SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 10
Downloaden Sie, um offline zu lesen
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
: บทเรียนจากออสเตรเลีย
ณัฐธิดา เย็นบารุง
ปู้ช่วยนักวิจัย
แปนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัถนาอนาคตของเมือง
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
2
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
: บทเรียนจากออสเตรเลีย
เรียบเรียงโดย ณัฐธิดา เย็นบารุง
ผู้ช่วยนักวิจัย
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่ออนาคตของเมือง
3
ผู้เรียบเรียง : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง
บรรณาธิการบริหาร : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการฝ่ายวิชาการ : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล
กองบรรณาธิการ : นายฮาพีฟี สะมะแอ, นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง, นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ปก : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง
รูปเล่ม : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง
ปีที่เผยแพร่ : สิงหาคม พ.ศ. 2558
ผู้เผยแพร่ : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับมูลนิธิส่งเสริมปัญญาสาธารณะ (CPWI) ภายใต้
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง
ผู้สนับสนุน : สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
4
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน : บทเรียนจากออสเตรเลีย
บทนา
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อพัฒนาอนาคตของเมือง (FURD) สนใจด้านการพัฒนาเมือง เพื่อ
นาไปสู่นโยบายในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาเมืองในไทย จึงสนใจแนวคิดการพัฒนาเมืองที่ยั่งยืน ที่สร้าง
สมดุลทุกมิติ ขอนาเสนอบทความเกี่ยวกับกรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน บทเรียนจากการทางาน
พัฒนาเมืองพื้นที่ทะเลสาบ Penrith กรุงซิดนีย์ (Sydney) ประเทศออสเตรเลีย (รูปที่ 1) รับผิดชอบพัฒนา
พื้นที่โดยสถาบันวิจัย CSIRO Sustainable Ecosystems1
เขียนบทความโดยเบนด์ดอน บาเกอร์2
(Brendon Baker)
วัตถุประสงค์ของบทความชิ้นนี้ คือ การแนะนากรอบแนวคิดการพัฒนาเมืองที่สมดุล เน้นไปที่การ
พัฒนา 3 ด้าน คือ 1. สร้างสมดุลของประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ (economic performance), 2.การบูรณา
การระบบนิเวศ (ecological integrity) และ 3.สังคมสุขภาวะ (social health) ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
โดยกลไกที่สาคัญที่จะช่วยให้เกิดการพัฒนาและเปลี่ยนแปลง ต้องให้ความสาคัญกับชุมชน วิธีคิดเชิงระบบ
และการต้องปรับตัวเพื่อให้เกิดเมืองที่มีระบบนิเวศที่ดีเพื่อชุมชนในอนาคต
ในปี 1998 CSIRO ได้ดาเนินการทบทวนกลยุทธ์การฟื้นฟูเหมืองแร่ในภาคตะวันตกของกรุงซิดนีย์
และได้พบว่า ความสมดุลทางเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อมเป็นสิ่งสาคัญสาหรับการทาหน้าที่ (Function)
ของเมืองในอนาคต หรือการนาไปสู่เมืองที่มีระบบนิเวศสุขภาวะที่ดี ที่สาคัญเครื่องมือและวิธีเพื่อมุ่งไปสู่การ
พัฒนาเมืองที่สมดุล ทีมงานจึงเริ่มให้ความสนใจกับแนวคิด “การพัฒนาอย่างยั่งยืน” (Sustainability) เพื่อทา
ความเข้าใจและกาหนดอนาคตของระบบนิเวศในเมือง สาเหตุที่ต้องให้ความสาคัญกับระบบนิเวศ เพราะ
1
สถาบันวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
2
นักภูมิศาสตร์สิ่งแวดล้อม ปัจจุบันทางานอยู่ที่ the Regional Development Futures group
รูปที่ 1 ที่ตั้งทะเลสาบ Penrith
5
ความเป็นเมืองที่เกิดขึ้น ส่งผลถึงการบริโภคและใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง และทาให้สูญเสียทรัพยากร
อย่างมหาศาล
ความเป็นเมืองในประเทศออสเตรเลีย
ประชากรประเทศออสเตรเลียเกือบ 90% อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง ทาให้ออสเตรเลียเป็น
หนึ่งในประเทศที่กาลังเข้าสู่ความเป็นเมืองสูงที่สุดในโลก อาศัยอย่างหนาแน่นในบริเวณชายฝั่ง และมีความ
หนาแน่นคิดเป็น 1%ของทวีป ระหว่างปี 1995 และ 2000 การเติบโตของประชากรของออสเตรเลียประมาณ
70% เกิดขึ้นในเมืองหลวง และเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญในเขตชานเมืองของพื้นที่เหล่านี้
ถึงแม้ว่าปัจจุบันมนุษย์จะอาศัยอยู่ในสังคมแห่งเทคโนโลยีและสังคมอุตสาหกรรม ซึ่งดูเหมือนจะ
ห่างไกลจากการพึ่งพาธรรมชาติ แต่ในความเป็นจริงการบริโภคของมนุษย์ในปัจจุบันมีขนาดใหญ่กว่าทุก
ช่วงเวลาของประวัติศาสตร์ การใช้ชีวิตในเมือง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องอาหาร ที่อยู่อาศัย เสื้อผ้า รถยนต์
คอมพิวเตอร์ เป็นทรัพยากรและพลังงานที่ล้วนมาจากทุนทางธรรมชาติทั้งสิ้นผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น
การเกษตร, ตกปลา, อุตสาหกรรมและการพาณิชย์ เป็นต้น การบริโภคของมนุษย์บนทุนทางธรรมชาติ
เหล่านี้ได้เพิ่มขึ้นมากจนเกินความสามารถของระบบนิเวศที่จะรับมือได้ Vitousek et al3
ได้ประเมินว่าการ
บริโภคของมนุษย์ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศของโลกดังนี้
- เปลี่ยนพื้นผิวแผ่นดิน
- เปลี่ยนแปลงบรรยากาศโลก (ความเข้มข้นของ CO2 ได้เพิ่มขึ้นเกือบ 30% ในเวลาน้อยกว่า 200 ปี)
- ก่อให้เกิดการสูญเสียของ 1 ใน 4 ของนก
- ทาลายพื้นที่ป่าชายเลนของโลกกว่าครึ่ง (ป่าชายเลนคือสถานที่ที่มีคุณค่าสาหรับการสัตว์น้า)
ผลกระทบเหล่านี้อาจดูเหมือนห่างไกลมากจากการใช้ชีวิตประจาวันของเรา แต่แท้จริงแล้วการ
ดาเนินชีวิตของคนในเมืองล้วนพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติและพลังงานทั้งหมด ซึ่งส่งผลกระทบสะสมต่อ
ระบบนิเวศโลก และที่สาคัญประชากรในเมืองไม่สามารถอยู่รอดได้ โดยไม่ต้องพึ่งพาการปลูกพืชเพื่อเป็น
อาหาร ไม่สนใจผลผลิตจากป่า น้า ที่สร้างวัตถุดิบและพลังงานสาหรับสินค้าอุปโภคบริโภค และการดูดซับ
ของเสีย สิ่งเหล่านี้สามารถอธิบายได้จากเรื่องรอยเท้านิเวศน์เมือง (the city’s ecological footprint)
เราสามารถวัดรอยเท้านิเวศน์เมือง โดยการคานวณจานวนที่ดินที่เราใช้ในปัจจุบัน รอยเท้าทาง
นิเวศน์ของกรุงซิดนีย์ มีประมาณ 6 ไร่ สาหรับการอยู่อาศัย และการคานวณระดับของการบริโภคทุนทาง
ธรรมชาติ พบว่ายังอยู่ห่างไกลจาก ”ความยั่งยืน (Sustainable)” เราต้องหาวิธีการที่สามารถลด footprint
เพื่อให้เข้าสู่ “การเป็นเมืองที่มีระบบนิเวศที่ดี” ให้ได้
เมืองที่มีระบบนิเวศที่ดี จะให้ความสาคัญกับการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ,ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
ชุมชน ,สภาพแวดล้อม และองค์ประกอบทางเศรษฐกิจ ซึ่งจะทาให้ต้นทุนด้านชุมชนและความสิ้นหวังจะ
ลดลงอย่างมากมายสาหรับชุมชนเมืองในออสเตรเลีย การทาโครงการนี้จะเป็นโอกาสที่ดีสาหรับชาว
ออสเตรเลียที่จะมาทางานเชิงรุกเพื่อสร้างแผนอนาคตของตนเอง
เมืองแห่งการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Urban sustainability)
3
นักนิเวศวิทยาชาวอเมริกัน
6
ตั้งแต่ปี ค.ศ.1960 นานาชาติ ประเทศ ชุมชน และองค์กรต่างๆ ได้ร่วมมือกันมากขึ้นในการจัดการ
