SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 10
Downloaden Sie, um offline zu lesen
เบตง :การปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์
วีรวิชญ์ เอี่ยมแสง
ณัฐธิดา เย็นบารุง
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ผู้ช่วยนักวิจัย
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
2
เบตง :การปรับตัวของเมืองชายแดน
ท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์
วีรวิชญ์ เอี่ยมแสง
ณัฐธิดา เย็นบารุง
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ผู้ช่วยนักวิจัย
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่ออนาคตของเมือง
3
ผู้เขียน : นายวิรวิชญ์ เอี่ยมแสง, นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง , นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร
บรรณาธิการบริหาร : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการฝ่ายวิชาการ : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล
กองบรรณาธิการ : นายฮาพีฟี สะมะแอ, นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง, นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ปก : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง
รูปเล่ม : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง
ปีที่เผยแพร่ : พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
ผู้เผยแพร่ : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับมูลนิธิส่งเสริมปัญญาสาธารณะ (CPWI) ภายใต้
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง
ผู้สนับสนุน : สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
4
เบตง :การปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์1
“ใต้สุดสยาม เมืองงามชายแดน” เบตงเป็นอาเภอซึ่งอยู่ทางทิศใต้สุดของประเทศไทย ด้วยลักษณะ
ทางภูมิศาสตร์ที่เป็นพื้นที่ภูเขาสูงล้อมรอบอุดมไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลายและเป็นเมือง
ชายแดนที่มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศมาเลเซียส่งผลให้เบตงมีลักษณะโดดเด่นในฐานะเมืองการค้าและ
การท่องเที่ยวทางด้านสังคมและวัฒนธรรม ประกอบกับกระแสการเปลี่ยนแปลงของบริบทสังคม การเมือง
และวัฒนธรรมของโลก เบตงในฐานะเมืองชายแดนจึงเป็นพื้นท่าที่น่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง ทั้งด้านการค้า ด้าน
สังคม และโดยเฉพาะด้านการพัฒนา ด้วยการปรับเปลี่ยนของบริบทโลกบูรพาภิวัตน์จะช่วยยกระดับให้เบ
ตงก้าวขึ้นสู่แบบอย่างการพัฒนาเมืองชายแดนของไทยได้อย่างสมบูรณ์
1. ด้านประวัติศาสตร์เมืองเบตง
อาเภอเบตงมีอาณาเขตติดต่อกับรัฐเกดะห์ ประเทศมาเลเซีย หากย้อนกลับไปพิจารณาในบริบท
ด้านประวัติศาสตร์ความเป็นมาของเมืองเบตง เริ่มมาจากการอพยพของชาวจีนจากมณฑลกวางโจว ได้เข้า
มาเบตงประมาณปี พ.ศ.2440 (ค.ศ.1897) แต่เดิมชาวจีนกลุ่มนี้ได้มาอาศัยที่รัฐเปรัคและรัฐสลังงอใน
ประเทศมาเลเซียปัจจุบัน โดยจะมาอาศัยทางานในเหมืองแร่ เพราะที่ตั้งของประเทศมาเลเซียเป็นแหล่งแร่
เงินและดีบุก นอกจากนี้ มีบางส่วนที่ไปอาศัยตามชายฝั่งตะวันตกของประเทศมาเลเซีย เช่น
เกาะปีนัง มะละกาและสิงคโปร์ ในปัจจุบันคนจีนกลุ่มนี้ยังคงอาศัยอยู่ตามเมืองชายทะเลตะวันตก (wiki
pedia/orang cina di Malaysia) ประกอบกับคนจีนที่อพยพออกนอกประเทศอีกส่วนหนึ่งได้เดินทางมายังเบ
ตงโดยคิดว่าพื้นที่ตรงนี้ตั้งอยู่ในประเทศมาเลเซีย แต่เมื่อพิจารณาตามลักษณะทางภูมิศาสตร์โดยแบ่งแนว
เขตแดนตามแนวสันปันน้าเทือกเขาสันกลาคีรีจะพบว่าอาเภอเบตงตั้งอยู่ในประเทศไทย
เมื่อญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้กวาดล้างจับกุมชาวจีนในเบตง แต่คนไทยเชื้อ
สายพุทธและคนไทยเชื้อสายมุสลิม ซึ่งมีความสัมพันธ์อันดีกับชาวจีนได้ช่วยเหลือชาวจีนที่ตั้งรกฐานในเบตง
ไว้โดยการให้ที่อยู่อาศัยเพื่อให้รอดพ้นจากการกวาดต้อนของทหารญี่ปุ่น หลังสิ้นสุดยุคสงครามโลกครั้งที่ 2
เกิดเหตุการณ์ความขัดแย้งฝั่งมาลายา ระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์มาลายา (Parti Komunis Malaya) กับเจ้า
อาณานิคมอังกฤษที่ไม่สามารถเจรจากันได้ จึงเกิดการต่อสู้และปราบปราม ตามบันทึกของพรรค
คอมมิวนิสต์มาลายาในปี ค.ศ.1948 – 1955 รัฐบาลสหพันธรัฐมาเลเซียภายใต้รัฐบาลอังกฤษ ได้กวาดล้าง
จับกุมสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์มาลายาอย่างหนัก มีสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์มาลายาถูกสังหารถึง 3,000
คน เนรเทศออกนอกประเทศ 10,000 คน ส่วนใหญ่ประกอบไปด้วยคนมาลายาเชื้อชาติจีน และเชื้อชาติ
อินโดนีเซีย ส่วนหนึ่งกลับประเทศจีน และส่วนหนึ่งก็ทะลักมาฝั่งไทย ประกอบกับช่วงนั้นเศรษฐกิจของเบตง
ตกต่ามาก ประชาชนในพื้นที่อยู่ในยุคที่ค่าครองชีพสูง อย่างไรก็ตาม เบตงสามารถผ่านวิกฤตทั้งทาง
การเมืองและเศรษฐกิจมาได้ด้วยการร่วมมือกันของประชาชาชนในพื้นที่ ทั้งชาวไทยพุทธ ชาวไทยเชื้อสาย
จีน และชาวไทยชื้อสายมุสลิม
1
การเขียนบทความชิ้นนี้มีเนื้อหาและข้อมูลจากการลงศึกษาดูงานเมืองเบตง วันที่ 26-27 กันยายน 2558 จัดโดยสถาบันคลังปัญญาด้าน
ยุทธศาสตร์ชาติ ร่วมกับ แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง (นพม.) วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ภายใต้การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
5
2. ด้านสังคมและวัฒนธรรม : คนจีน
อาเภอเบตงประกอบด้วยประชาชนนับถือศาสนาอิสลาม 52.9% ศาสนาพุทธ 46.4% และศาสนา
คริสต์ 0.7%2
โดยเชื้อชาติของผู้คนในเบตงประกอบด้วย 3 กลุ่มใหญ่ คือ คนไทย คนไทยเชื้อสายมลายู
และคนไทยเชื้อสายจีน ซึ่งในเมืองเบตงส่วนใหญ่จะมีคนไทยเชื้อสายจีนค่อนข้างมากและมีบทบาทโดดเด่น
ในเมืองเบตง ชุมชนชาวไทยเชื้อสายจีนที่มีหลายแซ่ในเมืองเบตง และยังคงมีวิถีชีวิต ประเพณี ของผู้คนที่
แสดงถึงความเป็นจีนไว้เกือบทุกอย่าง รวมภาษาที่ผู้คนใช้สื่อสารกันส่วนใหญ่ยังคงเป็นภาษาจีน โดยคนจีน
ในเบตงส่วนใหญ่เป็นผู้อพยพมาจากหลายมณฑลในประเทศจีนกว่าร้อยปีที่ผ่านมา และกลุ่มคนจีนจาก
พรรคคอมมิวนิสต์มาลายาจากประเทศมาเลเซียที่อพยพเข้ามาอาศัยในเบตง
ปัจจุบันคนไทยเชื้อสายจีนในเบตงมีการรวมตัวกันก่อตั้งเป็นมูลนิธิหรือสมาคมแล้วถึง 5 องค์กร
ประกอบด้วย บาเพ็ญบุญ มูลนิธิ (กวางไส), สมาคมกว๋องสิ่ว เบตง, สมาคมบารุงราษฎร์ (แต้จิ๋ว) เบตง,
สมาคมฮากกา และสมาคมฮกเกี้ยน และทั้ง 5 สมาคมจีนนี้ได้รวมตัวกันเป็นหนึ่งเดียว ภายใต้ชื่อของมูลนิธิ
อาเภอเบตง โดยช่วงประเพณีไหว้พระจันทร์ของคนจีน ซึ่งเป็นเทศกาลตามวัฒนธรรมจีนที่มีขึ้นในกลางฤดู
ใบไม้ร่วง เพื่อเฉลิมฉลองการเก็บเกี่ยว จะมีขึ้นในคืนวันเพ็ญเดือน 8 ตามปฏิทินจันทรคติ (กันยายนตาม
ปฏิทินสากล) ในเทศกาลนี้ ชาวจีนจะเฉลิมฉลองด้วยการไหว้ดวงจันทร์ในเวลากลางคืน งานประเพณีไหว้
พระจันทร์ที่เมืองเบตงนั้น มีความแตกต่างจากประเพณีไหว้พระจันทร์เมืองอื่นๆ ซึ่งโดยปกติคนไทยเชื้อสาย
จีนอื่นในเมืองอื่นนั้นจะมีเพียงพิธีการไหว้ดวงจันทร์เท่านั้น แต่เมืองเบตงนั้น สมาคมชาวจีน 5 สานัก ได้
ร่วมกันเฉลิมฉลองด้วยการปิดถนนจัดขบวนพาเหรดคนไทยเชื้อสายจีนในเมืองเบตง พร้อมทั้งการเชิดสิงโต
แห่เดินทั่วทั้งเมืองเบตง ซึ่งการเฉลิมฉลองใหญ่เช่นนี้ มักมีในบางประเทศ เช่น ฮ่องกง ไต้หวัน สิงคโปร์
หรือเวียดนาม ซึ่งในคนไทยเชื้อสายจีนทั้ง 5 สานักได้จัดขบวนได้อย่างยิ่งใหญ่ สร้างความตื่นเต้นและเป็นที่
ชื่นชอบนักท่องเที่ยวอย่างยิ่ง
นอกจากนี้ มูลนิธิอาเภอเบตง ภายใต้การรวมตัวของ 5 สมาคมจีนได้สร้างสถาบันการศึกษาเพื่อคน
จีนเบตง คือ โรงเรียนจงฝามูลนิธิ เป็นโรงเรียนที่สอนภาษาจีนแห่งแรกของเบตง สอนตั้งแต่อนุบาลจนถึง
มัธยมปลายอย่างครบถ้วน และในวันนี้โรงเรียนจงฝายังคงเป็นโรงเรียนที่ทาหน้าที่สถาบันการศึกษา
ภาษาจีนที่เป็นที่ยอมรับของผู้คนในเมืองเบตง เป็นอีกหนึ่งสถาบันช่วยหลอมรวมเป็นหนึ่งของคนไทยเชื้อ
สายจีน ก่อให้เกิดแนวคิดผลักดันการพัฒนาเมืองเบตงให้เป็นศูนย์การศึกษาระดับนานาชาติ โดยใช้ความ
เข้มแข็งทางภาษาจีน เป็นจุดนาเมืองเบตงเข้าสู่ระดับนานาชาติ
การรวมตัวของ 5 สมาคมจีน ภายใต้มูลนิธิอาเภอเบตงนั้น ถือได้ว่าเป็น ประชาสังคม (Civil
Society) ของเมืองเบตง เป็นประชาสังคมที่มีรากฐานความเป็นจีนอย่างเข้มแข็ง โดยกลุ่มคนจีนภายใต้
