SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 20
Downloaden Sie, um offline zu lesen
เรื่อง นโยบายส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่น
2
ผู้นาเสนอ
รศ.ดร. ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ
จัดโดย
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
วันที่ 30 กรกฎาคม 2561 ณ โรงแรมรามากาเด้นท์
1
รศ.ดร. ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ
ภาพลวงตาการส่งออกไทย
ในการดูระบบเศรษฐกิจ ใช้สมการ Y=C + I + G + (X-M) คือ มีเรื่องการใช้จ่ายการบริโภค
ครัวเรือน ตัว C การลงทุนภาคเอกชน ตัว I การใช้จ่ายรัฐบาล ตัว G ดุลการค้า (x-m) สิ่งที่น่าสนใจ คือ
ภาพลวงตาของตัวเลขการส่งออก เรามักจะพูดกันเสมอว่าการส่งออกเป็น 70 เปอร์เซ็นต์ของ GDP ซึ่ง
มันทาให้คนเข้าใจผิดว่าการส่งออกสร้าง GDP 70 เปอร์เซ็นต์ แต่จริงๆ แล้วมูลค่าการส่งออกยังไม่ใช่มูล
ค่าที่ไปเพิ่ม GDP โดยตรง ต้องหักการนาเข้าออกก่อน เช่น มูลค่าการส่งออกเป็น 70 เปอร์เซ็นต์ นาเข้า
65 เปอร์เซ็นต์ แสดงว่า ดุลการค้าคือ 5 เปอร์เซ็นต์ ตัวที่เพิ่ม GDP คือดุลการค้า และดุลการชาระเงิน
ไม่ใช่การส่งออก มีการตั้งคาถามกันมากว่า ตัวเลขส่งออกดีมาก ควรกระจายไปด้านล่างได้แล้ว นัก
เศรษฐศาสตร์เชื่อว่า ถ้าการส่งออกดี จะช่วยกระจายเศรษฐกิจไปเอง เหตุใดทาไมเศรษฐกิจสังคมไทยไม่
กระจายออกไป นักเศรษฐศาสตร์ และรัฐบาลไม่ได้อธิบายอย่างชัดเจนถึงปัญหาตัวเลขการส่งออกไทย
มีหลายเหตุผลดังนี้
ประการแรก หากไปดูสินค้าส่งออกที่มียอดส่งออกสูง คือ สินค้ารถยนต์ สินค้าอิเลคทรอนิคส์
โดยเฉพาะอีเล็กทรอนิกส์เราส่งออกประมาณมูลค่า แปดแสนล้าน แต่เมื่อไปดูการนาเข้าปรากฏว่า เรา
นาเข้าวัสดุแปรรูปกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ เท่ากับส่งออก 100 บาท นาเข้า 90 บาท เหลือ 10 บาทเท่านั้น
ซึ่งเป็นค่าแรง เอาเข้าจริง แปดแสนล้านที่ส่งออก ดุลการค้าจริงมีเพียงแค่ แปดหมื่นล้านเท่านั้น
ในขณะที่พวกแรงงานที่ไปทางานต่างประเทศ รัฐไม่ส่งเสริมอะไร นาเงินกลับบ้าน แปดหมื่นล้าน
เช่นเดียวกัน แต่รัฐกลับเลือกเอาใจนักลงทุน เพื่อการส่งออกมาก
ประการที่สอง บริษัทที่ส่งออกจานวนมากล้วนแต่เป็นบริษัทต่างชาติทั้งนั้น เช่น รถยนต์ เป็น
ของบริษัทที่ญี่ปุ่น สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ เป็นของบริษัทอเมริกา ทากาไรได้เขาก็เอาเงินกลับประเทศไป
จานวนมาก เหลืออยู่ไทยไม่มากนัก เพราะประเทศไทยไม่มีกฎหมายควบคุมการส่งกาไรออก
ประการที่สาม บริษัทต่างชาติแนวคิดสาคัญคือ การไปลงทุนในประเทศอื่นจะต้องหาวิธีเอา
ประโยชน์จากประเทศนั้นให้มากที่สุด เพื่อช่วยประเทศแม่มากที่สุดเท่าที่กฎหมายอนุญาตให้ทา ไทยไม่
เคยสนใจเรื่องระบบการตั้งราคา สินค้าส่งออกบางตัว มีการลดราคาเพื่อให้บริษัทแม่มีกาไร และขายให้
บริษัทแม่ราคาต่ากว่าไทยมาก เช่น ตู้เย็น รถยนต์ ส่งออกไปญี่ปุ่น ขายต่ากว่าราคาในเมืองไทยมาก
เมื่อเขาต้องการประโยชน์จากเรา เขาสร้างกลไกขึ้นมา กลไกตัวหนึ่งเขาสร้างขึ้น คือ การตั้งราคาโอน
กาไร ทางเศรษฐศาสตร์การเมืองเรียกว่า Transfer Pricing การถ่ายโอนกาไรจากบริษัทลูกไปสู่บริษัทแม่
2
ในต่างประเทศผ่านการกาหนดราคาส่งออกต่า ส่งผลให้ผลประกอบการทางบัญชีของบริษัทลูกใน
ประเทศไทยมีกาไรน้อยกว่าที่ควรจะเป็น ค่าจ้างในบริษัทลูกก็ขึ้นไม่ได้ แถมยังทาให้รัฐบาลไทยเก็บภาษี
ได้น้อย แต่กาไรส่วนใหญ่ไหลไปอยู่ที่บริษัทแม่ เงินเดือนลูกจ้างที่บริษัทแม่เติบโตดี เพราะเป้าหมายอยู่
ที่บริษัทแม่
ประการที่สี่ เราไม่เคยสร้างกลไกเพื่อเอาประโยชน์จากเขาเลย เขามาในประเทศเราเขาย่อม
สร้างกลไกเอาประโยชน์จากประเทศเรา ซึ่งเป็นสิ่งที่เขาคิดและเขาทาได้ แต่ในขณะที่ไทยมีกลไกน้อย
มากที่จะได้ประโยชน์จากเขา มีในสมัยทักษิณที่พยายามแก้ไขปัญหาเรื่องการตั้งราคาโอนกาไร หาก
ราคาขายควรเป็น 4 หมื่นบาท แต่ขายจริงแค่ 1 หมื่นบาท แสดงว่าขายต่ากว่าราคา 3 หมื่นบาท เราใช้
วิธีเก็บภาษีราคาที่หายไปนั้น 10 เปอร์เซ็นต์ ได้มา 3000 บาท (จากมูลค่าต่ากว่าปกติ 30,000 บาท) แต่
มูลค่า 27,000 บาท ก็หายไปอยู่ดี สะสมแบบนี้มา 20 – 30 ปี แต่ไม่มีใครสนใจ รัฐก็ยังส่งเสริมการลงทุน
บริษัทประเภทนี้ ลดภาษีสารพัดให้ต่างชาติอยู่มาก การเข้ามาของทุนต่างประเทศเราได้รับประโยชน์
น้อย อีกทั้งทุนเหล่านี้กาลังกระทบต่อทุนเล็กทุนน้อยในท้องถิ่นด้วย เช่น ทุนจีน เข้ามาแย่งอาชีพโชห่วย
ในเชียงใหม่ เข้ามาเป็นล้งรับซื้อผลไม้จานวนมาก เหล่านี้กระทบต่อธุรกิจท้องถิ่นทั้งสิ้น เขาเข้ามาลงทุน
เป็นเรื่องดี แต่เรากลับปล่อยเสรีตามธรรมชาติจนไม่มีขอบเขต ไม่ได้สร้างกลไกการกระจายรายได้เลย
ดังนั้นเรื่องกลไกเอาประโยชน์และปกป้องคนท้องถิ่นควรคิดมากกว่านี้
การบริโภคครัวเรือนภายในประเทศ คือ ส่วนที่สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจมากที่สุด
หากดูตัวเลข GDP ไทย ปี 2559 การบริโภคครัวเรือน การที่ทุกคนใช้เงินซื้อข้าวซื้อของ สร้าง
GDP ถึง 54 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่รัฐส่งเสริมการลงทุนเอกชนมาก แต่ภาคนี้สร้าง GDP เพียง 22
เปอร์เซ็นต์ ขณะที่ภาครัฐอัดเงินเต็มที่สร้าง GDP ได้สูงสุดไม่เกิน 15 เปอร์เซ็นต์ ดุลการค้าสร้าง GDP
ได้เพียง 9 เปอร์เซ็นต์ สรุปได้ว่า การลงทุนเอกชน การใช้จ่ายภาครัฐ การส่งออกการนาเข้า สร้าง
GDP ได้ไม่ถึงครึ่ง แต่การบริโภคภาคประชาชนสร้างได้เกินครึ่งแล้ว ฉะนั้น กาลังซื้อภายในประเทศ
(Domestic Purchasing Power) ของคนเป็นสิ่งสาคัญมาก
3
พลังการบริโภคของประชาชนมาจากไหน ดูจากตัวเลขรายได้ประชาชาติ พูดง่ายๆ รายได้ใน
กระเป๋าทุกคนรวมกัน อันนี้คือตัวสร้างการบริโภค ใครมีเงินมากใช้จ่ายใช้มาก มีเงินน้อยใช้จ่ายได้น้อย
1) การบริโภคของไทยมาจากค่าจ้าง 41 เปอร์เซ็นต์ 2)มาจากอาชีพอิสระ 37 เปอร์เซ็นต์ ซึ่ง
อาชีพอิสระที่มีจานวนคนมากที่สุด คือ เกษตรกร โดยเฉพาะชาวนามีประมาณ 8 ล้านคน แม่ค้า หาบเร่
แผงลอย คนขับรถแท็กซี่ ฯลฯ อีกประมาณ 8 – 9 ล้านคน นั่นแสดงว่าถ้านาภาคประชาชนรวมกัน คือ
กลุ่มลูกจ้าง ทั้งลูกจ้างภาครัฐและเอกชนซึ่งมีประมาณ 18 ล้านคน รวมกับกลุ่มอาชีพอิสระ สร้างรายได้
ประชาชาติได้กว่า 78 เปอร์เซ็นต์แล้ว นี่คือพลังบริโภค ที่สร้าง GDP หากพลังการบริโภคเข้มแข็ง GDP
ก็จะสูงตาม แต่ทุกวันนี้ไทยยังติดกับดักรายได้ปานกลาง เพราะพลังการบริโภคของเราต่า
ในเมื่อตัวสร้าง GDP คือ การบริโภคซึ่งมาจากค่าจ้างและรายได้อิสระ ถ้าหากอยากจะเร่ง GDP
รัฐต้องคิดว่าควรเร่งด้านไหน รัฐจะเร่งด้านส่งออกนั้นก็ไม่ผิด แต่ส่งออกนั้นสามารถไปสร้าง GDP และ
รายได้ประชาชาติมากน้อยเพียงใด ในขณะที่กาไรสุทธิของนิติบุคคล เป็นเพียง 17 เปอร์เซ็นต์ของ
รายได้ประชาชาติเท่านั้น แต่ทาไมนักเศรษฐศาสตร์ ทาไมรัฐบาลจึงให้ความสาคัญกับธุรกิจมากเกินไป
และทาไมเราละเลยพลังการบริโภค ทั้งที่มันเป็นตัวหลักของการสร้าง GDP นักเศรษฐศาสตร์อ่าน
ตัวเลขเป็น ทาไมพากันนิ่งเฉย ไม่อธิบายสิ่งเหล่านี้ ทั้งที่ครัวเรือนเป็นเรื่องของ Macro economics
ครัวเรือนเป็นผู้ชี้ขาด GDP ไม่ใช่ธุรกิจ
ค่าจ้างและรายได้ของผู้ประกอบอาชีพอิสระ กลไกวัฒนธรรมของกระจายรายได้ไปยัง
ชนบท
ค่าจ้างกับรายได้อาชีพอิสระ เราเรียกว่า “เศรษฐกิจภาคประชาชน” อาชีพอิสระ อย่าง
เกษตรกร จะอยู่ในท้องถิ่น ส่วนแรงงานก็คือลูกหลานชาวนาและเกษตรกรประเภทอื่นๆ ชาวบ้านที่มา
จากท้องถิ่น ต่างจังหวัด มาทางานในเมืองใหญ่เป็นลูกจ้างและแรงงานอิสระ รายได้และค่าจ้างที่ได้มา มี
กลไกวัฒนธรรมที่กระจายไปยังชนบท กลไกวัฒนธรรมนั้นก็คือ การบ่มเพาะให้ลูกหลานรู้จักกตัญํูรู้คุณ
พ่อแม่ คนส่วนใหญ่ยังพึ่งสวัสดิการครอบครัว คือลูกต้องดูแลพ่อแม่ เขาจะส่งเงินกลับบ้านเดือนละ 1-2
พันบาท แสดงว่ากลไกกระจายเงินจากเมืองสู่ชนบทที่สาคัญ คือ เงินของลูกจ้าง คาถามก็คือว่า ค่าจ้าง
วันละ 300 เขาจะเหลือเงินไปให้พ่อแม่ได้อย่างไร ในเมื่อคนเดียวก็ใช้แทบไม่พอ สิ่งที่เป็นไปได้ก็คือ การ
ได้รับโอที หรือค่าล่วงเวลา เพราะฉะนั้นหากโรงงานไม่มีค่าล่วงเวลา คนงานก็จะไม่มีค่าล่วงเวลา ไม่มี
เงินส่งกลับบ้าน คนชนบทก็แย่ตามไปด้วย รัฐส่งเสริมการลงทุนมากมายให้นักลงทุน แต่หากนักลงทุน
ไม่มั่นใจในตลาดภายในประเทศ คนไม่มีกาลังซื้อ เขาก็ไม่มั่นใจในการลงทุน มันกระทบกันทั้งหมด
นอกจากนี้เงินที่ลูกจ้างได้มาจะหมดไปกับการบริโภคภายใน ซื้อของในประเทศ แต่รายได้ที่
เขามีในปัจจุบันซื้อได้แค่ปัจจัย 4 เช่น ค่าอาหาร ค่าเช่าบ้าน ค่าเดินทาง ก็แทบจะไม่พอ เมื่อเป็นแบบนี้
การกระจายรายได้จะเกิดขึ้นได้อย่างไร ในเมื่อไม่มีเงินให้กระจาย กระทบถึงหาบเร่แผงลอย แม่ค้า
4
เกษตรกร หลายกลุ่มมาก ที่สาคัญลาพังศักยภาพการกระจายจากบนลงล่างก็ต่าอยู่แล้ว ปัจจุบันยังเกิด
Technology disruption หรือผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี มีระบบอินเตอร์เน็ต AI Robot
เข้ามาแทนที่แรงงาน รัฐก็ยิ่งส่งเสริม โรงงานไหนใช้ Robot AI จะลดภาษีให้ แต่คนตกงานไม่มีอะไร
รองรับ พอคนไม่มีรายได้ ไม่มีกาลังซื้อ GDP ก็ขยับเพิ่มได้น้อย ต้องคิดให้รอบคอบ กลายเป็นว่า
แรงงานบางส่วน โดยเฉพาะพนักงานธนาคาร ที่มีกาลังซื้อพอสมควร จากค่าจ้างและโบนัส กาลังมีภาวะ
ตกงาน ยิ่งทาให้สถานการณ์ในอนาคตยิ่งจะแย่ตาม
กระบวนทัศน์ใหม่ในการมองภาคเศรษฐกิจ : เศรษฐกิจภาคที่ 3 (ภาคประชาชน)
เมื่อเป็นเช่นนี้ การมองเศรษฐกิจที่เราเห็นชัดเจนว่า ตัวชี้ขาดมาจากภาคประชาชนเป็นหลัก แต่
ทาไมรัฐบาล นักเศรษฐศาสตร์ จึงพูดแต่เศรษฐกิจ 2 ภาค คือ เศรษฐกิจภาครัฐ เศรษฐกิจภาคธุรกิจ แต่
ไม่เคยสนใจเศรษฐกิจภาคประชาชน ทั้งๆ ที่ภาคนี้สร้าง GDP สูงมาก ในปัจจุบันยุโรปจึงมีการปรับเรื่อง
ภาคเศรษฐกิจใหม่ คือ ปรับเป็น 3 ภาค มี ภาครัฐ (Public sector) ภาคธุรกิจ (Private sector) และภาค
ที่สามประชาชน ประชาสังคม (Civil sector) สาหรับภาคนี้ นักเศรษฐศาสตร์และรัฐบาลไทยไม่สนใจเลย