ปัญหาสิ่งแวดล้อม เช่น การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การสูญเสียโอโซน การตัดไม้ทาลายป่าการ
สูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพน้าและมลพิษทางอากาศ, ความเสื่อมโทรมของที่ดิน และการจัดการ
ของเสีย สิ่งเหล่านี้ได้รับการถกเถียงกันอย่างต่อเนื่อง พร้อมกับการมีส่วนร่วมของประชากรในเขตเมืองเพื่อ
แก้ไขปัญหาเหล่านี้ได้รับการยอมรับและเป็นแรงผลักดันหัวข้องานวิจัยมากขึ้น
ทั่วโลกเริ่มมีการเคลื่อนไหวและให้ความสนใจต่อการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์อย่างยั่งยืนมากขึ้น ซึ่ง
เป็นเรื่องที่อยู่ในหมวดของระบบเมืองในด้านวิทยาศาสตร์ ซึ่งต้องอาศัยองค์ความรู้จากหลายสาขาวิชา
เพื่อที่จะอธิบายการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนได้ครบทุกมิติ นาไปสู่การสร้างวิธีการใหม่ๆ โดยเฉพาะการคิด
อย่างเป็นระบบและให้ความสนใจกับความเป็นชุมชนมากขึ้น
คาว่า 'เมือง' นั้นสามารถหานิยามมาอธิบายได้ไม่ยากนัก แต่เมื่อเสริมไปด้วยคาว่า 'ความยั่งยืน' นั้น
ทาให้นิยามได้ยากมากขึ้น การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนเป็นเสมือนภาพของเมืองในอุดมคติ (Utopian city)
คือ วิถีชีวิตของมนุษย์ในเมืองได้ทาหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นธรรม ซึ่งทาให้ทุกคนมีชีวิตที่ดีใน
เมือง แม้จะมีเอกสารเกี่ยวกับเรื่องการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนจานวนมาก แต่ทว่าเราเองยังคงมีองค์ความรู้
ค่อนข้างน้อยเกี่ยวกับวิธีแก้ปัญหา และกระบวนการที่ทาให้เกิดเมืองอย่างยั่งยืน
แนวคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนนั้นมีหลากหลายแนวคิดมาก ซึ่งแต่ละแนวคิดนั้นก็ค่อนข้างมี
ความน่าสนใจ โดยขอยกแนวคิดที่น่าสนใจดังนี้
Charles Choguill4
ได้ให้นิยามที่ได้รับการยอมรับสากลว่าการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนควรจะ
กาหนดให้มีการลดการใช้ทรัพยากรที่ไม่หมุนเวียน การใช้ทรัพยากรอย่างหมุนเวียนเป็นหลักสาคัญของการ
พัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน ซึ่งความสาเร็จของการใช้ทรัพยากรหมุนเวียนควรอยู่ในภายใต้ความสามารถในการ
ดูดซึมของเสียของเมืองนั้นด้วย คานิยามนี้ให้ความสาคัญทางสิ่งแวดล้อมมาก เนื่องจากทรัพยากรทาง
ธรรมชาติเป็นส่วนสาคัญที่จาเป็นต่อชีวิตขั้นพื้นฐานในการทากิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างยิ่งใน
พื้นที่เขตเมืองและชานเมือง
Peter W.G. Newman5
เป้าหมายของการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน คือ การใช้บริการระบบนิเวศ
อย่างมีประสิทธิภาพและลดการผลิตของเสีย และต้องปรับการใช้ชีวิตของมนุษย์ ที่บริโภคตามความต้องการ
ของตัวเอง ซึ่งการนิยามการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน คือ การทาให้มนุษย์มีสิ่งอานวยความสะดวกทางสังคม
สุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี
The World Commission on Environment and Development ให้ความหมายของคาว่า “ความ
ยั่งยืน” คือ การบริโภคทรัพยากรของคนในปัจจุบัน ที่ไม่ส่งผลกระทบต่อความต้องการการบริโภคของคนรุ่น
หลัง ซึ่งเป็นนิยามที่ดี แต่ทั้งนี้ไม่ได้ระบุวิธีการที่จะทาให้เมืองไปสู่ความยั่งยืนได้
4
อาจารย์ด้านการวางผังเมือง (Urban planning) ของวิทยาลัยสถาปัตยกรรมและการผังเมือง มหาวิทยาลัยDepartment
of Urban Planning มหาวิทยาลัยคิงซาอุด (King Saud) เมืองริยาด ประเทศซาอุดิอาระเบีย
5
อาจารย์ด้านนโยบายเมือง (City Policy) ของมหาวิทยาลัยเมอร์ดอช เมืองเพริท์ ประเทศออสเตรเลีย
7
แม้ว่าการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนในหลายแนวคิดจะให้ความสาคัญกับการสร้างระบบนิเวศที่สมดุล
ซึ่งก็เป็นหนึ่งเป็นองค์ประกอบสาคัญของการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน ทั้งนี้ระบบนิเวศไม่ใช่องค์ประกอบเดียว
เนื่องจากการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนต้องให้ความสนใจกับปัจจัยทางเศรษฐกิจ และทางสังคมด้วย ซึ่ง
นักวิเคราะห์เมืองได้ชี้ว่าปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และกระบวนการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ไม่สามารถแยก
จากโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคมได้ ซึ่งส่วนใหญ่นักนิเวศวิทยามักจะชี้ให้เห็นแต่ความสาคัญของการ
รักษาสมดุลของระบบนิเวศ แต่มักจะลืมว่ากิจกรรมของมนุษย์ที่จะสร้างความยั่งยืนได้นั้นสัมพันธ์กับทุนทาง
เศรษฐกิจและสังคมด้วย
ดังนั้นความยั่งยืนในเอกสารนี้ จึงหมายถึงปฏิสัมพันธ์ของธรรมชาติทางสังคมและทุนทางเศรษฐกิจ
ที่สมดุล การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนขึ้นอยู่กับวิธีการใช้ทุนทางธรรมชาติ ทุนเศรษฐศาสตร์และสังคมอย่าง
สมดุล ซึ่งในเอกสารนี้ได้กาหนดเป้าหมายและวิธีการทั้งระยะสั้นและระยะยาว เพื่อให้เมืองหรือชุมชนที่
ต้องการสร้างความสมดุลระหว่างความขัดแย้งของปัญหาสิ่งแวดล้อม สังคมและเศรษฐกิจ ได้มีวิธีการ
วางแผน และการออกแบบพัฒนาเมืองได้
ทะเลสาบ Penrith
ทะเลสาบ Penrith ตั้งอยู่บนขอบตะวันตกของชานเมืองของกรุงซิดนีย์และอยู่ติดกับอุทยานแห่งชาติ
Blue Mountains มีพื้นที่ 2,000 ไร่ (รูปที่ 2) โดยการพัฒนาเมืองและพัฒนาสถานที่พักผ่อนของทะเลสาบ
Penrith จะเสร็จอีกประมาณ 5-10 ปีข้างหน้า
CSIRO ทาข้อตกลงกับ PLDC (Penrith Lakes Development Corporation) เพื่อเตรียมกลยุทธ์ที่
จะบูรณาการด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ เพื่อหนุนเสริมการพัฒนาเมืองในอนาคต โดยการนา
ความรู้ทางนิเวศวิทยาและการคิดอย่างมีระบบ เพื่อออกแบบและการก่อสร้างความ 'ยั่งยืน' หรือการสร้าง
รูปที่ 2 ทะเลสาบ Penrith
8
สมดุลให้เกิดขึ้น ซึ่งทีมงานเชื่อว่าการประยุกต์ใช้ความรู้ทางนิเวศวิทยาผ่านวิธีที่เป็นระบบจะช่วยให้เข้าใจ
และจัดการปัญหาการพัฒนาที่ซับซ้อนของทะเลสาบ Penrith ได้ อีกทั้งจะสามารถช่วยสนับสนุนคนได้ถึง
10,000 คน พัฒนาพื้นที่ประมาณ 1,000 เฮกเตอร์ของพื้นที่ โดยมีพื้นที่พักผ่อนประมาณ 700 เฮกเตอร์
และพัฒนาพื้นที่เมืองอีกประมาณ 250 เฮกเตอร์ พร้อมกันนี้การพัฒนานี้ยังรวมไปถึงการพัฒนาสนามกีฬา
Penrith Whitewater ,ศูนย์ the Sydney international Regatta, ศูนย์พายเรือแคนู ซึ่งเสร็จสมบูรณ์ในปี
1995 เพื่อใช้สาหรับการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ปี 2000 ที่กรุงซิดนี่ย์เป็นเจ้าภาพด้วย
การทางานของทีมงานที่ทะเลสาบ Penrith ทาให้ได้ข้อมูลเชิงลึกในระหว่างการพัฒนาเมืองอย่าง
ยั่งยืน โดยใช้หลายสาขาวิชาเข้าศึกษา เช่น นักนิเวศวิทยา, วิศวกร, สถาปนิก และนักวางแผน เพื่อพัฒนา
หลักการออกแบบและตัวชี้วัดสาหรับการพัฒนาเมืองที่สมดุล วัตถุประสงค์ของการทางาน คือเพื่อรักษา
ความสมดุลทางสังคม เศรษฐกิจและระบบนิเวศสาหรับชุมชน และเชื่อว่าว่าการประยุกต์ใช้ความรู้ระบบ
นิเวศอย่างเป็นระบบจะช่วยให้เข้าใจในการจัดการปัญหาการพัฒนาที่ซับซ้อนที่ทะเลสาบ Penrith ได้
ระหว่างการประชุมปฏิบัติการและการประชุมที่ทะเลสาบ Penrith PLDC เริ่มตระหนักว่าวิธีการ
แบบบูรณาการ รวมทั้งการดาเนินการ การฟื้นฟู และนวัตกรรมที่มีต่อการพัฒนาความสมดุลจะช่วยให้งาน
