เน็ตและการโฆษณา
 

Ähnlich wie วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย

ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1Taraya Srivilas
 
Tic 1
Tic  1Tic  1
Tic 1BTNHO
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD_RSU
 
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...FURD_RSU
 
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ FURD_RSU
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยKlangpanya
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนthanathip
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยKlangpanya
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)Tophit Sampootong
 
สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานีTaraya Srivilas
 
แผนพัฒนาการศึกษา 11
แผนพัฒนาการศึกษา 11แผนพัฒนาการศึกษา 11
แผนพัฒนาการศึกษา 11Ch Khankluay
 
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...FURD_RSU
 
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559Utai Sukviwatsirikul
 
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559Utai Sukviwatsirikul
 

Ähnlich wie วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย (20)

รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1
 
Tic 1
Tic  1Tic  1
Tic 1
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
 
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
 
หน่วยที่๔
หน่วยที่๔หน่วยที่๔
หน่วยที่๔
 
ชุมชนเข้มแข็งญี่ปุ่น in jp1
ชุมชนเข้มแข็งญี่ปุ่น in jp1ชุมชนเข้มแข็งญี่ปุ่น in jp1
ชุมชนเข้มแข็งญี่ปุ่น in jp1
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)
 
สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานี
 
Thai Education Master Plan # 11
Thai Education Master Plan # 11Thai Education Master Plan # 11
Thai Education Master Plan # 11
 
แผนพัฒนาการศึกษา 11
แผนพัฒนาการศึกษา 11แผนพัฒนาการศึกษา 11
แผนพัฒนาการศึกษา 11
 
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
 
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
 
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
 
G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3
 

Mehr von FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กFURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลFURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมFURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมFURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกFURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขFURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองFURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองFURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยFURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังFURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...FURD_RSU
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)FURD_RSU
 