มูลนิธิอาเภอเบตง จัดเป็นสถาบันทางสังคมหลักของผู้คนไทยเชื้อสายจีนในเมืองเบตง โดยเฉพาะการยังจัด
งานที่ยังดารงซึ่งอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมความเป็นจีน โดยทางมูลนิธิอาเภอเบตงเป็นเจ้าภาพจัดงาน
ประเพณีวัฒนธรรมจีนอย่างยิ่งใหญ่ทุกเทศกาล ไม่ว่าจะเป็นงานพิธีสมโภช และแห่เจ้า การอนุรักษ์ประเพณี
การถือศีลกินเจของชาวไทยเชื้อสายจีน รวมทั้งการจัดเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ในเทศบาลไหว้พระจันทร์ใน
ข้างต้น ที่สาคัญการจัดประเพณี วัฒนธรรม เช่นนี้เป็นการส่งเสริมเยาวชน และประชาชนปฏิบัติตนเป็นคนดี
2
ข้อมูล ปี พ.ศ. 2550 แหล่งที่มาจากระบบฐานข้อมูลศูนย์ปฏิบัติงานจังหวัดยะลา
6
ละเว้นความชั่ว ส่งเสริมการท่องเที่ยวให้เกิดการหมุนเวียนด้านเศรษฐกิจ ก่อให้เกิดความรักสามัคคี และ
สร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่อาเภอเบตง ซึ่งเป็นเมืองท่องเที่ยวชายแดนอีกด้วย
ความเป็นประชาสังคมที่เต็มไปด้วยอัตลักษณ์ความเป็นจีนอย่างแข็งแกร่งที่แตกต่างจากคนไทยเชื้อ
สายจีนในเมืองอื่นๆ ในวันนี้คนไทยเชื้อสายจีนในเมืองเบตงได้กลายเป็นชุมชนและเครือข่ายทางชาติพันธุ์
(ethnic networks and associations) ที่ผ่านการทากิจกรรมร่วมกัน เพื่อสร้างความรู้สึกของการมีตัวตน
รวมเป็นหนึ่งเดียวกัน ( a sense of collective selfhood) กลายเป็นความรัก ความภูมิใจในความเป็นจีน ได้
ส่งผลให้คนไทยเชื้อสายจีนเหล่านี้ รวมตัวเป็นสถาบันคนจีนในเมือง ได้ทาประโยชน์แก่สาธารณะ เป็น
สถาบันหลักดารงสืบสานประเพณีจีน ซึ่งกลายเป็นประเพณีของเมือง เป็นเอกลักษณ์ของเมืองเบตง
ทั้งนี้ในเมืองเบตง กลุ่มคนไทยพุทธ มุสลิม ได้ดาเนินวิถีวัฒนธรรมตามความเชื่อ ประเพณีของ
ตนเองได้เช่นเดียวกันกับคนจีน เนื่องจากเทศบาลเมืองเบตงบริหารงานโดยยึดหลัก "ความหลากหลายเป็น
หนึ่งเดียวบนพื้นฐานของการพัฒนาที่มั่นคง" เปิดโอกาสให้ประชาชนในทุกเชื้อสายมีโอกาสเท่าเทียมกันทั้ง
ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา การศึกษา
กล่าวโดยสรุปเมืองเบตงเป็นเมืองที่มีความเป็น “สังคมพหุลักษณ์ (Plural societies)” ซึ่ง
ประชากรมีความแตกต่างกันทางเชื้อชาติ (race) ต่างวัฒนธรรม (Cultural heterogeneous) อาศัยอยู่ใน
ร่วมกัน โดยแต่ละเชื้อชาติสามารถแสดงออกทางชาติพันธ์ ศาสนา ได้อย่างเท่าเทียม เป็นพลเมืองที่มี
คุณภาพที่รวมกลุ่มสร้างประโยชน์ให้แก่เมืองเบตง อีกทั้งยังเป็นคนต่างกลุ่มที่สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่าง
สันติ ไม่มีความขัดแย้งในพื้นที่ต่างจากเมืองอื่นๆ ในสามจังหวัดชายแดนใต้อีกด้วย
3. ด้านเคลื่อนย้ายผู้คน
"การเคลื่อนย้ายของผู้คน" เป็นหนึ่งในประเด็นสาคัญของโลกปัจจุบันซึ่งมีพลวัตปรากฏการณ์การ
เคลื่อนที่และเคลื่อนไหวอันหลากหลายซึ่งก่อตัวขึ้นมาในสังคมที่ไม่หยุดนิ่งต่างๆ รัฐเปรัคประเทศมาเลเซีย
เป็นพื้นที่ชายแดนซึ่งติดต่อระหว่างไทย-มาเลเซีย ในพื้นที่นี้ประกอบด้วยชาวมาเลเซียเชื้อสายไทย หรือที่
ในมาเลเซียมักนิยมเรียกกันว่า "ชาวสยาม (Orang Siam - โอรังเซียม)" สภาพความเป็นอยู่ของชาว
มาเลเซียเชื้อสายไทยในแถบดังกล่าวนั้นในสมัยก่อนไม่มีพรหมแดนที่ระบุประเทศอย่างชัดเจน การข้ามไป
มาระหว่างประเทศไทยและมาเลเซียเป็นเรื่องง่าย ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการเคลื่อนที่ของผู้คนจากประเทศหนึ่ง
ไปอีกประเทศหนึ่งเป็นลักษณะการเคลื่อนที่ทางสังคม (Social mobility) ที่กล่าวข้างต้นมีปัจจัยมาจากสภาพ
ทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา แต่ละพื้นที่ก่อให้เกิดแรงจูงใจของ
ผู้คนในพื้นที่ทั้งสองประเทศในการเคลื่อนย้ายไปมาระหว่างประเทศ
การเคลื่อนย้ายของประชากรในประเทศไทยไปยังประเทศมาเลเซียส่วนหนึ่งผู้คนเล็งเห็นถึง
ความสาคัญของระบบการศึกษา ซึ่งระบบการศึกษาในประเทศมาเลเซียมีนโยบายการศึกษาที่ให้เรียนฟรี
11 ปี พร้อมกับสถาบันการศึกษาซึ่งอยู่ในความดูแลของรัฐ โดยปัจจุบันมีนักศึกษาไทยจานวนมากเดินทาง
มาแลกเปลี่ยนที่มหาวิทยาลัยในมาเลเซีย รวมถึงมีนักศึกษาไทยจบใหม่จานวนมาทางานและฝึกงานที่
มาเลเซีย เนื่องจากมีผลตอบแทนการทางานที่สูง นอกจากนี้ยังเห็นถึงความสาคัญของการใช้ภาษาอังกฤษ
ซึ่งเป็นภาษาหลักในการทางานของบริษัทต่างชาติอีกด้วย
7
4. ด้านเศรษฐกิจ การค้า และการท่องเที่ยว
เมืองชายแดนเป็นเมืองที่มีโอกาสสร้างเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้านมากกว่าเมืองอื่น ๆ ไม่ว่าจะ
เป็นการค้าหรือการท่องเที่ยว หากเมืองมีการส่งเสริมและจัดการที่ดี ล้วนสามารถทาให้เงินไหลเข้าประเทศ
ได้อย่างมหาศาล เมืองเบตงนับเป็นเมืองชายแดนแห่งหนึ่งในประเทศไทยที่มีมูลค่าการค้าชายแดนสูงเป็น
อันดับที่หนึ่งในบรรดาสามจังหวัดชายแดนภาคใต้หลายปีติดต่อกัน โดยปี พ.ศ. 2557 ด่านศุลกากรเบตงมี
มูลค่าการนาเข้า-ส่งออกเท่ากับ 3,533.69 ล้านบาท (กรมการค้าต่างประเทศ, 2558) จึงไม่อาจปฏิเสธได้ว่า
เมืองเบตงนั้นมีความโดดเด่นทั้งด้านการค้าระหว่างประเทศและการท่องเที่ยว อันเป็นส่วนสาคัญที่กระตุ้น
เศรษฐกิจภายในเมืองและความเป็นเมืองให้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว
ในปี พ.ศ. 2557 ประชากรในเทศบาลเมืองเบตงมีจานวน 26,640 คน และมีแนวโน้มคงที่มาโดย
ตลอดตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547-2557 (กรมการปกครอง, 2558) ซึ่งผู้นาทางการเมืองในพื้นที่ได้ตั้งข้อสังเกตว่า
อาจเป็นเพราะเมืองเบตงไม่มีสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาขึ้นไป ทาให้เด็กวัยเรียนส่วนใหญ่จาเป็นต้อง
อพยพออกไปเรียนในเมืองใหญ่ เช่น กรุงเทพ หาดใหญ่ เป็นต้น หรือไม่ก็ออกไปเรียนในสถาบันการศึกษา
ของประเทศเพื่อนบ้านเลย ยิ่งไปกว่านั้น เมืองเบตงมีอาชีพที่รองรับนิสิตนักศึกษาที่จบปริญญาตรีค่อนข้าง
น้อยมาก โดยส่วนมากหากไม่ทาธุรกิจค้าขายก็ต้องทาอาชีพเกษตรกรรม เช่น กรีดยาง เป็นต้น และถึงแม้
คนเก่าคนแก่ของเมืองจะมีแนวโน้มจะกลับมาทางานในบ้านเกิดอยู่บ้าง แต่เมืองเบตงก็ยังขาดแคลน
ประชากรวัยทางาน ซึ่งโดยทั่วไปแล้วเป็นกาลังสาคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของเมืองให้เกิดการ
ขยายตัว
ทั้งนี้ เมืองเบตงมีข้อได้เปรียบที่สาคัญอยู่ 3 ประการ ได้แก่ ประการที่หนึ่ง เมืองเบตงมีลักษณะทาง
ภูมิศาสตร์อยู่ติดกับประเทศมาเลเซีย ทาให้การเดินทางสะดวกรวดเร็ว สามารถท่องเที่ยวแบบไปเช้าเย็น
กลับได้ ประการที่สอง เมืองเบตงมีประวัติศาสตร์ท้องถิ่นที่เป็นจุดเริ่มต้นของสายสัมพันธ์ระหว่างชาวจีนกับ
ชาวมลายู เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมชาวเมืองเบตงจึงมีลักษณะค่อนข้างใกล้เคียงกับชาวมาเลเซีย ทาให้ชาว
มาเลเซียอาจมีความผูกพันกับพื้นที่และสนใจมาท่องเที่ยวพิพิธภัณฑ์ทางประวัติศาสตร์ และประการสุดท้าย
เมืองเบตงมีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ เช่น ป่าบาลาฮาลา เป็นต้น ทาให้ชาว ฉะนั้น หากเรา
มองเมืองเบตงเป็นสินค้ายี่ห้อหนึ่งแล้ว เมืองเบตงก็ถือว่าเป็นสินค้าที่มีความหลากหลายและแตกต่างจาก
สินค้ายี่ห้ออื่น ๆ หรือเมืองอื่น ๆ ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ค่อนข้างมาก นักท่องเที่ยวที่เปรียบเสมือน
เป็นผู้บริโภคย่อมมีแนวโน้มที่จะตัดสินใจเลือกมาเที่ยวที่เมืองเบตงได้ไม่ยาก เมืองเบตงจึงสามารถดึงดูด
นักท่องเที่ยวมาเลเซียและสิงคโปร์ กล่าวคือ อุปสงค์ของเศรษฐกิจเมืองเบตงพึ่งพานักท่องเที่ยวชาว
มาเลเซียและสิงคโปร์เป็นสาคัญ เห็นได้ชัดจากสถิติจานวนนักท่องเที่ยวของจังหวัดเบตงในปี พ.ศ. 2556 ที่
ยังมีจานวนมากถึง 563,771 คน แบ่งเป็นชาวไทย 115,650 คน และชาวต่างชาติ 448,121 คน ซึ่งส่วนใหญ่
เป็นชาวมาเลเซียและชาวสิงคโปร์ คิดเป็นรายได้จากการท่องเที่ยวรวม 2,420.39 ล้านบาท (กรมการ
ท่องเที่ยว, 2557)
เมื่อผู้บริโภคภายในเมืองส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียและชาวสิงคโปร์ ทาให้ผู้ผลิตหรือ
ผู้ประกอบการต้องปรับตัวเพื่อตอบสนองและรองรับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ เช่น ด้านภาษา ด้าน
วัฒนธรรม เป็นต้น ส่งผลให้ประชาชนที่นี่มีความรู้ด้านภาษาและวัฒนธรรมอย่างกว้างขวางและหลากหลาย
เป็นพิเศษ รวมถึงการมีป้ายบอกทางหรือป้ายชื่อสถานที่ ซึ่งส่วนใหญ่มีการแปลเป็นภาษาต่างชาติ เช่น
8
ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู เป็นต้น แม้แต่โรงแรมที่มีความสูงที่สุดในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