ทั้งที่เป็นภาคของการบริโภค และมาจากการทางานของคนส่วนใหญ่ เช่น แรงงาน ลูกจ้าง เกษตรกร
และอาชีพอิสระอื่นๆ นอกจากนี้ในยุโรปยังเกิดแนวคิดกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise) ที่กาลัง
ขยายตัว ซึ่งเป็นการประกอบการเพื่อนากาไรมากระจายให้สังคม ไม่ใช่นากาไรให้กับผู้ถือหุ้นเป็นหลัก
5
จะสร้างเศรษฐกิจภาคประชาชน/ท้องถิ่น ขึ้นมาได้อย่างไร
ประการแรก เน้นพื้นฐานเศรษฐกิจให้แข็งแรง คือ “การบริโภคและการผลิต”
เราต้องเข้าใจว่า เศรษฐกิจเป็นเรื่องพฤติกรรมของคน ไม่ใช่เรื่องตัวเลข คือพฤติกรรมปากท้อง
ชาวบ้าน ระบบเศรษฐกิจ คือการบริโภค การผลิต การแลกเปลี่ยน เป็นหลัก ถ้าเราจะสร้างเศรษฐกิจภาค
ประชาชนหรือท้องถิ่นขึ้นมา ต้องสนใจที่การผลิตและการบริโภคก่อน
การเน้นที่การผลิตและการบริโภคนั้น คือ “แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง” ของในหลวง ร.9 ที่มี
แนวคิดรากฐานของเศรษฐกิจอยู่ที่การบริโภคและการผลิต ยังไม่ใช่การแลกเปลี่ยน เรื่องเกษตรทฤษฏี
ใหม่ ให้ความสาคัญการผลิตเพื่อการบริโภคคือการสร้างรายได้แท้จริง เรียกว่า real income มีนา มีน้า
มีสวน มีผัก มีสัตว์เลี้ยง มีกินมีใช้ เหลือก็ค่อยขาย พื้นฐานต้องแข็งแรงก่อน สมัยก่อนสวนของคนไทยจึง
มีผักสวนครัว และผลไม้หลายชนิด มีมังคุด ทุเรียน เงาะ เก็บไว้กิน เหลือก็ขาย อันไหนถูกก็ขายอีกอย่าง
หรือปัจจุบันเมื่อคนอยู่ในโรงงานมากขึ้น มีอาชีพประจา ก็ควรใช้ “หลักคิด 1 ครัวเรือน 2 วิถีการผลิต”
คือ การเป็นทั้งแรงงานรับจ้างและเน้นการปลูกผักไว้ในบ้านด้วยเพื่อกิน เหลือไว้ขาย เพื่อลดรายจ่าย
เป็น 2 วิถีการผลิตที่เพิ่มรายได้และลดรายจ่ายในเวลาเดียวกัน
ทั้งนี้ วิธีคิดแบบเน้นการผลิตและการบริโภคก่อน มันไม่สร้าง GDP นักเศรษฐศาสตร์ไม่ชอบ
เพราะ GDP คิดจากมูลค่าการซื้อขาย ถ้าไม่มีการซื้อขายก็ไม่มี GDP ฉะนั้นต้องผลิตเพื่อขายไว้ก่อน
เศรษฐกิจจะได้หมุนเวียน มายาคตินี้ทาให้เกิดนโยบายพืชเชิงเดี่ยวจานวนมาก เพื่อให้ได้ผลผลิตมากๆ
นาไปขายในตลาด เช่น ช่วงหนึ่ง รัฐส่งเสริมให้ปลูกยางพาราอย่างเดียว ห้ามปลูกอย่างอื่นปน สุดท้าย
ยางล้นตลาด ราคาตก ตอนนี้ก็เปลี่ยนให้ปลูกตามราคาสินค้านั้น แต่ก็ยังปลูกพืชเชิงเดี่ยว กล่าวมานี้
ไม่ได้หมายความว่าให้ตัดเรื่องการแลกเปลี่ยนค้าขาย แต่สาคัญคือ เรานับหนึ่งที่ตรงไหนต่างหาก
ปัจจุบันเรานับหนึ่งที่การซื้อขาย ต่างจากในหลวง ร.9 นับหนึ่งที่การมีกินมีใช้ก่อน
ประการที่สอง การพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงานไทย : นโยบายการสร้างธนาคาร
แรงงาน
รัฐบาลมีนโยบายลดหนี้นอกระบบ เน้นช่วยเหลือเกษตรกรเป็นหลัก แต่แท้จริงแล้วเกษตรกรร้อย
ละ 80-90 เป็นหนี้ในระบบ จริงๆ แล้วหนี้นอกระบบกระจุกตัวอยู่ในโรงงาน นั่นคือ แรงงานในโรงงาน
อุตสาหกรรม ที่หัวหน้างานจะปล่อยกู้ร้อยละ 10 ต่อเดือน รัฐบาลสามารถแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยการ
สร้าง “ธนาคารแรงงาน” ขึ้นมา ที่ให้แรงงานกู้ ร้อยละ 10 ต่อปี โดยตัดเงินผ่านบัตร ATM เงินเดือน
แรงงาน ธนาคารแรงงานเป็นรูปแบบธนาคารเฉพาะกิจหรือธนาคารพิเศษ ช่วงแรกอาจจะเป็นโครงการ
ภายใต้ธนาคารของรัฐ เช่น ออมสิน กรุงไทย เป็นต้น โดยรัฐขายพันธบัตรให้กองทุนประกันสังคม ใน
อัตราดอกเบี้ยประมาณ 2.5 ต่อปี แล้วให้โครงการธนาคารแรงงานกู้ต่อร้อยละ 5 ต่อปี จากนั้นโครงการ
นามาปล่อยกู้ให้แรงงานร้อยละ 10 ต่อปี หลังจากให้แรงงานกู้ ตั้งกฎว่าให้หัก 10 เปอร์เซ็นต์ของเงินกู้นา
6
ฝากประจา สะสมรวมกันเป็นเงินจานวนก้อนใหญ่ เมื่อผู้กู้ผ่อนหนี้หมดแล้ว เงินฝากก้อนนี้ก็นาไปจัดตั้ง
ธนาคารแรงงาน ธนาคารดังกล่าวก็จะกลายเป็นธนาคารของแรงงาน เจ้าของคือแรงงานอย่างแท้จริง
การให้กู้ได้นั้น สามารถตั้งเงื่อนไขหรือกลไกในการกู้ขึ้นมา เช่น กู้ได้ไม่เกิน 2-3 เท่าของเงินเดือน ชาระ
ภายใน 3 ปี มีการประชุมแรงงานลูกหนี้ทุกเดือน เพื่อติดตามหนี้และการพัฒนาด้านอื่นๆ ของแรงงาน
เป็นต้น ธนาคารแรงงานจะใช้แนวคิด “หนี้พัฒนาคน” คล้ายกับธนาคารเพื่อคนจน หรือธนาคารกรามัน
ที่ดร.ยูนุส สร้างขึ้นมาในประเทศบังคลาเทศ
ประการที่สาม การผูกขาดทางธรรมชาติ คือ การผูกขาดที่สามารถต่อสู้กับทุน
ใหญ่ได้ สู่ข้อเสนอนโยบายโมเดลสามหนึ่ง เพื่อค้นหาทุนของท้องถิ่น
ในวงการธุรกิจจะเน้นการแข่งขันมาก และในการแข่งขัน ทุนใหญ่มักจะชนะเสมอ สิ่งที่ท้องถิ่นจะ
แข่งขันกับทุนใหญ่ได้ คือ การใช้ลักษณะการผูกขาดเชิงท้องถิ่น คือ มีทรัพยากรบางอย่างของบาง
ท้องถิ่น ที่คนอื่นไม่มี เป็น การผูกขาดโดยธรรมชาติ (Natural Monopoly) เช่น นครศรีธรรมราชมี
กีฬาวัวชน ก็สามารถสร้างให้กลายเป็นเศรษฐกิจเชิงวัฒนธรรม ทาให้นครฯเป็นแหล่งศูนย์กลางกีฬาวัว
ชน สิ่งที่เกิดขึ้นตามมา คือ เกิดกติกาใหม่ๆ เกิดการพัฒนาทุ่งหญ้าเลี้ยงวัวชน เกิดการพัฒนาคัดเลือก
พันธ์วัว เกิดอุตสาหกรรมนวมสวมเขาวัว เกิดอุตสาหกรรมหนังวัว อุตสาหกรรมเนื้อวัว และ
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวได้
นอกจากนี้ประเทศไทยมีทุนธรรมชาติอยู่แล้ว คือ การพัฒนาอาหารประจาถิ่น แนวคิด การ
ผลิตอาหารท้องถิ่น คือ 1.การผลิตอาหารตามฤดูกาล 2 ความสดใหม่ 3.การปรุงแต่งใส่สิ่งประกอบลงไป
4. ความสวยงาม เช่น จาปาดะของภาคใต้ เป็นอาหารอร่อย และต้านมะเร็งได้ด้วย ควรต่อยอดขึ้นไป
สร้างให้เป็นผลิตภัณฑ์ผูกขาดโดยท้องถิ่น ต้องหาให้เจอและทาเป็นเศรษฐกิจท้องถิ่น
ฉะนั้น ของดีท้องถิ่น ล้วนแต่เป็นคุณค่าทางธรรมชาติ (Natural value) คุณค่าทางวัฒนธรรม
(Cultural Value) สามารถแปรเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ (Economic value) แล้วเอามูลค่าทาง
เศรษฐกิจไปพัฒนาคุณค่าทางวัฒนธรรม ขับเคลื่อนท้องถิ่นทั้งประเทศ สุดท้ายแล้วเศรษฐกิจท้องถิ่น
แบบนี้ จะกลายเป็นความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ (Comparative Advantage of Local Economy) นี่
คือแนวคิดการสร้างเศรษฐกิจท้องถิ่น สิ่งเหล่านี้จะทาให้สู้ทุนใหญ่ได้ เพราะเขาผลิตที่อื่นๆ ไม่ได้ แต่
ท้องถิ่นทาได้ และต้องทาให้สิ่งเหล่านี้เป็นของท้องถิ่น การแสวงหาการผูกขาดทางธรรมชาติไม่ใช่เรื่อง
ง่าย อันนี้คือทุนที่หายาก ต้องพึ่งนักวิจัยนักวิชาการ ข้อเสนอทางนโยบาย คือ ทา Master Plan สร้าง
เป็นนโยบายสามหนึ่ง 1 ข้าราชการ 1 นักวิจัย 1 ชุมชน เพื่อวิจัยค้นหาทุนดังกล่าวออกมาให้ได้
7
ประการที่สี่ ความเป็นไปได้อยู่ที่การค้าเล็กการค้าน้อย (SMIs)
เราจะทาอย่างไรให้ธุรกิจเล็กธุรกิจน้อยบานสะพรั่ง ความเป็นไปได้อยู่ที่การค้าเล็กการค้าน้อย
SMIs (Small and Micro Enterprise) แต่ในไทย SMIs หายไปจานวนมาก ทุกวันนี้โดนค้าปลีกสมัยใหม่
ของทุนใหญ่กลืนหมด ทั้งที่เป็นอาชีพที่เป็นกลไกสาคัญของการกระจายรายได้ การทาให้เกิดธุรกิจเล็กๆ
บานสะพรั่ง ต้องทาให้โชห่วยได้เกิดและอยู่รอด โดยทาให้เขามีส่วนแบ่งตลาดได้มากขึ้น ต้องสร้างกลไก
ขึ้นมา ยกตัวอย่าง ในเยอรมัน การค้าปลีกสมัยใหม่ (modern trade) กับการค้าแบบดั้งเดิม (traditional
trade) ไปด้วยกันดีมาก ห้างค้าปลีกสมัยใหม่ขนาดใหญ่ 20.00 น. ต้องปิด แต่ร้านเล็กๆ เปิดได้ถึง 24.00
น. และห้างใหญ่ต้องห่างกัน 20 กิโลเมตร ตรงกลางจะเป็นร้านค้าเล็กๆ น้อยๆ เพื่อให้อยู่ด้วยกันได้ คน
ซื้อของเล็กๆ น้อยๆ ก็จะซื้อจากร้านเล็ก ราคาจะสูงกว่าเล็กน้อยแต่ประหยัดเวลาและค่าเดินทาง ถ้าซื้อ
มากๆ ก็เดินทางไปซื้อจากห้างใหญ่ ที่ราคาอาจจะถูกกว่า ในอิสราเอล ห้างขนาดใหญ่เป็นของสหกรณ์
ร้านเล็กๆ เป็นของส่วนบุคคล ในสวีเดน ร้านโชห่วยท้องถิ่นบางร้านอายุ 1000 กว่าปี เพราะเป็นอาชีพ
ของคนค้าขายที่ต้องอยู่คู่กันกับประชาชนส่วนใหญ่ ฉะนั้น เราสามารถใช้นโยบาย 3 คุม คุมพื้นที่ คุมราคา
คุมเวลา ที่ใช้ทั่วโลก เพื่อให้รายเล็กแข่งกับรายใหญ่ได้ แต่ประเทศไทยกลับทาไม่ได้ เสนอรัฐบาลกี่ครั้งก็
ไม่เคยผ่าน
ประการที่ห้า การใช้ระบบดิจิตอลในการแลกเปลี่ยนสินค้ากับสินค้า (Digital
Barter System) ให้เกิดประโยชน์
ในการที่เราจะทาให้กลุ่มธุรกิจรายเล็กรายน้อยบานสะพรั่งขึ้นมา เพื่อให้เกิดการส่งเสริม
เศรษฐกิจท้องถิ่น ในยุคนี้ที่เป็นยุค Digital Economy การแลกเปลี่ยนเป็นไปอย่างสะดวกมาก เรามี
เทคโนโลยีมากขึ้น ควรนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ ถ้าเราทาให้ทุกคนเข้าถึงสิ่งเหล่านี้ในราคาถูก ให้คน
เป็นเจ้าของเทคโนโลยี และถ้ารัฐบาลต้องการทาลายการผูกขาดของทุนใหญ่ ระบบ digital barter ต้อง
เกิดขึ้น เช่น คนใต้ขาดแคลนข้าวหอมมะลิ อีสานขาดอาหารทะเล ดังนั้น เราน่าจะสามารถนา ข้าวหอม
ไปแลกกับสินค้าอาหารทะเล ถ้าใช้ digital barter โดยมีการตีมูลค่า เช่น ข้าวหอม 1 ตันคิดเป็นเงิน
เท่าไหร่ แล้วปลา 100 กิโลกรัมคิดเป็นเงินเท่าไหร่ แลกกันได้ไหม โดยมีการขนส่งทางไปรษณีย์ราคาถูก
เป็นตัวช่วย จะทาให้การแลกเปลี่ยนเกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ ไม่ต้องผ่านทุนใหญ่อีกต่อไป
8
ตัวอย่างการพัถนาเศรษฐกิจท้องถิ่น
เมืองยะลา
คุณพงษ์ศักดิ์ ยิ่งชนม์เจริญ1
ก่อนเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบ ยะลาเคยเป็นศูนย์กลางในทุกๆ เรื่อง ทั้งศูนย์กลางทางการค้า
ศูนย์กลางทางการศึกษา ศูนย์กลางทางการปกครอง ราคาที่ดินสูงเป็นอันดับต้นๆ ของประเทศ แต่
หลังจากเกิดเหตุการณ์ เมืองก็เปลี่ยนไป เทศบาลจึงต้องพยายามทาให้สังคมทั้งพุทธ มุสลิม คนจีน เกิด
ความสงบสุข ไม่ย้ายออกไป กระทั่งสองปีที่ผ่านมา สถานการณ์เมืองยะลาเริ่มดีขึ้นด้วยเหตุผลหลัก 4
ประการ ดังนี้
1) กรณีของภาคใต้คล้ายๆ กับกรณีพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยล่มสลาย จากการที่โลก
อาหรับแตกแยก เริ่มอ่อนแอ ไม่เกิดความเป็นเอกภาพ ส่งผลให้ขบวนการในประเทศไทย
อ่อนแอลงเช่นกัน
2) ในช่วง 13 ปีที่ผ่านมา คนในพื้นที่เริ่มเปลี่ยนแนวคิด เริ่มสับสนว่าควรจะต้องอยู่ฝ่ายไหนกันแน่
