SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 11
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
Dr.Ester Van Steekelenburg
The Dutch Urban Planner
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ถอดความและเรียบเรียงจาก
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
ประสบการณ์จากเมืองในสหรัฐอเมริกา ยุโรปและเอเชีย
Dr.Ester Van Steekelenburg
ผู้เขียน : Dr.Ester Van Steekelenburg
ผู้เรียบเรียง : นางสาวปาริชาติ อ่อนทิมวงศ์
บรรณาธิการบริหาร : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการฝ่ายวิชาการ : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล
กองบรรณาธิการ : นายฮาพีฟี สะมะแอ, นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง, นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ปก : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง
รูปเล่ม : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง
ปีที่เผยแพร่ : กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
ผู้เผยแพร่ : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับมูลนิธิส่งเสริมปัญญาสาธารณะ (CPWI) ภายใต้
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง
ผู้สนับสนุน : สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
ประสบการณ์จากเมืองในสหรัฐอเมริกา ยุโรปและเอเซีย1
Dr.Ester Van Steekelenburg2
1. บทนา
การสร้างเศรษฐกิจโดยใช้การอนุรักษ์เป็นเครื่องมือ เริ่มต้นจากความเข้าใจในจุดเด่น (Identity) ของ
เมือง ดังเช่น เมื่อคิดถึงความโรแมนติก (Romantic) ผู้คนส่วนใหญ่จะคิดถึงเมืองปารีส (Paris) เมื่อคิดถึง
ศาสนา (Religion) ผู้คนส่วนใหญ่จะคิดถึงเมืองเยรูซาเล็ม (Jerusalem) เมื่อคิดถึงความทะเยอทะยาน
(Ambition) ผู้คนส่วนใหญ่จะคิดถึงมหานครนิวยอร์ค (New York) เมื่อคิดถึงการเรียนรู้ (Learning) ผู้คนส่วน
ใหญ่จะคิดถึงเมืองอ๊อกฟอร์ด (Oxford) และเมื่อคิดถึงการเงิน (Money) ผู้คนส่วนใหญ่จะคิดถึงฮ่องกง
(Hong Kong) เป็นต้น
แต่ปัจจุบัน ประเทศในเอเชียกาลังมุ่งสร้างสิ่งที่เหมือนกัน เช่น บ้านจัดสรร คอนโดมิเนียม อาคารสูง
อีกทั้งให้ความสนใจเรื่องการอนุรักษ์ค่อนข้างน้อย ส่งผลให้เกิดการสูญเสียจุดเด่นหรืออัตลักษณ์ของเมือง
ทั้งนี้ ภายในปี ค.ศ. 2050 แนวโน้มประชากรทั่วโลกจานวน 2 ใน 3 จะอาศัยอยู่ในเมือง ดังนั้น ถ้าเมืองไม่
สามารถสร้างความแตกต่างได้ เมืองนั้นก็จะเสียเปรียบในเชิงการแข่งขันไปในที่สุด
ปัจจุบัน มีข้อโต้แย้งเรื่องการอนุรักษ์ในมิติต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นมิติทางสังคม วัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรม หรือแม้กระทั่งในเชิงเศรษฐกิจ มรดกของเมืองจึงมีความเสี่ยงสูงหากเมืองนั้น
มีงบประมาณน้อยหรือมีงบประมาณไม่เพียงพอ ส่งผลให้หลายเมืองมีการละเลยอาคารเก่า ดังเช่น ใน
ประเทศอินโดนีเซีย หรือเขตบริหารพิเศษฮ่องกง เป็นต้น
2. การชี้วัดผลกระทบทางเศรษฐกิจจากการอนุรักษ์มรดกของเมือง
ผลกระทบทางเศรษฐกิจจากการอนุรักษ์มรดกของเมืองพิจารณาได้ 5 ประการ ในเบื้องต้น การ
อนุรักษ์มรดกของเมืองก่อให้เกิดการจ้างงาน ทั้งการจ้างงานทางตรงที่เกี่ยวข้องกับงานการอนุรักษ์อาคาร
เก่าและการจ้างงานทางอ้อมอื่นๆ การอนุรักษ์มรดกของเมืองยังเป็นการฟื้นฟูเขตเมืองชั้นในให้กลับมามี
ชีวิตชีวา มูลค่าทรัพย์สินบนที่ดินเพิ่มสูงขึ้น อีกทั้งยังดึงดูดให้เกิดกระแสการท่องเที่ยวในแหล่งมรดกทาง
วัฒนธรรม การเพิ่มขึ้นของจานวนนักท่องเที่ยวส่งผลให้เกิดธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) ที่
เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวของคนในพื้นที่ตามมาอีกเป็นจานวนมาก
1 เรียบเรียงโดย ปาริชาติ อ่อนทิมวงศ์ นักวิชาการอิสระ ดัดแปลงจากการบรรยายเรื่อง “Economics of Heritage”
โดย Dr.Ester Van Steekelenburg ในโครงการฝึกอบรมการจัดทานครลาปางให้เป็นเมืองน่าอยู่โดยการปกป้องรักษามรดกอันมีคุณค่าของ
เมือง สนับสนุนโดยการเคหะแห่งชาติ และมูลนิธิปัทมะเสวี เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2559 ณ บ้านบริบูรณ์ เทศบาลเมืองลาปาง
2 นักผังเมืองชาวเนเธอร์แลนด์ ผู้มีประสบการณ์การอนุรักษ์เมืองกว่า 15 ปี ผู้คิดค้นและก่อตั้ง Application “IDISCOVERY”
5
2.1. การส0ร้างงาน (Job Creation)
การก่อสร้างอาคารบ้านเรือนขึ้นใหม่เน้นการใช้เครื่องไม้เครื่องมือช่วยทุ่นแรงพอๆ กับการจ้าง
แรงงานคน ขณะที่การซ่อมแซมอาคารเก่าจะใช้แรงงานคนมากกว่า การอนุรักษ์อาคารเก่าจึงส่งผลให้เกิด
การสร้างงานที่เกี่ยวข้องโดยตรงเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 10-20 (รูปที่ 1) และผลการศึกษาในประเทศ
สหรัฐอเมริกาชี้ให้เห็นว่าสาขาการอนุรักษ์ฟื้นฟู (Rehabilitation) ก่อให้เกิดรายได้สูงสุดราว 762,000
ดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งสูงกว่าสาขาการก่อสร้างใหม่ (New Construction) และสาขาอุตสาหกรรมการผลิต
(Manufacturing) ที่ก่อให้เกิดรายได้ราว 653,000 ดอลลาร์สหรัฐ และ 515,000 ดอลลาร์สหรัฐ ตามลาดับ
(รูปที่ 2)
การอนุรักษ์อาคารเก่ายังสร้างความต้องการช่างฝีมือท้องถิ่นผู้มีความเชี่ยวชาญในงาน
สถาปัตยกรรมและศิลปกรรมแบบดั้งเดิม นอกจากนี้ การใช้วัสดุก่อสร้างในท้องถิ่นเพื่ออนุรักษ์อาคารเก่ายัง
ช่วยลดการนาเข้าวัสดุก่อสร้างที่มีราคาแพงจากพื้นที่ภายนอก การใช้ทั้งช่างฝีมือและวัสดุในท้องถิ่นล้วน
เป็นการส่งเสริมให้เมืองมีความยั่งยืนเพิ่มขึ้นในระยะยาว
รูปที่ 1 แบบจาลองการจ้างงานเปรียบเทียบกรณีการก่อสร้างอาคารใหม่กับการอนุรักษ์อาคารเก่า