อย่างโรงแรมแกรนด์ แมนดารินที่มีความสูง 25 ชั้น ยังมีการออกแบบมาเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวชาว
มาเลเซียและชาวสิงคโปร์โดยเฉพาะ เช่น มีห้องอาหารจีน มีการตกแต่งโรงแรมเป็นแบบจีน มีการให้ข้อมูล
ต่าง ๆ เป็นภาษาอังกฤษและจีนทั้งภายในโรงแรมและในเว็บไซต์ เป็นต้น ทาให้โรงแรมแห่งนี้มีนักท่องเที่ยว
ชาวต่างชาติมาใช้บริการเป็นจานวนมาก
หากพิจารณาสถานประกอบการในเมืองเบตงทั้งหมด 1,364 แห่งในปี พ.ศ. 2554 จะพบว่า ชาวเบ
ตงส่วนใหญ่ประกอบธุรกิจการค้าปลีก โดยคิดเป็นจานวน 614 แห่งหรือร้อยละ 45.01 ของทั้งหมด
รองลงมาเป็นธุรกิจที่พักแรม บริการอาหารและเครื่องดื่ม จานวน 323 แห่ง และกิจกรรมบริการอื่น ๆ
จานวน 129 แห่ง โดยคิดเป็นร้อยละ 23.68 และร้อยละ 9.46 ตามลาดับ (สานักงานสถิติแห่งชาติ, 2555) จะ
เห็นได้ว่า ธุรกิจโรงแรมและภัตตาคารมีจานวนมากกว่าหนึ่งในห้าของสถานประกอบการทั้งหมดในเมือง
แสดงถึงการเติบโตของธุรกิจสาหรับการรองรับนักท่องเที่ยวและชี้ให้เห็นว่าเศรษฐกิจเมืองเบตงเน้นขายการ
ท่องเที่ยวเป็นหลัก
อย่างไรก็ตาม ด้วยลักษณะภูมิประเทศของเมืองเบตงเป็นเมืองที่อยู่ท่ามกลางภูเขา ทาให้การสัญจร
ค่อนข้างเป็นอุปสรรค อีกทั้งยังมีผลจากความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่อาจส่งผลต่อการ
ท่องเที่ยวบ้างไม่มากก็น้อย เทศบาลเมืองเบตงเล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าวจึงมีแนวคิดที่จะส่งเสริมการ
ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติ เชิงประวัติศาสตร์ และเชิงเอกลักษณ์ จานวน 65 แห่งทั่วเมือง เช่น สวน
ดอกไม้เมืองหนาว อุโมงค์ปิยะมิตร พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์อดีตพรรคคอมมิวนิสต์มลายา ป่าบาลาฮาลา
เป็นต้น พร้อมกับมีการส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่นอย่างเต็มที่ อย่างเช่นเทศกาลไหว้พระจันทร์และเทศกาล
ฮารีรายอ นอกจากนี้ ทางเทศบาลฯ ยังคานึงถึงปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐาน โดยเฉพาะการปรับปรุงถนน
ให้ง่ายต่อการสัญจรเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวที่อาจเพิ่มมากขึ้นจากการมีสนามบินเบตงด้วย
สุดท้ายนี้ แม้เมืองเบตงจะเป็นเมืองขนาดเล็ก แต่ด้วยการที่มีนักท่องเที่ยวจานวนมากและเศรษฐกิจ
เมืองอาศัยรายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาติเป็นหลัก ทาให้เมืองควรตระหนักถึงปัญหาที่อาจเกิดขึ้นตามมา
และปัญหาที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาเมือง ทั้งปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ถนนหนทาง ระบบขนส่ง
เป็นต้น ปัญหาด้านเศรษฐกิจที่ยังขาดแคลนอาชีพสาหรับคนวัยทางาน ปัญหาด้านการศึกษาที่ยังขาด
สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ตลอดจนปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดความเสื่อมโทรมจากการ
ท่องเที่ยว ปัญหาทั้งหมดนี้ล้วนเป็นความท้าทายที่เทศบาลเมืองเบตงต้องเผชิญ ทาให้เทศบาลฯ ต้องมีการ
วางแผนและจัดการรับมือล่วงหน้าก่อนที่ปัญหาเหล่านี้จะกลายเป็นดาบสองคมมาทาลายสมดุลทางเศรษฐกิจ
ที่เฟื่องฟูมายาวนาน
5. ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
ด้วยสภาพภูมิประเทศของอาเภอเบตงเป็นภูเขาสูงทาให้การสัญจรทางบกมีความยากลาบากมี
ระยะห่างจากตัวเมืองยะลา 140 กิโลเมตร และห่างจากกรุงเทพฯ 1590 กิโลเมตร จึงมีการผลักดันให้มีการ
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่ออานวยความสะดวกในการคมนาคมให้แก่ประชาชน นักท่องเที่ยว และนัก
ลงทุน พร้อมทั้งเป็นแนวทางในการพัฒนาเมืองเบตงในฐานะเมืองชายแดนต่อไป
9
5.1 สนามบินนานาชาติเบตง
แผนการพัฒนาที่จะช่วยยกระดับเบตงในฐานะเมืองชายแดนเพื่อส่งเสริมด้านการค้าและการ
ท่องเที่ยวที่เป็นรูปธรรมในขณะนี้คือโครงการสร้างสนามบินเบตง ซึ่งคณะรัฐมนตรีอนุมัติการของบประมาณ
1,800 ล้านบาท เพื่อดาเนินการก่อสร้างสนามบินนานาชาติเบตง โดยผ่านการทาประชาพิจารณ์ผลกระทบ
ด้านสิ่งแวดล้อม (EIA) และได้รับการสนับสนุนจากประชาชนในพื้นที่ การก่อสร้างสนามบินานาชาติเบตงจะ
เริ่มต้นในปี พ.ศ. 2559 แล้วเสร็จ ในปี พ.ศ. 2562 นอกจากนี้ การก่อสร้างสนามบินนานาชาติเบตงเป็น
โครงการที่ทาควบคู่ไปกับการขุดอุโมงค์ลอดเขาไปในตาบลตาเนาะแมเราะ เพื่อให้การคมนาคมเชื่อมต่อไป
ยังอาเภอเมืองยะลา และจังหวัดใกล้เคียงได้ง่าย ซึ่งสามารถย่นระยะทางจากอาเภอเบตงไปอาเภอเมือง
ยะลาให้เหลือเพียง 1 ชั่วโมง 20 นาที จากเดิมที่ต้องใช้เวลานานถึง 2 ชั่วโมง 30 นาที นับว่าเป็นโอกาสดีที่
ส่งผลต่อการขยายตลาดการค้าทางเศรษฐกิจ และการรองรับการขยายตัวของการท่องเที่ยวอีกด้วย
5.2 เขตเศรษฐกิจเศรษฐกิจเบตง
การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องประกอบกับการได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยว
ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติจึงสามารถสร้างรายได้ให้กับเบตงได้สูง เทศบาลเมืองเบตงได้เล็งเห็นถึงการ
พัฒนาเมืองและช่องทางในการสร้างรายได้ที่เพิ่มขึ้นจึงมีแผนการพัฒนาระยะยาว โดยเป็นการพัฒนาด้าน
เศรษฐกิจของเบตงให้เป็น “เขตเศรษฐกิจพิเศษ” เพื่อรองรับการขยายตัวของการลงทุนและการเติบโตของ
การท่องเที่ยว นอกจากนี้ยังมีเป้าหมายการพัฒนาเบตงให้เป็นศูนย์กลางการเชื่อมต่อด้านการขนส่งโลจิ
สติกส์ในฐานะเมืองชายแดน ซึ่งทาให้เกิดแรงจูงใจกับนักลงทุนต่างประเทศโดยเฉพาะประเทศมาเลเซีย
6. ข้อสังเกต
แผนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของอาเภอเบตงนับเป็นโอกาสที่ดีในการพัฒนาและเสริมสร้าง
ศักยภาพของพื้นที่ การพัฒนาด้านการลงทุนและการค้านั้นจะสอดรับการบูรณาการร่วมของประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ซึ่งเป็นการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ทั้งการสร้างรายได้ให้กับประชาชนในพื้นที่
การเพิ่มความสะดวกให้กับนักลงทุนและนักท่องเที่ยว การกลายเป็นศูนย์กลางด้านโลจิสติกส์ของเมือง
ชายแดน ประกอบกับการพัฒนาเบตงในฐานะเมืองชายแดนนั้นยังส่งผลให้ประเทศมาเลเซียซึ่งมีพรหม
แดนติดต่อกับอาเภอเบตง สามารถเข้าสร้างโอกาสและขยายความร่วมมือกับประเทศไทย โดยเห็นได้จาก
การเคลื่อนย้าย (Flow) ของผู้คนของทั้งสองประเทศทั้งในด้านเศรษฐกิจการค้า และด้านวัฒนธรรม
นอกจากนี้ ยังรวมถึงการฟื้นฟูการท่องเที่ยวและสร้างความเชื่อมั่นด้านความปลอดภัยให้แก่นักเที่ยวและ
ประชาชนในพื้นที่
ความโดดเด่นของเอกลักษณ์ท้องถิ่นของเบตงซึ่งเป็นสังคมพหุวัฒนธรรมและมีเอกลักษณ์อย่างเห็น
ได้ชัด การรักษาไว้ซึ่งเอกลักษณ์ท้องถิ่นจึงเป็นส่วนสาคัญที่ก่อให้เกิดการเสริมสร้างอานาจของ
ประชาชน (Empower) ให้เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาพื้นที่ร่วมกับรัฐ ประกอบกับการริเริ่มแผนพัฒนา
ประชาชนในพื้นที่รู้สึกถึงความเป็นเจ้าของซึ่งก่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป
อย่างไรก็ตาม การขับเคลื่อนโครงการพัฒนาของเมืองเบตงเป็นตัวแสดงหนึ่งทีมีบทบาทสาคัญใน
การการขยายการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ไม่ใช่แค่การพัฒนาเฉพาะบทบาทของเมืองเบตงเท่านั้น แต่ยัง
รวมถึงการขยายตลาดทางการค้าไปยังประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งจะส่งผลให้ภาพของการเจริญเติบโตทาง
10
เศรษฐกิจของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีการขยายตัวมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ การสนับสนุนจากภาครัฐจึง
เป็นกลไกที่สาคัญในการพัฒนาพื้นที่เบตงในฐานะเมืองชายแดน โดยการเชื่อมโยงสามจังหวัดชายแดนใต้
เข้ากับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้งหมดลงสู่ทางตอนใต้ของประเทศไทยซึ่งเชื่อมต่อกับประเทศ
มาเลเซีย อินโดนีเซีย และสิงคโปร์ ซึ่งพื้นฐานคนจีนที่สนใจการค้าและการท่องเที่ยวในเมืองเบตงมาก จึง
ควรตระหนักถึงการปรับแนวยุทธศาสตร์ นโยบายต่างประเทศ ตลอดถึงแนวนโยบายทางเศรษฐกิจและ
สังคม เพื่อสอดรับการกระแส “บูรพาภิวัตน์” ซึ่งประเทศไทยสามารถใช้ประโยชน์จากทาง ภูมิ-รัฐศาสตร์
และภูมิ-เศรษฐศาสตร์ได้ ทั้งนี้ แผนการพัฒนาและการปรับตัวของเมืองเบตงในฐานะเมืองชายแดนจึงเป็น
ก้าวสาคัญในการยกระดับเมืองชายแดนให้โดดเด่นมากยิ่งขึ้น