3) โลกโซเชียลมีเดียที่รวดเร็วขึ้น ทาให้ขบวนการก่อการร้ายถูกจากัดการเคลื่อนไหว ลดโอกาสใน
การวางคาร์บอมบ์
4) เมื่อเศรษฐกิจแย่ลง ปากท้องย่อมมาก่อนอุดมการณ์ คนจึงเอาเวลามาทามาหากิน
ทาไมเศรษฐกิจยะลาจึงซบเซา
นักธุรกิจท่านหนึ่งเป็นเอเยนต์ของมิซูบิชิในสามจังหวัดกล่าวว่า “ยอดขายในยะลาน้อยกว่า
นราธิวาสเสียอีก” พอไปดูรายได้ประชาชาติต่อหัวของจังหวัดยะลา พ.ศ. 2555 อยู่ที่ 113,000 บาทต่อ
คน แต่พอมาถึง พ.ศ. 2558 รายได้ต่อหัวกลับลดลงมากกว่า 24,000 บาทต่อคน เหลือเพียง 89,000
บาทต่อคน ในขณะที่จังหวัดปัตตานีกับนราธิวาส รายได้ต่อหัวลดลงประมาณ 10,000 บาทเท่านั้น เกิด
เป็นคาถามว่า เหตุใดรายได้ต่อหัวเมืองยะลาจึงลดลงมากกว่าเมืองอื่นที่เกิดเหตุการณ์ความไม่สงบ
เช่นเดียวกัน สรุปออกมาได้ 3 ประการ ดังนี้
เหตุผลแรก คือ รูปแบบการคมนาคมของประชาชนเปลี่ยนแปลงไป จากเดิมที่เมืองยะลาเป็น
ชุมทางรถไฟเช่นเดียวกับเมืองทุ่งสง พอสายการบินโลว์คอสต์เข้ามา ถนนหนทางดีขึ้น คนก็ใช้ระบบราง
น้อยลง ทาให้ความเป็นศูนย์กลางของเมืองยะลาที่คนต้องเดินทางมาขึ้นรถไฟที่ยะลาหายไปหมด
เหตุผลที่สอง คือ โครงสร้างเศรษฐกิจยะลาพึ่งพิงยางพารากับผลไม้มาก ในขณะที่ปัตตานีมี
ประมง และนราธิวาสมีด่านการค้าชายแดนมากถึง 3 ด่าน (ตากใบ บูเก๊ะตาและสุไหงโกลก) แม้ยะลาจะ
1
นายกเทศมนตรีเทศบาลนครยะลา
9
มีด่านเบตง แต่เมืองเบตงก็อยู่ห่างจากตัวเมืองยะลาและเดินทางไปลาบากมาก ความเชื่อมโยงทาง
เศรษฐกิจระหว่างเบตงกับยะลาจึงไม่มีผลต่อกันมาก
เหตุผลที่สาม คือ ยะลามีจานวนประชากรเพียง 520,000 คน น้อยกว่าปัตตานีที่มี 700,000 คน
และนราธิวาสที่มี 790,000 คน เพราะฉะนั้น ในแง่ของการบริโภคครัวเรือน ซึ่งในอดีตไม่ค่อยเห็นได้ชัด
เพราะคนสามจังหวัดส่วนใหญ่ต้องมาใช้จ่ายที่ยะลาเป็นหลัก ต่างกับปัจจุบันที่แต่ละเมืองต่างมีสนามบิน
ของตัวเอง ไม่ต้องพึ่งเมืองศูนย์กลางแล้ว พลังของการบริโภคครัวเรือนของเมืองอื่นจึงเห็นชัดขึ้น จานวน
ประชากรจึงเป็นปัจจัยสาคัญหนึ่งของการพัฒนาเศรษฐกิจเมือง กล่าวคือ เมืองไหนมีคนเยอะ การ
จับจ่ายใช้สอยก็มากตามไปด้วย
ทุนของเมืองยะลา
หลังจากทราบเหตุผลแล้ว เราก็ต้องหาวิธีฟื้นเมือง แต่พอไปเชิญสถาบันไหนมาช่วยยะลาก็ไม่
ค่อยมีใครมา ส่วนหนึ่งเป็นเพราะภาคใต้ถูกผูกขาดทางวิชาการไว้กับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มาก
เกินไป ทาให้หลายเมืองขาดแคลนความรู้ทางวิชาการที่คอยสนับสนุนช่วยเหลือประชาชน เราจึงต้องพึ่ง
ตัวเองโดยเริ่มจากการหาทุนที่เรามีที่เป็นทุนของท้องถิ่นเอง แล้วสรุปออกมาเป็นทุนของเมืองยะลา 5
ประการ ดังนี้
หนึ่ง ความสะอาด เพราะคนมักพูดถึงว่ายะลาเป็นเมืองสะอาด
สอง ความเป็นระเบียบเรียบร้อย เพราะเรามีผังเมืองที่ดี ถูกจัดระเบียบมาเป็นอย่างดี
สาม ความอุดมสมบูรณ์ เพราะยะลาปลูกผลไม้อะไรก็อร่อย โดยเฉพาะลองกอง ส้มโชกุน
ทุเรียนหนามดา กล้วยหิน อีกทั้งเมล็ดกาแฟโรบัสต้าและไม้ยางยะลาก็คุณภาพดีที่สุด
สี่ การศึกษา ในภาคใต้ ยะลาอาจเป็นจังหวัดเดียวที่มีการศึกษาครบทุกด้าน โรงเรียนตารวจ
วิทยาลัยพยาบาล วิทยาลัยสาธารณสุข โรงเรียนกีฬา ซึ่งเป็นอานิสงส์มาจากการที่เมืองยะลาเป็นชุมทาง
รถไฟมาตั้งแต่อดีต
ห้า วัฒนธรรม คือ การอยู่ร่วมกันระหว่างชาวไทยพุทธ มุสลิม ไทยจีน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองยะลา
หนึ่ง ปรับโครงสร้างทางโลจิสติกส์ (Restructuring of Logistics System) มุ่งให้ยะลา
กลับมาเป็นเมืองศูนย์กลางให้ได้ ไม่ว่าจะทาศูนย์กระจายสินค้า ตัดถนน ทารถไฟทางคู่ โดยเน้นให้สาม
จังหวัดชายแดนใต้มีความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจก่อน แล้วค่อยเชื่อมโยงกับภูมิภาคอื่น
สอง ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ (Restructuring the Economy) โดยเริ่มจากทุนความสะอาดที่
คนต่างพากันอยากมาดูงานที่ยะลา ส่งเสริมให้ประชาชนลุกขึ้นมาดูแลความสะอาด โดยไม่ต้องไม่มี
เทศบาลมากากับ พร้อมกันนั้นก็พยายามให้บริการสาธารณะอยู่ภายใต้เทศบาล ไม่ปล่อยให้บริษัทหรือ
10
หน่วยงานใดมาเป็นเจ้าของ มิเช่นนั้นประชาชนก็จะถูกเก็บค่าธรรมเนียมตลอด ซึ่งจะกระทบความ
ได้เปรียบทางการแข่งขันและรายได้ของเมือง
ในขณะเดียวกัน ทุนความอุดมสมบูรณ์ที่เรามีก็ต้องฟื้นมันขึ้นมา ยะลาจึงร่วมมือกับ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่วิจัยพืชผลไม้ที่เป็นอัตลักษณ์ของยะลา เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม ทานองเดียวกัน เราก็
ทาแบรนด์ของเมืองในนามว่า เมืองแห่งนก (Bird City) ยะลาจัดงานแข่งนกเขาเหมือนจัดโอลิมปิก เป็น
งานแข่งขันนกเขาที่ใหญ่ที่สุดในอาเซียน มีนกเข้าร่วมแข่งขันมากกว่า 3,000 ตัว แต่ละตัวมีมูลค่าเป็น
หลักล้านบาท นี่คือสิ่งที่เราพยายามสร้างแบรนด์ให้กับเมือง สุดท้ายในอนาคต ผมตั้งเป้าหมายให้ยะลา
เป็นเมืองสันติสุข (Harmonized City) ที่สามารถอยู่ร่วมกันได้ทั้งระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ และระหว่าง
มนุษย์กับธรรมชาติ จนนาไปสู่ความยั่งยืน
สาม ปรับภาพลักษณ์ (Reimage) เนื่องจากเมืองยะลายังมีปัญหาภาพลักษณ์ พอพูดถึงยะลา
คนก็ยังกลัว จึงต้องปรับภาพลักษณ์เมืองยะลาให้ดีขึ้น ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ขั้น คือ
ขั้นที่หนึ่ง คิดใหม่ (Rethink) เริ่มจากทาให้คนในไม่กลัวก่อน เราที่เป็นผู้นาต้องทาให้เห็น เช่น
ปั่นจักรยานพาชาวบ้านเข้าป่าไปทาฝายมีชีวิต ไปปลูกต้นไม้ พอทาบ่อยครั้งเข้า ทัศนคติคนเรามันก็เริ่ม
เปลี่ยน ความรู้สึกที่เขากลัวบ้านเขาเองก็เริ่มหาย จากนั้นก็พยายามปรับความคิดของคนภายนอก เวลา
จัดกิจกรรมก็ถ่ายทอดสดลงเฟซบุ๊กทาให้เห็นกันทั่วโลก ขั้นที่สอง ทำให้เมืองสดใหม่ (Refresh) เพื่อให้
เมืองคึกคัก มีความหมาย สดชื่น เช่น การติดไฟ LED ทั่วเมือง ปกติเรามองว่าไฟมีประโยชน์แค่ให้แสง
สว่าง แต่ในมุมมองของ Light Planner เขามอง 5 ด้าน ได้แก่ ความปลอดภัย ความสวยงาม ความ
เหมาะสม ความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และความสะท้อนถึงอัตลักษณ์ท้องถิ่น พอทุกคนมาดูไฟก็ต้อง
มาดูกลางคืน ต้องมาพักค้างคืน เศรษฐกิจเมืองก็เกิด ขั้นสุดท้ำย จัดกิจกรรมใหม่ (Reevents) เมืองยะลา
รับเป็นเจ้าภาพทุกกิจกรรม พร้อมทั้งมอบทุนให้นักธุรกิจรุ่นหนุ่มสาวไปลงทุน เช่น ทาสตรีทอาร์ต
จุดมุ่งหมายหลักคืออยากได้ไอเดียจากคนหนุ่มสาวและอยากสร้างความรู้สึกเป็นเจ้าข้าวเจ้าของเมือง
ให้กับเขา
11
เมืองทุ่งสง ประตูสู่เศรษฐกิจโลก
คุณทรงชัย วงษ์วัชรดำรง2
ทุ่งสงเป็นเมืองชุมทางระบบรางเมื่อร้อยปีก่อน เป็นแหล่งส่งออกแร่ดีบุกจากทุ่งสงไปปีนังผ่าน
ท่าเรือกันตัง เราต้องมองย้อนไปถึงประวัติศาสตร์เมืองทุ่งสงว่า เดิมทาไมเราถึงเป็นชุมทาง ทาไมเรามี
ธนาคารสยามกัมมาจลเป็นแห่งแรกของภาคใต้ นั่นแสดงให้เห็นว่าภูมิศาสตร์ของเมืองทุ่งสงที่เป็นสะดือ
ของภาคใต้ คืออยู่กึ่งกลางของภาคใต้ คั่นระหว่างคาบสมุทรอันดามันและอ่าวไทยพอดี การขนส่งระบบ
รางที่เขาสร้างไว้แล้ว ถ้าได้รับการบูรณะให้สมบูรณ์ร้อยเปอร์เซ็นต์ เมืองทุ่งสงก็จะเจริญขึ้นมาก ท้องถิ่น
เล็งเห็นโอกาสดังกล่าว จึงเสนอให้ใช้ที่ดินการรถไฟทั้งหมด 85 ไร่ ทาเป็นศูนย์กระจายสินค้าภาคใต้
ขึ้นมา โดยใช้งบประมาณกลุ่มจังหวัดเป็นหลักและมีบริษัทศรีตรังเป็นผู้สัมปทานการบริหารจัดการ
หลังจากโครงการนี้เกิดขึ้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเข้าร่วมประชุมระดมความคิดเห็นกันมา
อย่างต่อเนื่องจนเกิดเป็นเครือข่ายหลักๆ 4 เครือข่าย ดังนี้
หนึ่ง เครือข่ายส่วนราชการหรือหน่วยงานรัฐ โดยเฉพาะคณะกรรมการประสานความร่วมมือ
แบบบูรณาการและติดตามผลฯ เป็นกลุ่มขับเคลื่อนขอรับการสนับสนุนงบประมาณร่วมกับเทศบาลเมือง
ทุ่งสง ประกอบด้วยตัวแทนจากหน่วยงานทุกภาคส่วนและส่วนราชการ เช่น กระทรวงมหาดไทย
กระทรวงคมนาคม สานักงานจังหวัดนครศรีธรรมราช โยธาธิการฯ แขวงทางหลวงชนบทจังหวัด
นครศรีธรรมราช อบจ.นครศรีธรรมราช เทศบาลตาบลชะมาย เป็นต้น
สอง เครือข่ายภาคเอกชน สถานประกอบการ ได้แก่ กลุ่มธุรกิจยางพารา กลุ่มธุรกิจปลีกส่ง
กลุ่มปูนซีเมนต์ กลุ่มธุรกิจโลจิสติกส์ คอยให้ข้อมูลปริมาณสินค้า เข้ามาลงทุนและใช้บริการศูนย์กระจาย
สินค้า โดยมีผาทอง ทุ่งสงสี่สวัสดิ์ ยูนิรับเบอร์ ศรีตรังเป็นผู้ริเริ่มขับเคลื่อนโครงการ และมีสภา
อุตสาหกรรมจังหวัดเป็นผู้ให้ความรู้ ข้อมูล และศึกษาดูงานร่วมกัน
สาม เครือข่ายภาควิชาการและองค์กรวิชาชีพ โดยมีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เข้ามาร่วม
ประเมินโครงการและจัดทาแผนธุรกิจ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ส่ง ดร.จรรยา ชาญชัยชูจิต นักวิชาการ
ด้านโลจิสติกส์มาให้คาปรึกษา มหาวิทยาลัยราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราชคอยให้
คาปรึกษาด้านโลจิสติกส์ จนปัจจุบันได้เปิดสาขาการจัดการโลจิสติกส์ ส่วนสถาบันสิ่งแวดล้อมไทยมี
หน้าที่ให้คาปรึกษา ประสานงานกับเครือข่ายวิชาการอื่นๆ โดยเฉพาะธนาคาร ADB
สี่ เครือข่ายองค์กรระหว่างประเทศ คือ เครือข่าย GIZ และสถานทูตเยอรมัน ที่นานักธุรกิจ
เยอรมันและนักธุรกิจไทย ส่วนราชการ ภาคเอกชน กับประชาชนร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
2
นายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองทุ่งสง
12
ธนาคาร ADB ที่เข้ามาศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ รวมไปถึงแผนงาน IMT-GT ที่บรรจุโครงการ
ศูนย์กระจายสินค้าภาคใต้ – ทุ่งสงเข้าไปด้วย
จากการดาเนินการโครงการนี้ ก่อให้เกิดผลดีหรือผลประโยชน์โดยตรง 3 ประการด้วยกัน ดังนี้
1) เทศบาลเมืองทุ่งสงมีรายได้มากขึ้น ช่วยลดภาระของรัฐในการอุดหนุน เนื่องจากการเปิดให้
เช่า บริหารจัดการลานเก็บตู้คอนเทนเนอร์ เพื่อรับส่งสินค้าด้วยระบบรางทั้งสองระยะนั้น ทา
ให้เทศบาลมีรายได้มากกว่า 4.5 ล้านบาทในปี 2560