ประสบความสาเร็จ ซึ่งมีดังนี้
- เพิ่มการพัฒนาทางเศรษฐกิจของเหมืองหินอย่างต่อเนื่องในพื้นที่ทะเลสาบ Penrith
- เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนผ่านการพักผ่อน การเชื่อมโยงการศึกษาและวัฒนธรรมกับพื้นที่และ
ประวัติศาสตร์
- ใช้ความรู้ทางนิเวศวิทยาในการวางแผนและการออกแบบของระบบการจัดการน้า การสร้าง
สภาพแวดล้อม และการบาบัดน้าเสีย
- บูรณาการหลักการทางานของระบบนิเวศเพื่อฟื้นฟูผิวดิน ,สร้างที่อยู่อาศัยของพืชและสัตว์ รวมถึงการ
ใช้ชีวิตและการมีพื้นที่การพักผ่อนของคนในเขตเมือง
หลักการที่ออกแบบเหล่านี้จะเป็นเครื่องมือในการช่วยให้คนได้คิดเกี่ยวกับการพัฒนาเมืองอย่างเป็น
ระบบ เพื่อให้วิศวกร นักวางแผน ผู้รับเหมาก่อสร้าง และนักนโยบาย ได้ประยุกต์ใช้ความรู้เหล่านี้ในการ
ทางานเพื่อออกแบบและพัฒนาพื้นที่ในทะเลสาบ Penrith และสามารถต่อยอดใช้ได้กับพื้นเมืองอื่นใน
ออสเตรเลียเพื่อให้เกิดความสมดุล
กรอบแนวคิดการพัฒนาอนาคตของเมือง
เมื่อชุมชนเมืองในออสเตรเลียมีความต้องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่มากขึ้น รวมถึงการ
เปลี่ยนแปลงอื่นๆ ที่ส่งผลกระทบ ไม่ว่าจะเป็นโลกาภิวัตน์ ราคาน้ามัน และราคาก๊าซที่เพิ่มสูงขึ้น ปัญหา
คุณภาพน้า การเปลี่ยนแปลงภูมิภาคอากาศ ก่อให้เกิดผลกระทบให้กับผู้คนในออสเตรเลีย แต่ทั้งนี้สิ่งที่
เกิดขึ้นเป็นโอกาสที่ดีเช่นกันที่จะทาให้ชุมชนของออสเตรเลียหันมาให้ความสาคัญในการออกแบบอนาคต
เมืองของตนเอง
CSIRO จึงต้องการพัฒนากรอบการทางานที่ไม่ซ้าแบบเดิม รวมทั้งนวัตกรรมที่มีคุณภาพในการ
สร้างกลยุทธ์สาหรับการพัฒนาที่สมดุลและการมีระบบนิเวศเมืองที่ดี จึงได้พัฒนากรอบที่เรียกว่า The
Regional Development Futures (RDF) โดยการใช้ทักษะทางวิทยาศาสตร์กับผู้ที่สนใจแก้ปัญหาระบบ
9
นิเวศของประเทศ ทั้งนี้จะต้องเข้าใจโครงสร้างของพื้นที่อย่างองค์รวม (region holistically) ที่สาคัญการจะ
พัฒนาให้เกิดความสมดุลนั้นต้องให้ชุมชนเป็นผู้ตัดสินใจด้วย ดังนั้นกรอบของ RDF จึงใช้วิธีการวิจัยเชิง
ปฏิบัติการ (เน้นสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน) ในการประเมินทางเลือกการใช้ทรัพยากรและสร้างสมดุลใน
เป้าหมายทั้งระยะสั้นและระยะยาว
กรอบของ The Regional Development Futures (RDF) (ภาพที่ 2) จะช่วยสร้างความยืดหยุ่นและ
เพิ่มขีดความสามารถที่จะจัดการกับความไม่แน่นอนที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยขั้นตอนของ RDF มีดังนี้
- การสร้างความร่วมมือ กับทุกกลุ่มที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็น การสร้างความร่วมมือกับชุมชน ,รัฐบาล ,
กลุ่มอุตสาหกรรม เพื่อให้มีมุมมองที่หลากหลายและจะช่วยให้เกิดความเข้าใจในพื้นที่มากยิ่งขึ้น นาไปสู่
การวางแผนเพื่อหาอนาคตของเมืองร่วมกันได้
- การสร้างรากฐานให้แข็งแรง วัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในอดีตของชุมชนมีอิทธิพลต่อการ
เปลี่ยนแปลง การเข้าใจบทเรียนจากอดีตจะช่วยเป็นฐานข้อมูลที่จะช่วยกาหนดการพัฒนาให้
เปลี่ยนแปลงอย่างมีทิศทางได้
- สร้างโอกาสเพื่อการเปลี่ยนแปลง – ชุมชนจะสามารถกาหนดวิธีการทางานในพื้นที่อย่างเป็นระบบ
เป็นแรงผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลง และสามารถเชื่อมระหว่างเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมได้
- สร้างอนาคตที่ยืดหยุ่นได้ – ต้องจัดให้มีกระบวนการในการตัดสินใจเกี่ยวกับทิศทางการพัฒนาใน
อนาคต การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้วิธีจะช่วยสร้างรากฐานให้แข็งแรงสาหรับทิศทางในอนาคตเพื่อ
เฝ้าระวังและสามารถปรับตัวทางเศรษฐกิจ สังคม และปรับกลยุทธ์การลงทุนในระบบนิเวศ นาไปสูความ
เข้าใจในการสร้างความยืดหยุ่นในการปรับตัวในระยะยาว
ภาพที่ 2. The Regional Development Futures framework
นอกจากนี้ยังมีจุดแข็งที่สาคัญของวิธีการที่จะนาไปสู่ความสาเร็จจะต้องขึ้นอยู่กับเรื่องดังต่อไปนี้
- มีส่วนร่วมกับกลุ่มชุมชน
- ระบุขอบเขตของการเปลี่ยนแปลงชุมชน
10
- ตั้งอยู่บนฐานของการทางานแบบองค์รวมและการคิดแบบอย่างมีระบบ ซึ่งวิธีการทั้งหมดนี้จะต้อง
สอดคล้องแนวทางทางานของรัฐบาลและแนวทางการทางานของชุมชน
- มีการสอนและการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง โดยผ่านการประชุมเชิงปฏิบัติการ (workshop) และการ
ประเมินสถานการณ์
- แต่ละขั้นตอนของการทางานจะต้องมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน ทั้งปัจจัยการผลิตและผลผลิต อีกทั้งชุมชน
ต้องมีความยืดหยุ่นในการทางาน
- ต้องให้รัฐบาลท้องถิ่นและชุมชนที่มีความสามารถในการดาเนินงานจัดการอย่างต่อเนื่องข้อมูลที่นาไปสู่
ความยั่งยืน
- ที่สาคัญจะเห็นได้ว่า การวางแผนกลยุทธ์ระดับองค์กรจะต้องมีกรอบการทางานแบบบูรณาการ เพื่อ
สร้างกลยุทธ์ที่เหมาะสมในอนาคต
จากหลักคิดข้างต้นแสดงให้เห็นว่ามีการพัฒนาเมืองให้เกิดความยั่งยืนต้องคิดแบบบูรณาการ คือมี
การเชื่อมโยงระหว่างปัจจัยทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ซึ่งไม่ใช่เพียงแค่การปฏิบัติเท่านั้นที่ต้องมี
หลักคิดแบบบูรณาการ แต่ในระดับองค์กรหรือหน่วยงานควรจะต้องมีหลักคิดด้านกลยุทธ์ในการพัฒนาเมือง
ในอนาคตแบบบูรณาการด้วยเช่นกัน ฉะนั้นหลักคิดที่ CSIRO เสนอนั้น จะช่วยให้เมืองในออสเตรเลียได้มี
หลักคิดที่มุ่งเข้าสู่การพัฒนาเมืองที่สมดุลได้
สรุป
การบริโภค การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างไม่รู้คุณค่า ทาให้หลายพื้นที่ในออสเตรเลียประสบ
ปัญหาการสูญเสียทรัพยากร การมีวิถีชีวิตที่ไม่รักษาคุณค่าต่อสิ่งต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านสิ่งแวดล้อม หรือ
สังคม เป็นต้น ซึ่งอันที่จริงเป็นวิถีชีวิตที่เกิดขึ้นกับเกือบทุกเมืองบนโลกนี้ การเกิดปัญหาเช่นนี้ทาให้เมือง
ในออสเตรเลียได้มีโอกาสในการปรับตัวเองให้พัฒนาเชิงรุกเพื่อออกแบบการสร้างเมืองที่มีพัฒนาไปอย่าง
ยั่งยืน ทั้งนี้การแก้ปัญหาตลอดมา ต่างฝ่ายต่างทาหน้าที่ตามหลักวิชาการของตนเอง ทาให้เกิดความ
ล้มเหลว เนื่องจากไม่เข้าใจในบริบทอื่นๆ มองไม่เห็นผลกระทบทางอ้อมของตนเอง เกิดปัญหาความไม่ลง
ตัวขององค์กรที่มีหลักคิดที่แตกต่างกัน ทาให้ไม่สามารถวางแผนกลยุทธ์ที่สอดคล้องกันได้
การทางานที่ทะเลสาบ Penrith จึงเกิดการวางกรอบแนวคิดการทางานแบบใหม่ ที่มุ่งใส่ใจความ
ซับซ้อนที่เกี่ยวกับปัจจัยทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมในชุมชนเมืองเข้ามาเป็นหลักคิดในการทางาน
ซึ่งเป็นการทางานแบบบูรณาการ สถาบันการศึกษาต้องเข้ามามีส่วนร่วมแก้ปัญหา เน้นถ่ายทอดความรู้และ
ช่วยให้คนมุ่งคิดอย่างเป็นระบบ โดยเฉพาะผู้เกี่ยวข้องอย่างวิศวกร นักสถาปัตยกรรม และผู้กาหนด
นโยบาย ต้องเข้าใจและวางแผนเข้าใจผลกระทบทุกมิติ ซึ่งการทางานแบบเป็นองค์รวมเช่นนี้น่าเป็นจะหลัก
คิดที่ดีสาหรับเมืองที่มีแผนในการพัฒนานาไปปรับใช้ เพื่อก้าวสู่การเป็นเมืองที่มีการพัฒนาอย่างยั่งยืนได้
อ้างอิง
Brendon Baker (n.p.). Introducing urban sustainability at Penrith Lakes, Sydney: the rational
institute online publishing.Retrieved July 30,2015 from
http://www.regional.org.au/au/soc/2002/2/baker.htm