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

White classroom project 2012
White classroom project 2012White classroom project 2012
White classroom project 2012Kruthai Kidsdee
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองPadvee Academy
 
งานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน
งานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อนงานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน
งานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อนWasan Yodsanit
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์Pazalulla Ing Chelsea
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
แนะนำตัวเอง10 สไลด์
แนะนำตัวเอง10 สไลด์แนะนำตัวเอง10 สไลด์
แนะนำตัวเอง10 สไลด์098108120511
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศgchom
 
การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงานการสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงานTaraya Srivilas
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลGuntima NaLove
 
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยาสัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยาSani Satjachaliao
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญKrudoremon
 
ใบงาน วิชาการพัฒนาตนเอง-ชุมชน-สังคม
ใบงาน วิชาการพัฒนาตนเอง-ชุมชน-สังคมใบงาน วิชาการพัฒนาตนเอง-ชุมชน-สังคม
ใบงาน วิชาการพัฒนาตนเอง-ชุมชน-สังคมIntrayut Konsongchang
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นPaew Tongpanya
 
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1Ocean'Funny Haha
 

Was ist angesagt? (20)

White classroom project 2012
White classroom project 2012White classroom project 2012
White classroom project 2012
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
 
งานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน
งานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อนงานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน
งานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
แนะนำตัวเอง10 สไลด์
แนะนำตัวเอง10 สไลด์แนะนำตัวเอง10 สไลด์
แนะนำตัวเอง10 สไลด์
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
 
การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงานการสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคม
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยาสัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
ใบงาน วิชาการพัฒนาตนเอง-ชุมชน-สังคม
ใบงาน วิชาการพัฒนาตนเอง-ชุมชน-สังคมใบงาน วิชาการพัฒนาตนเอง-ชุมชน-สังคม
ใบงาน วิชาการพัฒนาตนเอง-ชุมชน-สังคม
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 

Andere mochten auch

เมืองระนอง : การพัฒนาเศรษฐกิจบนฐานทรัพยากร
เมืองระนอง : การพัฒนาเศรษฐกิจบนฐานทรัพยากรเมืองระนอง : การพัฒนาเศรษฐกิจบนฐานทรัพยากร
เมืองระนอง : การพัฒนาเศรษฐกิจบนฐานทรัพยากรFURD_RSU
 
เศรษฐกิจแบ่งปัน กับ Uber
เศรษฐกิจแบ่งปัน กับ Uberเศรษฐกิจแบ่งปัน กับ Uber
เศรษฐกิจแบ่งปัน กับ UberFURD_RSU
 
Жизнь после мастэктомии в гармонии с собой и миром
Жизнь после мастэктомии в гармонии с собой и миромЖизнь после мастэктомии в гармонии с собой и миром
Жизнь после мастэктомии в гармонии с собой и миромOlga Tarasenko
 