2) ปัญหาจราจร ความคับคั่งของรถบรรทุกสินค้าบนท้องถนน อุบัติเหตุ ความสูญเสียในชีวิต
และทรัพย์สินลดลง เนื่องจากโครงการนี้ทาให้ปริมาณรถขนส่งบนถนนลดลงไปกว่า 10,400
คันต่อเดือน ทาให้ลดความเสี่ยงที่จะเกิดอุบัติเหตุและยังช่วยลดงบประมาณในการซ่อมแซม
และก่อสร้างถนนด้วย
3) กลุ่มอุตสาหกรรมการเกษตรและการขนส่งมีต้นทุนการขนส่งลดลงและมีทางเลือกในการ
ขนส่งมากขึ้น เนื่องจากการเปลี่ยนมาใช้การขนส่งด้วยระบบราง ทาให้ต้นทุนการขนส่ง
ลดลงไปกว่าร้อยละ 16.66 ต่อตู้
ส่วนกลางต้องเสริมท้องถิ่น เชื่อมโยงเศรษฐกิจประเทศ
อย่างไรก็ตาม หลายโครงการพอมันเกิดจากล่างขึ้นบนแล้ว ส่วนกลางมักมองว่าไม่ใช่นโยบาย
ของเขา เพราะเขาเห็นว่าท้องถิ่นเดินเองได้ ส่วนกลางก็มักจะช่างมันปล่อยมัน ทั้งที่ถ้าหากส่วนกลาง
ช่วยเมืองทุ่งสงในเรื่องการวางระบบรางในระดับประเทศ มันจะไม่ได้ผลักเพียงการส่งออกแค่ในทุ่งสง แต่
มันยังเชื่อมโยงการส่งออกระหว่างภูมิภาคและอาจส่งต่อออกนอกประเทศได้ด้วย เช่น น้าตาลจากอีสาน
ข้าวสารจากภาคเหนือ ก็จะขนส่งลงมาทุ่งสงผ่านระบบรางได้ง่ายขึ้น นอกจากนี้ การสร้างความเชื่อมั่น
ให้ผู้ประกอบการนั้น ภาครัฐต้องสนับสนุน มิใช่ปล่อยไปตามยถากรรมให้เขาสู้ด้วยตัวเอง บ่อยครั้งที่
ภาคเอกชนเสนอโครงการที่ดีมีประโยชน์แต่ขาดเจ้าภาพ ส่วนหนึ่งเพราะข้าราชการระดับสูงอย่างผู้ว่า
ราชการจังหวัด นายอาเภอก็ไม่คิดจะอยู่นาน อยากจะเลื่อนตาแหน่งไปเป็นอธิบดี รองปลัด กว่าท้องถิ่น
จะปรับความคิดปรับความเข้าใจกับคนจากส่วนกลางได้ เขาก็ย้ายไปแล้ว แม้ประเทศเรามีความพร้อมสูง
แต่ขาดความต่อเนื่อง
13
เมืองบุรีรัมย์ Destination Sport City
คุณจตุพร รังษิณำภรณ์3
จังหวัดบุรีรัมย์ เดิมเป็นจังหวัดที่มีภูเขาไฟมากที่สุดในโลก แต่ดับไปหลายพันปีแล้ว หลายพื้นที่
ในจังหวัด ดินจะมีแร่ธาตุที่เกิดจากภูเขาไฟ เช่น ฟอสฟอรัส เหล็ก แมงกานีส และโพแทสเซียม เป็นต้น
ซึ่งสินค้าเกษตรที่ขึ้นชื่ออย่างหนึ่งคือ ข้าวภูเขาไฟ เป็นข้าวที่ปลูกในพื้นที่ดินภูเขาไฟ ทาให้ข้าวมี
ลักษณะพิเศษ คือ หอม หวาน อร่อย และมีวิตามินและแร่ธาตุมาก ไม่เพียงเฉพาะข้าว แต่พืชพันธุ์
เกษตรอื่นๆ ที่ปลูกในพื้นที่ก็จะมีแร่ธาตุต่างๆ เหล่านี้เช่นกัน รวมถึงน้าแร่ซึ่งคาบเกี่ยวไปถึงจังหวัด
นครราชสีมา ก็มีแร่ธาตุเช่นเดียวกัน ตรงนี้ เป็นทรัพย์ในดินของบุรีรัมย์ เป็นหนึ่งในของดีจังหวัดบุรีรัมย์
ซึ่งควรจะได้รับการทาเป็นสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ )Geographical Indications หรือ GI)4
ซึ่งขณะนี้ยังไม่
เกิดขึ้น มีการพยายามผลักดันเรื่องนี้มานานแล้ว แต่ไม่ได้รับการช่วยเหลือเท่าที่ควร เนื่องจากผู้ว่า
ราชการของบุรีรัมย์มีการเปลี่ยนทุกปี นอกจากนี้ยังมีผ้าไหมตีนแดงที่มีการทอมือเป็นลักษณะพิเศษ แต่
ตัวนี้ได้รับ GI ไปแล้ว และได้รับการโปรโมตอยู่
เศรษฐกิจท้องถิ่นที่เกิดจากความภูมิใจ
เดิมจังหวัดบุรีรัมย์ขึ้นชื่อว่ายากจนมากอันดับต้นๆ ของประเทศ รองจากศรีสะเกษ จนมีคากล่าว
ว่า “บุรีรัมย์ตาน้ากิน”แต่ภายหลังมีการทาเรื่องของการกีฬา สร้างสนามฟุตบอล I-mobile และเปลี่ยนชื่อ
เป็น สนามช้างอารีน่า ยังมีสนามแข่งรถ ช้าง อินเตอร์เนชั่นแนล เซอร์กิต เรื่องนี้ต้องยกความดีให้คุณ
เนวิน เพราะในตอนแรก เราไม่เคยคิดว่าจังหวัดของเราจะไปได้ไกลขนาดนี้
บุรีรัมย์เกิดความเปลี่ยนแปลงขึ้นอย่างรวดเร็ว จากที่ดินไม่มีราคากลายเป็นราคาแพงมาก เช่น
ที่ดินตรงข้ามสนามฟุตบอลช้างอารีน่า เมื่อก่อนราคาไร่ละประมาณ 1แสนบาท ตอนนี้มีคนขอซื้อ 10
ล้านบาทเจ้าของยังไม่ขาย ราคาอาจพุ่งไปถึง20ล้านบาท ในด้านการขนส่งก็เช่นกัน สนามบินบุรีรัมย์
ได้รับการปรับปรุง จากมีเที่ยวบินมาลงอาทิตย์ละ1เที่ยวบิน ตอนนี้มีวันละหลายเที่ยวบินแล้ว และ
ล่าสุด บุรีรัมย์กาลังจะได้รับให้เป็นเมืองDestination Sport City นอกเหนือจากการกีฬาแล้วยังมีเรื่อง
ของวิทยาศาสตร์การแพทย์และเทคโนโลยีด้วย เพิ่งมีการตั้งทีมเกมส์ของจังหวัดไป
3
ผู้บริหาร บริษัท บุรีรัมย์สหสินข้าวไทย จากัด
4
เป็นทรัพย์สินทางปัญญาประเภทหนึ่ง ซึ่งจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีความเชื่อมโยง (Links) ระหว่างปัจจัยสาคัญสองประการ คือ ธรรมชาติ
และมนุษย์ กล่าวคือ ชุมชนได้อาศัยลักษณะเฉพาะที่มีอยู่ในแหล่งภูมิศาสตร์ตามธรรมชาติ เช่น สภาพดินฟ้ าอากาศ หรือวัตถุดิบเฉพาะ
ในพื้นที่ มาใช้ประโยชน์ในการผลิตสินค้าในท้องถิ่นของตนขึ้นมา ทาให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณลักษณะพิเศษที่มาจากพื้นที่ดังกล่าว
คุณลักษณะพิเศษนี้อาจหมายถึง คุณภาพ ชื่อเสียงหรือคุณลักษณะเฉพาะอื่นๆที่มาจากแหล่งภูมิศาสตร์นั้นๆ ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
http://www.ipthailand.go.th/th/gi-011/item/ความรู้เบื้องต้น-เรื่องสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์.html
14
สิ่งที่น่าทึ่งมาก คือ ทุกคนในจังหวัดรักจังหวัดมาก เกิด Sense of Belonging ยกตัวอย่าง เสื้อ
ทีมบุรีรัมย์ยูไนเต็ด ตอนเริ่มแรกราคาเพียง 200- 300 บาท ยังไม่ค่อยมีคนซื้อใส่ แต่ตอนนี้ ราคาขึ้นมา
เกือบ 1, 000บาท แต่คนก็ใส่กันทั้งจังหวัด คนบุรีรัมย์หันมารักจังหวัดตัวเองมากขึ้น คนบุรีรัมย์ที่ไปอยู่
ต่างประเทศก็กลับมาอยู่บ้านเป็นจานวนมาก มีอาชีพเสริมเป็นเจ้าของโรงแรม รวมถึงร้านอาหารและ
กิจกรรมต่างๆ ที่ส่่งเสริมการท่องเที่ยว คนบุรีรัมย์มีที่กินข้าว ช้อปปิ้ง และสามารถออกไปเอนเตอร์เทน
ตัวเองได้ ตอนเย็นๆ ทุกคนจะไปรวมตัวกันออกกาลังกาย นี่เป็นสิ่งที่ดีมาก และที่สาคัญ เศรษฐกิจของ
บุรีรัมย์ก็เติบโตไปโดยปริยาย ร้านโอทอปขายดี ทุกคนอยากให้บ้านตัวเองดี ทุกคนจึงช่วยเหลือกัน ทุก
คนใส่เสื้อทีมฟุตบอล คนที่ทางานในสนามกีฬาก็ล้วนแต่เป็นคนบุรีรัมย์ ไม่ได้จ้างคนมาจากข้างนอก ไม่
ว่าจะเป็นทีมโปรโมต ทีมคัทเอาท์ เป็นต้น เขาเอาคนรุ่นใหม่ที่เป็นลูกหลานคนบุรีรัมย์เข้ามาร่วมทีม
มาร่วมทาแผนทั้งหมด นอกจากนี้ยังมีการนาเข้าอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับรถยนต์และรถแข่ง ซึ่งช่วย
กระตุ้นเศรษฐกิจในจังหวัดด้วย
นอกจากนี้ ยังเกิดตลาดนัดถนนเซาะกราว ซึ่งเป็นสิ่งที่ดี ผู้ขายจะเป็นคนบุรีรัมย์ทั้งหมด ไม่ใช่
คนต่างถิ่นมาขาย เป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจ และเป็นจุดดึงนักท่องเที่ยวหลังจากดูบอลเสร็จก็มาเดินเที่ยว
ตลาดนัดต่อ ตรงจุดนี้จังหวัดอื่นๆ น่าจะสามารถนาไปทาตามได้
เศรษฐกิจของบุรีรัมย์ดีขึ้นมาก เกิดการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มีการเคลื่อนไหวอยู่ตลอด
ทุกคนอยากจะลงทุน อยากใช้จ่าย เกิด Sense of Belonging ทุกคนช่วยกันเพราะอยากให้บ้านตัวเองดี
ขึ้น ถ้าพูดถึงในภาวะปัจจุบันที่คนรู้สึกว่าเศรษฐกิจไม่กระเตื้อง แต่สาหรับคนบุรีรัมย์จะรู้สึกว่าเศรษฐกิจ
ของตนดีขึ้นกว่าเดิมมาก
15
ภาพการประชุมระดมสมอง
16
รายชื่อปู้เข้าร่วมประชุม
1. ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ อธิการวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
2. รศ.ดร.ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ อาจารย์คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
3. คุณพงษ์ศักดิ์ยิ่งชนม์เจริญ นายกเทศมนตรีเทศบาลนครยะลา
4. คุณทรงชัย วงษ์วัชรดารง นายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองทุ่งสง
5. รศ.ดร.จานง สรพิพัฒน์ กรรมการบริหาร สมาคมวิจัยวิทยาการขนส่งแห่งเอเชีย
6. รศ.ดร.จักษ์ พันชูเพชร อดีตอาจารย์ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์
ม.นเรศวร
7. คุณสุริยนต์ ธัญกิจจานุกิจ ผู้อานวยการสานักพัฒนาเพิ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ สานัก
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
8. คุณยุวดี คาดการณ์ไกล ผู้อานวยการศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจมหาวิทยาลัย
รังสิต
9. คุณจตุพร รังษิณาภรณ์ ผู้บริหาร บริษัท บุรีรัมย์สหสินข้าวไทย จากัด
10. คุณปภาวี ด่านชัยวิโรจน์ Young Entrepreneur chamber of commerce จังหวัดอยุธยา
11. คุณกิติมา แถลงกิจ Young Entrepreneur chamber of commerce จังหวัดอยุธยา
12. คุณเพชรชมพู กิจบูรณะ ว่าที่โฆษกพรรครวมพลังประชาชาติไทย
17
ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ
ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ ศ.เดชา บุญค้า
ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ดร.พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
18
- วารสารการพัฒนาเมือง Vol.1 ว่าด้วยเรื่องวัฒนธรรมของเมือง และนาเสนอการพัฒนาระบบและกลไกพัฒนา
เมืองของลาปาง
- วารสารการพัฒนาเมือง Vol.2 ว่าด้วยแนวคิดการพัฒนาเมือง Placemaking และนาเสนอเมืองสายบุรี เป็น
ตัวอย่างเมืองที่พัฒนาเมืองแบบ Placemaking
- วารสารการพัฒนาเมือง Vol.3 ว่าด้วยแนวคิด มุมมอง และตัวอย่างการขับเคลื่อนสู่การเป็นสมาร์ทซิตี้ทั้งใน
ไทยและต่างประเทศ
- วารสารการพัฒนาเมือง Vol.4 ว่าด้วยเรื่องการพัฒนาเมืองหางโจว ประเทศจีน ที่สามารถรักษาสิ่งแวดล้อม
ควบคู่ไปกับการยกระดับเทคโนโลยีและนวัตกรรมได้
- วารสารการพัฒนาเมือง Vol.5 ว่าด้วยแนวคิดเมืองสร้างสรรค์ที่ใช้วัฒนธรรมของเมืองเป็นหัวใจสาคัญในการ
สร้างเศรษฐกิจเมือง
- วารสารการพัฒนาเมือง Vol.6 ว่าด้วยเรื่องสุขภาวะคนเมือง และการใช้ชีวิตของคนในเมืองใหญ่
Vol.1 Vol.2 Vol.3
Vol.4 Vol.5 Vol.6

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กFURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลFURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมFURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมFURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกFURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขFURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองFURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองFURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยFURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังFURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...FURD_RSU
 

Mehr von FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 

Furd urban think tank นโยบายส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่น

  • 2. ผู้นาเสนอ รศ.ดร. ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ จัดโดย ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต วันที่ 30 กรกฎาคม 2561 ณ โรงแรมรามากาเด้นท์
  • 3. 1 รศ.ดร. ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ ภาพลวงตาการส่งออกไทย ในการดูระบบเศรษฐกิจ ใช้สมการ Y=C + I + G + (X-M) คือ มีเรื่องการใช้จ่ายการบริโภค ครัวเรือน ตัว C การลงทุนภาคเอกชน ตัว I การใช้จ่ายรัฐบาล ตัว G ดุลการค้า (x-m) สิ่งที่น่าสนใจ คือ ภาพลวงตาของตัวเลขการส่งออก เรามักจะพูดกันเสมอว่าการส่งออกเป็น 70 เปอร์เซ็นต์ของ GDP ซึ่ง มันทาให้คนเข้าใจผิดว่าการส่งออกสร้าง GDP 70 เปอร์เซ็นต์ แต่จริงๆ แล้วมูลค่าการส่งออกยังไม่ใช่มูล ค่าที่ไปเพิ่ม GDP โดยตรง ต้องหักการนาเข้าออกก่อน เช่น มูลค่าการส่งออกเป็น 70 เปอร์เซ็นต์ นาเข้า 65 เปอร์เซ็นต์ แสดงว่า ดุลการค้าคือ 5 เปอร์เซ็นต์ ตัวที่เพิ่ม GDP คือดุลการค้า และดุลการชาระเงิน ไม่ใช่การส่งออก มีการตั้งคาถามกันมากว่า ตัวเลขส่งออกดีมาก ควรกระจายไปด้านล่างได้แล้ว นัก เศรษฐศาสตร์เชื่อว่า ถ้าการส่งออกดี จะช่วยกระจายเศรษฐกิจไปเอง เหตุใดทาไมเศรษฐกิจสังคมไทยไม่ กระจายออกไป นักเศรษฐศาสตร์ และรัฐบาลไม่ได้อธิบายอย่างชัดเจนถึงปัญหาตัวเลขการส่งออกไทย มีหลายเหตุผลดังนี้ ประการแรก หากไปดูสินค้าส่งออกที่มียอดส่งออกสูง คือ สินค้ารถยนต์ สินค้าอิเลคทรอนิคส์ โดยเฉพาะอีเล็กทรอนิกส์เราส่งออกประมาณมูลค่า แปดแสนล้าน แต่เมื่อไปดูการนาเข้าปรากฏว่า เรา นาเข้าวัสดุแปรรูปกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ เท่ากับส่งออก 100 บาท นาเข้า 90 บาท เหลือ 10 บาทเท่านั้น ซึ่งเป็นค่าแรง เอาเข้าจริง แปดแสนล้านที่ส่งออก ดุลการค้าจริงมีเพียงแค่ แปดหมื่นล้านเท่านั้น ในขณะที่พวกแรงงานที่ไปทางานต่างประเทศ รัฐไม่ส่งเสริมอะไร นาเงินกลับบ้าน แปดหมื่นล้าน เช่นเดียวกัน แต่รัฐกลับเลือกเอาใจนักลงทุน เพื่อการส่งออกมาก ประการที่สอง บริษัทที่ส่งออกจานวนมากล้วนแต่เป็นบริษัทต่างชาติทั้งนั้น เช่น รถยนต์ เป็น ของบริษัทที่ญี่ปุ่น สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ เป็นของบริษัทอเมริกา ทากาไรได้เขาก็เอาเงินกลับประเทศไป จานวนมาก เหลืออยู่ไทยไม่มากนัก เพราะประเทศไทยไม่มีกฎหมายควบคุมการส่งกาไรออก ประการที่สาม บริษัทต่างชาติแนวคิดสาคัญคือ การไปลงทุนในประเทศอื่นจะต้องหาวิธีเอา ประโยชน์จากประเทศนั้นให้มากที่สุด เพื่อช่วยประเทศแม่มากที่สุดเท่าที่กฎหมายอนุญาตให้ทา ไทยไม่ เคยสนใจเรื่องระบบการตั้งราคา สินค้าส่งออกบางตัว มีการลดราคาเพื่อให้บริษัทแม่มีกาไร และขายให้ บริษัทแม่ราคาต่ากว่าไทยมาก เช่น ตู้เย็น รถยนต์ ส่งออกไปญี่ปุ่น ขายต่ากว่าราคาในเมืองไทยมาก เมื่อเขาต้องการประโยชน์จากเรา เขาสร้างกลไกขึ้นมา กลไกตัวหนึ่งเขาสร้างขึ้น คือ การตั้งราคาโอน กาไร ทางเศรษฐศาสตร์การเมืองเรียกว่า Transfer Pricing การถ่ายโอนกาไรจากบริษัทลูกไปสู่บริษัทแม่
  • 4. 2 ในต่างประเทศผ่านการกาหนดราคาส่งออกต่า ส่งผลให้ผลประกอบการทางบัญชีของบริษัทลูกใน ประเทศไทยมีกาไรน้อยกว่าที่ควรจะเป็น ค่าจ้างในบริษัทลูกก็ขึ้นไม่ได้ แถมยังทาให้รัฐบาลไทยเก็บภาษี ได้น้อย แต่กาไรส่วนใหญ่ไหลไปอยู่ที่บริษัทแม่ เงินเดือนลูกจ้างที่บริษัทแม่เติบโตดี เพราะเป้าหมายอยู่ ที่บริษัทแม่ ประการที่สี่ เราไม่เคยสร้างกลไกเพื่อเอาประโยชน์จากเขาเลย เขามาในประเทศเราเขาย่อม สร้างกลไกเอาประโยชน์จากประเทศเรา ซึ่งเป็นสิ่งที่เขาคิดและเขาทาได้ แต่ในขณะที่ไทยมีกลไกน้อย มากที่จะได้ประโยชน์จากเขา มีในสมัยทักษิณที่พยายามแก้ไขปัญหาเรื่องการตั้งราคาโอนกาไร หาก ราคาขายควรเป็น 4 หมื่นบาท แต่ขายจริงแค่ 1 หมื่นบาท แสดงว่าขายต่ากว่าราคา 3 หมื่นบาท เราใช้ วิธีเก็บภาษีราคาที่หายไปนั้น 10 เปอร์เซ็นต์ ได้มา 3000 บาท (จากมูลค่าต่ากว่าปกติ 30,000 บาท) แต่ มูลค่า 27,000 บาท ก็หายไปอยู่ดี สะสมแบบนี้มา 20 – 30 ปี แต่ไม่มีใครสนใจ รัฐก็ยังส่งเสริมการลงทุน บริษัทประเภทนี้ ลดภาษีสารพัดให้ต่างชาติอยู่มาก การเข้ามาของทุนต่างประเทศเราได้รับประโยชน์ น้อย อีกทั้งทุนเหล่านี้กาลังกระทบต่อทุนเล็กทุนน้อยในท้องถิ่นด้วย เช่น ทุนจีน เข้ามาแย่งอาชีพโชห่วย ในเชียงใหม่ เข้ามาเป็นล้งรับซื้อผลไม้จานวนมาก เหล่านี้กระทบต่อธุรกิจท้องถิ่นทั้งสิ้น เขาเข้ามาลงทุน เป็นเรื่องดี แต่เรากลับปล่อยเสรีตามธรรมชาติจนไม่มีขอบเขต ไม่ได้สร้างกลไกการกระจายรายได้เลย ดังนั้นเรื่องกลไกเอาประโยชน์และปกป้องคนท้องถิ่นควรคิดมากกว่านี้ การบริโภคครัวเรือนภายในประเทศ คือ ส่วนที่สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจมากที่สุด หากดูตัวเลข GDP ไทย ปี 2559 การบริโภคครัวเรือน การที่ทุกคนใช้เงินซื้อข้าวซื้อของ สร้าง GDP ถึง 54 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่รัฐส่งเสริมการลงทุนเอกชนมาก แต่ภาคนี้สร้าง GDP เพียง 22 เปอร์เซ็นต์ ขณะที่ภาครัฐอัดเงินเต็มที่สร้าง GDP ได้สูงสุดไม่เกิน 15 เปอร์เซ็นต์ ดุลการค้าสร้าง GDP ได้เพียง 9 เปอร์เซ็นต์ สรุปได้ว่า การลงทุนเอกชน การใช้จ่ายภาครัฐ การส่งออกการนาเข้า สร้าง GDP ได้ไม่ถึงครึ่ง แต่การบริโภคภาคประชาชนสร้างได้เกินครึ่งแล้ว ฉะนั้น กาลังซื้อภายในประเทศ (Domestic Purchasing Power) ของคนเป็นสิ่งสาคัญมาก
  • 5. 3 พลังการบริโภคของประชาชนมาจากไหน ดูจากตัวเลขรายได้ประชาชาติ พูดง่ายๆ รายได้ใน กระเป๋าทุกคนรวมกัน อันนี้คือตัวสร้างการบริโภค ใครมีเงินมากใช้จ่ายใช้มาก มีเงินน้อยใช้จ่ายได้น้อย 1) การบริโภคของไทยมาจากค่าจ้าง 41 เปอร์เซ็นต์ 2)มาจากอาชีพอิสระ 37 เปอร์เซ็นต์ ซึ่ง อาชีพอิสระที่มีจานวนคนมากที่สุด คือ เกษตรกร โดยเฉพาะชาวนามีประมาณ 8 ล้านคน แม่ค้า หาบเร่ แผงลอย คนขับรถแท็กซี่ ฯลฯ อีกประมาณ 8 – 9 ล้านคน นั่นแสดงว่าถ้านาภาคประชาชนรวมกัน คือ กลุ่มลูกจ้าง ทั้งลูกจ้างภาครัฐและเอกชนซึ่งมีประมาณ 18 ล้านคน รวมกับกลุ่มอาชีพอิสระ สร้างรายได้ ประชาชาติได้กว่า 78 เปอร์เซ็นต์แล้ว นี่คือพลังบริโภค ที่สร้าง GDP หากพลังการบริโภคเข้มแข็ง GDP ก็จะสูงตาม แต่ทุกวันนี้ไทยยังติดกับดักรายได้ปานกลาง เพราะพลังการบริโภคของเราต่า ในเมื่อตัวสร้าง GDP คือ การบริโภคซึ่งมาจากค่าจ้างและรายได้อิสระ ถ้าหากอยากจะเร่ง GDP รัฐต้องคิดว่าควรเร่งด้านไหน รัฐจะเร่งด้านส่งออกนั้นก็ไม่ผิด แต่ส่งออกนั้นสามารถไปสร้าง GDP และ รายได้ประชาชาติมากน้อยเพียงใด ในขณะที่กาไรสุทธิของนิติบุคคล เป็นเพียง 17 เปอร์เซ็นต์ของ รายได้ประชาชาติเท่านั้น แต่ทาไมนักเศรษฐศาสตร์ ทาไมรัฐบาลจึงให้ความสาคัญกับธุรกิจมากเกินไป และทาไมเราละเลยพลังการบริโภค ทั้งที่มันเป็นตัวหลักของการสร้าง GDP นักเศรษฐศาสตร์อ่าน ตัวเลขเป็น ทาไมพากันนิ่งเฉย ไม่อธิบายสิ่งเหล่านี้ ทั้งที่ครัวเรือนเป็นเรื่องของ Macro economics ครัวเรือนเป็นผู้ชี้ขาด GDP ไม่ใช่ธุรกิจ ค่าจ้างและรายได้ของผู้ประกอบอาชีพอิสระ กลไกวัฒนธรรมของกระจายรายได้ไปยัง ชนบท ค่าจ้างกับรายได้อาชีพอิสระ เราเรียกว่า “เศรษฐกิจภาคประชาชน” อาชีพอิสระ อย่าง เกษตรกร จะอยู่ในท้องถิ่น ส่วนแรงงานก็คือลูกหลานชาวนาและเกษตรกรประเภทอื่นๆ ชาวบ้านที่มา จากท้องถิ่น ต่างจังหวัด มาทางานในเมืองใหญ่เป็นลูกจ้างและแรงงานอิสระ รายได้และค่าจ้างที่ได้มา มี กลไกวัฒนธรรมที่กระจายไปยังชนบท กลไกวัฒนธรรมนั้นก็คือ การบ่มเพาะให้ลูกหลานรู้จักกตัญํูรู้คุณ พ่อแม่ คนส่วนใหญ่ยังพึ่งสวัสดิการครอบครัว คือลูกต้องดูแลพ่อแม่ เขาจะส่งเงินกลับบ้านเดือนละ 1-2 พันบาท แสดงว่ากลไกกระจายเงินจากเมืองสู่ชนบทที่สาคัญ คือ เงินของลูกจ้าง คาถามก็คือว่า ค่าจ้าง วันละ 300 เขาจะเหลือเงินไปให้พ่อแม่ได้อย่างไร ในเมื่อคนเดียวก็ใช้แทบไม่พอ สิ่งที่เป็นไปได้ก็คือ การ ได้รับโอที หรือค่าล่วงเวลา เพราะฉะนั้นหากโรงงานไม่มีค่าล่วงเวลา คนงานก็จะไม่มีค่าล่วงเวลา ไม่มี เงินส่งกลับบ้าน คนชนบทก็แย่ตามไปด้วย รัฐส่งเสริมการลงทุนมากมายให้นักลงทุน แต่หากนักลงทุน ไม่มั่นใจในตลาดภายในประเทศ คนไม่มีกาลังซื้อ เขาก็ไม่มั่นใจในการลงทุน มันกระทบกันทั้งหมด นอกจากนี้เงินที่ลูกจ้างได้มาจะหมดไปกับการบริโภคภายใน ซื้อของในประเทศ แต่รายได้ที่ เขามีในปัจจุบันซื้อได้แค่ปัจจัย 4 เช่น ค่าอาหาร ค่าเช่าบ้าน ค่าเดินทาง ก็แทบจะไม่พอ เมื่อเป็นแบบนี้ การกระจายรายได้จะเกิดขึ้นได้อย่างไร ในเมื่อไม่มีเงินให้กระจาย กระทบถึงหาบเร่แผงลอย แม่ค้า
  • 6. 4 เกษตรกร หลายกลุ่มมาก ที่สาคัญลาพังศักยภาพการกระจายจากบนลงล่างก็ต่าอยู่แล้ว ปัจจุบันยังเกิด Technology disruption หรือผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี มีระบบอินเตอร์เน็ต AI Robot เข้ามาแทนที่แรงงาน รัฐก็ยิ่งส่งเสริม โรงงานไหนใช้ Robot AI จะลดภาษีให้ แต่คนตกงานไม่มีอะไร รองรับ พอคนไม่มีรายได้ ไม่มีกาลังซื้อ GDP ก็ขยับเพิ่มได้น้อย ต้องคิดให้รอบคอบ กลายเป็นว่า แรงงานบางส่วน โดยเฉพาะพนักงานธนาคาร ที่มีกาลังซื้อพอสมควร จากค่าจ้างและโบนัส กาลังมีภาวะ ตกงาน ยิ่งทาให้สถานการณ์ในอนาคตยิ่งจะแย่ตาม กระบวนทัศน์ใหม่ในการมองภาคเศรษฐกิจ : เศรษฐกิจภาคที่ 3 (ภาคประชาชน) เมื่อเป็นเช่นนี้ การมองเศรษฐกิจที่เราเห็นชัดเจนว่า ตัวชี้ขาดมาจากภาคประชาชนเป็นหลัก แต่ ทาไมรัฐบาล นักเศรษฐศาสตร์ จึงพูดแต่เศรษฐกิจ 2 ภาค คือ เศรษฐกิจภาครัฐ เศรษฐกิจภาคธุรกิจ แต่ ไม่เคยสนใจเศรษฐกิจภาคประชาชน ทั้งๆ ที่ภาคนี้สร้าง GDP สูงมาก ในปัจจุบันยุโรปจึงมีการปรับเรื่อง ภาคเศรษฐกิจใหม่ คือ ปรับเป็น 3 ภาค มี ภาครัฐ (Public sector) ภาคธุรกิจ (Private sector) และภาค ที่สามประชาชน ประชาสังคม (Civil sector) สาหรับภาคนี้ นักเศรษฐศาสตร์และรัฐบาลไทยไม่สนใจเลย ทั้งที่เป็นภาคของการบริโภค และมาจากการทางานของคนส่วนใหญ่ เช่น แรงงาน ลูกจ้าง เกษตรกร และอาชีพอิสระอื่นๆ นอกจากนี้ในยุโรปยังเกิดแนวคิดกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise) ที่กาลัง ขยายตัว ซึ่งเป็นการประกอบการเพื่อนากาไรมากระจายให้สังคม ไม่ใช่นากาไรให้กับผู้ถือหุ้นเป็นหลัก