ที่มา : Dr.Ester Van Steekelenburg (2559)
6
รูปที่ 2 การก่อให้เกิดรายได้ในสาขาการผลิตหลักของประเทศสหรัฐอเมริกา
ที่มา : Dr.Ester Van Steekelenburg (2559)
2.2. การฟื้นฟูเขตเมืองชั้นใน (Inner City Revitalization)
ประสบการณ์จากประเทศเนเธอร์แลนด์ชี้ให้เห็นว่าทุกๆ หนึ่งยูโรที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุน
การบูรณะฟื้นฟูของประเทศเนเธอร์แลนด์ (The Dutch Restoration Fund) จะกระตุ้นให้เกิดการลงทุน
สมทบเพิ่มเติมจากภาคเอกชนสูงกว่าถึง 3 เท่า เงินเหล่านี้ก่อให้เกิดการจ้างงานโดยตรง และจากการ
ประเมินพบว่าทุกปีที่การบูรณะฟื้นฟูอนุสาวรีย์ถูกเลื่อนออกไป จะทาให้ค่าใช้จ่ายสูงขึ้นถึงร้อยละ 15 นี่คือ
ผลเสียทางเศรษฐกิจของการไม่อนุรักษ์มรดกของเมืองเสียตั้งแต่วันนี้
ในประเทศสหรัฐอเมริกา ความสาเร็จเกือบทั้งหมดของโครงการฟื้นฟูเขตเมืองชั้นในเกิดจากการ
ผนวกรวมเอาการอนุรักษ์แหล่งประวัติศาสตร์เข้าไปเป็นองค์ประกอบหลักของยุทธศาสตร์การดาเนินงาน
ตัวอย่างเช่น ชุมชนติดถนนสายหลัก (Main Street Communities) ในช่วงระยะเวลาเกินกว่า 25 ปีที่ผ่านมา
ได้รับการสนับสนุนเงินทุนเพื่อปรับปรุงสภาพทางกายภาพจานวน 23.3 พันล้านเหรียญสหรัฐ โดยเป็น
โครงการก่อสร้างและฟื้นฟูอาคารจานวน 107,179 แห่ง สามารถเพิ่มจานวนธุรกิจใหม่ได้ถึง 67,000 ธุรกิจ
และสร้างงานใหม่ได้กว่า 308,370 งาน
ในเมืองตูนิส เมืองหลวงของประเทศตูนิเซีย การบูรณะฟื้นฟูมรดกของเมืองในพื้นที่จตุรัสเก่าเมดินา
(Old Medina) ทาให้เกิดการกลับเข้ามาอยู่อาศัยของชนชั้นกลาง มีการเกิดขึ้นของธุรกิจใหม่ มูลค่าของ
สินทรัพย์บนที่ดินมีราคาเพิ่มสูงขึ้น และการกลับมาลงทุนโดยเจ้าของสินทรัพย์บนที่ดินนั้น
2.3. การท่องเที่ยวในแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม (Heritage Tourism)
การท่องเที่ยวในแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม (Heritage Tourism) เป็นส่วนหนึ่งของการท่องเที่ยวเชิง
วัฒนธรรม (Cultural Tourism) ซึ่งเป็นสาขาหลักของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวที่มีอัตราการเจริญเติบโตสูง
7
อย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็นผลจากการขับเคลื่อนของผู้คนในยุค Baby Boom ที่มีอัตราการเกิดของประชากรสูง
ในช่วงทศวรรษที่ 1950 ปัจจุบันประชากรกลุ่มนี้กลายเป็นคนกลุ่มใหญ่ที่มีกาลังซื้อสูงและให้คุณค่ากับมรดก
ทางวัฒนธรรมอันดีงามของผู้คนในพื้นที่ต่างๆ ทั่วโลก ปัจจุบันนักท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเป็นกลุ่ม
นักท่องเที่ยวที่ใช้ระยะเวลาพานักอยู่ในจุดหมายปลายทางยาวนานกว่านักท่องเที่ยวกลุ่มอื่น มีอัตราการ
กลับมาเที่ยวซ้าสูงในหลายพื้นที่ และที่สาคัญคือมีการใช้จ่ายเงินเพื่อการท่องเที่ยวต่อครั้งสูงกว่า
นักท่องเที่ยวกลุ่มอื่นถึง 2.5 เท่า
ประสบการณ์จากประเทศสหรัฐอเมริกาชี้ให้เห็นว่าสิ่งดึงดูดใจหลักที่ดึงดูดให้นักท่องเที่ยวมาเยี่ยม
ชมมลรัฐเวอร์จิน่า ทั้งกลุ่มที่มาเยือนเป็นครั้งแรก (First Time Visitors) และกลุ่มที่มาเที่ยวซ้า (Repeat
Visitors) ได้แก่ อาคารเก่าแก่ทางประวัติศาสตร์ (รูปที่ 3) ในประเทศจีน กาแพงเมืองจีนเป็นแหล่งมรดกทาง
วัฒนธรรมที่มีนักท่องเที่ยวทั้งในประเทศและต่างชาติหลั่งไหลมาเยี่ยมชมกว่า 24 ล้านคนต่อปี ขณะที่เมือง
เก่าลี่เจียง เมืองที่เคยหลับใหลในช่วงเวลาหลายร้อยปี ปัจจุบันกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยม
สูง มีนักท่องเที่ยวจานวนกว่า 11 ล้านคนต่อปี สร้างรายได้กว่า 1.6 พันล้านเหรียญสหรัฐต่อปีให้เมืองที่มีผู้
อยู่อาศัยเพียง 1.4 แสนคน
รูปที่ 3 สิ่งดึงดูดใจหลักที่ดึงดูดให้นักท่องเที่ยวมาเยี่ยมชมมลรัฐเวอร์จิน่า สหรัฐอเมริกา
ที่มา : Dr.Ester Van Steekelenburg (2559)
เมืองเก่ามะละกา เป็นเสาหลักด้านการท่องเที่ยวของรัฐมะละกา สหพันธรัฐมาเลเซีย มาตั้งแต่ปี
ค.ศ. 1985 และได้รับการประกาศให้เป็นเมืองมรดกโลกในปี ค.ศ. 2008 ปัจจุบันสามารถดึงดูดนักท่องเที่ยว
ได้ถึง 4 ล้านคนต่อปี ส่วนมาเก๊าเป็นเมืองที่มีการเพิ่มขึ้นของนักท่องเที่ยวแบบก้าวกระโดด ภายหลังได้รับ
การประกาศให้เป็นเมืองมรดกโลกในปี ค.ศ. 2005 โดยในปี ค.ศ. 2001 มาเก๊ามีนักท่องเที่ยวราว 9.1 ล้าน
คน และเพิ่มขึ้นเกินกว่าร้อยละ 100 เป็น 18.7 ล้านคนในปี ค.ศ. 2005 จากนั้นจานวนนักท่องเที่ยวก็เพิ่มขึ้น
8
อย่างต่อเนื่องเป็น 22 ล้านคน และ 28 ล้านคนในปี ค.ศ. 2010 และ ค.ศ. 2012 ตามลาดับ ซึ่งประมาณว่า
ร้อยละ 60 ของการค้าปลีกล้วนเกิดขึ้นในเขตเมืองเก่าของมาเก๊า (รูปที่ 4)
รูปที่ 4 จานวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางไปเยือนมาเก๊าในปี ค.ศ. 2001, 2005, 2010 และ 2012
ที่มา : Dr.Ester Van Steekelenburg (2559)
ปัจจุบันมรดกทางวัฒนธรรมของเมืองกลายเป็นจุดขายหลักของการท่องเที่ยว ดังเช่น เมืองเหมือง
แร่หลายแห่งในประเทศออสเตรเลียที่กาลังได้รับความนิยม ซึ่งเป็นผลจากการกาหนดยุทธศาสตร์ให้ใช้
สินทรัพย์ที่เป็นมรดกของเมืองอย่างเหมืองแร่เก่ามาเป็นจุดขายเพื่อการท่องเที่ยว หนึ่งในนั้นคือเมืองเบนดิ
โก้ (Bendigo) รัฐวิกตอเรีย ซึ่งได้รับรางวัล Heritage Award ในปี ค.ศ. 2013 ขณะที่โรงแรมประเภท
Heritage Hotel ที่มีสถาปัตยกรรมเชิงอนุรักษ์จะได้รับความนิยมและมีราคาสูงกว่าโรงแรมทั่วไป เป็นต้น
9
2.4. การเพิ่มมูลค่าทรัพย์สินบนที่ดิน (Property Values)
ในหลายประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา มีผลการศึกษาวิจัยที่แสดงให้เห็นว่าการอนุรักษ์อาคารในย่าน
ประวัติศาสตร์ส่งผลต่อการเพิ่มมูลค่าทรัพย์สินบนที่ดินในหลายพื้นที่ เมืองโคลัมเบีย เมืองหลวงของมลรัฐ