Sixth Sense Seminar ppt
Sixth Sense Seminar pptSixth Sense Seminar ppt
Sixth Sense Seminar pptshwetha shwet
 
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ FURD_RSU
 
Uber's Business Model _ Abii-Ndoh, Godwin
Uber's Business Model _ Abii-Ndoh, GodwinUber's Business Model _ Abii-Ndoh, Godwin
Uber's Business Model _ Abii-Ndoh, GodwinGodwin Abii-Ndoh
 
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลบทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลFURD_RSU
 
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 201510 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015Klangpanya
 

Andere mochten auch (8)

เมืองระนอง : การพัฒนาเศรษฐกิจบนฐานทรัพยากร
เมืองระนอง : การพัฒนาเศรษฐกิจบนฐานทรัพยากรเมืองระนอง : การพัฒนาเศรษฐกิจบนฐานทรัพยากร
เมืองระนอง : การพัฒนาเศรษฐกิจบนฐานทรัพยากร
 
เศรษฐกิจแบ่งปัน กับ Uber
เศรษฐกิจแบ่งปัน กับ Uberเศรษฐกิจแบ่งปัน กับ Uber
เศรษฐกิจแบ่งปัน กับ Uber
 
Жизнь после мастэктомии в гармонии с собой и миром
Жизнь после мастэктомии в гармонии с собой и миромЖизнь после мастэктомии в гармонии с собой и миром
Жизнь после мастэктомии в гармонии с собой и миром
 
Sixth Sense Seminar ppt
Sixth Sense Seminar pptSixth Sense Seminar ppt
Sixth Sense Seminar ppt
 
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
 
Uber's Business Model _ Abii-Ndoh, Godwin
Uber's Business Model _ Abii-Ndoh, GodwinUber's Business Model _ Abii-Ndoh, Godwin
Uber's Business Model _ Abii-Ndoh, Godwin
 
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลบทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
 
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 201510 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
 

Ähnlich wie เบตง :การปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์

จังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีKKloveyou
 
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคตUrbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคตFURD_RSU
 
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคมเมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคมFURD_RSU
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมYukari Samana
 
ประเพณีของจีน
ประเพณีของจีนประเพณีของจีน
ประเพณีของจีนThammasat University
 
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่FURD_RSU
 
01 24-54 รายงานเทศบาลนครยะลา
01 24-54 รายงานเทศบาลนครยะลา01 24-54 รายงานเทศบาลนครยะลา
01 24-54 รายงานเทศบาลนครยะลาsiep
 

Ähnlich wie เบตง :การปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์ (8)

จังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรี
 
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคตUrbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
 
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคมเมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ประเพณีของจีน
ประเพณีของจีนประเพณีของจีน
ประเพณีของจีน
 
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
 
01 24-54 รายงานเทศบาลนครยะลา
01 24-54 รายงานเทศบาลนครยะลา01 24-54 รายงานเทศบาลนครยะลา
01 24-54 รายงานเทศบาลนครยะลา
 
V 289
V 289V 289
V 289
 

Mehr von FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กFURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลFURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมFURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมFURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกFURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขFURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองFURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองFURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยFURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังFURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...FURD_RSU
 