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

โครงงานอารยธรรมอียิปต์
โครงงานอารยธรรมอียิปต์โครงงานอารยธรรมอียิปต์
โครงงานอารยธรรมอียิปต์FlookBoss Black
 
ทวีปเอเชีย
ทวีปเอเชียทวีปเอเชีย
ทวีปเอเชียjantara
 
เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3พัน พัน
 
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯศิริพัฒน์ ธงยศ
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยYim Wiphawan
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติWarinthorn Limpanakorn
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยKorawan Sangkakorn
 
การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01Apida Runvat
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยwittawat_name
 
โครงงานแบดมินตัน
โครงงานแบดมินตันโครงงานแบดมินตัน
โครงงานแบดมินตันSupakit10
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกพัน พัน
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
ระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยKero On Sweet
 
สีและการผสมสี
สีและการผสมสีสีและการผสมสี
สีและการผสมสีพัน พัน
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5 Thunyakan Intrawut
 
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต FURD_RSU
 
โครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนาโครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนาAo Krubz
 

Was ist angesagt? (20)

เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
โครงงานอารยธรรมอียิปต์
โครงงานอารยธรรมอียิปต์โครงงานอารยธรรมอียิปต์
โครงงานอารยธรรมอียิปต์
 
ทวีปเอเชีย
ทวีปเอเชียทวีปเอเชีย
ทวีปเอเชีย
 
เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3
 
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติ
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
 
การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
 
โครงงานแบดมินตัน
โครงงานแบดมินตันโครงงานแบดมินตัน
โครงงานแบดมินตัน
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
ระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัย
 
สีและการผสมสี
สีและการผสมสีสีและการผสมสี
สีและการผสมสี
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5
 
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
 
โครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนาโครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนา
 

Andere mochten auch

10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 201510 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015Klangpanya
 
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองPPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองFURD_RSU
 
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ FURD_RSU
 
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทยวิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทยFURD_RSU
 
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนาเมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนาFURD_RSU
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะFURD_RSU
 
เศรษฐกิจแบ่งปัน กับ Uber
เศรษฐกิจแบ่งปัน กับ Uberเศรษฐกิจแบ่งปัน กับ Uber
เศรษฐกิจแบ่งปัน กับ UberFURD_RSU
 
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมPPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคตUrbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคตFURD_RSU
 
PowerPoint การพัฒนาเมืองยะลา: สิงคโปร์แห่งที่ 2
PowerPoint การพัฒนาเมืองยะลา: สิงคโปร์แห่งที่ 2PowerPoint การพัฒนาเมืองยะลา: สิงคโปร์แห่งที่ 2
PowerPoint การพัฒนาเมืองยะลา: สิงคโปร์แห่งที่ 2FURD_RSU
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนาบทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมหนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาการพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาFURD_RSU
 
พัฒนาการท่องเที่ยวไทยด้วยวิจัยและนวัตกรรม
พัฒนาการท่องเที่ยวไทยด้วยวิจัยและนวัตกรรมพัฒนาการท่องเที่ยวไทยด้วยวิจัยและนวัตกรรม
พัฒนาการท่องเที่ยวไทยด้วยวิจัยและนวัตกรรมChinawut Chinaprayoon
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง daSaiiew
 
รวมคู่มือ
รวมคู่มือรวมคู่มือ
รวมคู่มือboomlonely
 
การพัฒนาที่ยั่งยืน 1
การพัฒนาที่ยั่งยืน 1การพัฒนาที่ยั่งยืน 1
การพัฒนาที่ยั่งยืน 1Thongin Waidee
 
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่นกระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่นKiat Chaloemkiat
 
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคตUrbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคตFURD_RSU
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุFURD_RSU
 