แคโรไลน่าใต้ (Columbia, South Carolina) มีมูลค่าทรัพย์สินบนที่ดินในย่านเมืองเก่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 26 ต่อ
ปี ซึ่งเป็นการเพิ่มที่เร็วกว่าอัตราการเพิ่มของตลาดอสังหาริมทรัพย์ในภาพรวม ส่วนเมืองโบฟอร์ต
(Beaufort) ที่อยู่ในมลรัฐเดียวกันนั้น บ้านในย่านเมืองเก่ามีอัตราการขายสูงกว่าบ้านที่อยู่นอกเขตเมืองเก่า
ในบริเวณเดียวกันถึงร้อยละ 21 (รูปที่ 5)
รูปที่ 5 ผลกระทบของย่านประวัติศาสตร์ที่มีต่อมูลค่าทรัพย์สินบนที่ดินในสหรัฐอเมริกา
ที่มา : Dr.Ester Van Steekelenburg (2559)
ขณะที่สถิติจากเมืองทั้ง 6 แห่งในมลรัฐแมรี่แลนด์ (Maryland) และเมืองสตอนตัน มลรัฐเวอร์จิเนีย
(Staunton, Virginia) ก็แสดงผลไปในทิศทางเดียวกัน ในกรณีมลรัฐแมรี่แลนด์ อัตราการเพิ่มมูลค่าทรัพย์
สินบนที่ดินในย่านเมืองเก่าสูงกว่าเขตเมืองทั้งหมดถึง 5 แห่ง ได้แก่ เมือง Annapolis, Chestertown,
Frederick, Laurel และ Mt.Vernon-Baltimore ยกเว้นเมือง Berlin ที่มีอัตราการเพิ่มมูลค่าทรัพย์สินบนที่ดิน
ในย่านเมืองเก่าและเขตเมืองทั้งหมดใกล้เคียงกัน (รูปที่ 5) กรณีเมืองสตอนตัน มลรัฐเวอร์จิเนีย ผล
การศึกษาพบว่าในช่วงเวลาเกือบ 10 ปี ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1987-1995 อัตราการเพิ่มมูลค่าทรัพย์สินบนที่ดินใน
ย่านเมืองเก่าทั้ง 4 แห่งสูงกว่าย่านที่ไม่ใช่เมืองเก่าอย่างเห็นได้ชัด โดยย่านที่ไม่ใช่เมืองเก่า (กราฟแท่งสี
แดง รูปที่ 6) มีอัตราการเพิ่มมูลค่าทรัพย์สินบนที่ดินต่าที่สุดคือร้อยละ 51.1 ส่วนมูลค่าทรัพย์สินบนที่ดินใน
เขตเมืองเก่าอีก 4 แห่งล้วนมีอัตราการเพิ่มสูงกว่าทั้งสิ้น ได้แก่ ร้อยละ 51.9, 54.2, 62.8 และ 66.0 ในย่าน
เมืองเก่า Newtown, Beverly, Gospel Hill และ Stuart Historic District ตามลาดับ
10
รูปที่ 6 การเพิ่มมูลค่าทรัพย์สินบนที่ดินในเมืองสตอนตัน มลรัฐเวอร์จิเนีย สหรัฐอเมริกา
ที่มา : Dr.Ester Van Steekelenburg (2559)
ในประเทศสิงคโปร์ อาคารบ้านเรือนที่อยู่ใกล้เคียงกับศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์ของเมืองมีค่าเช่า
สูงกว่าอัตราค่าเช่าในภาพรวมร้อยละ 10-20 ขณะที่ราคาสินทรัพย์ในตลาดที่อยู่อาศัยในรอบสิบปีที่ผ่านมาก็
มีลักษณะเช่นเดียวกัน กล่าวคือ ที่อยู่อาศัยในย่านประวัติศาสตร์มีมูลค่าสูงขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 200 เมื่อเทียบ
กับราคาซื้อขายคอนโดมีเนียมที่เพิ่มขึ้นเพียงร้อยละ 150 เท่านั้น ขณะที่ผลการศึกษาวิจัยผู้อยู่อาศัยในเมือง
อิสตันบูล ประเทศตุรกี ชี้ชัดว่าประชาชนยินดีที่จะจ่ายเงินจานวนมากขึ้นเพื่อซื้อหรือปรับปรุงอาคาร
บ้านเรือนในย่านเมืองเก่าเพื่อเป็นการรับประกันว่าบรรยากาศและสภาพแวดล้อมบริเวณละแวกบ้าน
ใกล้เคียงจะไม่เปลี่ยนแปลงไปในระยะยาว
2.5. การบ่มเพาะธุรกิจขนาดเล็ก (Small Business Incubation)
ในทวีปยุโรปและอเมริกาเหนือ มากกว่าร้อยละ 80 ของงานใหม่เกิดจากธุรกิจขนาดกลางและขนาด
ย่อม ส่วนในประเทศกาลังพัฒนา ร้อยละ 99 ของงานใหม่เกิดจากธุรกิจขนาดเล็ก ย่านเมืองเก่าเป็นอีกทา
เลหนึ่งที่ธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็กสามารถเกิดขึ้นและดารงอยู่ได้ในภาวะที่มีการแข่งขันสูง
ตัวอย่างเช่น ย่านหูถ่ง (Hutong) ตรอกเล็กๆ ในเมืองปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน (รูปที่ 7) ที่มีสภาพการ
ตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนและชุมชนแบบในศตวรรษที่ 16 ซึ่งกลายเป็นเหยื่อของการฟื้นฟูเมืองขนานใหญ่ในช่วง
ทศวรรษที่ 1990 ปัจจุบันพื้นที่ส่วนใหญ่ของหูถ่งถูกนักพัฒนาที่ดินกว้านซื้ออย่างรวดเร็วเพื่อซ่อมแซม
ปรับปรุงและเปลี่ยนการใช้ประโยชน์ให้เป็นย่านการค้าและบริการรองรับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ซึ่งจะ
ดึงการจ้างงานธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมให้เข้าไปในพื้นที่อีกเป็นจานวนมาก
11
รูปที่ 7 การเกิดธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็กบริเวณย่านชุมชนเก่า (หูถ่ง) เมืองปักกิ่ง
ที่มา : Dr.Ester Van Steekelenburg (2559)
อีกตัวอย่างหนึ่งในเขตบริหารพิเศษฮ่องกง แม้จะมีอาคารเก่าเหลืออยู่น้อย แต่เมื่อเร็วๆ นี้ได้มีการ
ริเริ่มโครงการอนุรักษ์โดยไม่ทาลายอาคารเก่าเสื่อมโทรมใจกลางเมือง แต่จะใช้อาคารดังกล่าวเป็นศูนย์บ่ม
เพาะความรู้ด้านการออกแบบ เป็นต้น
3. บทสรุป
อิทธิพลของโลกาภิวัตน์เอื้อให้การอนุรักษ์มรดกของเมืองขยายตัวขึ้นอย่างรวดเร็วทั่วทุกมุมโลก
ปฏิเสธไม่ได้ว่ากิจกรรมที่เชื่อมโยงพื้นที่และผู้คนจากถิ่นต่างๆ เข้าไว้ด้วยกันอย่างการท่องเที่ยวเป็นปัจจัย
สาคัญที่ทาการอนุรักษ์มรดกของเมืองได้รับความสนใจจากผู้อยู่อาศัยในเขตเมืองเก่า ด้วยเพราะเห็นผลดี
ของการอนุรักษ์จากมุมมองด้านต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมุมมองด้านเศรษฐกิจ มรดกของเมืองควรถูกมอง
ว่าเป็นสินทรัพย์หรือต้นทุนมากกว่าเป็นสิ่งกีดขวางการพัฒนา แม้ประสบการณ์จากเมืองต่างๆ ทั้งใน
สหรัฐอเมริกา ยุโรปและเอเชียชี้ให้เห็นว่าย่านเมืองเก่าใจกลางเมืองล้วนเคยถูกละทิ้ง ไม่เห็นความสาคัญ
กระทั่งได้รับการฟื้นฟูบูรณะขึ้นใหม่ เนื่องจากผู้อยู่อาศัยเล็งเห็นถึงศักยภาพของอาคารบ้านเรือนเก่าในการ
พัฒนาเศรษฐกิจ การอนุรักษ์มรดกของเมืองจึงไม่เพียงแต่จะเป็นพื้นฐานในการสร้างความเจริญเติบโตทาง
เศรษฐกิจของเมืองให้ดาเนินต่อเนื่องไปในอนาคต แต่ยังเป็นการสร้างความแข็งแกร่งให้แก่อัตลักษณ์ทาง
วัฒนธรรมของชาติ ซึ่งเป็นสิ่งสาคัญที่จะช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้แก่ผู้ประกอบการใน
ท้องถิ่น ถือเป็นการเพิ่มศักยภาพด้านการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในภาพรวมอีกด้วย