Mehr von FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
 

วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย

  • 1. วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย : แนวโน้มใหม่ ฮากีม ผูหาดา ผู้ช่วยนักวิจัย แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต http://kotpolski.files.wordpress.com/2013/05/img_571
  • 2. The New Trend in Urban Lifestyle in the Kingdom of Thailand 1 วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย: แนวโน้มใหม่ เรียบเรียงโดย ฮากีม ผูหาดา ผู้ช่วยนักวิจัย แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ความเป็นเมืองมีนิยามที่หลากหลายซึ่งนักวิชาการต่างพยายามนิยามความเป็นเมืองไปตามมิติ ของศาสตร์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นมิติทางด้านรัฐศาสตร์ มิติทางด้านผังเมือง มิติทางด้านสิ่งแวดล้อม ฯลฯ จึง เห็นได้ว่าไม่มีนิยามของคาว่า “เมือง” ที่หยุดนิ่งและตายตัว แต่นิยามที่นักวิชาการส่วนใหญ่เห็นตรงกัน คือการนิยามจากการพิจารณาจานวนประชากร กล่าวคือพื้นที่ใดที่มีประชากรประมาณ 10 – 12 ล้านคน พื้นที่นั้นสามารถนิยามได้ว่าเป็น “เมือง” และเมื่อพิจารณาความเป็นเมืองจากประชากรแล้ว แน่นอนว่า การทาความเข้าใจ “เมือง” จาเป็นต้องสารวจพื้นที่ของ “คน” อันมีพลวัตรสาคัญในการขับเคลื่อนความ เป็นเมือง ดังนั้นการศึกษาถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนจึงมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับการศึกษาเมือง อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ รายงานศึกษา “The New Trend in Urban Lifestyle in the Kingdom of Thailand”1 ที่ฉาย ภาพความเคลื่อนไหวของวิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทยผ่านพฤติกรรมการบริโภค ซึ่งสะท้อนการ ขับเคลื่อนความเป็นเมืองตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ตลอดจนคาดการณ์ถึงอนาคต จึงมีความน่าสนใจ สาหรับผู้ที่ต้องการทาความเข้าใจเมืองที่กาลังเคลื่อนไหวผ่านวิถีชีวิตของผู้คน โดยรายงานวิจัยดังกล่าว มีประเด็นที่น่าสนใจ ดังนี้ ประเด็นที่ 1 ความเปลี่ยนแปลงในสังคมไทยในมิติต่างๆ ซึ่งเริ่มด้วยความเปลี่ยนแปลง ในมิติของประชากรที่มีอัตราการเกิดที่ลดลง จากแนวโน้มของการใช้ชีวิตโสด และไม่ต้องการ แต่งงานของผู้หญิง เนื่องจากการได้รับการศึกษาสูง และมีการงานที่มั่นคงจนสามารถดูแลตัวเองได้ โดยในปี 1960 ประชากรที่มีอายุ 0 – 19 ปี มีอยู่ 53% แต่ในปี 2011 ลดลงเหลือ 28% และคาดการณ์ ว่าในปี 2027 จะเหลือเพียง 20% ซึ่งตรงกันข้ามกับประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป หรือประชากรที่อยู่ใน วัยชรา ซึ่งในปี 1960 มีเพียง 5% แต่ด้วยพัฒนาการด้านสาธารณสุขของไทย ส่งผลให้ประชาชนมีอายุ สูงขึ้น โดยในปี 2011 เพิ่มขึ้น 12% และคาดว่าจะเพิ่มขึ้นถึง 23% ในปี 2027 แสดงให้เห็นว่าสังคมไทย ขยับเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเรียบร้อยแล้ว (ดูรูปที่ 1ก และ รูปที่ 1ข) 1 Nuttapol Assarut, “The New Trends in Urban Lifestyle in the Kingdom of Thailand”, Public-Interest Incorporated foundation, n.d.