Andere mochten auch (20)

10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 201510 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
 
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองPPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
 
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
 
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทยวิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
 
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนาเมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
 
เศรษฐกิจแบ่งปัน กับ Uber
เศรษฐกิจแบ่งปัน กับ Uberเศรษฐกิจแบ่งปัน กับ Uber
เศรษฐกิจแบ่งปัน กับ Uber
 
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมPPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
 
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคตUrbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
 
PowerPoint การพัฒนาเมืองยะลา: สิงคโปร์แห่งที่ 2
PowerPoint การพัฒนาเมืองยะลา: สิงคโปร์แห่งที่ 2PowerPoint การพัฒนาเมืองยะลา: สิงคโปร์แห่งที่ 2
PowerPoint การพัฒนาเมืองยะลา: สิงคโปร์แห่งที่ 2
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนาบทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
 
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมหนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
 
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาการพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
 
พัฒนาการท่องเที่ยวไทยด้วยวิจัยและนวัตกรรม
พัฒนาการท่องเที่ยวไทยด้วยวิจัยและนวัตกรรมพัฒนาการท่องเที่ยวไทยด้วยวิจัยและนวัตกรรม
พัฒนาการท่องเที่ยวไทยด้วยวิจัยและนวัตกรรม
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
 
รวมคู่มือ
รวมคู่มือรวมคู่มือ
รวมคู่มือ
 
การพัฒนาที่ยั่งยืน 1
การพัฒนาที่ยั่งยืน 1การพัฒนาที่ยั่งยืน 1
การพัฒนาที่ยั่งยืน 1
 
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่นกระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
 
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคตUrbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
 

Ähnlich wie กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน

การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่FURD_RSU
 
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...FURD_RSU
 
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ FURD_RSU
 
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์Sarit Tiyawongsuwan
 
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีนการบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีนFURD_RSU
 
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559Klangpanya
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)FURD_RSU
 
หนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
หนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองหนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
หนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองFURD_RSU
 
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมืองหนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมืองFURD_RSU
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลาทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลาFURD_RSU
 
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมืองแนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมืองFURD_RSU
 
Prและสังคม5
Prและสังคม5Prและสังคม5
Prและสังคม5Vivace Narasuwan
 
ข้อเสนอเชิงนโยบายเมืองน่าอยู่
ข้อเสนอเชิงนโยบายเมืองน่าอยู่ข้อเสนอเชิงนโยบายเมืองน่าอยู่
ข้อเสนอเชิงนโยบายเมืองน่าอยู่Chakgrit Podapol
 
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2FURD_RSU
 
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่ง...
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่ง...Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่ง...
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่ง...Singhanat Sangsehanat
 
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลาทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลาFURD_RSU
 
ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"
ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"
ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"Klangpanya
 
บทคัดย่อกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ฯ
บทคัดย่อกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ฯบทคัดย่อกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ฯ
บทคัดย่อกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ฯนู๋หนึ่ง nooneung
 

Ähnlich wie กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน (20)

การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
 
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
 
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
 
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
 
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีนการบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน
 
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
 
Japan reading policy
Japan reading policyJapan reading policy
Japan reading policy
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
 
หนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
หนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองหนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
หนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
 
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมืองหนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลาทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
 
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมืองแนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
 
Prและสังคม5
Prและสังคม5Prและสังคม5
Prและสังคม5
 
868 file1
868 file1868 file1
868 file1
 
ข้อเสนอเชิงนโยบายเมืองน่าอยู่
ข้อเสนอเชิงนโยบายเมืองน่าอยู่ข้อเสนอเชิงนโยบายเมืองน่าอยู่
ข้อเสนอเชิงนโยบายเมืองน่าอยู่
 
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
 
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่ง...
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่ง...Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่ง...
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่ง...
 
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลาทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
 
ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"
ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"
ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"
 
บทคัดย่อกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ฯ
บทคัดย่อกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ฯบทคัดย่อกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ฯ
บทคัดย่อกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ฯ
 

Mehr von FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กFURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลFURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมFURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมFURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกFURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขFURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองFURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองFURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยFURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังFURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...FURD_RSU
 