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
พัน พัน
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
เทียนหอมแฟนซี Fancy candle
เทียนหอมแฟนซี Fancy candleเทียนหอมแฟนซี Fancy candle
เทียนหอมแฟนซี Fancy candle
Pandora Fern
 
002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories
wiraja
 
เซี่ยงไฮ้ พัฒนาการสู่เมืองระดับโลก
เซี่ยงไฮ้ พัฒนาการสู่เมืองระดับโลกเซี่ยงไฮ้ พัฒนาการสู่เมืองระดับโลก
เซี่ยงไฮ้ พัฒนาการสู่เมืองระดับโลก
FURD_RSU
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
พัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
พัน พัน
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วรรณา ไชยศรี
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
โวหารในวรรณคดี
โวหารในวรรณคดีโวหารในวรรณคดี
โวหารในวรรณคดี
Saimai Jitlang
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
panisra
 

Was ist angesagt? (20)

โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
 
BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...
BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...
BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
 
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัยการตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
 
เทียนหอมแฟนซี Fancy candle
เทียนหอมแฟนซี Fancy candleเทียนหอมแฟนซี Fancy candle
เทียนหอมแฟนซี Fancy candle
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 
002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
เซี่ยงไฮ้ พัฒนาการสู่เมืองระดับโลก
เซี่ยงไฮ้ พัฒนาการสู่เมืองระดับโลกเซี่ยงไฮ้ พัฒนาการสู่เมืองระดับโลก
เซี่ยงไฮ้ พัฒนาการสู่เมืองระดับโลก
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
ไวนิล 2
ไวนิล 2ไวนิล 2
ไวนิล 2
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย
 