  • 7. 5 จะสร้างเศรษฐกิจภาคประชาชน/ท้องถิ่น ขึ้นมาได้อย่างไร ประการแรก เน้นพื้นฐานเศรษฐกิจให้แข็งแรง คือ “การบริโภคและการผลิต” เราต้องเข้าใจว่า เศรษฐกิจเป็นเรื่องพฤติกรรมของคน ไม่ใช่เรื่องตัวเลข คือพฤติกรรมปากท้อง ชาวบ้าน ระบบเศรษฐกิจ คือการบริโภค การผลิต การแลกเปลี่ยน เป็นหลัก ถ้าเราจะสร้างเศรษฐกิจภาค ประชาชนหรือท้องถิ่นขึ้นมา ต้องสนใจที่การผลิตและการบริโภคก่อน การเน้นที่การผลิตและการบริโภคนั้น คือ “แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง” ของในหลวง ร.9 ที่มี แนวคิดรากฐานของเศรษฐกิจอยู่ที่การบริโภคและการผลิต ยังไม่ใช่การแลกเปลี่ยน เรื่องเกษตรทฤษฏี ใหม่ ให้ความสาคัญการผลิตเพื่อการบริโภคคือการสร้างรายได้แท้จริง เรียกว่า real income มีนา มีน้า มีสวน มีผัก มีสัตว์เลี้ยง มีกินมีใช้ เหลือก็ค่อยขาย พื้นฐานต้องแข็งแรงก่อน สมัยก่อนสวนของคนไทยจึง มีผักสวนครัว และผลไม้หลายชนิด มีมังคุด ทุเรียน เงาะ เก็บไว้กิน เหลือก็ขาย อันไหนถูกก็ขายอีกอย่าง หรือปัจจุบันเมื่อคนอยู่ในโรงงานมากขึ้น มีอาชีพประจา ก็ควรใช้ “หลักคิด 1 ครัวเรือน 2 วิถีการผลิต” คือ การเป็นทั้งแรงงานรับจ้างและเน้นการปลูกผักไว้ในบ้านด้วยเพื่อกิน เหลือไว้ขาย เพื่อลดรายจ่าย เป็น 2 วิถีการผลิตที่เพิ่มรายได้และลดรายจ่ายในเวลาเดียวกัน ทั้งนี้ วิธีคิดแบบเน้นการผลิตและการบริโภคก่อน มันไม่สร้าง GDP นักเศรษฐศาสตร์ไม่ชอบ เพราะ GDP คิดจากมูลค่าการซื้อขาย ถ้าไม่มีการซื้อขายก็ไม่มี GDP ฉะนั้นต้องผลิตเพื่อขายไว้ก่อน เศรษฐกิจจะได้หมุนเวียน มายาคตินี้ทาให้เกิดนโยบายพืชเชิงเดี่ยวจานวนมาก เพื่อให้ได้ผลผลิตมากๆ นาไปขายในตลาด เช่น ช่วงหนึ่ง รัฐส่งเสริมให้ปลูกยางพาราอย่างเดียว ห้ามปลูกอย่างอื่นปน สุดท้าย ยางล้นตลาด ราคาตก ตอนนี้ก็เปลี่ยนให้ปลูกตามราคาสินค้านั้น แต่ก็ยังปลูกพืชเชิงเดี่ยว กล่าวมานี้ ไม่ได้หมายความว่าให้ตัดเรื่องการแลกเปลี่ยนค้าขาย แต่สาคัญคือ เรานับหนึ่งที่ตรงไหนต่างหาก ปัจจุบันเรานับหนึ่งที่การซื้อขาย ต่างจากในหลวง ร.9 นับหนึ่งที่การมีกินมีใช้ก่อน ประการที่สอง การพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงานไทย : นโยบายการสร้างธนาคาร แรงงาน รัฐบาลมีนโยบายลดหนี้นอกระบบ เน้นช่วยเหลือเกษตรกรเป็นหลัก แต่แท้จริงแล้วเกษตรกรร้อย ละ 80-90 เป็นหนี้ในระบบ จริงๆ แล้วหนี้นอกระบบกระจุกตัวอยู่ในโรงงาน นั่นคือ แรงงานในโรงงาน อุตสาหกรรม ที่หัวหน้างานจะปล่อยกู้ร้อยละ 10 ต่อเดือน รัฐบาลสามารถแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยการ สร้าง “ธนาคารแรงงาน” ขึ้นมา ที่ให้แรงงานกู้ ร้อยละ 10 ต่อปี โดยตัดเงินผ่านบัตร ATM เงินเดือน แรงงาน ธนาคารแรงงานเป็นรูปแบบธนาคารเฉพาะกิจหรือธนาคารพิเศษ ช่วงแรกอาจจะเป็นโครงการ ภายใต้ธนาคารของรัฐ เช่น ออมสิน กรุงไทย เป็นต้น โดยรัฐขายพันธบัตรให้กองทุนประกันสังคม ใน อัตราดอกเบี้ยประมาณ 2.5 ต่อปี แล้วให้โครงการธนาคารแรงงานกู้ต่อร้อยละ 5 ต่อปี จากนั้นโครงการ นามาปล่อยกู้ให้แรงงานร้อยละ 10 ต่อปี หลังจากให้แรงงานกู้ ตั้งกฎว่าให้หัก 10 เปอร์เซ็นต์ของเงินกู้นา
  • 8. 6 ฝากประจา สะสมรวมกันเป็นเงินจานวนก้อนใหญ่ เมื่อผู้กู้ผ่อนหนี้หมดแล้ว เงินฝากก้อนนี้ก็นาไปจัดตั้ง ธนาคารแรงงาน ธนาคารดังกล่าวก็จะกลายเป็นธนาคารของแรงงาน เจ้าของคือแรงงานอย่างแท้จริง การให้กู้ได้นั้น สามารถตั้งเงื่อนไขหรือกลไกในการกู้ขึ้นมา เช่น กู้ได้ไม่เกิน 2-3 เท่าของเงินเดือน ชาระ ภายใน 3 ปี มีการประชุมแรงงานลูกหนี้ทุกเดือน เพื่อติดตามหนี้และการพัฒนาด้านอื่นๆ ของแรงงาน เป็นต้น ธนาคารแรงงานจะใช้แนวคิด “หนี้พัฒนาคน” คล้ายกับธนาคารเพื่อคนจน หรือธนาคารกรามัน ที่ดร.ยูนุส สร้างขึ้นมาในประเทศบังคลาเทศ ประการที่สาม การผูกขาดทางธรรมชาติ คือ การผูกขาดที่สามารถต่อสู้กับทุน ใหญ่ได้ สู่ข้อเสนอนโยบายโมเดลสามหนึ่ง เพื่อค้นหาทุนของท้องถิ่น ในวงการธุรกิจจะเน้นการแข่งขันมาก และในการแข่งขัน ทุนใหญ่มักจะชนะเสมอ สิ่งที่ท้องถิ่นจะ แข่งขันกับทุนใหญ่ได้ คือ การใช้ลักษณะการผูกขาดเชิงท้องถิ่น คือ มีทรัพยากรบางอย่างของบาง ท้องถิ่น ที่คนอื่นไม่มี เป็น การผูกขาดโดยธรรมชาติ (Natural Monopoly) เช่น นครศรีธรรมราชมี กีฬาวัวชน ก็สามารถสร้างให้กลายเป็นเศรษฐกิจเชิงวัฒนธรรม ทาให้นครฯเป็นแหล่งศูนย์กลางกีฬาวัว ชน สิ่งที่เกิดขึ้นตามมา คือ เกิดกติกาใหม่ๆ เกิดการพัฒนาทุ่งหญ้าเลี้ยงวัวชน เกิดการพัฒนาคัดเลือก พันธ์วัว เกิดอุตสาหกรรมนวมสวมเขาวัว เกิดอุตสาหกรรมหนังวัว อุตสาหกรรมเนื้อวัว และ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวได้ นอกจากนี้ประเทศไทยมีทุนธรรมชาติอยู่แล้ว คือ การพัฒนาอาหารประจาถิ่น แนวคิด การ ผลิตอาหารท้องถิ่น คือ 1.การผลิตอาหารตามฤดูกาล 2 ความสดใหม่ 3.การปรุงแต่งใส่สิ่งประกอบลงไป 4. ความสวยงาม เช่น จาปาดะของภาคใต้ เป็นอาหารอร่อย และต้านมะเร็งได้ด้วย ควรต่อยอดขึ้นไป สร้างให้เป็นผลิตภัณฑ์ผูกขาดโดยท้องถิ่น ต้องหาให้เจอและทาเป็นเศรษฐกิจท้องถิ่น ฉะนั้น ของดีท้องถิ่น ล้วนแต่เป็นคุณค่าทางธรรมชาติ (Natural value) คุณค่าทางวัฒนธรรม (Cultural Value) สามารถแปรเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ (Economic value) แล้วเอามูลค่าทาง เศรษฐกิจไปพัฒนาคุณค่าทางวัฒนธรรม ขับเคลื่อนท้องถิ่นทั้งประเทศ สุดท้ายแล้วเศรษฐกิจท้องถิ่น แบบนี้ จะกลายเป็นความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ (Comparative Advantage of Local Economy) นี่ คือแนวคิดการสร้างเศรษฐกิจท้องถิ่น สิ่งเหล่านี้จะทาให้สู้ทุนใหญ่ได้ เพราะเขาผลิตที่อื่นๆ ไม่ได้ แต่ ท้องถิ่นทาได้ และต้องทาให้สิ่งเหล่านี้เป็นของท้องถิ่น การแสวงหาการผูกขาดทางธรรมชาติไม่ใช่เรื่อง ง่าย อันนี้คือทุนที่หายาก ต้องพึ่งนักวิจัยนักวิชาการ ข้อเสนอทางนโยบาย คือ ทา Master Plan สร้าง เป็นนโยบายสามหนึ่ง 1 ข้าราชการ 1 นักวิจัย 1 ชุมชน เพื่อวิจัยค้นหาทุนดังกล่าวออกมาให้ได้
  • 9. 7 ประการที่สี่ ความเป็นไปได้อยู่ที่การค้าเล็กการค้าน้อย (SMIs) เราจะทาอย่างไรให้ธุรกิจเล็กธุรกิจน้อยบานสะพรั่ง ความเป็นไปได้อยู่ที่การค้าเล็กการค้าน้อย SMIs (Small and Micro Enterprise) แต่ในไทย SMIs หายไปจานวนมาก ทุกวันนี้โดนค้าปลีกสมัยใหม่ ของทุนใหญ่กลืนหมด ทั้งที่เป็นอาชีพที่เป็นกลไกสาคัญของการกระจายรายได้ การทาให้เกิดธุรกิจเล็กๆ บานสะพรั่ง ต้องทาให้โชห่วยได้เกิดและอยู่รอด โดยทาให้เขามีส่วนแบ่งตลาดได้มากขึ้น ต้องสร้างกลไก ขึ้นมา ยกตัวอย่าง ในเยอรมัน การค้าปลีกสมัยใหม่ (modern trade) กับการค้าแบบดั้งเดิม (traditional trade) ไปด้วยกันดีมาก ห้างค้าปลีกสมัยใหม่ขนาดใหญ่ 20.00 น. ต้องปิด แต่ร้านเล็กๆ เปิดได้ถึง 24.00 น. และห้างใหญ่ต้องห่างกัน 20 กิโลเมตร ตรงกลางจะเป็นร้านค้าเล็กๆ น้อยๆ เพื่อให้อยู่ด้วยกันได้ คน ซื้อของเล็กๆ น้อยๆ ก็จะซื้อจากร้านเล็ก ราคาจะสูงกว่าเล็กน้อยแต่ประหยัดเวลาและค่าเดินทาง ถ้าซื้อ มากๆ ก็เดินทางไปซื้อจากห้างใหญ่ ที่ราคาอาจจะถูกกว่า ในอิสราเอล ห้างขนาดใหญ่เป็นของสหกรณ์ ร้านเล็กๆ เป็นของส่วนบุคคล ในสวีเดน ร้านโชห่วยท้องถิ่นบางร้านอายุ 1000 กว่าปี เพราะเป็นอาชีพ ของคนค้าขายที่ต้องอยู่คู่กันกับประชาชนส่วนใหญ่ ฉะนั้น เราสามารถใช้นโยบาย 3 คุม คุมพื้นที่ คุมราคา คุมเวลา ที่ใช้ทั่วโลก เพื่อให้รายเล็กแข่งกับรายใหญ่ได้ แต่ประเทศไทยกลับทาไม่ได้ เสนอรัฐบาลกี่ครั้งก็ ไม่เคยผ่าน ประการที่ห้า การใช้ระบบดิจิตอลในการแลกเปลี่ยนสินค้ากับสินค้า (Digital Barter System) ให้เกิดประโยชน์ ในการที่เราจะทาให้กลุ่มธุรกิจรายเล็กรายน้อยบานสะพรั่งขึ้นมา เพื่อให้เกิดการส่งเสริม เศรษฐกิจท้องถิ่น ในยุคนี้ที่เป็นยุค Digital Economy การแลกเปลี่ยนเป็นไปอย่างสะดวกมาก เรามี เทคโนโลยีมากขึ้น ควรนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ ถ้าเราทาให้ทุกคนเข้าถึงสิ่งเหล่านี้ในราคาถูก ให้คน เป็นเจ้าของเทคโนโลยี และถ้ารัฐบาลต้องการทาลายการผูกขาดของทุนใหญ่ ระบบ digital barter ต้อง เกิดขึ้น เช่น คนใต้ขาดแคลนข้าวหอมมะลิ อีสานขาดอาหารทะเล ดังนั้น เราน่าจะสามารถนา ข้าวหอม ไปแลกกับสินค้าอาหารทะเล ถ้าใช้ digital barter โดยมีการตีมูลค่า เช่น ข้าวหอม 1 ตันคิดเป็นเงิน เท่าไหร่ แล้วปลา 100 กิโลกรัมคิดเป็นเงินเท่าไหร่ แลกกันได้ไหม โดยมีการขนส่งทางไปรษณีย์ราคาถูก เป็นตัวช่วย จะทาให้การแลกเปลี่ยนเกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ ไม่ต้องผ่านทุนใหญ่อีกต่อไป