  • 3. The New Trend in Urban Lifestyle in the Kingdom of Thailand 2 รูปที่ 1 ก แสดงสถิติและแนวโน้มของประชากรไทย แบ่งตามช่วงวัย ในระหว่างปี 1960-2007 ที่มา : Office of the National Economics and Social Development Board, Thailand รูปที่ 1 ข แสดงอัตราการเพิ่มของประชากรไทย แบ่งตามช่วงวัยในระหว่างปี 1960-2007 ที่มา : Office of the National Economics and Social Development Board, Thailand อีกมิติหนึ่งคือแนวโน้มของการเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น เมื่อ 30 ปีที่ผ่านมาประชากรไทย มีอัตราเพิ่มขึ้น ส่งผลให้มีการเพิ่มของครัวเรือนจาก 9 ล้าน เป็น 20 ล้านครัวเรือน แต่ขนาดของ ครัวเรือนกลับลดลงจาก 4.5 คน เหลือเพียง 3.3 คน สาเหตุส่วนหนึ่งมาจากการไม่ได้อยู่ด้วยกันของ ผู้ปกครองกับลูก และครอบครัวใหม่อาศัยแยกจากครอบครัวเก่า ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบที่อยู่ 0 10,000 20,000 30,000 40,000 50,000 60,000 70,000 80,000 1960 1970 1980 2007 2011 2017 2027 0 – 19 20 – 59 60 ขึ้นไป รวม พัน 0 10 20 30 40 50 60 70 1960 1970 1980 2007 2011 2017 2027 0 – 19 20 – 59 60 ขึ้นไป%
  • 4. The New Trend in Urban Lifestyle in the Kingdom of Thailand 3 อาศัย โดยคอนโดมิเนียม และบ้านแถวซึ่งเป็นรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสาหรับครอบครัวเดี่ยวได้รับ ความนิยมมากขึ้น โดยในปี 2000 คอนโดมิเนียม และบ้านแถวมีสัดส่วนเพียง 3% และ 4% ตามลาดับ แต่ในปี 2011 ความนิยมในคอนโดมิเนียมมีถึง 8% และบ้านแถวได้รับความนิยม 6% โดยเฉพาะใน กรุงเทพฯ อัตราของครอบครัวที่อาศัยอยู่ในคอนโดมิเนียมสูงถึง 31% (ดูรูปที่ 2ก และ รูปที่ 2ข) รูปที่ 2 ก แสดงจานวนครัวเรือนในประเทศไทยiระหว่างปี 1981-2011 ที่มา: National Statistics Office, Thailand รูปที่ 2 ข แสดงขนาดครอบครัวในประเทศไทย ระหว่างปี 1981-2011 ที่มา: National Statistics Office, Thailand ต่อมาคือความเปลี่ยนแปลงในรายได้ครัวเรือนที่สูงขึ้น 7 เท่า ใน 30 ปีที่ผ่านมา, ในขณะที่ ช่องว่างของรายได้ระหว่างชนบทกับเมืองขยายกว้างขึ้น โดยในปี 1981 รายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือนอยู่ที่ 3,378 บาท ในขณะที่ปี 2011 รายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือนเพิ่มขึ้นเป็น 23,544 บาท เมื่อเปรียบเทียบรายได้ ต่อครัวเรือนในแต่ละพื้นที่ ปรากฏว่าประชาชนในกรุงเทพฯมีรายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือนสูงสุด โดยอยู่ที่ 0 5,000 10,000 15,000 20,000 25,000 1981 1992 2000 2004 2006 2009 2011 จำนวนครัวเรือน (พันคน) จำนวนครัวเรือน (พันคน) 0 1 2 3 4 5 1981 1992 2000 2004 2006 2009 2011 ขนำดครอบครัว ขนำดครอบครัว คน
  • 5. The New Trend in Urban Lifestyle in the Kingdom of Thailand 4 43,669 บาท ในขณะที่ประชาชนในพื้นที่ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีรายได้ไม่ถึงครึ่งของ รายได้เฉลี่ยของประชาชนในกรุงเทพฯ (ดูรูปที่ 3ก และ รูปที่ 3ข) เมื่อรายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือนพุ่งสูงขึ้น ผลที่ตามมาคือความสามารถในการเข้าสู่ระบบ การศึกษาที่สูงขึ้นด้วย และแน่นอนว่าส่วนใหญ่ของผู้ที่เข้าสู่ระบบการศึกษาคือกลุ่มผู้หญิงที่จะเป็น ทรัพยากรแรงงานที่มีคุณภาพ ตลอดจนเป็นผู้สร้างรายได้หลักให้ครอบครัวอีกด้วย รูปที่ 3 ก แสดงรายได้/รายจ่ายต่อครัวเรือนในประเทศไทย ที่มา: National Statistics Office, Thailand รูปที่ 3 ข แสดงค่าใช้จ่าย/รายได้ของครัวเรือนในประเทศไทย ที่มา: National Statistics Office, Thailand 0 5,000 10,000 15,000 20,000 25,000 1981 1992 2000 2004 2006 2009 2011 รำยได้ต่อครัวเรือน ค่ำใช้จ่ำยต่อครัวเรือนบำท 0% 20% 40% 60% 80% 100% 120% 1981 1992 2000 2004 2006 2009 2011 สัดส่วนค่ำใช้จ่ำย/รำยได้