โวหารในวรรณคดี
โวหารในวรรณคดีโวหารในวรรณคดี
โวหารในวรรณคดี
 
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 

Andere mochten auch

การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
FURD_RSU
 
เบตง :การปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์
เบตง :การปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์เบตง :การปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์
เบตง :การปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์
FURD_RSU
 
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีเมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
FURD_RSU
 
แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม:
 แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม: แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม:
แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม:
FURD_RSU
 
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาการพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
FURD_RSU
 
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมานโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
FURD_RSU
 
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมือง
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมืองเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมือง
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมือง
FURD_RSU
 
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมืองแนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
FURD_RSU
 

Andere mochten auch (15)

การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพการพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
 
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลบทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
 
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 201510 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
 
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
 
เบตง :การปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์
เบตง :การปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์เบตง :การปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์
เบตง :การปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์
 
เมืองระนอง : การพัฒนาเศรษฐกิจบนฐานทรัพยากร
เมืองระนอง : การพัฒนาเศรษฐกิจบนฐานทรัพยากรเมืองระนอง : การพัฒนาเศรษฐกิจบนฐานทรัพยากร
เมืองระนอง : การพัฒนาเศรษฐกิจบนฐานทรัพยากร
 
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีเมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
 
แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม:
 แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม: แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม:
แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม:
 
เศรษฐกิจแบ่งปัน กับ Uber
เศรษฐกิจแบ่งปัน กับ Uberเศรษฐกิจแบ่งปัน กับ Uber
เศรษฐกิจแบ่งปัน กับ Uber
 
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาการพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
 
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
 
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองPPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
 
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมานโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
 
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมือง
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมืองเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมือง
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมือง
 
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมืองแนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
 