Mehr von FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 

เบตง :การปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์

  • 1. เบตง :การปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์ วีรวิชญ์ เอี่ยมแสง ณัฐธิดา เย็นบารุง อรุณ สถิตพงศ์สถาพร ผู้ช่วยนักวิจัย แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 2. 2 เบตง :การปรับตัวของเมืองชายแดน ท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์ วีรวิชญ์ เอี่ยมแสง ณัฐธิดา เย็นบารุง อรุณ สถิตพงศ์สถาพร ผู้ช่วยนักวิจัย แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่ออนาคตของเมือง
  • 3. 3 ผู้เขียน : นายวิรวิชญ์ เอี่ยมแสง, นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง , นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร บรรณาธิการบริหาร : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการฝ่ายวิชาการ : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล กองบรรณาธิการ : นายฮาพีฟี สะมะแอ, นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง, นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร ปก : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง รูปเล่ม : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง ปีที่เผยแพร่ : พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 ผู้เผยแพร่ : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับมูลนิธิส่งเสริมปัญญาสาธารณะ (CPWI) ภายใต้ แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ผู้สนับสนุน : สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
  • 4. 4 เบตง :การปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์1 “ใต้สุดสยาม เมืองงามชายแดน” เบตงเป็นอาเภอซึ่งอยู่ทางทิศใต้สุดของประเทศไทย ด้วยลักษณะ ทางภูมิศาสตร์ที่เป็นพื้นที่ภูเขาสูงล้อมรอบอุดมไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลายและเป็นเมือง ชายแดนที่มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศมาเลเซียส่งผลให้เบตงมีลักษณะโดดเด่นในฐานะเมืองการค้าและ การท่องเที่ยวทางด้านสังคมและวัฒนธรรม ประกอบกับกระแสการเปลี่ยนแปลงของบริบทสังคม การเมือง และวัฒนธรรมของโลก เบตงในฐานะเมืองชายแดนจึงเป็นพื้นท่าที่น่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง ทั้งด้านการค้า ด้าน สังคม และโดยเฉพาะด้านการพัฒนา ด้วยการปรับเปลี่ยนของบริบทโลกบูรพาภิวัตน์จะช่วยยกระดับให้เบ ตงก้าวขึ้นสู่แบบอย่างการพัฒนาเมืองชายแดนของไทยได้อย่างสมบูรณ์ 1. ด้านประวัติศาสตร์เมืองเบตง อาเภอเบตงมีอาณาเขตติดต่อกับรัฐเกดะห์ ประเทศมาเลเซีย หากย้อนกลับไปพิจารณาในบริบท ด้านประวัติศาสตร์ความเป็นมาของเมืองเบตง เริ่มมาจากการอพยพของชาวจีนจากมณฑลกวางโจว ได้เข้า มาเบตงประมาณปี พ.ศ.2440 (ค.ศ.1897) แต่เดิมชาวจีนกลุ่มนี้ได้มาอาศัยที่รัฐเปรัคและรัฐสลังงอใน ประเทศมาเลเซียปัจจุบัน โดยจะมาอาศัยทางานในเหมืองแร่ เพราะที่ตั้งของประเทศมาเลเซียเป็นแหล่งแร่ เงินและดีบุก นอกจากนี้ มีบางส่วนที่ไปอาศัยตามชายฝั่งตะวันตกของประเทศมาเลเซีย เช่น เกาะปีนัง มะละกาและสิงคโปร์ ในปัจจุบันคนจีนกลุ่มนี้ยังคงอาศัยอยู่ตามเมืองชายทะเลตะวันตก (wiki pedia/orang cina di Malaysia) ประกอบกับคนจีนที่อพยพออกนอกประเทศอีกส่วนหนึ่งได้เดินทางมายังเบ ตงโดยคิดว่าพื้นที่ตรงนี้ตั้งอยู่ในประเทศมาเลเซีย แต่เมื่อพิจารณาตามลักษณะทางภูมิศาสตร์โดยแบ่งแนว เขตแดนตามแนวสันปันน้าเทือกเขาสันกลาคีรีจะพบว่าอาเภอเบตงตั้งอยู่ในประเทศไทย เมื่อญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้กวาดล้างจับกุมชาวจีนในเบตง แต่คนไทยเชื้อ สายพุทธและคนไทยเชื้อสายมุสลิม ซึ่งมีความสัมพันธ์อันดีกับชาวจีนได้ช่วยเหลือชาวจีนที่ตั้งรกฐานในเบตง ไว้โดยการให้ที่อยู่อาศัยเพื่อให้รอดพ้นจากการกวาดต้อนของทหารญี่ปุ่น หลังสิ้นสุดยุคสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดเหตุการณ์ความขัดแย้งฝั่งมาลายา ระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์มาลายา (Parti Komunis Malaya) กับเจ้า อาณานิคมอังกฤษที่ไม่สามารถเจรจากันได้ จึงเกิดการต่อสู้และปราบปราม ตามบันทึกของพรรค คอมมิวนิสต์มาลายาในปี ค.ศ.1948 – 1955 รัฐบาลสหพันธรัฐมาเลเซียภายใต้รัฐบาลอังกฤษ ได้กวาดล้าง จับกุมสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์มาลายาอย่างหนัก มีสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์มาลายาถูกสังหารถึง 3,000 คน เนรเทศออกนอกประเทศ 10,000 คน ส่วนใหญ่ประกอบไปด้วยคนมาลายาเชื้อชาติจีน และเชื้อชาติ อินโดนีเซีย ส่วนหนึ่งกลับประเทศจีน และส่วนหนึ่งก็ทะลักมาฝั่งไทย ประกอบกับช่วงนั้นเศรษฐกิจของเบตง ตกต่ามาก ประชาชนในพื้นที่อยู่ในยุคที่ค่าครองชีพสูง อย่างไรก็ตาม เบตงสามารถผ่านวิกฤตทั้งทาง การเมืองและเศรษฐกิจมาได้ด้วยการร่วมมือกันของประชาชาชนในพื้นที่ ทั้งชาวไทยพุทธ ชาวไทยเชื้อสาย จีน และชาวไทยชื้อสายมุสลิม 1 การเขียนบทความชิ้นนี้มีเนื้อหาและข้อมูลจากการลงศึกษาดูงานเมืองเบตง วันที่ 26-27 กันยายน 2558 จัดโดยสถาบันคลังปัญญาด้าน ยุทธศาสตร์ชาติ ร่วมกับ แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง (นพม.) วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ภายใต้การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
  • 5. 5 2. ด้านสังคมและวัฒนธรรม : คนจีน อาเภอเบตงประกอบด้วยประชาชนนับถือศาสนาอิสลาม 52.9% ศาสนาพุทธ 46.4% และศาสนา คริสต์ 0.7%2 โดยเชื้อชาติของผู้คนในเบตงประกอบด้วย 3 กลุ่มใหญ่ คือ คนไทย คนไทยเชื้อสายมลายู และคนไทยเชื้อสายจีน ซึ่งในเมืองเบตงส่วนใหญ่จะมีคนไทยเชื้อสายจีนค่อนข้างมากและมีบทบาทโดดเด่น ในเมืองเบตง ชุมชนชาวไทยเชื้อสายจีนที่มีหลายแซ่ในเมืองเบตง และยังคงมีวิถีชีวิต ประเพณี ของผู้คนที่ แสดงถึงความเป็นจีนไว้เกือบทุกอย่าง รวมภาษาที่ผู้คนใช้สื่อสารกันส่วนใหญ่ยังคงเป็นภาษาจีน โดยคนจีน ในเบตงส่วนใหญ่เป็นผู้อพยพมาจากหลายมณฑลในประเทศจีนกว่าร้อยปีที่ผ่านมา และกลุ่มคนจีนจาก พรรคคอมมิวนิสต์มาลายาจากประเทศมาเลเซียที่อพยพเข้ามาอาศัยในเบตง ปัจจุบันคนไทยเชื้อสายจีนในเบตงมีการรวมตัวกันก่อตั้งเป็นมูลนิธิหรือสมาคมแล้วถึง 5 องค์กร ประกอบด้วย บาเพ็ญบุญ มูลนิธิ (กวางไส), สมาคมกว๋องสิ่ว เบตง, สมาคมบารุงราษฎร์ (แต้จิ๋ว) เบตง, สมาคมฮากกา และสมาคมฮกเกี้ยน และทั้ง 5 สมาคมจีนนี้ได้รวมตัวกันเป็นหนึ่งเดียว ภายใต้ชื่อของมูลนิธิ อาเภอเบตง โดยช่วงประเพณีไหว้พระจันทร์ของคนจีน ซึ่งเป็นเทศกาลตามวัฒนธรรมจีนที่มีขึ้นในกลางฤดู ใบไม้ร่วง เพื่อเฉลิมฉลองการเก็บเกี่ยว จะมีขึ้นในคืนวันเพ็ญเดือน 8 ตามปฏิทินจันทรคติ (กันยายนตาม ปฏิทินสากล) ในเทศกาลนี้ ชาวจีนจะเฉลิมฉลองด้วยการไหว้ดวงจันทร์ในเวลากลางคืน งานประเพณีไหว้ พระจันทร์ที่เมืองเบตงนั้น มีความแตกต่างจากประเพณีไหว้พระจันทร์เมืองอื่นๆ ซึ่งโดยปกติคนไทยเชื้อสาย จีนอื่นในเมืองอื่นนั้นจะมีเพียงพิธีการไหว้ดวงจันทร์เท่านั้น แต่เมืองเบตงนั้น สมาคมชาวจีน 5 สานัก ได้ ร่วมกันเฉลิมฉลองด้วยการปิดถนนจัดขบวนพาเหรดคนไทยเชื้อสายจีนในเมืองเบตง พร้อมทั้งการเชิดสิงโต แห่เดินทั่วทั้งเมืองเบตง ซึ่งการเฉลิมฉลองใหญ่เช่นนี้ มักมีในบางประเทศ เช่น ฮ่องกง ไต้หวัน สิงคโปร์ หรือเวียดนาม ซึ่งในคนไทยเชื้อสายจีนทั้ง 5 สานักได้จัดขบวนได้อย่างยิ่งใหญ่ สร้างความตื่นเต้นและเป็นที่ ชื่นชอบนักท่องเที่ยวอย่างยิ่ง นอกจากนี้ มูลนิธิอาเภอเบตง ภายใต้การรวมตัวของ 5 สมาคมจีนได้สร้างสถาบันการศึกษาเพื่อคน จีนเบตง คือ โรงเรียนจงฝามูลนิธิ เป็นโรงเรียนที่สอนภาษาจีนแห่งแรกของเบตง สอนตั้งแต่อนุบาลจนถึง มัธยมปลายอย่างครบถ้วน และในวันนี้โรงเรียนจงฝายังคงเป็นโรงเรียนที่ทาหน้าที่สถาบันการศึกษา ภาษาจีนที่เป็นที่ยอมรับของผู้คนในเมืองเบตง เป็นอีกหนึ่งสถาบันช่วยหลอมรวมเป็นหนึ่งของคนไทยเชื้อ สายจีน ก่อให้เกิดแนวคิดผลักดันการพัฒนาเมืองเบตงให้เป็นศูนย์การศึกษาระดับนานาชาติ โดยใช้ความ เข้มแข็งทางภาษาจีน เป็นจุดนาเมืองเบตงเข้าสู่ระดับนานาชาติ การรวมตัวของ 5 สมาคมจีน ภายใต้มูลนิธิอาเภอเบตงนั้น ถือได้ว่าเป็น ประชาสังคม (Civil Society) ของเมืองเบตง เป็นประชาสังคมที่มีรากฐานความเป็นจีนอย่างเข้มแข็ง โดยกลุ่มคนจีนภายใต้ มูลนิธิอาเภอเบตง จัดเป็นสถาบันทางสังคมหลักของผู้คนไทยเชื้อสายจีนในเมืองเบตง โดยเฉพาะการยังจัด งานที่ยังดารงซึ่งอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมความเป็นจีน โดยทางมูลนิธิอาเภอเบตงเป็นเจ้าภาพจัดงาน ประเพณีวัฒนธรรมจีนอย่างยิ่งใหญ่ทุกเทศกาล ไม่ว่าจะเป็นงานพิธีสมโภช และแห่เจ้า การอนุรักษ์ประเพณี การถือศีลกินเจของชาวไทยเชื้อสายจีน รวมทั้งการจัดเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ในเทศบาลไหว้พระจันทร์ใน ข้างต้น ที่สาคัญการจัดประเพณี วัฒนธรรม เช่นนี้เป็นการส่งเสริมเยาวชน และประชาชนปฏิบัติตนเป็นคนดี 2 ข้อมูล ปี พ.ศ. 2550 แหล่งที่มาจากระบบฐานข้อมูลศูนย์ปฏิบัติงานจังหวัดยะลา