  • 6. The New Trend in Urban Lifestyle in the Kingdom of Thailand 5 ความเปลี่ยนแปลงต่อมาคือ การเข้าสู่สังคมยานยนตร์(motorized society) ส่วนหนึ่งเป็นผล จากนโยบายต่างๆที่เอื้อให้ประชาชนมีรถยนต์เป็นของตัวเอง แต่ผู้ใช้รถใช้ถนนต้องประสบกับปัญหา จราจรติดขัดด้วยปริมาณรถยนต์ที่มากขึ้นบนท้องถนนโดยเฉพาะในกรุงเทพฯ อย่างไรก็ตามการมี รถยนต์ส่วนตัวก็เอื้อให้การเคลื่อนตัวของประชากรไปยังชานเมืองมากขึ้น หมู่บ้านจัดสรรที่อยู่ตามชาน เมืองจึงเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วเช่นกัน สุดท้ายคือความเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยี โดย 80% ของประชากรในกรุงเทพฯ มี โทรศัพท์เคลื่อนที่ และ 50% ของประชากรในกรุงเทพฯ เป็นเจ้าของคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เนต เมื่อ พิจารณาตัวเลขดังกล่าว กรุงเทพฯจึงกลายเป็นสังคมที่มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเหมือนในประเทศ ที่พัฒนาแล้ว (ดูรูปที่ 4 ) รูปที่ 4 แสดงจานวนการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ที่มา: National Statistics Office, Thailand ประเด็นที่ 2 วิถีชีวิต และพฤติกรรมการบริโภคของคนไทยผ่านการจัดกลุ่มวิถีชีวิตของกลุ่ม ตัวอย่าง 600 คนในกรุงเทพฯ ที่อยู่ในช่วงอายุ 35 – 59 ปี ด้วยการสัมภาษณ์วิถีชีวิต ค่านิยม และข้อมูล ส่วนตัว เช่น อายุ, เพศ, การศึกษา และอาชีพ ทั้งนี้คาตอบจากการสัมภาษณ์ได้ถูกวิเคราะห์ด้วย the method of multivariate analysis ซึ่งสามารถจาแนกกลุ่มวิถีชีวิตของคนได้เป็น 11 กลุ่ม คือ 1)Traditional Paternalists 2)New Paternalists 3)Self-employed 4)Freelances 5)Male Managers 6)Optimistic Female Managers 7)Pessimistic Female Managers 8)Male Clerks 9)Female Clerks 10)Laborers 11)Males and Females with Unsociable Sense of Values โดยในแต่ละกลุ่มจะมีวิถี ชีวิต และค่านิยมที่แตกต่างกันไป 0 20 40 60 80 100 120 140 2003 2004 2005 2006 2011 อินเทอร์เนต คอมพิวเตอร์ส่วนตัว โทรศัพท์เคลื่อนที่
  • 7. The New Trend in Urban Lifestyle in the Kingdom of Thailand 6 โดยในกลุ่ม Male Managers และ Optimistic Female Managers คือกลุ่มที่นาสังคมสู่การ บริโภค ซึ่งมีอายุระหว่าง 35 – 49 ปี และมีการศึกษาในระดับปริญญาตรีเป็นอย่างต่า อยู่กลุ่มของนัก ธุรกิจที่มีรายได้อย่างน้อย 40,000 บาท เป็นกลุ่มที่มีความกระตือรือร้นในด้านแฟชั่น กิจกรรมทางสังคม มีรถเป็นของตัวเอง และอาศัยอยู่ในบ้านเดี่ยว ตลอดจนเป็นผู้ที่มีความใส่ใจในด้านสุขภาพ ความงาม และการพัฒนาตนเอง นอกจากนี้เวลาว่างส่วนใหญ่จะถูกใช้ไปกับกิจกรรมนันทนาการ เช่น การ ท่องเที่ยว อาสาสมัครช่วยเหลือสังคม อ่านหนังสือ เป็นต้น สาหรับกลุ่ม Paternalists เป็นกลุ่มที่มีวิถีชีวิตแบบดั้งเดิม มีธุรกิจเป็นของตัวเอง เช่น ร้านค้า หรือโรงงาน โดยสามารถแบ่งย่อยได้ 2 กลุ่มคือ Traditional Paternalists เป็นคนไทยเชื้อสายจีน อายุระหว่าง 35 – 59 ปี และมีรายได้ 40,000 บาทขึ้นไป มักจะอาศัยอยู่ใน shophouse(บ้านที่ชั้นล่าง เปิดเป็นร้านค้า ส่วนชั้นต่อมาเป็นที่พักอาศัย) สาหรับ New Paternalists เป็นกลุ่มคนที่มีอายุน้อยกว่า รายได้ต่ากว่า และอาศัยอยู่ในคอนโดมิเนียม ทั้ง Traditional Paternalists และ New Paternalists ต่างก็ มีความใส่ใจในสุขภาพ และไม่มีโอกาสทากิจกรรมทางสังคม หรือพบปะกับผู้คน และกลุ่ม