Mehr von FURD_RSU

เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
FURD_RSU
 

Mehr von FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 

การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ

  • 1. การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ Dr.Ester Van Steekelenburg The Dutch Urban Planner แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ถอดความและเรียบเรียงจาก
  • 3. ผู้เขียน : Dr.Ester Van Steekelenburg ผู้เรียบเรียง : นางสาวปาริชาติ อ่อนทิมวงศ์ บรรณาธิการบริหาร : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการฝ่ายวิชาการ : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล กองบรรณาธิการ : นายฮาพีฟี สะมะแอ, นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง, นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร ปก : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง รูปเล่ม : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง ปีที่เผยแพร่ : กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 ผู้เผยแพร่ : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับมูลนิธิส่งเสริมปัญญาสาธารณะ (CPWI) ภายใต้ แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ผู้สนับสนุน : สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
  • 4. การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ ประสบการณ์จากเมืองในสหรัฐอเมริกา ยุโรปและเอเซีย1 Dr.Ester Van Steekelenburg2 1. บทนา การสร้างเศรษฐกิจโดยใช้การอนุรักษ์เป็นเครื่องมือ เริ่มต้นจากความเข้าใจในจุดเด่น (Identity) ของ เมือง ดังเช่น เมื่อคิดถึงความโรแมนติก (Romantic) ผู้คนส่วนใหญ่จะคิดถึงเมืองปารีส (Paris) เมื่อคิดถึง ศาสนา (Religion) ผู้คนส่วนใหญ่จะคิดถึงเมืองเยรูซาเล็ม (Jerusalem) เมื่อคิดถึงความทะเยอทะยาน (Ambition) ผู้คนส่วนใหญ่จะคิดถึงมหานครนิวยอร์ค (New York) เมื่อคิดถึงการเรียนรู้ (Learning) ผู้คนส่วน ใหญ่จะคิดถึงเมืองอ๊อกฟอร์ด (Oxford) และเมื่อคิดถึงการเงิน (Money) ผู้คนส่วนใหญ่จะคิดถึงฮ่องกง (Hong Kong) เป็นต้น แต่ปัจจุบัน ประเทศในเอเชียกาลังมุ่งสร้างสิ่งที่เหมือนกัน เช่น บ้านจัดสรร คอนโดมิเนียม อาคารสูง อีกทั้งให้ความสนใจเรื่องการอนุรักษ์ค่อนข้างน้อย ส่งผลให้เกิดการสูญเสียจุดเด่นหรืออัตลักษณ์ของเมือง ทั้งนี้ ภายในปี ค.ศ. 2050 แนวโน้มประชากรทั่วโลกจานวน 2 ใน 3 จะอาศัยอยู่ในเมือง ดังนั้น ถ้าเมืองไม่ สามารถสร้างความแตกต่างได้ เมืองนั้นก็จะเสียเปรียบในเชิงการแข่งขันไปในที่สุด ปัจจุบัน มีข้อโต้แย้งเรื่องการอนุรักษ์ในมิติต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นมิติทางสังคม วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรม หรือแม้กระทั่งในเชิงเศรษฐกิจ มรดกของเมืองจึงมีความเสี่ยงสูงหากเมืองนั้น มีงบประมาณน้อยหรือมีงบประมาณไม่เพียงพอ ส่งผลให้หลายเมืองมีการละเลยอาคารเก่า ดังเช่น ใน ประเทศอินโดนีเซีย หรือเขตบริหารพิเศษฮ่องกง เป็นต้น 2. การชี้วัดผลกระทบทางเศรษฐกิจจากการอนุรักษ์มรดกของเมือง ผลกระทบทางเศรษฐกิจจากการอนุรักษ์มรดกของเมืองพิจารณาได้ 5 ประการ ในเบื้องต้น การ อนุรักษ์มรดกของเมืองก่อให้เกิดการจ้างงาน ทั้งการจ้างงานทางตรงที่เกี่ยวข้องกับงานการอนุรักษ์อาคาร เก่าและการจ้างงานทางอ้อมอื่นๆ การอนุรักษ์มรดกของเมืองยังเป็นการฟื้นฟูเขตเมืองชั้นในให้กลับมามี ชีวิตชีวา มูลค่าทรัพย์สินบนที่ดินเพิ่มสูงขึ้น อีกทั้งยังดึงดูดให้เกิดกระแสการท่องเที่ยวในแหล่งมรดกทาง วัฒนธรรม การเพิ่มขึ้นของจานวนนักท่องเที่ยวส่งผลให้เกิดธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) ที่ เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวของคนในพื้นที่ตามมาอีกเป็นจานวนมาก 1 เรียบเรียงโดย ปาริชาติ อ่อนทิมวงศ์ นักวิชาการอิสระ ดัดแปลงจากการบรรยายเรื่อง “Economics of Heritage” โดย Dr.Ester Van Steekelenburg ในโครงการฝึกอบรมการจัดทานครลาปางให้เป็นเมืองน่าอยู่โดยการปกป้องรักษามรดกอันมีคุณค่าของ เมือง สนับสนุนโดยการเคหะแห่งชาติ และมูลนิธิปัทมะเสวี เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2559 ณ บ้านบริบูรณ์ เทศบาลเมืองลาปาง 2 นักผังเมืองชาวเนเธอร์แลนด์ ผู้มีประสบการณ์การอนุรักษ์เมืองกว่า 15 ปี ผู้คิดค้นและก่อตั้ง Application “IDISCOVERY”
  • 5. 5 2.1. การส0ร้างงาน (Job Creation) การก่อสร้างอาคารบ้านเรือนขึ้นใหม่เน้นการใช้เครื่องไม้เครื่องมือช่วยทุ่นแรงพอๆ กับการจ้าง แรงงานคน ขณะที่การซ่อมแซมอาคารเก่าจะใช้แรงงานคนมากกว่า การอนุรักษ์อาคารเก่าจึงส่งผลให้เกิด การสร้างงานที่เกี่ยวข้องโดยตรงเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 10-20 (รูปที่ 1) และผลการศึกษาในประเทศ สหรัฐอเมริกาชี้ให้เห็นว่าสาขาการอนุรักษ์ฟื้นฟู (Rehabilitation) ก่อให้เกิดรายได้สูงสุดราว 762,000 ดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งสูงกว่าสาขาการก่อสร้างใหม่ (New Construction) และสาขาอุตสาหกรรมการผลิต (Manufacturing) ที่ก่อให้เกิดรายได้ราว 653,000 ดอลลาร์สหรัฐ และ 515,000 ดอลลาร์สหรัฐ ตามลาดับ (รูปที่ 2) การอนุรักษ์อาคารเก่ายังสร้างความต้องการช่างฝีมือท้องถิ่นผู้มีความเชี่ยวชาญในงาน สถาปัตยกรรมและศิลปกรรมแบบดั้งเดิม นอกจากนี้ การใช้วัสดุก่อสร้างในท้องถิ่นเพื่ออนุรักษ์อาคารเก่ายัง ช่วยลดการนาเข้าวัสดุก่อสร้างที่มีราคาแพงจากพื้นที่ภายนอก การใช้ทั้งช่างฝีมือและวัสดุในท้องถิ่นล้วน เป็นการส่งเสริมให้เมืองมีความยั่งยืนเพิ่มขึ้นในระยะยาว รูปที่ 1 แบบจาลองการจ้างงานเปรียบเทียบกรณีการก่อสร้างอาคารใหม่กับการอนุรักษ์อาคารเก่า ที่มา : Dr.Ester Van Steekelenburg (2559)