Mehr von FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 

กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน

  • 2. 2 กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน : บทเรียนจากออสเตรเลีย เรียบเรียงโดย ณัฐธิดา เย็นบารุง ผู้ช่วยนักวิจัย แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่ออนาคตของเมือง
  • 3. 3 ผู้เรียบเรียง : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง บรรณาธิการบริหาร : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการฝ่ายวิชาการ : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล กองบรรณาธิการ : นายฮาพีฟี สะมะแอ, นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง, นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร ปก : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง รูปเล่ม : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง ปีที่เผยแพร่ : สิงหาคม พ.ศ. 2558 ผู้เผยแพร่ : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับมูลนิธิส่งเสริมปัญญาสาธารณะ (CPWI) ภายใต้ แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ผู้สนับสนุน : สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
  • 4. 4 กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน : บทเรียนจากออสเตรเลีย บทนา แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อพัฒนาอนาคตของเมือง (FURD) สนใจด้านการพัฒนาเมือง เพื่อ นาไปสู่นโยบายในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาเมืองในไทย จึงสนใจแนวคิดการพัฒนาเมืองที่ยั่งยืน ที่สร้าง สมดุลทุกมิติ ขอนาเสนอบทความเกี่ยวกับกรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน บทเรียนจากการทางาน พัฒนาเมืองพื้นที่ทะเลสาบ Penrith กรุงซิดนีย์ (Sydney) ประเทศออสเตรเลีย (รูปที่ 1) รับผิดชอบพัฒนา พื้นที่โดยสถาบันวิจัย CSIRO Sustainable Ecosystems1 เขียนบทความโดยเบนด์ดอน บาเกอร์2 (Brendon Baker) วัตถุประสงค์ของบทความชิ้นนี้ คือ การแนะนากรอบแนวคิดการพัฒนาเมืองที่สมดุล เน้นไปที่การ พัฒนา 3 ด้าน คือ 1. สร้างสมดุลของประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ (economic performance), 2.การบูรณา การระบบนิเวศ (ecological integrity) และ 3.สังคมสุขภาวะ (social health) ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยกลไกที่สาคัญที่จะช่วยให้เกิดการพัฒนาและเปลี่ยนแปลง ต้องให้ความสาคัญกับชุมชน วิธีคิดเชิงระบบ และการต้องปรับตัวเพื่อให้เกิดเมืองที่มีระบบนิเวศที่ดีเพื่อชุมชนในอนาคต ในปี 1998 CSIRO ได้ดาเนินการทบทวนกลยุทธ์การฟื้นฟูเหมืองแร่ในภาคตะวันตกของกรุงซิดนีย์ และได้พบว่า ความสมดุลทางเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อมเป็นสิ่งสาคัญสาหรับการทาหน้าที่ (Function) ของเมืองในอนาคต หรือการนาไปสู่เมืองที่มีระบบนิเวศสุขภาวะที่ดี ที่สาคัญเครื่องมือและวิธีเพื่อมุ่งไปสู่การ พัฒนาเมืองที่สมดุล ทีมงานจึงเริ่มให้ความสนใจกับแนวคิด “การพัฒนาอย่างยั่งยืน” (Sustainability) เพื่อทา ความเข้าใจและกาหนดอนาคตของระบบนิเวศในเมือง สาเหตุที่ต้องให้ความสาคัญกับระบบนิเวศ เพราะ 1 สถาบันวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม 2 นักภูมิศาสตร์สิ่งแวดล้อม ปัจจุบันทางานอยู่ที่ the Regional Development Futures group รูปที่ 1 ที่ตั้งทะเลสาบ Penrith
  • 5. 5 ความเป็นเมืองที่เกิดขึ้น ส่งผลถึงการบริโภคและใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง และทาให้สูญเสียทรัพยากร อย่างมหาศาล ความเป็นเมืองในประเทศออสเตรเลีย ประชากรประเทศออสเตรเลียเกือบ 90% อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง ทาให้ออสเตรเลียเป็น หนึ่งในประเทศที่กาลังเข้าสู่ความเป็นเมืองสูงที่สุดในโลก อาศัยอย่างหนาแน่นในบริเวณชายฝั่ง และมีความ หนาแน่นคิดเป็น 1%ของทวีป ระหว่างปี 1995 และ 2000 การเติบโตของประชากรของออสเตรเลียประมาณ 70% เกิดขึ้นในเมืองหลวง และเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญในเขตชานเมืองของพื้นที่เหล่านี้ ถึงแม้ว่าปัจจุบันมนุษย์จะอาศัยอยู่ในสังคมแห่งเทคโนโลยีและสังคมอุตสาหกรรม ซึ่งดูเหมือนจะ ห่างไกลจากการพึ่งพาธรรมชาติ แต่ในความเป็นจริงการบริโภคของมนุษย์ในปัจจุบันมีขนาดใหญ่กว่าทุก ช่วงเวลาของประวัติศาสตร์ การใช้ชีวิตในเมือง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องอาหาร ที่อยู่อาศัย เสื้อผ้า รถยนต์ คอมพิวเตอร์ เป็นทรัพยากรและพลังงานที่ล้วนมาจากทุนทางธรรมชาติทั้งสิ้นผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น การเกษตร, ตกปลา, อุตสาหกรรมและการพาณิชย์ เป็นต้น การบริโภคของมนุษย์บนทุนทางธรรมชาติ เหล่านี้ได้เพิ่มขึ้นมากจนเกินความสามารถของระบบนิเวศที่จะรับมือได้ Vitousek et al3 ได้ประเมินว่าการ บริโภคของมนุษย์ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศของโลกดังนี้ - เปลี่ยนพื้นผิวแผ่นดิน - เปลี่ยนแปลงบรรยากาศโลก (ความเข้มข้นของ CO2 ได้เพิ่มขึ้นเกือบ 30% ในเวลาน้อยกว่า 200 ปี) - ก่อให้เกิดการสูญเสียของ 1 ใน 4 ของนก - ทาลายพื้นที่ป่าชายเลนของโลกกว่าครึ่ง (ป่าชายเลนคือสถานที่ที่มีคุณค่าสาหรับการสัตว์น้า) ผลกระทบเหล่านี้อาจดูเหมือนห่างไกลมากจากการใช้ชีวิตประจาวันของเรา แต่แท้จริงแล้วการ ดาเนินชีวิตของคนในเมืองล้วนพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติและพลังงานทั้งหมด ซึ่งส่งผลกระทบสะสมต่อ ระบบนิเวศโลก และที่สาคัญประชากรในเมืองไม่สามารถอยู่รอดได้ โดยไม่ต้องพึ่งพาการปลูกพืชเพื่อเป็น อาหาร ไม่สนใจผลผลิตจากป่า น้า ที่สร้างวัตถุดิบและพลังงานสาหรับสินค้าอุปโภคบริโภค และการดูดซับ ของเสีย สิ่งเหล่านี้สามารถอธิบายได้จากเรื่องรอยเท้านิเวศน์เมือง (the city’s ecological footprint) เราสามารถวัดรอยเท้านิเวศน์เมือง โดยการคานวณจานวนที่ดินที่เราใช้ในปัจจุบัน รอยเท้าทาง นิเวศน์ของกรุงซิดนีย์ มีประมาณ 6 ไร่ สาหรับการอยู่อาศัย และการคานวณระดับของการบริโภคทุนทาง ธรรมชาติ พบว่ายังอยู่ห่างไกลจาก ”ความยั่งยืน (Sustainable)” เราต้องหาวิธีการที่สามารถลด footprint เพื่อให้เข้าสู่ “การเป็นเมืองที่มีระบบนิเวศที่ดี” ให้ได้ เมืองที่มีระบบนิเวศที่ดี จะให้ความสาคัญกับการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ,ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง ชุมชน ,สภาพแวดล้อม และองค์ประกอบทางเศรษฐกิจ ซึ่งจะทาให้ต้นทุนด้านชุมชนและความสิ้นหวังจะ ลดลงอย่างมากมายสาหรับชุมชนเมืองในออสเตรเลีย การทาโครงการนี้จะเป็นโอกาสที่ดีสาหรับชาว ออสเตรเลียที่จะมาทางานเชิงรุกเพื่อสร้างแผนอนาคตของตนเอง เมืองแห่งการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Urban sustainability) 3 นักนิเวศวิทยาชาวอเมริกัน