Freelances และ Male Clerks ไม่ใช่กลุ่มที่มีความกระตือรือร้นในการบริโภค โดยเป็นกลุ่มคนที่มีอายุระหว่าง 35 – 49 ปี การศึกษาต่ากว่าระดับอุดมศึกษา รายได้ต่ากว่า 20,000 บาท และส่วนใหญ่ไม่แต่งงาน โดยคนกลุ่มนี้มักไม่มีเวลาว่าง และไม่คิดถึงชีวิตในระยะยาว เนื่องจากใช้ เวลาส่วนใหญ่ในการทางาน อย่างไรก็ตามทั้งสองกลุ่มมีความใส่ใจในสุขภาพ แต่ไม่สนใจเรื่องความงาม และการพัฒนาตนเอง เพราะไม่มีกิจกรรมที่ต้องพบปะสังสรรค์กับสังคม ทั้งนี้ Freelances มักอาศัยอยู่ ใน shophouse ส่วน Male Clerks อาศัยอยู่ในบ้านเดี่ยว ประเด็นสุดท้าย อดีต ปัจจุบัน และอนาคตของกรุงเทพ ฯ จากความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ในสังคม ส่งผลต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนในสังคม โดยเฉพาะกรุงเทพมหานคร เมืองหลวงของ ประเทศไทย ซึ่งจะได้เห็นความเคลื่อนไหวในวิถีชีวิตของผู้คนจากอดีต ปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคต ดังต่อไปนี้ 1) ที่อยู่อาศัย 1.1)การเกิดขึ้นของคอนโดมิเนียมรูปแบบใหม่ โดยจากเดิมคอนโดมิเนียมมีขนาด 80 ตาราง เมตร ซึ่งมีราคาแพง และส่วนใหญ่จะถูกซื้อโดยนักธุรกิจต่างประเทศ หรือชนชั้นนาที่จบการศึกษาจาก ต่างประเทศเท่านั้น ตลอดจนมักจะตั้งอยู่เฉพาะแถบสุขุมวิท และสีลมเท่านั้น แต่ปัจจุบันคอนโดมิเนียม ลดขนาดลงเหลือ 27 - 60 ตารางเมตร และสร้างขึ้นบริเวณที่ระบบขนส่งสาธารณะสามารถเข้าถึงอย่าง สะดวก และมีราคาที่ไม่แพงเท่าคอนโดรูปแบบเก่า จึงเหมาะสาหรับพนักงานทั่วไป นักศึกษา คู่แต่งงาน ใหม่ หรือผู้ที่ถูกจัดอยู่ในชนชั้นกลางระดับบน เพื่อรองรับกับการขยายตัวของครอบครัวเดี่ยว 1.2)หมู่บ้านจัดสรรแถบชานเมือง ก็เป็นอีกรูปแบบหนึ่งของที่อยู่อาศัยซึ่งเป็นที่นิยมในปัจจุบัน โดยเฉพาะในกลุ่มคนไทยเชื้อสายจีน หรือกลุ่มเจ้าของธุรกิจขนาดเล็ก ผู้บริหารบริษัทขนาดใหญ่ และ ข้าราชการ ทั้งนี้การอาศัยอยู่บริเวณชานเมืองจึงต้องมาพร้อมกับการมีรถยนต์ส่วนตัว เนื่องจากบริเวณ ชานเมืองยังไม่มีระบบขนส่งสาธารณะที่ดีพอ
  • 8. The New Trend in Urban Lifestyle in the Kingdom of Thailand 7 2) การค้าสมัยใหม่ การขยายตัวของผู้คนที่ปรับวิถีชีวิตสู่คนเมืองได้ให้กาเนิดซึ่งการค้าในรูปแบบใหม่ เช่น hypermarket, supermarket, mini supermarket, convenience store, department store และ shopping mall โดยการค้าสมัยใหม่ได้แย่งส่วนแบ่งตลาดไปจากการค้าแบบดั้งเดิม หรือที่รู้จักกันในนาม โชว์ห่วย หรือตลาดสด ด้วยความสะดวกสบาย สินค้าที่หลากหลายให้เลือกซื้อ และยังเป็นพื้นที่ที่ รวบรวมความบันเทิงสาหรับพักผ่อนหย่อนใจ การค้ารูปแบบใหม่จึงเป็นที่นิยมในหมู่คนรุ่นใหม่อย่างมาก นอกจากนี้การค้ารูปแบบใหม่ที่กาลังเป็นที่นิยมคือ การค้าผ่านระบบออนไลน์ ด้วยผู้ใช้อินเทอร์ เนตในประเทศไทยมีมากถึง 18 ล้านคน การซื้อขายสินค้าผ่านระบบออนไลน์จึงเป็นช่องทางใหม่ในยุค ไซเบอร์โดยเฉพาะวัยรุ่น ดังนั้นการค้าผ่านระบบออนไลน์จึงเป็นที่น่าจับตามอง ในถานะพฤติกรรมการ ซื้อขายสมัยใหม่ 3) อาหารที่ “ง่าย” และ “เร็ว” ในขณะที่คนยุคก่อนผูกขาดกับการรับประทานอาหารไทย แต่คนยุคปัจจุบันกลับต้องการอาหาร ที่มีความหลากหลาย และแปลกใหม่ กระแสความนิยมในอาหารที่ “ง่าย” และ “เร็ว” จึงผุดขึ้น เนื่องด้วย ความเหนื่อยล้าจากการทางานจน หรือการที่ต้องประสบกับปัญหาจราจรติดขัดในเมือง ฯลฯ ส่งผลให้ไม่ มีเวลาสาหรับเข้าครัวประกอบอาหาร สิ่งที่คนเมืองต้องการคืออาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการครบถ้วน