  • 6. 6 ละเว้นความชั่ว ส่งเสริมการท่องเที่ยวให้เกิดการหมุนเวียนด้านเศรษฐกิจ ก่อให้เกิดความรักสามัคคี และ สร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่อาเภอเบตง ซึ่งเป็นเมืองท่องเที่ยวชายแดนอีกด้วย ความเป็นประชาสังคมที่เต็มไปด้วยอัตลักษณ์ความเป็นจีนอย่างแข็งแกร่งที่แตกต่างจากคนไทยเชื้อ สายจีนในเมืองอื่นๆ ในวันนี้คนไทยเชื้อสายจีนในเมืองเบตงได้กลายเป็นชุมชนและเครือข่ายทางชาติพันธุ์ (ethnic networks and associations) ที่ผ่านการทากิจกรรมร่วมกัน เพื่อสร้างความรู้สึกของการมีตัวตน รวมเป็นหนึ่งเดียวกัน ( a sense of collective selfhood) กลายเป็นความรัก ความภูมิใจในความเป็นจีน ได้ ส่งผลให้คนไทยเชื้อสายจีนเหล่านี้ รวมตัวเป็นสถาบันคนจีนในเมือง ได้ทาประโยชน์แก่สาธารณะ เป็น สถาบันหลักดารงสืบสานประเพณีจีน ซึ่งกลายเป็นประเพณีของเมือง เป็นเอกลักษณ์ของเมืองเบตง ทั้งนี้ในเมืองเบตง กลุ่มคนไทยพุทธ มุสลิม ได้ดาเนินวิถีวัฒนธรรมตามความเชื่อ ประเพณีของ ตนเองได้เช่นเดียวกันกับคนจีน เนื่องจากเทศบาลเมืองเบตงบริหารงานโดยยึดหลัก "ความหลากหลายเป็น หนึ่งเดียวบนพื้นฐานของการพัฒนาที่มั่นคง" เปิดโอกาสให้ประชาชนในทุกเชื้อสายมีโอกาสเท่าเทียมกันทั้ง ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา การศึกษา กล่าวโดยสรุปเมืองเบตงเป็นเมืองที่มีความเป็น “สังคมพหุลักษณ์ (Plural societies)” ซึ่ง ประชากรมีความแตกต่างกันทางเชื้อชาติ (race) ต่างวัฒนธรรม (Cultural heterogeneous) อาศัยอยู่ใน ร่วมกัน โดยแต่ละเชื้อชาติสามารถแสดงออกทางชาติพันธ์ ศาสนา ได้อย่างเท่าเทียม เป็นพลเมืองที่มี คุณภาพที่รวมกลุ่มสร้างประโยชน์ให้แก่เมืองเบตง อีกทั้งยังเป็นคนต่างกลุ่มที่สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่าง สันติ ไม่มีความขัดแย้งในพื้นที่ต่างจากเมืองอื่นๆ ในสามจังหวัดชายแดนใต้อีกด้วย 3. ด้านเคลื่อนย้ายผู้คน "การเคลื่อนย้ายของผู้คน" เป็นหนึ่งในประเด็นสาคัญของโลกปัจจุบันซึ่งมีพลวัตปรากฏการณ์การ เคลื่อนที่และเคลื่อนไหวอันหลากหลายซึ่งก่อตัวขึ้นมาในสังคมที่ไม่หยุดนิ่งต่างๆ รัฐเปรัคประเทศมาเลเซีย เป็นพื้นที่ชายแดนซึ่งติดต่อระหว่างไทย-มาเลเซีย ในพื้นที่นี้ประกอบด้วยชาวมาเลเซียเชื้อสายไทย หรือที่ ในมาเลเซียมักนิยมเรียกกันว่า "ชาวสยาม (Orang Siam - โอรังเซียม)" สภาพความเป็นอยู่ของชาว มาเลเซียเชื้อสายไทยในแถบดังกล่าวนั้นในสมัยก่อนไม่มีพรหมแดนที่ระบุประเทศอย่างชัดเจน การข้ามไป มาระหว่างประเทศไทยและมาเลเซียเป็นเรื่องง่าย ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการเคลื่อนที่ของผู้คนจากประเทศหนึ่ง ไปอีกประเทศหนึ่งเป็นลักษณะการเคลื่อนที่ทางสังคม (Social mobility) ที่กล่าวข้างต้นมีปัจจัยมาจากสภาพ ทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา แต่ละพื้นที่ก่อให้เกิดแรงจูงใจของ ผู้คนในพื้นที่ทั้งสองประเทศในการเคลื่อนย้ายไปมาระหว่างประเทศ การเคลื่อนย้ายของประชากรในประเทศไทยไปยังประเทศมาเลเซียส่วนหนึ่งผู้คนเล็งเห็นถึง ความสาคัญของระบบการศึกษา ซึ่งระบบการศึกษาในประเทศมาเลเซียมีนโยบายการศึกษาที่ให้เรียนฟรี 11 ปี พร้อมกับสถาบันการศึกษาซึ่งอยู่ในความดูแลของรัฐ โดยปัจจุบันมีนักศึกษาไทยจานวนมากเดินทาง มาแลกเปลี่ยนที่มหาวิทยาลัยในมาเลเซีย รวมถึงมีนักศึกษาไทยจบใหม่จานวนมาทางานและฝึกงานที่ มาเลเซีย เนื่องจากมีผลตอบแทนการทางานที่สูง นอกจากนี้ยังเห็นถึงความสาคัญของการใช้ภาษาอังกฤษ ซึ่งเป็นภาษาหลักในการทางานของบริษัทต่างชาติอีกด้วย
  • 7. 7 4. ด้านเศรษฐกิจ การค้า และการท่องเที่ยว เมืองชายแดนเป็นเมืองที่มีโอกาสสร้างเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้านมากกว่าเมืองอื่น ๆ ไม่ว่าจะ เป็นการค้าหรือการท่องเที่ยว หากเมืองมีการส่งเสริมและจัดการที่ดี ล้วนสามารถทาให้เงินไหลเข้าประเทศ ได้อย่างมหาศาล เมืองเบตงนับเป็นเมืองชายแดนแห่งหนึ่งในประเทศไทยที่มีมูลค่าการค้าชายแดนสูงเป็น อันดับที่หนึ่งในบรรดาสามจังหวัดชายแดนภาคใต้หลายปีติดต่อกัน โดยปี พ.ศ. 2557 ด่านศุลกากรเบตงมี มูลค่าการนาเข้า-ส่งออกเท่ากับ 3,533.69 ล้านบาท (กรมการค้าต่างประเทศ, 2558) จึงไม่อาจปฏิเสธได้ว่า เมืองเบตงนั้นมีความโดดเด่นทั้งด้านการค้าระหว่างประเทศและการท่องเที่ยว อันเป็นส่วนสาคัญที่กระตุ้น เศรษฐกิจภายในเมืองและความเป็นเมืองให้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว ในปี พ.ศ. 2557 ประชากรในเทศบาลเมืองเบตงมีจานวน 26,640 คน และมีแนวโน้มคงที่มาโดย ตลอดตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547-2557 (กรมการปกครอง, 2558) ซึ่งผู้นาทางการเมืองในพื้นที่ได้ตั้งข้อสังเกตว่า อาจเป็นเพราะเมืองเบตงไม่มีสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาขึ้นไป ทาให้เด็กวัยเรียนส่วนใหญ่จาเป็นต้อง อพยพออกไปเรียนในเมืองใหญ่ เช่น กรุงเทพ หาดใหญ่ เป็นต้น หรือไม่ก็ออกไปเรียนในสถาบันการศึกษา ของประเทศเพื่อนบ้านเลย ยิ่งไปกว่านั้น เมืองเบตงมีอาชีพที่รองรับนิสิตนักศึกษาที่จบปริญญาตรีค่อนข้าง น้อยมาก โดยส่วนมากหากไม่ทาธุรกิจค้าขายก็ต้องทาอาชีพเกษตรกรรม เช่น กรีดยาง เป็นต้น และถึงแม้ คนเก่าคนแก่ของเมืองจะมีแนวโน้มจะกลับมาทางานในบ้านเกิดอยู่บ้าง แต่เมืองเบตงก็ยังขาดแคลน ประชากรวัยทางาน ซึ่งโดยทั่วไปแล้วเป็นกาลังสาคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของเมืองให้เกิดการ ขยายตัว ทั้งนี้ เมืองเบตงมีข้อได้เปรียบที่สาคัญอยู่ 3 ประการ ได้แก่ ประการที่หนึ่ง เมืองเบตงมีลักษณะทาง ภูมิศาสตร์อยู่ติดกับประเทศมาเลเซีย ทาให้การเดินทางสะดวกรวดเร็ว สามารถท่องเที่ยวแบบไปเช้าเย็น กลับได้ ประการที่สอง เมืองเบตงมีประวัติศาสตร์ท้องถิ่นที่เป็นจุดเริ่มต้นของสายสัมพันธ์ระหว่างชาวจีนกับ ชาวมลายู เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมชาวเมืองเบตงจึงมีลักษณะค่อนข้างใกล้เคียงกับชาวมาเลเซีย ทาให้ชาว มาเลเซียอาจมีความผูกพันกับพื้นที่และสนใจมาท่องเที่ยวพิพิธภัณฑ์ทางประวัติศาสตร์ และประการสุดท้าย เมืองเบตงมีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ เช่น ป่าบาลาฮาลา เป็นต้น ทาให้ชาว ฉะนั้น หากเรา มองเมืองเบตงเป็นสินค้ายี่ห้อหนึ่งแล้ว เมืองเบตงก็ถือว่าเป็นสินค้าที่มีความหลากหลายและแตกต่างจาก สินค้ายี่ห้ออื่น ๆ หรือเมืองอื่น ๆ ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ค่อนข้างมาก นักท่องเที่ยวที่เปรียบเสมือน เป็นผู้บริโภคย่อมมีแนวโน้มที่จะตัดสินใจเลือกมาเที่ยวที่เมืองเบตงได้ไม่ยาก เมืองเบตงจึงสามารถดึงดูด นักท่องเที่ยวมาเลเซียและสิงคโปร์ กล่าวคือ อุปสงค์ของเศรษฐกิจเมืองเบตงพึ่งพานักท่องเที่ยวชาว มาเลเซียและสิงคโปร์เป็นสาคัญ เห็นได้ชัดจากสถิติจานวนนักท่องเที่ยวของจังหวัดเบตงในปี พ.ศ. 2556 ที่ ยังมีจานวนมากถึง 563,771 คน แบ่งเป็นชาวไทย 115,650 คน และชาวต่างชาติ 448,121 คน ซึ่งส่วนใหญ่ เป็นชาวมาเลเซียและชาวสิงคโปร์ คิดเป็นรายได้จากการท่องเที่ยวรวม 2,420.39 ล้านบาท (กรมการ ท่องเที่ยว, 2557) เมื่อผู้บริโภคภายในเมืองส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียและชาวสิงคโปร์ ทาให้ผู้ผลิตหรือ ผู้ประกอบการต้องปรับตัวเพื่อตอบสนองและรองรับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ เช่น ด้านภาษา ด้าน วัฒนธรรม เป็นต้น ส่งผลให้ประชาชนที่นี่มีความรู้ด้านภาษาและวัฒนธรรมอย่างกว้างขวางและหลากหลาย เป็นพิเศษ รวมถึงการมีป้ายบอกทางหรือป้ายชื่อสถานที่ ซึ่งส่วนใหญ่มีการแปลเป็นภาษาต่างชาติ เช่น