  • 10. 8 ตัวอย่างการพัถนาเศรษฐกิจท้องถิ่น เมืองยะลา คุณพงษ์ศักดิ์ ยิ่งชนม์เจริญ1 ก่อนเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบ ยะลาเคยเป็นศูนย์กลางในทุกๆ เรื่อง ทั้งศูนย์กลางทางการค้า ศูนย์กลางทางการศึกษา ศูนย์กลางทางการปกครอง ราคาที่ดินสูงเป็นอันดับต้นๆ ของประเทศ แต่ หลังจากเกิดเหตุการณ์ เมืองก็เปลี่ยนไป เทศบาลจึงต้องพยายามทาให้สังคมทั้งพุทธ มุสลิม คนจีน เกิด ความสงบสุข ไม่ย้ายออกไป กระทั่งสองปีที่ผ่านมา สถานการณ์เมืองยะลาเริ่มดีขึ้นด้วยเหตุผลหลัก 4 ประการ ดังนี้ 1) กรณีของภาคใต้คล้ายๆ กับกรณีพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยล่มสลาย จากการที่โลก อาหรับแตกแยก เริ่มอ่อนแอ ไม่เกิดความเป็นเอกภาพ ส่งผลให้ขบวนการในประเทศไทย อ่อนแอลงเช่นกัน 2) ในช่วง 13 ปีที่ผ่านมา คนในพื้นที่เริ่มเปลี่ยนแนวคิด เริ่มสับสนว่าควรจะต้องอยู่ฝ่ายไหนกันแน่ 3) โลกโซเชียลมีเดียที่รวดเร็วขึ้น ทาให้ขบวนการก่อการร้ายถูกจากัดการเคลื่อนไหว ลดโอกาสใน การวางคาร์บอมบ์ 4) เมื่อเศรษฐกิจแย่ลง ปากท้องย่อมมาก่อนอุดมการณ์ คนจึงเอาเวลามาทามาหากิน ทาไมเศรษฐกิจยะลาจึงซบเซา นักธุรกิจท่านหนึ่งเป็นเอเยนต์ของมิซูบิชิในสามจังหวัดกล่าวว่า “ยอดขายในยะลาน้อยกว่า นราธิวาสเสียอีก” พอไปดูรายได้ประชาชาติต่อหัวของจังหวัดยะลา พ.ศ. 2555 อยู่ที่ 113,000 บาทต่อ คน แต่พอมาถึง พ.ศ. 2558 รายได้ต่อหัวกลับลดลงมากกว่า 24,000 บาทต่อคน เหลือเพียง 89,000 บาทต่อคน ในขณะที่จังหวัดปัตตานีกับนราธิวาส รายได้ต่อหัวลดลงประมาณ 10,000 บาทเท่านั้น เกิด เป็นคาถามว่า เหตุใดรายได้ต่อหัวเมืองยะลาจึงลดลงมากกว่าเมืองอื่นที่เกิดเหตุการณ์ความไม่สงบ เช่นเดียวกัน สรุปออกมาได้ 3 ประการ ดังนี้ เหตุผลแรก คือ รูปแบบการคมนาคมของประชาชนเปลี่ยนแปลงไป จากเดิมที่เมืองยะลาเป็น ชุมทางรถไฟเช่นเดียวกับเมืองทุ่งสง พอสายการบินโลว์คอสต์เข้ามา ถนนหนทางดีขึ้น คนก็ใช้ระบบราง น้อยลง ทาให้ความเป็นศูนย์กลางของเมืองยะลาที่คนต้องเดินทางมาขึ้นรถไฟที่ยะลาหายไปหมด เหตุผลที่สอง คือ โครงสร้างเศรษฐกิจยะลาพึ่งพิงยางพารากับผลไม้มาก ในขณะที่ปัตตานีมี ประมง และนราธิวาสมีด่านการค้าชายแดนมากถึง 3 ด่าน (ตากใบ บูเก๊ะตาและสุไหงโกลก) แม้ยะลาจะ 1 นายกเทศมนตรีเทศบาลนครยะลา
  • 11. 9 มีด่านเบตง แต่เมืองเบตงก็อยู่ห่างจากตัวเมืองยะลาและเดินทางไปลาบากมาก ความเชื่อมโยงทาง เศรษฐกิจระหว่างเบตงกับยะลาจึงไม่มีผลต่อกันมาก เหตุผลที่สาม คือ ยะลามีจานวนประชากรเพียง 520,000 คน น้อยกว่าปัตตานีที่มี 700,000 คน และนราธิวาสที่มี 790,000 คน เพราะฉะนั้น ในแง่ของการบริโภคครัวเรือน ซึ่งในอดีตไม่ค่อยเห็นได้ชัด เพราะคนสามจังหวัดส่วนใหญ่ต้องมาใช้จ่ายที่ยะลาเป็นหลัก ต่างกับปัจจุบันที่แต่ละเมืองต่างมีสนามบิน ของตัวเอง ไม่ต้องพึ่งเมืองศูนย์กลางแล้ว พลังของการบริโภคครัวเรือนของเมืองอื่นจึงเห็นชัดขึ้น จานวน ประชากรจึงเป็นปัจจัยสาคัญหนึ่งของการพัฒนาเศรษฐกิจเมือง กล่าวคือ เมืองไหนมีคนเยอะ การ จับจ่ายใช้สอยก็มากตามไปด้วย ทุนของเมืองยะลา หลังจากทราบเหตุผลแล้ว เราก็ต้องหาวิธีฟื้นเมือง แต่พอไปเชิญสถาบันไหนมาช่วยยะลาก็ไม่ ค่อยมีใครมา ส่วนหนึ่งเป็นเพราะภาคใต้ถูกผูกขาดทางวิชาการไว้กับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มาก เกินไป ทาให้หลายเมืองขาดแคลนความรู้ทางวิชาการที่คอยสนับสนุนช่วยเหลือประชาชน เราจึงต้องพึ่ง ตัวเองโดยเริ่มจากการหาทุนที่เรามีที่เป็นทุนของท้องถิ่นเอง แล้วสรุปออกมาเป็นทุนของเมืองยะลา 5 ประการ ดังนี้ หนึ่ง ความสะอาด เพราะคนมักพูดถึงว่ายะลาเป็นเมืองสะอาด สอง ความเป็นระเบียบเรียบร้อย เพราะเรามีผังเมืองที่ดี ถูกจัดระเบียบมาเป็นอย่างดี สาม ความอุดมสมบูรณ์ เพราะยะลาปลูกผลไม้อะไรก็อร่อย โดยเฉพาะลองกอง ส้มโชกุน ทุเรียนหนามดา กล้วยหิน อีกทั้งเมล็ดกาแฟโรบัสต้าและไม้ยางยะลาก็คุณภาพดีที่สุด สี่ การศึกษา ในภาคใต้ ยะลาอาจเป็นจังหวัดเดียวที่มีการศึกษาครบทุกด้าน โรงเรียนตารวจ วิทยาลัยพยาบาล วิทยาลัยสาธารณสุข โรงเรียนกีฬา ซึ่งเป็นอานิสงส์มาจากการที่เมืองยะลาเป็นชุมทาง รถไฟมาตั้งแต่อดีต ห้า วัฒนธรรม คือ การอยู่ร่วมกันระหว่างชาวไทยพุทธ มุสลิม ไทยจีน ยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองยะลา หนึ่ง ปรับโครงสร้างทางโลจิสติกส์ (Restructuring of Logistics System) มุ่งให้ยะลา กลับมาเป็นเมืองศูนย์กลางให้ได้ ไม่ว่าจะทาศูนย์กระจายสินค้า ตัดถนน ทารถไฟทางคู่ โดยเน้นให้สาม จังหวัดชายแดนใต้มีความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจก่อน แล้วค่อยเชื่อมโยงกับภูมิภาคอื่น สอง ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ (Restructuring the Economy) โดยเริ่มจากทุนความสะอาดที่ คนต่างพากันอยากมาดูงานที่ยะลา ส่งเสริมให้ประชาชนลุกขึ้นมาดูแลความสะอาด โดยไม่ต้องไม่มี เทศบาลมากากับ พร้อมกันนั้นก็พยายามให้บริการสาธารณะอยู่ภายใต้เทศบาล ไม่ปล่อยให้บริษัทหรือ
  • 12. 10 หน่วยงานใดมาเป็นเจ้าของ มิเช่นนั้นประชาชนก็จะถูกเก็บค่าธรรมเนียมตลอด ซึ่งจะกระทบความ ได้เปรียบทางการแข่งขันและรายได้ของเมือง ในขณะเดียวกัน ทุนความอุดมสมบูรณ์ที่เรามีก็ต้องฟื้นมันขึ้นมา ยะลาจึงร่วมมือกับ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่วิจัยพืชผลไม้ที่เป็นอัตลักษณ์ของยะลา เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม ทานองเดียวกัน เราก็ ทาแบรนด์ของเมืองในนามว่า เมืองแห่งนก (Bird City) ยะลาจัดงานแข่งนกเขาเหมือนจัดโอลิมปิก เป็น งานแข่งขันนกเขาที่ใหญ่ที่สุดในอาเซียน มีนกเข้าร่วมแข่งขันมากกว่า 3,000 ตัว แต่ละตัวมีมูลค่าเป็น หลักล้านบาท นี่คือสิ่งที่เราพยายามสร้างแบรนด์ให้กับเมือง สุดท้ายในอนาคต ผมตั้งเป้าหมายให้ยะลา เป็นเมืองสันติสุข (Harmonized City) ที่สามารถอยู่ร่วมกันได้ทั้งระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ และระหว่าง มนุษย์กับธรรมชาติ จนนาไปสู่ความยั่งยืน สาม ปรับภาพลักษณ์ (Reimage) เนื่องจากเมืองยะลายังมีปัญหาภาพลักษณ์ พอพูดถึงยะลา คนก็ยังกลัว จึงต้องปรับภาพลักษณ์เมืองยะลาให้ดีขึ้น ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ขั้น คือ ขั้นที่หนึ่ง คิดใหม่ (Rethink) เริ่มจากทาให้คนในไม่กลัวก่อน เราที่เป็นผู้นาต้องทาให้เห็น เช่น ปั่นจักรยานพาชาวบ้านเข้าป่าไปทาฝายมีชีวิต ไปปลูกต้นไม้ พอทาบ่อยครั้งเข้า ทัศนคติคนเรามันก็เริ่ม เปลี่ยน ความรู้สึกที่เขากลัวบ้านเขาเองก็เริ่มหาย จากนั้นก็พยายามปรับความคิดของคนภายนอก เวลา จัดกิจกรรมก็ถ่ายทอดสดลงเฟซบุ๊กทาให้เห็นกันทั่วโลก ขั้นที่สอง ทำให้เมืองสดใหม่ (Refresh) เพื่อให้ เมืองคึกคัก มีความหมาย สดชื่น เช่น การติดไฟ LED ทั่วเมือง ปกติเรามองว่าไฟมีประโยชน์แค่ให้แสง สว่าง แต่ในมุมมองของ Light Planner เขามอง 5 ด้าน ได้แก่ ความปลอดภัย ความสวยงาม ความ เหมาะสม ความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และความสะท้อนถึงอัตลักษณ์ท้องถิ่น พอทุกคนมาดูไฟก็ต้อง มาดูกลางคืน ต้องมาพักค้างคืน เศรษฐกิจเมืองก็เกิด ขั้นสุดท้ำย จัดกิจกรรมใหม่ (Reevents) เมืองยะลา รับเป็นเจ้าภาพทุกกิจกรรม พร้อมทั้งมอบทุนให้นักธุรกิจรุ่นหนุ่มสาวไปลงทุน เช่น ทาสตรีทอาร์ต จุดมุ่งหมายหลักคืออยากได้ไอเดียจากคนหนุ่มสาวและอยากสร้างความรู้สึกเป็นเจ้าข้าวเจ้าของเมือง ให้กับเขา
  • 13. 11 เมืองทุ่งสง ประตูสู่เศรษฐกิจโลก คุณทรงชัย วงษ์วัชรดำรง2 ทุ่งสงเป็นเมืองชุมทางระบบรางเมื่อร้อยปีก่อน เป็นแหล่งส่งออกแร่ดีบุกจากทุ่งสงไปปีนังผ่าน ท่าเรือกันตัง เราต้องมองย้อนไปถึงประวัติศาสตร์เมืองทุ่งสงว่า เดิมทาไมเราถึงเป็นชุมทาง ทาไมเรามี ธนาคารสยามกัมมาจลเป็นแห่งแรกของภาคใต้ นั่นแสดงให้เห็นว่าภูมิศาสตร์ของเมืองทุ่งสงที่เป็นสะดือ ของภาคใต้ คืออยู่กึ่งกลางของภาคใต้ คั่นระหว่างคาบสมุทรอันดามันและอ่าวไทยพอดี การขนส่งระบบ รางที่เขาสร้างไว้แล้ว ถ้าได้รับการบูรณะให้สมบูรณ์ร้อยเปอร์เซ็นต์ เมืองทุ่งสงก็จะเจริญขึ้นมาก ท้องถิ่น เล็งเห็นโอกาสดังกล่าว จึงเสนอให้ใช้ที่ดินการรถไฟทั้งหมด 85 ไร่ ทาเป็นศูนย์กระจายสินค้าภาคใต้ ขึ้นมา โดยใช้งบประมาณกลุ่มจังหวัดเป็นหลักและมีบริษัทศรีตรังเป็นผู้สัมปทานการบริหารจัดการ หลังจากโครงการนี้เกิดขึ้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเข้าร่วมประชุมระดมความคิดเห็นกันมา อย่างต่อเนื่องจนเกิดเป็นเครือข่ายหลักๆ 4 เครือข่าย ดังนี้ หนึ่ง เครือข่ายส่วนราชการหรือหน่วยงานรัฐ โดยเฉพาะคณะกรรมการประสานความร่วมมือ แบบบูรณาการและติดตามผลฯ เป็นกลุ่มขับเคลื่อนขอรับการสนับสนุนงบประมาณร่วมกับเทศบาลเมือง ทุ่งสง ประกอบด้วยตัวแทนจากหน่วยงานทุกภาคส่วนและส่วนราชการ เช่น กระทรวงมหาดไทย กระทรวงคมนาคม สานักงานจังหวัดนครศรีธรรมราช โยธาธิการฯ แขวงทางหลวงชนบทจังหวัด นครศรีธรรมราช อบจ.นครศรีธรรมราช เทศบาลตาบลชะมาย เป็นต้น สอง เครือข่ายภาคเอกชน สถานประกอบการ ได้แก่ กลุ่มธุรกิจยางพารา กลุ่มธุรกิจปลีกส่ง กลุ่มปูนซีเมนต์ กลุ่มธุรกิจโลจิสติกส์ คอยให้ข้อมูลปริมาณสินค้า เข้ามาลงทุนและใช้บริการศูนย์กระจาย สินค้า โดยมีผาทอง ทุ่งสงสี่สวัสดิ์ ยูนิรับเบอร์ ศรีตรังเป็นผู้ริเริ่มขับเคลื่อนโครงการ และมีสภา อุตสาหกรรมจังหวัดเป็นผู้ให้ความรู้ ข้อมูล และศึกษาดูงานร่วมกัน สาม เครือข่ายภาควิชาการและองค์กรวิชาชีพ โดยมีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เข้ามาร่วม ประเมินโครงการและจัดทาแผนธุรกิจ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ส่ง ดร.จรรยา ชาญชัยชูจิต นักวิชาการ ด้านโลจิสติกส์มาให้คาปรึกษา มหาวิทยาลัยราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราชคอยให้ คาปรึกษาด้านโลจิสติกส์ จนปัจจุบันได้เปิดสาขาการจัดการโลจิสติกส์ ส่วนสถาบันสิ่งแวดล้อมไทยมี หน้าที่ให้คาปรึกษา ประสานงานกับเครือข่ายวิชาการอื่นๆ โดยเฉพาะธนาคาร ADB สี่ เครือข่ายองค์กรระหว่างประเทศ คือ เครือข่าย GIZ และสถานทูตเยอรมัน ที่นานักธุรกิจ เยอรมันและนักธุรกิจไทย ส่วนราชการ ภาคเอกชน กับประชาชนร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน 2 นายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองทุ่งสง