แต่ต้องไม่เป็นอุปสรรคในการทาครัว 4) บริการสาหรับเด็กรูปแบบใหม่ในยุคอัตราการเกิดลดลง ในยุคที่มีอัตราการเกิดลดลง ตลอดจนเศรษฐกิจที่ดีขึ้น ส่งผลให้ผู้ปกครองต้องการส่งลูกหลาน เข้าสู่ระบบการศึกษาที่ดีตั้งแต่วัยเด็ก เพื่อรองรับกับความต้องการดังกล่าว บริการสาหรับเด็กจึงเป็นที่ นิยมมากขึ้นในหมู่ชนชั้นกลาง เช่น สถานรับเลี้ยงเด็กก่อนวัยเรียนที่เริ่มมีการสอนดนตรี การฝึกสมอง ฯลฯ ซึ่งบริการเหล่านี้เองได้นารูปแบบใหม่ของบริการดูแลเด็กให้กับวิถีชีวิตคนเมือง 5) วิถีชีวิตแบบญี่ปุ่นนิยมมีรากฐานที่เหนียวแน่นในกรุงเทพฯ ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับญี่ปุ่นมีมาอย่างยาวนาน และเป็นไปด้วย โดยคนไทยเองมีความ นิยมชมชอบในสินค้าญี่ปุ่นเป็นอย่างมาก สังเกตได้จากรถยนต์ และเครื่องใช้ต่างๆ ที่มาจากญี่ปุ่น ซึ่งไม่ เพียงแต่ในแง่ของสินค้าที่เป็นเครื่องใช้เท่านั้นที่เป็นที่นิยมในหมู่ชาวไทย สินค้าทางวัฒนธรรมของญี่ปุ่น ก็เป็นที่นิยมเช่นเดียวกัน เช่น อาหารญี่ปุ่น หนังสือการ์ตูน เกมส์ เป็นต้น สินค้าเหล่านี้ส่งผลให้คนไทยมี ความสนใจถึงวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่นอีกด้วย 5.1)วิถีชีวิตของคนญี่ปุ่นที่อาศัยอยู่ในไทยมีส่วนช่วยในการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีต่อประเทศญี่ปุ่น ด้วยในกรุงเทพฯ มีชาวญี่ปุ่นอาศัยอยู่ประมาณ 1 แสนคน ทาให้ร้านสะดวกซื้อต่างๆ ได้อานวยความ สะดวกให้กับชาวญี่ปุ่นในไทยผ่านการนาเข้าสินค้าญี่ปุ่น ไม่ว่าจะเป็นวัตถุดิบในการปรุงอาหาร หรือ
  • 9. The New Trend in Urban Lifestyle in the Kingdom of Thailand 8 สินค้าจิปาถะต่างๆ ตลอดจนการเข้ามาเปิดสาขาของบริษัทญี่ปุ่นในไทย เช่น Ryohin Keikaku, UNIQLO และ Daiso ซึ่งเป็นที่รู้กันดีว่าราคาสูง คุณภาพดี มีชื่อเสียง และบ่งบอกถึงรสนิยมที่มีระดับ ดังนั้นสินค้าต่างๆ ของญี่ปุ่นจึงเป็นที่สนใจของชนชั้นกลางในเมืองไทยอย่างรวดเร็ว และยาวนาน 5.2)อาหารญี่ปุ่นเพิ่มความชมชอบให้นิยมญี่ปุ่นมากขึ้น วัฒนธรรมการกินของชาวญี่ปุ่นมีความ เหมือนกับชาวไทยคือมีข้าวเป็นอาหารหลัก ดังนั้นอาหารญี่ปุ่นจึงมีรถชาติที่ค่อนข้างถูกปากคนไทย ร้านอาหารญี่ปุ่นมากมายในศูนย์การค้าต่างๆ จึงเป็นที่นิยมในหมู่ชนชั้นกลางที่ใส่ใจเรื่องสุขภาพ และ ชอบรับประทานอาหารนอกบ้าน โดยเมื่อประมาณ 10 ปีที่แล้ว ร้านอาหารญี่ปุ่นในไทยได้ปรุงรสชาติ อาหารญี่ปุ่นมีรสชาติแบบอาหารไทยคือมีรสชาติหวาน แต่ความนิยมในการท่องเที่ยวญี่ปุ่นของคนไทย เพิ่มสูงขึ้น ดังนั้นคนไทยในกรุงเทพฯ จึงมีความต้องการอาหารญี่ปุ่นที่มีรสชาติแบบญี่ปุ่นจริงๆ 6) คนไทยมีลักษณะ “ตื่นง่าย หน่ายเร็ว” (quickly heat up but cool down just as easily) จากการศึกษาของ Hofstede พบว่า ประเทศไทยและญี่ปุ่นถูกจัดอยู่ในกลุ่มสังคมที่มีวัฒนธรรม รวมหมู่นิยม(Collectivism culture) คือ ความคิดและการกระทาต่างๆ จะคานึงถึงความรู้สึกของผู้อื่นหรือ ของกลุ่มเป็นหลัก และมีความเชื่อมั่นในความเห็นของหัวหน้ากลุ่มอย่างหนักแน่น ดังนั้นพฤติกรรมการ บริโภคจึงขึ้นอยู่กับสังคม/กลุ่ม หรือหัวหน้ากลุ่มว่ากาลังบริโภคสินค้าชนิดไหนอยู่ อย่างไรก็ตามพบว่ามี ความมีแตกต่างอยู่บ้างระหว่างวัฒนธรรมของไทยและญี่ปุ่น กล่าวคือแม้คนญี่ปุ่นจะเชื่อมั่นในวิถีการ บริโภคของสังคมหรือผู้นา แต่ก็เป็นแค่ในช่วงเริ่มต้นเท่านั้น เพราะหลังจากพิจารณาการใช้งานของ สินค้าด้วยตัวเองแล้ว จึงจะตัดสินใจเลือกบริโภคสินค้าด้วยจุดยืนของตนเอง ในขณะที่คนไทยจะให้ ความสาคัญกับปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับรูปลักษณ์ สถานะ หรือรสนิยม มากกว่าพิจารณาถึงลักษณะการใช้ งาน ตลอดจนมักจะเลียนแบบการบริโภคตามสังคม/ผู้นาอยู่ตลอดเวลา 7) ค่านิยมทางสังคมของคนกรุงเทพฯ, ความคิดของคนไทย 7.1)สังคมชนชั้นที่ชนชั้นกลางและชนชั้นล่างอยู่ร่วมกัน ช่องว่างทางสังคมไม่ได้มีเพียงความห่าง ระหว่างเมืองกับชนบทเท่านั้น แต่ยังมีช่องว่างระหว่างชนชั้นสูง/ชนชั้นกลางกับชนชั้นล่างที่อยู่ในเมือง เดียวกัน ซึ่งมีค่า Gini coefficient กากับอยู่ว่าหากเมืองได้มีค่า Gini coefficient เกินกว่า 0.4 เมืองนั้นมี แนวโน้มที่จะเกิดจลาจล แต่ในกรุงเทพฯ มีค่า Gini coefficient สูงถึง 0.536 กลับไม่เกิดจลาจล แสดงให้ เห็นว่าชนชั้นสูง/ชนชั้นกลางสามารถอยู่กับชนชั้นล่างอย่างไม่มีความขัดแย้งที่นาไปสู่ความรุนแรง สาเหตุสาคัญเนื่องจากชนชั้นล่างสามารถอยู่ได้ภายใต้สภาพแวดล้อมที่มีอาหาร, เสื้อผ้า และที่ อยู่อาศัยอย่างเพียงพอในราคาต่า และแรงงานต่างจังหวัดที่เข้ามาทางานในกรุงเทพฯ สามารถเดินทาง กลับไปทาการเกษตรในชนบทในกรณีที่ไม่สามารถอยู่กรุงเทพฯ ได้ ซึ่งบางครั้งชนชั้นล่างก็ทางานหนัก จนสามารถเคลื่อนเข้าสู่ชนชั้นกลาง อย่างไรก็ตาม การศึกษาและเศรษฐกิจที่ตกต่าในคนชั้นล่างจะต้อง ถูกพัฒนาขึ้น เพื่อเพิ่มศักยภาพให้กับคนทุกกลุ่ม อันจะเป็นหยุดวงจรของการผลิตซ้าความยากจนใน อนาคต
  • 10. The New Trend in Urban Lifestyle in the Kingdom of Thailand 9 7.2)พุทธศาสนาคือส่วนหนึ่งในชีวิตประจาวันที่สร้างความกลมกลืนให้กับชุมชน ศาสนาพุทธมี อิทธิพลต่อสังคม วัฒนธรรม ตลอดจนค่านิยมของคนในสังคม คาสอนที่ว่าด้วยสังสารวัฏ ที่ว่า “หากใคร ทาความชั่วในโลกนี้ เขาจะต้องโชคร้ายในโลกหน้า ดังนั้นจงทาแต่แต่ความดี” มีส่วนทาให้คนไทยมีจิต วิญญาณที่จะกระตือรือร้นในการทางานเพื่อสังคม อ่อนโยน สามัคคี และเคารพในครอบครัว อันจะเป็น เหตุผลสาคัญที่ทาให้สังคมไทยมีความมั่นคงแน่นอน แม้จะมีช่องว่างระหว่างชนชั้นที่กว้างขึ้น 8)มุมมองที่สาคัญซึ่งสามารถคาดการณ์ทิศทางของวิถีชีวิตในอนาคต 8.1)การรับมือกับภาวะอัตราการเกิดที่ต่าลง ดังที่กล่าวไว้แล้วข้างต้นว่าปัจจุบันประเทศไทยมี อัตราการเกิดลดลงอันจะเป็นปัญหาในอนาคต ทั้งในแง่ของแรงงานตลอดจนเศรษฐกิจระดับกว้าง ทาให้ วิถีชีวิตและวิถีการทางานต้องเปลี่ยนไป ดังนั้นการรบมือกับปัญหาดังกล่าวคือการสร้างโอกาสในการ ทางานให้กับผู้หญิง และแรงงานสูงอายุ อันจะกลายเป็นวิถีชีวิตและวิถีการทางานใหม่ในอนาคต 8.2)การรับมือกับสังคมสูงวัย ด้วยเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ทันสมัยทาให้ค่าเฉลี่ยอายุขัยของ คนไทยอยู่ที่ 73.9 ปี (ปี 2011) โดยประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไปมี 7% ในปี 2001 ทาให้ประเทศไทย กลายเป็น “สังคมผู้สูงอายุ” ตามนิยามของ UN และถูกคาดว่าประชากรผู้สูงอายุจะสูงถึง 13.3% ในปี 2025 ซึ่งเป็นตัวเลขที่สูงกว่าประเทศญี่ปุ่น วิถีชีวิตในอนาคตสาหรับชนชั้นที่ร่ารวยคือบริการสาหรับ ผู้สูงอายุ เช่น การจ้างผู้ช่วยดูแล(care helpers) หรือการจ้างพยาบาลสาหรับผู้สูงวัย(old age at nursing home) แต่สาหรับชนชั้นกลางระดับล่างไม่มีความสามารถในการจ่ายบริการดังกล่าว ดังนั้นจึงควร ยกระดับการดูแลผู้สูงอายุให้ดีขึ้น เช่น การเพิ่มกองทุนสาหรับดูแลผู้สูงอายุ หรือหลักประกันสุขภาพ สาหรับผู้สูงอายุ เป็นต้น 9) วิถีชีวิตคนกรุงในอนาคต ประเทศไทยกลายเป็นศูนย์กลางของ ASEAN ดังนั้นกรุงเทพฯ จึงต้องมีความเป็นโลกาภิวัตน์ สูงขึ้น และวิถีชีวิตใหม่ๆ ก็ได้ถือกาเนิดขึ้นเรื่อยๆ การพัฒนาเครือข่ายผ่านเทคโนโลยีที่สูงขึ้น ทาให้ ประชาชนไม่สนใจเพียงแค่ข้อมูลในระดับท้องถิ่นเท่านั้น เพราะสามารถเข้าถึงข้อมูลในระดับโลกอัน รวมถึงแนวโน้มวิถีชีวิตแบบต่างๆ หรือข้อมูลทางธุรกิจที่รวดเร็ว ดังนั้นวิถีชีวิตใหม่จึงถูกคาดหวังว่าจะมี พื้นฐานมาจากข้อมูลของชีวิตทั่วทุกมุมโลก แม้ว่าคนกรุงเทพฯ จะเก็บรักษาวิถีชีวิตที่ดีงามแบบดั้งเดิมไว้ ไม่ว่าจะเป็นค่านิยมเกี่ยวกับ ครอบครัว หรือค่านิยมความเป็นท้องถิ่นที่เข้มแข็งก็ตาม แต่คนกรุงเทพเองก็มีความยืดหยุ่นในการลอง วัฒนธรรมใหม่ๆ และรับในส่วนที่ดีมาปรับใช้ อนาคตของคนกรุงเทพฯ หรือพื้นที่อื่นก็ตามที่กาลัง ขยายตัวสู่การเป็นเมือง คือการมีความพร้อมในการรองรับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวิถีชีวิตได้ อย่างแนบเนียน ผ่านการลองผิดลองถูก
  • 11. The New Trend in Urban Lifestyle in the Kingdom of Thailand 10 สรุป ด้วยหลายพื้นที่ในประเทศไทยกาลังเปลี่ยนไปสู่ความเป็นเมือง ดังนั้นรายงานศึกษานี้จึงมี ความสาคัญต่อการทาความเข้าใจถึงความเคลื่อนไหวของวิถีชีวิตคนเมือง อันจะส่งเสริมให้เกิดการ วางแผนพัฒนาเมืองที่สอดคล้องกับความต้องการของคนในพื้นที่ได้อย่างแท้จริง ตลอดจนสามารถ รองรับกับความเปลี่ยนแปลงของวิถีชีวิตคนเมืองในอนาคตได้อย่างเท่าทัน
  • 12. The New Trend in Urban Lifestyle in the Kingdom of Thailand 11 ภาคผนวก ตารางที่ 1 แสดงสถิติและแนวโน้มของประชากรไทย แบ่งตามช่วงวัย หน่วยพันคน ช่วงวัย 1960 1970 1980 2007 2011 2017 2027 0 – 19 13,819 19,224 22,574 17,635 18,855 17,192 14,241 20 – 59 11,185 13,449 19,805 37,200 40,444 41,571 40,343 60 ขึ้นไป 1,208 1,681 1,944 6,705 8,172 10,691 16,055 รวม 26,212 34,354 44,324 61,540 67,471 69,454 70,639 % 0 – 19 53 56 51 29 28 25 20 20 – 59 43 39 45 60 60 60 57 60 ขึ้นไป 5 5 4 11 12 15 23 Source : Office of the National Economics and Social Development Board, Thailand ตารางที่ 2 แสดงแสดงจานวนครัวเรือน และขนาดครอบครัวในประเทศไทย 1981 1992 2000 2004 2006 2009 2011 จานวนครัวเรือน (x1000) 9,005 14,996 17,186 18,905 18,055 19,580 19,986 ขนาดครอบครัว 4.5 3.9 3.8 3.4 3.4 3.3 3.3 Source: National Statistics Office, Thailand ตารางที่ 3 แสดงรายได้/รายจ่ายต่อครัวเรือนในประเทศไทย 1981 1992 2000 2004 2006 2009 2011 รายได้ต่อครัวเรือน 3,378 7,062 12,150 14,963 17,787 20,903 23,544 ค่าใช้จ่ายต่อครัวเรือน 3,374 6,529 9,848 12,297 14,311 16,205 17,861 ค่าใช้จ่าย/รายได้ 100% 92% 81% 82% 80% 78% 76% Source: National Statistics Office, Thailand ตารางที่ 4 แสดงจานวนการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย 2003 2004 2005 2006 2011 โทรศัพท์เคลื่อนที่ 22.5 28.5 36.7 41.6 66.4 คอมพิวเตอร์ส่วนตัว 19.6 21.4 24.5 25.9 32.0 อินเทอร์เนต 10.4 11.9 12.0 14.2 23.7 Source: National Statistics Office, Thailand
  • 13. The New Trend in Urban Lifestyle in the Kingdom of Thailand 12 อ้างอิง http://www.hilife.or.jp/english/2013/07/the_new_trends_in_urban_lifest.html เข้าถึงเมื่อ 15 กรกฎาคม 2557 http://www.hilife.or.jp/english/2013/07/the_new_trends_in_urban_lifest_1.html เข้าถึงเมื่อ 15 กรกฎาคม 2557 http://www.hilife.or.jp/english/2013/07/the_kingdom_of_thailand_part_3.html เข้าถึงเมื่อ 15 กรกฎาคม 2557