  • 6. 6 รูปที่ 2 การก่อให้เกิดรายได้ในสาขาการผลิตหลักของประเทศสหรัฐอเมริกา ที่มา : Dr.Ester Van Steekelenburg (2559) 2.2. การฟื้นฟูเขตเมืองชั้นใน (Inner City Revitalization) ประสบการณ์จากประเทศเนเธอร์แลนด์ชี้ให้เห็นว่าทุกๆ หนึ่งยูโรที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุน การบูรณะฟื้นฟูของประเทศเนเธอร์แลนด์ (The Dutch Restoration Fund) จะกระตุ้นให้เกิดการลงทุน สมทบเพิ่มเติมจากภาคเอกชนสูงกว่าถึง 3 เท่า เงินเหล่านี้ก่อให้เกิดการจ้างงานโดยตรง และจากการ ประเมินพบว่าทุกปีที่การบูรณะฟื้นฟูอนุสาวรีย์ถูกเลื่อนออกไป จะทาให้ค่าใช้จ่ายสูงขึ้นถึงร้อยละ 15 นี่คือ ผลเสียทางเศรษฐกิจของการไม่อนุรักษ์มรดกของเมืองเสียตั้งแต่วันนี้ ในประเทศสหรัฐอเมริกา ความสาเร็จเกือบทั้งหมดของโครงการฟื้นฟูเขตเมืองชั้นในเกิดจากการ ผนวกรวมเอาการอนุรักษ์แหล่งประวัติศาสตร์เข้าไปเป็นองค์ประกอบหลักของยุทธศาสตร์การดาเนินงาน ตัวอย่างเช่น ชุมชนติดถนนสายหลัก (Main Street Communities) ในช่วงระยะเวลาเกินกว่า 25 ปีที่ผ่านมา ได้รับการสนับสนุนเงินทุนเพื่อปรับปรุงสภาพทางกายภาพจานวน 23.3 พันล้านเหรียญสหรัฐ โดยเป็น โครงการก่อสร้างและฟื้นฟูอาคารจานวน 107,179 แห่ง สามารถเพิ่มจานวนธุรกิจใหม่ได้ถึง 67,000 ธุรกิจ และสร้างงานใหม่ได้กว่า 308,370 งาน ในเมืองตูนิส เมืองหลวงของประเทศตูนิเซีย การบูรณะฟื้นฟูมรดกของเมืองในพื้นที่จตุรัสเก่าเมดินา (Old Medina) ทาให้เกิดการกลับเข้ามาอยู่อาศัยของชนชั้นกลาง มีการเกิดขึ้นของธุรกิจใหม่ มูลค่าของ สินทรัพย์บนที่ดินมีราคาเพิ่มสูงขึ้น และการกลับมาลงทุนโดยเจ้าของสินทรัพย์บนที่ดินนั้น 2.3. การท่องเที่ยวในแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม (Heritage Tourism) การท่องเที่ยวในแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม (Heritage Tourism) เป็นส่วนหนึ่งของการท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรม (Cultural Tourism) ซึ่งเป็นสาขาหลักของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวที่มีอัตราการเจริญเติบโตสูง
  • 7. 7 อย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็นผลจากการขับเคลื่อนของผู้คนในยุค Baby Boom ที่มีอัตราการเกิดของประชากรสูง ในช่วงทศวรรษที่ 1950 ปัจจุบันประชากรกลุ่มนี้กลายเป็นคนกลุ่มใหญ่ที่มีกาลังซื้อสูงและให้คุณค่ากับมรดก ทางวัฒนธรรมอันดีงามของผู้คนในพื้นที่ต่างๆ ทั่วโลก ปัจจุบันนักท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเป็นกลุ่ม นักท่องเที่ยวที่ใช้ระยะเวลาพานักอยู่ในจุดหมายปลายทางยาวนานกว่านักท่องเที่ยวกลุ่มอื่น มีอัตราการ กลับมาเที่ยวซ้าสูงในหลายพื้นที่ และที่สาคัญคือมีการใช้จ่ายเงินเพื่อการท่องเที่ยวต่อครั้งสูงกว่า นักท่องเที่ยวกลุ่มอื่นถึง 2.5 เท่า ประสบการณ์จากประเทศสหรัฐอเมริกาชี้ให้เห็นว่าสิ่งดึงดูดใจหลักที่ดึงดูดให้นักท่องเที่ยวมาเยี่ยม ชมมลรัฐเวอร์จิน่า ทั้งกลุ่มที่มาเยือนเป็นครั้งแรก (First Time Visitors) และกลุ่มที่มาเที่ยวซ้า (Repeat Visitors) ได้แก่ อาคารเก่าแก่ทางประวัติศาสตร์ (รูปที่ 3) ในประเทศจีน กาแพงเมืองจีนเป็นแหล่งมรดกทาง วัฒนธรรมที่มีนักท่องเที่ยวทั้งในประเทศและต่างชาติหลั่งไหลมาเยี่ยมชมกว่า 24 ล้านคนต่อปี ขณะที่เมือง เก่าลี่เจียง เมืองที่เคยหลับใหลในช่วงเวลาหลายร้อยปี ปัจจุบันกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยม สูง มีนักท่องเที่ยวจานวนกว่า 11 ล้านคนต่อปี สร้างรายได้กว่า 1.6 พันล้านเหรียญสหรัฐต่อปีให้เมืองที่มีผู้ อยู่อาศัยเพียง 1.4 แสนคน รูปที่ 3 สิ่งดึงดูดใจหลักที่ดึงดูดให้นักท่องเที่ยวมาเยี่ยมชมมลรัฐเวอร์จิน่า สหรัฐอเมริกา ที่มา : Dr.Ester Van Steekelenburg (2559) เมืองเก่ามะละกา เป็นเสาหลักด้านการท่องเที่ยวของรัฐมะละกา สหพันธรัฐมาเลเซีย มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1985 และได้รับการประกาศให้เป็นเมืองมรดกโลกในปี ค.ศ. 2008 ปัจจุบันสามารถดึงดูดนักท่องเที่ยว ได้ถึง 4 ล้านคนต่อปี ส่วนมาเก๊าเป็นเมืองที่มีการเพิ่มขึ้นของนักท่องเที่ยวแบบก้าวกระโดด ภายหลังได้รับ การประกาศให้เป็นเมืองมรดกโลกในปี ค.ศ. 2005 โดยในปี ค.ศ. 2001 มาเก๊ามีนักท่องเที่ยวราว 9.1 ล้าน คน และเพิ่มขึ้นเกินกว่าร้อยละ 100 เป็น 18.7 ล้านคนในปี ค.ศ. 2005 จากนั้นจานวนนักท่องเที่ยวก็เพิ่มขึ้น
  • 8. 8 อย่างต่อเนื่องเป็น 22 ล้านคน และ 28 ล้านคนในปี ค.ศ. 2010 และ ค.ศ. 2012 ตามลาดับ ซึ่งประมาณว่า ร้อยละ 60 ของการค้าปลีกล้วนเกิดขึ้นในเขตเมืองเก่าของมาเก๊า (รูปที่ 4) รูปที่ 4 จานวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางไปเยือนมาเก๊าในปี ค.ศ. 2001, 2005, 2010 และ 2012 ที่มา : Dr.Ester Van Steekelenburg (2559) ปัจจุบันมรดกทางวัฒนธรรมของเมืองกลายเป็นจุดขายหลักของการท่องเที่ยว ดังเช่น เมืองเหมือง แร่หลายแห่งในประเทศออสเตรเลียที่กาลังได้รับความนิยม ซึ่งเป็นผลจากการกาหนดยุทธศาสตร์ให้ใช้ สินทรัพย์ที่เป็นมรดกของเมืองอย่างเหมืองแร่เก่ามาเป็นจุดขายเพื่อการท่องเที่ยว หนึ่งในนั้นคือเมืองเบนดิ โก้ (Bendigo) รัฐวิกตอเรีย ซึ่งได้รับรางวัล Heritage Award ในปี ค.ศ. 2013 ขณะที่โรงแรมประเภท Heritage Hotel ที่มีสถาปัตยกรรมเชิงอนุรักษ์จะได้รับความนิยมและมีราคาสูงกว่าโรงแรมทั่วไป เป็นต้น