  • 14. 12 ธนาคาร ADB ที่เข้ามาศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ รวมไปถึงแผนงาน IMT-GT ที่บรรจุโครงการ ศูนย์กระจายสินค้าภาคใต้ – ทุ่งสงเข้าไปด้วย จากการดาเนินการโครงการนี้ ก่อให้เกิดผลดีหรือผลประโยชน์โดยตรง 3 ประการด้วยกัน ดังนี้ 1) เทศบาลเมืองทุ่งสงมีรายได้มากขึ้น ช่วยลดภาระของรัฐในการอุดหนุน เนื่องจากการเปิดให้ เช่า บริหารจัดการลานเก็บตู้คอนเทนเนอร์ เพื่อรับส่งสินค้าด้วยระบบรางทั้งสองระยะนั้น ทา ให้เทศบาลมีรายได้มากกว่า 4.5 ล้านบาทในปี 2560 2) ปัญหาจราจร ความคับคั่งของรถบรรทุกสินค้าบนท้องถนน อุบัติเหตุ ความสูญเสียในชีวิต และทรัพย์สินลดลง เนื่องจากโครงการนี้ทาให้ปริมาณรถขนส่งบนถนนลดลงไปกว่า 10,400 คันต่อเดือน ทาให้ลดความเสี่ยงที่จะเกิดอุบัติเหตุและยังช่วยลดงบประมาณในการซ่อมแซม และก่อสร้างถนนด้วย 3) กลุ่มอุตสาหกรรมการเกษตรและการขนส่งมีต้นทุนการขนส่งลดลงและมีทางเลือกในการ ขนส่งมากขึ้น เนื่องจากการเปลี่ยนมาใช้การขนส่งด้วยระบบราง ทาให้ต้นทุนการขนส่ง ลดลงไปกว่าร้อยละ 16.66 ต่อตู้ ส่วนกลางต้องเสริมท้องถิ่น เชื่อมโยงเศรษฐกิจประเทศ อย่างไรก็ตาม หลายโครงการพอมันเกิดจากล่างขึ้นบนแล้ว ส่วนกลางมักมองว่าไม่ใช่นโยบาย ของเขา เพราะเขาเห็นว่าท้องถิ่นเดินเองได้ ส่วนกลางก็มักจะช่างมันปล่อยมัน ทั้งที่ถ้าหากส่วนกลาง ช่วยเมืองทุ่งสงในเรื่องการวางระบบรางในระดับประเทศ มันจะไม่ได้ผลักเพียงการส่งออกแค่ในทุ่งสง แต่ มันยังเชื่อมโยงการส่งออกระหว่างภูมิภาคและอาจส่งต่อออกนอกประเทศได้ด้วย เช่น น้าตาลจากอีสาน ข้าวสารจากภาคเหนือ ก็จะขนส่งลงมาทุ่งสงผ่านระบบรางได้ง่ายขึ้น นอกจากนี้ การสร้างความเชื่อมั่น ให้ผู้ประกอบการนั้น ภาครัฐต้องสนับสนุน มิใช่ปล่อยไปตามยถากรรมให้เขาสู้ด้วยตัวเอง บ่อยครั้งที่ ภาคเอกชนเสนอโครงการที่ดีมีประโยชน์แต่ขาดเจ้าภาพ ส่วนหนึ่งเพราะข้าราชการระดับสูงอย่างผู้ว่า ราชการจังหวัด นายอาเภอก็ไม่คิดจะอยู่นาน อยากจะเลื่อนตาแหน่งไปเป็นอธิบดี รองปลัด กว่าท้องถิ่น จะปรับความคิดปรับความเข้าใจกับคนจากส่วนกลางได้ เขาก็ย้ายไปแล้ว แม้ประเทศเรามีความพร้อมสูง แต่ขาดความต่อเนื่อง
  • 15. 13 เมืองบุรีรัมย์ Destination Sport City คุณจตุพร รังษิณำภรณ์3 จังหวัดบุรีรัมย์ เดิมเป็นจังหวัดที่มีภูเขาไฟมากที่สุดในโลก แต่ดับไปหลายพันปีแล้ว หลายพื้นที่ ในจังหวัด ดินจะมีแร่ธาตุที่เกิดจากภูเขาไฟ เช่น ฟอสฟอรัส เหล็ก แมงกานีส และโพแทสเซียม เป็นต้น ซึ่งสินค้าเกษตรที่ขึ้นชื่ออย่างหนึ่งคือ ข้าวภูเขาไฟ เป็นข้าวที่ปลูกในพื้นที่ดินภูเขาไฟ ทาให้ข้าวมี ลักษณะพิเศษ คือ หอม หวาน อร่อย และมีวิตามินและแร่ธาตุมาก ไม่เพียงเฉพาะข้าว แต่พืชพันธุ์ เกษตรอื่นๆ ที่ปลูกในพื้นที่ก็จะมีแร่ธาตุต่างๆ เหล่านี้เช่นกัน รวมถึงน้าแร่ซึ่งคาบเกี่ยวไปถึงจังหวัด นครราชสีมา ก็มีแร่ธาตุเช่นเดียวกัน ตรงนี้ เป็นทรัพย์ในดินของบุรีรัมย์ เป็นหนึ่งในของดีจังหวัดบุรีรัมย์ ซึ่งควรจะได้รับการทาเป็นสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ )Geographical Indications หรือ GI)4 ซึ่งขณะนี้ยังไม่ เกิดขึ้น มีการพยายามผลักดันเรื่องนี้มานานแล้ว แต่ไม่ได้รับการช่วยเหลือเท่าที่ควร เนื่องจากผู้ว่า ราชการของบุรีรัมย์มีการเปลี่ยนทุกปี นอกจากนี้ยังมีผ้าไหมตีนแดงที่มีการทอมือเป็นลักษณะพิเศษ แต่ ตัวนี้ได้รับ GI ไปแล้ว และได้รับการโปรโมตอยู่ เศรษฐกิจท้องถิ่นที่เกิดจากความภูมิใจ เดิมจังหวัดบุรีรัมย์ขึ้นชื่อว่ายากจนมากอันดับต้นๆ ของประเทศ รองจากศรีสะเกษ จนมีคากล่าว ว่า “บุรีรัมย์ตาน้ากิน”แต่ภายหลังมีการทาเรื่องของการกีฬา สร้างสนามฟุตบอล I-mobile และเปลี่ยนชื่อ เป็น สนามช้างอารีน่า ยังมีสนามแข่งรถ ช้าง อินเตอร์เนชั่นแนล เซอร์กิต เรื่องนี้ต้องยกความดีให้คุณ เนวิน เพราะในตอนแรก เราไม่เคยคิดว่าจังหวัดของเราจะไปได้ไกลขนาดนี้ บุรีรัมย์เกิดความเปลี่ยนแปลงขึ้นอย่างรวดเร็ว จากที่ดินไม่มีราคากลายเป็นราคาแพงมาก เช่น ที่ดินตรงข้ามสนามฟุตบอลช้างอารีน่า เมื่อก่อนราคาไร่ละประมาณ 1แสนบาท ตอนนี้มีคนขอซื้อ 10 ล้านบาทเจ้าของยังไม่ขาย ราคาอาจพุ่งไปถึง20ล้านบาท ในด้านการขนส่งก็เช่นกัน สนามบินบุรีรัมย์ ได้รับการปรับปรุง จากมีเที่ยวบินมาลงอาทิตย์ละ1เที่ยวบิน ตอนนี้มีวันละหลายเที่ยวบินแล้ว และ ล่าสุด บุรีรัมย์กาลังจะได้รับให้เป็นเมืองDestination Sport City นอกเหนือจากการกีฬาแล้วยังมีเรื่อง ของวิทยาศาสตร์การแพทย์และเทคโนโลยีด้วย เพิ่งมีการตั้งทีมเกมส์ของจังหวัดไป 3 ผู้บริหาร บริษัท บุรีรัมย์สหสินข้าวไทย จากัด 4 เป็นทรัพย์สินทางปัญญาประเภทหนึ่ง ซึ่งจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีความเชื่อมโยง (Links) ระหว่างปัจจัยสาคัญสองประการ คือ ธรรมชาติ และมนุษย์ กล่าวคือ ชุมชนได้อาศัยลักษณะเฉพาะที่มีอยู่ในแหล่งภูมิศาสตร์ตามธรรมชาติ เช่น สภาพดินฟ้ าอากาศ หรือวัตถุดิบเฉพาะ ในพื้นที่ มาใช้ประโยชน์ในการผลิตสินค้าในท้องถิ่นของตนขึ้นมา ทาให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณลักษณะพิเศษที่มาจากพื้นที่ดังกล่าว คุณลักษณะพิเศษนี้อาจหมายถึง คุณภาพ ชื่อเสียงหรือคุณลักษณะเฉพาะอื่นๆที่มาจากแหล่งภูมิศาสตร์นั้นๆ ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ http://www.ipthailand.go.th/th/gi-011/item/ความรู้เบื้องต้น-เรื่องสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์.html
  • 16. 14 สิ่งที่น่าทึ่งมาก คือ ทุกคนในจังหวัดรักจังหวัดมาก เกิด Sense of Belonging ยกตัวอย่าง เสื้อ ทีมบุรีรัมย์ยูไนเต็ด ตอนเริ่มแรกราคาเพียง 200- 300 บาท ยังไม่ค่อยมีคนซื้อใส่ แต่ตอนนี้ ราคาขึ้นมา เกือบ 1, 000บาท แต่คนก็ใส่กันทั้งจังหวัด คนบุรีรัมย์หันมารักจังหวัดตัวเองมากขึ้น คนบุรีรัมย์ที่ไปอยู่ ต่างประเทศก็กลับมาอยู่บ้านเป็นจานวนมาก มีอาชีพเสริมเป็นเจ้าของโรงแรม รวมถึงร้านอาหารและ กิจกรรมต่างๆ ที่ส่่งเสริมการท่องเที่ยว คนบุรีรัมย์มีที่กินข้าว ช้อปปิ้ง และสามารถออกไปเอนเตอร์เทน ตัวเองได้ ตอนเย็นๆ ทุกคนจะไปรวมตัวกันออกกาลังกาย นี่เป็นสิ่งที่ดีมาก และที่สาคัญ เศรษฐกิจของ บุรีรัมย์ก็เติบโตไปโดยปริยาย ร้านโอทอปขายดี ทุกคนอยากให้บ้านตัวเองดี ทุกคนจึงช่วยเหลือกัน ทุก คนใส่เสื้อทีมฟุตบอล คนที่ทางานในสนามกีฬาก็ล้วนแต่เป็นคนบุรีรัมย์ ไม่ได้จ้างคนมาจากข้างนอก ไม่ ว่าจะเป็นทีมโปรโมต ทีมคัทเอาท์ เป็นต้น เขาเอาคนรุ่นใหม่ที่เป็นลูกหลานคนบุรีรัมย์เข้ามาร่วมทีม มาร่วมทาแผนทั้งหมด นอกจากนี้ยังมีการนาเข้าอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับรถยนต์และรถแข่ง ซึ่งช่วย กระตุ้นเศรษฐกิจในจังหวัดด้วย นอกจากนี้ ยังเกิดตลาดนัดถนนเซาะกราว ซึ่งเป็นสิ่งที่ดี ผู้ขายจะเป็นคนบุรีรัมย์ทั้งหมด ไม่ใช่ คนต่างถิ่นมาขาย เป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจ และเป็นจุดดึงนักท่องเที่ยวหลังจากดูบอลเสร็จก็มาเดินเที่ยว ตลาดนัดต่อ ตรงจุดนี้จังหวัดอื่นๆ น่าจะสามารถนาไปทาตามได้ เศรษฐกิจของบุรีรัมย์ดีขึ้นมาก เกิดการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มีการเคลื่อนไหวอยู่ตลอด ทุกคนอยากจะลงทุน อยากใช้จ่าย เกิด Sense of Belonging ทุกคนช่วยกันเพราะอยากให้บ้านตัวเองดี ขึ้น ถ้าพูดถึงในภาวะปัจจุบันที่คนรู้สึกว่าเศรษฐกิจไม่กระเตื้อง แต่สาหรับคนบุรีรัมย์จะรู้สึกว่าเศรษฐกิจ ของตนดีขึ้นกว่าเดิมมาก
  • 18. 16 รายชื่อปู้เข้าร่วมประชุม 1. ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ อธิการวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 2. รศ.ดร.ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ อาจารย์คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3. คุณพงษ์ศักดิ์ยิ่งชนม์เจริญ นายกเทศมนตรีเทศบาลนครยะลา 4. คุณทรงชัย วงษ์วัชรดารง นายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองทุ่งสง 5. รศ.ดร.จานง สรพิพัฒน์ กรรมการบริหาร สมาคมวิจัยวิทยาการขนส่งแห่งเอเชีย 6. รศ.ดร.จักษ์ พันชูเพชร อดีตอาจารย์ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ ม.นเรศวร 7. คุณสุริยนต์ ธัญกิจจานุกิจ ผู้อานวยการสานักพัฒนาเพิ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ สานัก คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 8. คุณยุวดี คาดการณ์ไกล ผู้อานวยการศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจมหาวิทยาลัย รังสิต 9. คุณจตุพร รังษิณาภรณ์ ผู้บริหาร บริษัท บุรีรัมย์สหสินข้าวไทย จากัด 10. คุณปภาวี ด่านชัยวิโรจน์ Young Entrepreneur chamber of commerce จังหวัดอยุธยา 11. คุณกิติมา แถลงกิจ Young Entrepreneur chamber of commerce จังหวัดอยุธยา 12. คุณเพชรชมพู กิจบูรณะ ว่าที่โฆษกพรรครวมพลังประชาชาติไทย
  • 19. 17 ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ ศ.เดชา บุญค้า ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ดร.พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
  • 20. 18 - วารสารการพัฒนาเมือง Vol.1 ว่าด้วยเรื่องวัฒนธรรมของเมือง และนาเสนอการพัฒนาระบบและกลไกพัฒนา เมืองของลาปาง - วารสารการพัฒนาเมือง Vol.2 ว่าด้วยแนวคิดการพัฒนาเมือง Placemaking และนาเสนอเมืองสายบุรี เป็น ตัวอย่างเมืองที่พัฒนาเมืองแบบ Placemaking - วารสารการพัฒนาเมือง Vol.3 ว่าด้วยแนวคิด มุมมอง และตัวอย่างการขับเคลื่อนสู่การเป็นสมาร์ทซิตี้ทั้งใน ไทยและต่างประเทศ - วารสารการพัฒนาเมือง Vol.4 ว่าด้วยเรื่องการพัฒนาเมืองหางโจว ประเทศจีน ที่สามารถรักษาสิ่งแวดล้อม ควบคู่ไปกับการยกระดับเทคโนโลยีและนวัตกรรมได้ - วารสารการพัฒนาเมือง Vol.5 ว่าด้วยแนวคิดเมืองสร้างสรรค์ที่ใช้วัฒนธรรมของเมืองเป็นหัวใจสาคัญในการ สร้างเศรษฐกิจเมือง - วารสารการพัฒนาเมือง Vol.6 ว่าด้วยเรื่องสุขภาวะคนเมือง และการใช้ชีวิตของคนในเมืองใหญ่ Vol.1 Vol.2 Vol.3 Vol.4 Vol.5 Vol.6