  • 6. 6 ตั้งแต่ปี ค.ศ.1960 นานาชาติ ประเทศ ชุมชน และองค์กรต่างๆ ได้ร่วมมือกันมากขึ้นในการจัดการ ปัญหาสิ่งแวดล้อม เช่น การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การสูญเสียโอโซน การตัดไม้ทาลายป่าการ สูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพน้าและมลพิษทางอากาศ, ความเสื่อมโทรมของที่ดิน และการจัดการ ของเสีย สิ่งเหล่านี้ได้รับการถกเถียงกันอย่างต่อเนื่อง พร้อมกับการมีส่วนร่วมของประชากรในเขตเมืองเพื่อ แก้ไขปัญหาเหล่านี้ได้รับการยอมรับและเป็นแรงผลักดันหัวข้องานวิจัยมากขึ้น ทั่วโลกเริ่มมีการเคลื่อนไหวและให้ความสนใจต่อการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์อย่างยั่งยืนมากขึ้น ซึ่ง เป็นเรื่องที่อยู่ในหมวดของระบบเมืองในด้านวิทยาศาสตร์ ซึ่งต้องอาศัยองค์ความรู้จากหลายสาขาวิชา เพื่อที่จะอธิบายการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนได้ครบทุกมิติ นาไปสู่การสร้างวิธีการใหม่ๆ โดยเฉพาะการคิด อย่างเป็นระบบและให้ความสนใจกับความเป็นชุมชนมากขึ้น คาว่า 'เมือง' นั้นสามารถหานิยามมาอธิบายได้ไม่ยากนัก แต่เมื่อเสริมไปด้วยคาว่า 'ความยั่งยืน' นั้น ทาให้นิยามได้ยากมากขึ้น การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนเป็นเสมือนภาพของเมืองในอุดมคติ (Utopian city) คือ วิถีชีวิตของมนุษย์ในเมืองได้ทาหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นธรรม ซึ่งทาให้ทุกคนมีชีวิตที่ดีใน เมือง แม้จะมีเอกสารเกี่ยวกับเรื่องการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนจานวนมาก แต่ทว่าเราเองยังคงมีองค์ความรู้ ค่อนข้างน้อยเกี่ยวกับวิธีแก้ปัญหา และกระบวนการที่ทาให้เกิดเมืองอย่างยั่งยืน แนวคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนนั้นมีหลากหลายแนวคิดมาก ซึ่งแต่ละแนวคิดนั้นก็ค่อนข้างมี ความน่าสนใจ โดยขอยกแนวคิดที่น่าสนใจดังนี้ Charles Choguill4 ได้ให้นิยามที่ได้รับการยอมรับสากลว่าการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนควรจะ กาหนดให้มีการลดการใช้ทรัพยากรที่ไม่หมุนเวียน การใช้ทรัพยากรอย่างหมุนเวียนเป็นหลักสาคัญของการ พัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน ซึ่งความสาเร็จของการใช้ทรัพยากรหมุนเวียนควรอยู่ในภายใต้ความสามารถในการ ดูดซึมของเสียของเมืองนั้นด้วย คานิยามนี้ให้ความสาคัญทางสิ่งแวดล้อมมาก เนื่องจากทรัพยากรทาง ธรรมชาติเป็นส่วนสาคัญที่จาเป็นต่อชีวิตขั้นพื้นฐานในการทากิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างยิ่งใน พื้นที่เขตเมืองและชานเมือง Peter W.G. Newman5 เป้าหมายของการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน คือ การใช้บริการระบบนิเวศ อย่างมีประสิทธิภาพและลดการผลิตของเสีย และต้องปรับการใช้ชีวิตของมนุษย์ ที่บริโภคตามความต้องการ ของตัวเอง ซึ่งการนิยามการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน คือ การทาให้มนุษย์มีสิ่งอานวยความสะดวกทางสังคม สุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี The World Commission on Environment and Development ให้ความหมายของคาว่า “ความ ยั่งยืน” คือ การบริโภคทรัพยากรของคนในปัจจุบัน ที่ไม่ส่งผลกระทบต่อความต้องการการบริโภคของคนรุ่น หลัง ซึ่งเป็นนิยามที่ดี แต่ทั้งนี้ไม่ได้ระบุวิธีการที่จะทาให้เมืองไปสู่ความยั่งยืนได้ 4 อาจารย์ด้านการวางผังเมือง (Urban planning) ของวิทยาลัยสถาปัตยกรรมและการผังเมือง มหาวิทยาลัยDepartment of Urban Planning มหาวิทยาลัยคิงซาอุด (King Saud) เมืองริยาด ประเทศซาอุดิอาระเบีย 5 อาจารย์ด้านนโยบายเมือง (City Policy) ของมหาวิทยาลัยเมอร์ดอช เมืองเพริท์ ประเทศออสเตรเลีย
  • 7. 7 แม้ว่าการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนในหลายแนวคิดจะให้ความสาคัญกับการสร้างระบบนิเวศที่สมดุล ซึ่งก็เป็นหนึ่งเป็นองค์ประกอบสาคัญของการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน ทั้งนี้ระบบนิเวศไม่ใช่องค์ประกอบเดียว เนื่องจากการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนต้องให้ความสนใจกับปัจจัยทางเศรษฐกิจ และทางสังคมด้วย ซึ่ง นักวิเคราะห์เมืองได้ชี้ว่าปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และกระบวนการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ไม่สามารถแยก จากโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคมได้ ซึ่งส่วนใหญ่นักนิเวศวิทยามักจะชี้ให้เห็นแต่ความสาคัญของการ รักษาสมดุลของระบบนิเวศ แต่มักจะลืมว่ากิจกรรมของมนุษย์ที่จะสร้างความยั่งยืนได้นั้นสัมพันธ์กับทุนทาง เศรษฐกิจและสังคมด้วย ดังนั้นความยั่งยืนในเอกสารนี้ จึงหมายถึงปฏิสัมพันธ์ของธรรมชาติทางสังคมและทุนทางเศรษฐกิจ ที่สมดุล การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนขึ้นอยู่กับวิธีการใช้ทุนทางธรรมชาติ ทุนเศรษฐศาสตร์และสังคมอย่าง สมดุล ซึ่งในเอกสารนี้ได้กาหนดเป้าหมายและวิธีการทั้งระยะสั้นและระยะยาว เพื่อให้เมืองหรือชุมชนที่ ต้องการสร้างความสมดุลระหว่างความขัดแย้งของปัญหาสิ่งแวดล้อม สังคมและเศรษฐกิจ ได้มีวิธีการ วางแผน และการออกแบบพัฒนาเมืองได้ ทะเลสาบ Penrith ทะเลสาบ Penrith ตั้งอยู่บนขอบตะวันตกของชานเมืองของกรุงซิดนีย์และอยู่ติดกับอุทยานแห่งชาติ Blue Mountains มีพื้นที่ 2,000 ไร่ (รูปที่ 2) โดยการพัฒนาเมืองและพัฒนาสถานที่พักผ่อนของทะเลสาบ Penrith จะเสร็จอีกประมาณ 5-10 ปีข้างหน้า CSIRO ทาข้อตกลงกับ PLDC (Penrith Lakes Development Corporation) เพื่อเตรียมกลยุทธ์ที่ จะบูรณาการด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ เพื่อหนุนเสริมการพัฒนาเมืองในอนาคต โดยการนา ความรู้ทางนิเวศวิทยาและการคิดอย่างมีระบบ เพื่อออกแบบและการก่อสร้างความ 'ยั่งยืน' หรือการสร้าง รูปที่ 2 ทะเลสาบ Penrith
  • 8. 8 สมดุลให้เกิดขึ้น ซึ่งทีมงานเชื่อว่าการประยุกต์ใช้ความรู้ทางนิเวศวิทยาผ่านวิธีที่เป็นระบบจะช่วยให้เข้าใจ และจัดการปัญหาการพัฒนาที่ซับซ้อนของทะเลสาบ Penrith ได้ อีกทั้งจะสามารถช่วยสนับสนุนคนได้ถึง 10,000 คน พัฒนาพื้นที่ประมาณ 1,000 เฮกเตอร์ของพื้นที่ โดยมีพื้นที่พักผ่อนประมาณ 700 เฮกเตอร์ และพัฒนาพื้นที่เมืองอีกประมาณ 250 เฮกเตอร์ พร้อมกันนี้การพัฒนานี้ยังรวมไปถึงการพัฒนาสนามกีฬา Penrith Whitewater ,ศูนย์ the Sydney international Regatta, ศูนย์พายเรือแคนู ซึ่งเสร็จสมบูรณ์ในปี 1995 เพื่อใช้สาหรับการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ปี 2000 ที่กรุงซิดนี่ย์เป็นเจ้าภาพด้วย การทางานของทีมงานที่ทะเลสาบ Penrith ทาให้ได้ข้อมูลเชิงลึกในระหว่างการพัฒนาเมืองอย่าง ยั่งยืน โดยใช้หลายสาขาวิชาเข้าศึกษา เช่น นักนิเวศวิทยา, วิศวกร, สถาปนิก และนักวางแผน เพื่อพัฒนา หลักการออกแบบและตัวชี้วัดสาหรับการพัฒนาเมืองที่สมดุล วัตถุประสงค์ของการทางาน คือเพื่อรักษา ความสมดุลทางสังคม เศรษฐกิจและระบบนิเวศสาหรับชุมชน และเชื่อว่าว่าการประยุกต์ใช้ความรู้ระบบ นิเวศอย่างเป็นระบบจะช่วยให้เข้าใจในการจัดการปัญหาการพัฒนาที่ซับซ้อนที่ทะเลสาบ Penrith ได้ ระหว่างการประชุมปฏิบัติการและการประชุมที่ทะเลสาบ Penrith PLDC เริ่มตระหนักว่าวิธีการ แบบบูรณาการ รวมทั้งการดาเนินการ การฟื้นฟู และนวัตกรรมที่มีต่อการพัฒนาความสมดุลจะช่วยให้งาน ประสบความสาเร็จ ซึ่งมีดังนี้ - เพิ่มการพัฒนาทางเศรษฐกิจของเหมืองหินอย่างต่อเนื่องในพื้นที่ทะเลสาบ Penrith - เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนผ่านการพักผ่อน การเชื่อมโยงการศึกษาและวัฒนธรรมกับพื้นที่และ ประวัติศาสตร์ - ใช้ความรู้ทางนิเวศวิทยาในการวางแผนและการออกแบบของระบบการจัดการน้า การสร้าง สภาพแวดล้อม และการบาบัดน้าเสีย - บูรณาการหลักการทางานของระบบนิเวศเพื่อฟื้นฟูผิวดิน ,สร้างที่อยู่อาศัยของพืชและสัตว์ รวมถึงการ ใช้ชีวิตและการมีพื้นที่การพักผ่อนของคนในเขตเมือง หลักการที่ออกแบบเหล่านี้จะเป็นเครื่องมือในการช่วยให้คนได้คิดเกี่ยวกับการพัฒนาเมืองอย่างเป็น ระบบ เพื่อให้วิศวกร นักวางแผน ผู้รับเหมาก่อสร้าง และนักนโยบาย ได้ประยุกต์ใช้ความรู้เหล่านี้ในการ ทางานเพื่อออกแบบและพัฒนาพื้นที่ในทะเลสาบ Penrith และสามารถต่อยอดใช้ได้กับพื้นเมืองอื่นใน ออสเตรเลียเพื่อให้เกิดความสมดุล กรอบแนวคิดการพัฒนาอนาคตของเมือง เมื่อชุมชนเมืองในออสเตรเลียมีความต้องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่มากขึ้น รวมถึงการ เปลี่ยนแปลงอื่นๆ ที่ส่งผลกระทบ ไม่ว่าจะเป็นโลกาภิวัตน์ ราคาน้ามัน และราคาก๊าซที่เพิ่มสูงขึ้น ปัญหา คุณภาพน้า การเปลี่ยนแปลงภูมิภาคอากาศ ก่อให้เกิดผลกระทบให้กับผู้คนในออสเตรเลีย แต่ทั้งนี้สิ่งที่ เกิดขึ้นเป็นโอกาสที่ดีเช่นกันที่จะทาให้ชุมชนของออสเตรเลียหันมาให้ความสาคัญในการออกแบบอนาคต เมืองของตนเอง CSIRO จึงต้องการพัฒนากรอบการทางานที่ไม่ซ้าแบบเดิม รวมทั้งนวัตกรรมที่มีคุณภาพในการ สร้างกลยุทธ์สาหรับการพัฒนาที่สมดุลและการมีระบบนิเวศเมืองที่ดี จึงได้พัฒนากรอบที่เรียกว่า The Regional Development Futures (RDF) โดยการใช้ทักษะทางวิทยาศาสตร์กับผู้ที่สนใจแก้ปัญหาระบบ
  • 9. 9 นิเวศของประเทศ ทั้งนี้จะต้องเข้าใจโครงสร้างของพื้นที่อย่างองค์รวม (region holistically) ที่สาคัญการจะ พัฒนาให้เกิดความสมดุลนั้นต้องให้ชุมชนเป็นผู้ตัดสินใจด้วย ดังนั้นกรอบของ RDF จึงใช้วิธีการวิจัยเชิง ปฏิบัติการ (เน้นสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน) ในการประเมินทางเลือกการใช้ทรัพยากรและสร้างสมดุลใน เป้าหมายทั้งระยะสั้นและระยะยาว กรอบของ The Regional Development Futures (RDF) (ภาพที่ 2) จะช่วยสร้างความยืดหยุ่นและ เพิ่มขีดความสามารถที่จะจัดการกับความไม่แน่นอนที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยขั้นตอนของ RDF มีดังนี้ - การสร้างความร่วมมือ กับทุกกลุ่มที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็น การสร้างความร่วมมือกับชุมชน ,รัฐบาล , กลุ่มอุตสาหกรรม เพื่อให้มีมุมมองที่หลากหลายและจะช่วยให้เกิดความเข้าใจในพื้นที่มากยิ่งขึ้น นาไปสู่ การวางแผนเพื่อหาอนาคตของเมืองร่วมกันได้ - การสร้างรากฐานให้แข็งแรง วัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในอดีตของชุมชนมีอิทธิพลต่อการ เปลี่ยนแปลง การเข้าใจบทเรียนจากอดีตจะช่วยเป็นฐานข้อมูลที่จะช่วยกาหนดการพัฒนาให้ เปลี่ยนแปลงอย่างมีทิศทางได้ - สร้างโอกาสเพื่อการเปลี่ยนแปลง – ชุมชนจะสามารถกาหนดวิธีการทางานในพื้นที่อย่างเป็นระบบ เป็นแรงผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลง และสามารถเชื่อมระหว่างเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมได้ - สร้างอนาคตที่ยืดหยุ่นได้ – ต้องจัดให้มีกระบวนการในการตัดสินใจเกี่ยวกับทิศทางการพัฒนาใน อนาคต การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้วิธีจะช่วยสร้างรากฐานให้แข็งแรงสาหรับทิศทางในอนาคตเพื่อ เฝ้าระวังและสามารถปรับตัวทางเศรษฐกิจ สังคม และปรับกลยุทธ์การลงทุนในระบบนิเวศ นาไปสูความ เข้าใจในการสร้างความยืดหยุ่นในการปรับตัวในระยะยาว ภาพที่ 2. The Regional Development Futures framework นอกจากนี้ยังมีจุดแข็งที่สาคัญของวิธีการที่จะนาไปสู่ความสาเร็จจะต้องขึ้นอยู่กับเรื่องดังต่อไปนี้ - มีส่วนร่วมกับกลุ่มชุมชน - ระบุขอบเขตของการเปลี่ยนแปลงชุมชน
  • 10. 10 - ตั้งอยู่บนฐานของการทางานแบบองค์รวมและการคิดแบบอย่างมีระบบ ซึ่งวิธีการทั้งหมดนี้จะต้อง สอดคล้องแนวทางทางานของรัฐบาลและแนวทางการทางานของชุมชน - มีการสอนและการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง โดยผ่านการประชุมเชิงปฏิบัติการ (workshop) และการ ประเมินสถานการณ์ - แต่ละขั้นตอนของการทางานจะต้องมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน ทั้งปัจจัยการผลิตและผลผลิต อีกทั้งชุมชน ต้องมีความยืดหยุ่นในการทางาน - ต้องให้รัฐบาลท้องถิ่นและชุมชนที่มีความสามารถในการดาเนินงานจัดการอย่างต่อเนื่องข้อมูลที่นาไปสู่ ความยั่งยืน - ที่สาคัญจะเห็นได้ว่า การวางแผนกลยุทธ์ระดับองค์กรจะต้องมีกรอบการทางานแบบบูรณาการ เพื่อ สร้างกลยุทธ์ที่เหมาะสมในอนาคต จากหลักคิดข้างต้นแสดงให้เห็นว่ามีการพัฒนาเมืองให้เกิดความยั่งยืนต้องคิดแบบบูรณาการ คือมี การเชื่อมโยงระหว่างปัจจัยทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ซึ่งไม่ใช่เพียงแค่การปฏิบัติเท่านั้นที่ต้องมี หลักคิดแบบบูรณาการ แต่ในระดับองค์กรหรือหน่วยงานควรจะต้องมีหลักคิดด้านกลยุทธ์ในการพัฒนาเมือง ในอนาคตแบบบูรณาการด้วยเช่นกัน ฉะนั้นหลักคิดที่ CSIRO เสนอนั้น จะช่วยให้เมืองในออสเตรเลียได้มี หลักคิดที่มุ่งเข้าสู่การพัฒนาเมืองที่สมดุลได้ สรุป การบริโภค การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างไม่รู้คุณค่า ทาให้หลายพื้นที่ในออสเตรเลียประสบ ปัญหาการสูญเสียทรัพยากร การมีวิถีชีวิตที่ไม่รักษาคุณค่าต่อสิ่งต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านสิ่งแวดล้อม หรือ สังคม เป็นต้น ซึ่งอันที่จริงเป็นวิถีชีวิตที่เกิดขึ้นกับเกือบทุกเมืองบนโลกนี้ การเกิดปัญหาเช่นนี้ทาให้เมือง ในออสเตรเลียได้มีโอกาสในการปรับตัวเองให้พัฒนาเชิงรุกเพื่อออกแบบการสร้างเมืองที่มีพัฒนาไปอย่าง ยั่งยืน ทั้งนี้การแก้ปัญหาตลอดมา ต่างฝ่ายต่างทาหน้าที่ตามหลักวิชาการของตนเอง ทาให้เกิดความ ล้มเหลว เนื่องจากไม่เข้าใจในบริบทอื่นๆ มองไม่เห็นผลกระทบทางอ้อมของตนเอง เกิดปัญหาความไม่ลง ตัวขององค์กรที่มีหลักคิดที่แตกต่างกัน ทาให้ไม่สามารถวางแผนกลยุทธ์ที่สอดคล้องกันได้ การทางานที่ทะเลสาบ Penrith จึงเกิดการวางกรอบแนวคิดการทางานแบบใหม่ ที่มุ่งใส่ใจความ ซับซ้อนที่เกี่ยวกับปัจจัยทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมในชุมชนเมืองเข้ามาเป็นหลักคิดในการทางาน ซึ่งเป็นการทางานแบบบูรณาการ สถาบันการศึกษาต้องเข้ามามีส่วนร่วมแก้ปัญหา เน้นถ่ายทอดความรู้และ ช่วยให้คนมุ่งคิดอย่างเป็นระบบ โดยเฉพาะผู้เกี่ยวข้องอย่างวิศวกร นักสถาปัตยกรรม และผู้กาหนด นโยบาย ต้องเข้าใจและวางแผนเข้าใจผลกระทบทุกมิติ ซึ่งการทางานแบบเป็นองค์รวมเช่นนี้น่าเป็นจะหลัก คิดที่ดีสาหรับเมืองที่มีแผนในการพัฒนานาไปปรับใช้ เพื่อก้าวสู่การเป็นเมืองที่มีการพัฒนาอย่างยั่งยืนได้ อ้างอิง Brendon Baker (n.p.). Introducing urban sustainability at Penrith Lakes, Sydney: the rational institute online publishing.Retrieved July 30,2015 from http://www.regional.org.au/au/soc/2002/2/baker.htm