  • 8. 8 ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู เป็นต้น แม้แต่โรงแรมที่มีความสูงที่สุดในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ อย่างโรงแรมแกรนด์ แมนดารินที่มีความสูง 25 ชั้น ยังมีการออกแบบมาเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวชาว มาเลเซียและชาวสิงคโปร์โดยเฉพาะ เช่น มีห้องอาหารจีน มีการตกแต่งโรงแรมเป็นแบบจีน มีการให้ข้อมูล ต่าง ๆ เป็นภาษาอังกฤษและจีนทั้งภายในโรงแรมและในเว็บไซต์ เป็นต้น ทาให้โรงแรมแห่งนี้มีนักท่องเที่ยว ชาวต่างชาติมาใช้บริการเป็นจานวนมาก หากพิจารณาสถานประกอบการในเมืองเบตงทั้งหมด 1,364 แห่งในปี พ.ศ. 2554 จะพบว่า ชาวเบ ตงส่วนใหญ่ประกอบธุรกิจการค้าปลีก โดยคิดเป็นจานวน 614 แห่งหรือร้อยละ 45.01 ของทั้งหมด รองลงมาเป็นธุรกิจที่พักแรม บริการอาหารและเครื่องดื่ม จานวน 323 แห่ง และกิจกรรมบริการอื่น ๆ จานวน 129 แห่ง โดยคิดเป็นร้อยละ 23.68 และร้อยละ 9.46 ตามลาดับ (สานักงานสถิติแห่งชาติ, 2555) จะ เห็นได้ว่า ธุรกิจโรงแรมและภัตตาคารมีจานวนมากกว่าหนึ่งในห้าของสถานประกอบการทั้งหมดในเมือง แสดงถึงการเติบโตของธุรกิจสาหรับการรองรับนักท่องเที่ยวและชี้ให้เห็นว่าเศรษฐกิจเมืองเบตงเน้นขายการ ท่องเที่ยวเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม ด้วยลักษณะภูมิประเทศของเมืองเบตงเป็นเมืองที่อยู่ท่ามกลางภูเขา ทาให้การสัญจร ค่อนข้างเป็นอุปสรรค อีกทั้งยังมีผลจากความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่อาจส่งผลต่อการ ท่องเที่ยวบ้างไม่มากก็น้อย เทศบาลเมืองเบตงเล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าวจึงมีแนวคิดที่จะส่งเสริมการ ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติ เชิงประวัติศาสตร์ และเชิงเอกลักษณ์ จานวน 65 แห่งทั่วเมือง เช่น สวน ดอกไม้เมืองหนาว อุโมงค์ปิยะมิตร พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์อดีตพรรคคอมมิวนิสต์มลายา ป่าบาลาฮาลา เป็นต้น พร้อมกับมีการส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่นอย่างเต็มที่ อย่างเช่นเทศกาลไหว้พระจันทร์และเทศกาล ฮารีรายอ นอกจากนี้ ทางเทศบาลฯ ยังคานึงถึงปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐาน โดยเฉพาะการปรับปรุงถนน ให้ง่ายต่อการสัญจรเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวที่อาจเพิ่มมากขึ้นจากการมีสนามบินเบตงด้วย สุดท้ายนี้ แม้เมืองเบตงจะเป็นเมืองขนาดเล็ก แต่ด้วยการที่มีนักท่องเที่ยวจานวนมากและเศรษฐกิจ เมืองอาศัยรายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาติเป็นหลัก ทาให้เมืองควรตระหนักถึงปัญหาที่อาจเกิดขึ้นตามมา และปัญหาที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาเมือง ทั้งปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ถนนหนทาง ระบบขนส่ง เป็นต้น ปัญหาด้านเศรษฐกิจที่ยังขาดแคลนอาชีพสาหรับคนวัยทางาน ปัญหาด้านการศึกษาที่ยังขาด สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ตลอดจนปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดความเสื่อมโทรมจากการ ท่องเที่ยว ปัญหาทั้งหมดนี้ล้วนเป็นความท้าทายที่เทศบาลเมืองเบตงต้องเผชิญ ทาให้เทศบาลฯ ต้องมีการ วางแผนและจัดการรับมือล่วงหน้าก่อนที่ปัญหาเหล่านี้จะกลายเป็นดาบสองคมมาทาลายสมดุลทางเศรษฐกิจ ที่เฟื่องฟูมายาวนาน 5. ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ด้วยสภาพภูมิประเทศของอาเภอเบตงเป็นภูเขาสูงทาให้การสัญจรทางบกมีความยากลาบากมี ระยะห่างจากตัวเมืองยะลา 140 กิโลเมตร และห่างจากกรุงเทพฯ 1590 กิโลเมตร จึงมีการผลักดันให้มีการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่ออานวยความสะดวกในการคมนาคมให้แก่ประชาชน นักท่องเที่ยว และนัก ลงทุน พร้อมทั้งเป็นแนวทางในการพัฒนาเมืองเบตงในฐานะเมืองชายแดนต่อไป
  • 9. 9 5.1 สนามบินนานาชาติเบตง แผนการพัฒนาที่จะช่วยยกระดับเบตงในฐานะเมืองชายแดนเพื่อส่งเสริมด้านการค้าและการ ท่องเที่ยวที่เป็นรูปธรรมในขณะนี้คือโครงการสร้างสนามบินเบตง ซึ่งคณะรัฐมนตรีอนุมัติการของบประมาณ 1,800 ล้านบาท เพื่อดาเนินการก่อสร้างสนามบินนานาชาติเบตง โดยผ่านการทาประชาพิจารณ์ผลกระทบ ด้านสิ่งแวดล้อม (EIA) และได้รับการสนับสนุนจากประชาชนในพื้นที่ การก่อสร้างสนามบินานาชาติเบตงจะ เริ่มต้นในปี พ.ศ. 2559 แล้วเสร็จ ในปี พ.ศ. 2562 นอกจากนี้ การก่อสร้างสนามบินนานาชาติเบตงเป็น โครงการที่ทาควบคู่ไปกับการขุดอุโมงค์ลอดเขาไปในตาบลตาเนาะแมเราะ เพื่อให้การคมนาคมเชื่อมต่อไป ยังอาเภอเมืองยะลา และจังหวัดใกล้เคียงได้ง่าย ซึ่งสามารถย่นระยะทางจากอาเภอเบตงไปอาเภอเมือง ยะลาให้เหลือเพียง 1 ชั่วโมง 20 นาที จากเดิมที่ต้องใช้เวลานานถึง 2 ชั่วโมง 30 นาที นับว่าเป็นโอกาสดีที่ ส่งผลต่อการขยายตลาดการค้าทางเศรษฐกิจ และการรองรับการขยายตัวของการท่องเที่ยวอีกด้วย 5.2 เขตเศรษฐกิจเศรษฐกิจเบตง การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องประกอบกับการได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยว ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติจึงสามารถสร้างรายได้ให้กับเบตงได้สูง เทศบาลเมืองเบตงได้เล็งเห็นถึงการ พัฒนาเมืองและช่องทางในการสร้างรายได้ที่เพิ่มขึ้นจึงมีแผนการพัฒนาระยะยาว โดยเป็นการพัฒนาด้าน เศรษฐกิจของเบตงให้เป็น “เขตเศรษฐกิจพิเศษ” เพื่อรองรับการขยายตัวของการลงทุนและการเติบโตของ การท่องเที่ยว นอกจากนี้ยังมีเป้าหมายการพัฒนาเบตงให้เป็นศูนย์กลางการเชื่อมต่อด้านการขนส่งโลจิ สติกส์ในฐานะเมืองชายแดน ซึ่งทาให้เกิดแรงจูงใจกับนักลงทุนต่างประเทศโดยเฉพาะประเทศมาเลเซีย 6. ข้อสังเกต แผนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของอาเภอเบตงนับเป็นโอกาสที่ดีในการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพของพื้นที่ การพัฒนาด้านการลงทุนและการค้านั้นจะสอดรับการบูรณาการร่วมของประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ซึ่งเป็นการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ทั้งการสร้างรายได้ให้กับประชาชนในพื้นที่ การเพิ่มความสะดวกให้กับนักลงทุนและนักท่องเที่ยว การกลายเป็นศูนย์กลางด้านโลจิสติกส์ของเมือง ชายแดน ประกอบกับการพัฒนาเบตงในฐานะเมืองชายแดนนั้นยังส่งผลให้ประเทศมาเลเซียซึ่งมีพรหม แดนติดต่อกับอาเภอเบตง สามารถเข้าสร้างโอกาสและขยายความร่วมมือกับประเทศไทย โดยเห็นได้จาก การเคลื่อนย้าย (Flow) ของผู้คนของทั้งสองประเทศทั้งในด้านเศรษฐกิจการค้า และด้านวัฒนธรรม นอกจากนี้ ยังรวมถึงการฟื้นฟูการท่องเที่ยวและสร้างความเชื่อมั่นด้านความปลอดภัยให้แก่นักเที่ยวและ ประชาชนในพื้นที่ ความโดดเด่นของเอกลักษณ์ท้องถิ่นของเบตงซึ่งเป็นสังคมพหุวัฒนธรรมและมีเอกลักษณ์อย่างเห็น ได้ชัด การรักษาไว้ซึ่งเอกลักษณ์ท้องถิ่นจึงเป็นส่วนสาคัญที่ก่อให้เกิดการเสริมสร้างอานาจของ ประชาชน (Empower) ให้เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาพื้นที่ร่วมกับรัฐ ประกอบกับการริเริ่มแผนพัฒนา ประชาชนในพื้นที่รู้สึกถึงความเป็นเจ้าของซึ่งก่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป อย่างไรก็ตาม การขับเคลื่อนโครงการพัฒนาของเมืองเบตงเป็นตัวแสดงหนึ่งทีมีบทบาทสาคัญใน การการขยายการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ไม่ใช่แค่การพัฒนาเฉพาะบทบาทของเมืองเบตงเท่านั้น แต่ยัง รวมถึงการขยายตลาดทางการค้าไปยังประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งจะส่งผลให้ภาพของการเจริญเติบโตทาง
  • 10. 10 เศรษฐกิจของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีการขยายตัวมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ การสนับสนุนจากภาครัฐจึง เป็นกลไกที่สาคัญในการพัฒนาพื้นที่เบตงในฐานะเมืองชายแดน โดยการเชื่อมโยงสามจังหวัดชายแดนใต้ เข้ากับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้งหมดลงสู่ทางตอนใต้ของประเทศไทยซึ่งเชื่อมต่อกับประเทศ มาเลเซีย อินโดนีเซีย และสิงคโปร์ ซึ่งพื้นฐานคนจีนที่สนใจการค้าและการท่องเที่ยวในเมืองเบตงมาก จึง ควรตระหนักถึงการปรับแนวยุทธศาสตร์ นโยบายต่างประเทศ ตลอดถึงแนวนโยบายทางเศรษฐกิจและ สังคม เพื่อสอดรับการกระแส “บูรพาภิวัตน์” ซึ่งประเทศไทยสามารถใช้ประโยชน์จากทาง ภูมิ-รัฐศาสตร์ และภูมิ-เศรษฐศาสตร์ได้ ทั้งนี้ แผนการพัฒนาและการปรับตัวของเมืองเบตงในฐานะเมืองชายแดนจึงเป็น ก้าวสาคัญในการยกระดับเมืองชายแดนให้โดดเด่นมากยิ่งขึ้น