  • 9. 9 2.4. การเพิ่มมูลค่าทรัพย์สินบนที่ดิน (Property Values) ในหลายประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา มีผลการศึกษาวิจัยที่แสดงให้เห็นว่าการอนุรักษ์อาคารในย่าน ประวัติศาสตร์ส่งผลต่อการเพิ่มมูลค่าทรัพย์สินบนที่ดินในหลายพื้นที่ เมืองโคลัมเบีย เมืองหลวงของมลรัฐ แคโรไลน่าใต้ (Columbia, South Carolina) มีมูลค่าทรัพย์สินบนที่ดินในย่านเมืองเก่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 26 ต่อ ปี ซึ่งเป็นการเพิ่มที่เร็วกว่าอัตราการเพิ่มของตลาดอสังหาริมทรัพย์ในภาพรวม ส่วนเมืองโบฟอร์ต (Beaufort) ที่อยู่ในมลรัฐเดียวกันนั้น บ้านในย่านเมืองเก่ามีอัตราการขายสูงกว่าบ้านที่อยู่นอกเขตเมืองเก่า ในบริเวณเดียวกันถึงร้อยละ 21 (รูปที่ 5) รูปที่ 5 ผลกระทบของย่านประวัติศาสตร์ที่มีต่อมูลค่าทรัพย์สินบนที่ดินในสหรัฐอเมริกา ที่มา : Dr.Ester Van Steekelenburg (2559) ขณะที่สถิติจากเมืองทั้ง 6 แห่งในมลรัฐแมรี่แลนด์ (Maryland) และเมืองสตอนตัน มลรัฐเวอร์จิเนีย (Staunton, Virginia) ก็แสดงผลไปในทิศทางเดียวกัน ในกรณีมลรัฐแมรี่แลนด์ อัตราการเพิ่มมูลค่าทรัพย์ สินบนที่ดินในย่านเมืองเก่าสูงกว่าเขตเมืองทั้งหมดถึง 5 แห่ง ได้แก่ เมือง Annapolis, Chestertown, Frederick, Laurel และ Mt.Vernon-Baltimore ยกเว้นเมือง Berlin ที่มีอัตราการเพิ่มมูลค่าทรัพย์สินบนที่ดิน ในย่านเมืองเก่าและเขตเมืองทั้งหมดใกล้เคียงกัน (รูปที่ 5) กรณีเมืองสตอนตัน มลรัฐเวอร์จิเนีย ผล การศึกษาพบว่าในช่วงเวลาเกือบ 10 ปี ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1987-1995 อัตราการเพิ่มมูลค่าทรัพย์สินบนที่ดินใน ย่านเมืองเก่าทั้ง 4 แห่งสูงกว่าย่านที่ไม่ใช่เมืองเก่าอย่างเห็นได้ชัด โดยย่านที่ไม่ใช่เมืองเก่า (กราฟแท่งสี แดง รูปที่ 6) มีอัตราการเพิ่มมูลค่าทรัพย์สินบนที่ดินต่าที่สุดคือร้อยละ 51.1 ส่วนมูลค่าทรัพย์สินบนที่ดินใน เขตเมืองเก่าอีก 4 แห่งล้วนมีอัตราการเพิ่มสูงกว่าทั้งสิ้น ได้แก่ ร้อยละ 51.9, 54.2, 62.8 และ 66.0 ในย่าน เมืองเก่า Newtown, Beverly, Gospel Hill และ Stuart Historic District ตามลาดับ
  • 10. 10 รูปที่ 6 การเพิ่มมูลค่าทรัพย์สินบนที่ดินในเมืองสตอนตัน มลรัฐเวอร์จิเนีย สหรัฐอเมริกา ที่มา : Dr.Ester Van Steekelenburg (2559) ในประเทศสิงคโปร์ อาคารบ้านเรือนที่อยู่ใกล้เคียงกับศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์ของเมืองมีค่าเช่า สูงกว่าอัตราค่าเช่าในภาพรวมร้อยละ 10-20 ขณะที่ราคาสินทรัพย์ในตลาดที่อยู่อาศัยในรอบสิบปีที่ผ่านมาก็ มีลักษณะเช่นเดียวกัน กล่าวคือ ที่อยู่อาศัยในย่านประวัติศาสตร์มีมูลค่าสูงขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 200 เมื่อเทียบ กับราคาซื้อขายคอนโดมีเนียมที่เพิ่มขึ้นเพียงร้อยละ 150 เท่านั้น ขณะที่ผลการศึกษาวิจัยผู้อยู่อาศัยในเมือง อิสตันบูล ประเทศตุรกี ชี้ชัดว่าประชาชนยินดีที่จะจ่ายเงินจานวนมากขึ้นเพื่อซื้อหรือปรับปรุงอาคาร บ้านเรือนในย่านเมืองเก่าเพื่อเป็นการรับประกันว่าบรรยากาศและสภาพแวดล้อมบริเวณละแวกบ้าน ใกล้เคียงจะไม่เปลี่ยนแปลงไปในระยะยาว 2.5. การบ่มเพาะธุรกิจขนาดเล็ก (Small Business Incubation) ในทวีปยุโรปและอเมริกาเหนือ มากกว่าร้อยละ 80 ของงานใหม่เกิดจากธุรกิจขนาดกลางและขนาด ย่อม ส่วนในประเทศกาลังพัฒนา ร้อยละ 99 ของงานใหม่เกิดจากธุรกิจขนาดเล็ก ย่านเมืองเก่าเป็นอีกทา เลหนึ่งที่ธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็กสามารถเกิดขึ้นและดารงอยู่ได้ในภาวะที่มีการแข่งขันสูง ตัวอย่างเช่น ย่านหูถ่ง (Hutong) ตรอกเล็กๆ ในเมืองปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน (รูปที่ 7) ที่มีสภาพการ ตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนและชุมชนแบบในศตวรรษที่ 16 ซึ่งกลายเป็นเหยื่อของการฟื้นฟูเมืองขนานใหญ่ในช่วง ทศวรรษที่ 1990 ปัจจุบันพื้นที่ส่วนใหญ่ของหูถ่งถูกนักพัฒนาที่ดินกว้านซื้ออย่างรวดเร็วเพื่อซ่อมแซม ปรับปรุงและเปลี่ยนการใช้ประโยชน์ให้เป็นย่านการค้าและบริการรองรับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ซึ่งจะ ดึงการจ้างงานธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมให้เข้าไปในพื้นที่อีกเป็นจานวนมาก
  • 11. 11 รูปที่ 7 การเกิดธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็กบริเวณย่านชุมชนเก่า (หูถ่ง) เมืองปักกิ่ง ที่มา : Dr.Ester Van Steekelenburg (2559) อีกตัวอย่างหนึ่งในเขตบริหารพิเศษฮ่องกง แม้จะมีอาคารเก่าเหลืออยู่น้อย แต่เมื่อเร็วๆ นี้ได้มีการ ริเริ่มโครงการอนุรักษ์โดยไม่ทาลายอาคารเก่าเสื่อมโทรมใจกลางเมือง แต่จะใช้อาคารดังกล่าวเป็นศูนย์บ่ม เพาะความรู้ด้านการออกแบบ เป็นต้น 3. บทสรุป อิทธิพลของโลกาภิวัตน์เอื้อให้การอนุรักษ์มรดกของเมืองขยายตัวขึ้นอย่างรวดเร็วทั่วทุกมุมโลก ปฏิเสธไม่ได้ว่ากิจกรรมที่เชื่อมโยงพื้นที่และผู้คนจากถิ่นต่างๆ เข้าไว้ด้วยกันอย่างการท่องเที่ยวเป็นปัจจัย สาคัญที่ทาการอนุรักษ์มรดกของเมืองได้รับความสนใจจากผู้อยู่อาศัยในเขตเมืองเก่า ด้วยเพราะเห็นผลดี ของการอนุรักษ์จากมุมมองด้านต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมุมมองด้านเศรษฐกิจ มรดกของเมืองควรถูกมอง ว่าเป็นสินทรัพย์หรือต้นทุนมากกว่าเป็นสิ่งกีดขวางการพัฒนา แม้ประสบการณ์จากเมืองต่างๆ ทั้งใน สหรัฐอเมริกา ยุโรปและเอเชียชี้ให้เห็นว่าย่านเมืองเก่าใจกลางเมืองล้วนเคยถูกละทิ้ง ไม่เห็นความสาคัญ กระทั่งได้รับการฟื้นฟูบูรณะขึ้นใหม่ เนื่องจากผู้อยู่อาศัยเล็งเห็นถึงศักยภาพของอาคารบ้านเรือนเก่าในการ พัฒนาเศรษฐกิจ การอนุรักษ์มรดกของเมืองจึงไม่เพียงแต่จะเป็นพื้นฐานในการสร้างความเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจของเมืองให้ดาเนินต่อเนื่องไปในอนาคต แต่ยังเป็นการสร้างความแข็งแกร่งให้แก่อัตลักษณ์ทาง วัฒนธรรมของชาติ ซึ่งเป็นสิ่งสาคัญที่จะช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้แก่ผู้ประกอบการใน ท้องถิ่น ถือเป็นการเพิ่มศักยภาพด้านการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในภาพรวมอีกด้วย