SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 16
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ปี ที่ 1 ฉบับที่ 4 กรกฎาคม 2560
เมืองหางโจว
เมืองสิ่งแวดล้อม
หางโจวกับ
การเดินทางสีเขียว
ความปลอดภัย
บนท้องถนนของจีน
หางโจวที่คุณ ‘ต้องรู้’
i | FURD Cities Monitor July 2017
บรรณาธิการ
ยุวดี คาดการณ์ไกล
ผู้ช่วยบรรณาธิการ
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
กองบรรณาธิการ
ณัฐธิดา เย็นบารุง
จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ออกแบบและรูปเล่ม
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ภาพปก
ยุวดี คาดการณ์ไกล
ภาพในเล่ม
จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
ณัฐธิดา เย็นบารุง
เทวินทร์ แซ่แต้
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
สานักข่าว Xinhua
David Banister
Jian Liu
เผยแพร่
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว
แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
CONTACT US
FURD Cities Monitor July 2017 | ii
ฉบับก่อนหน้านี้เราได้เสนอแนวคิด “Smart City” กับการพัฒนาเมือง แต่ลาพังเพียงแค่ความ “Smart”
หรือการมีเทคโนโลยี มีนวัตกรรมในเมืองนั้นอาจยังไม่เพียงพอ เพราะการมุ่งเพียงเป็น “Smart City” โดยขาดมิติ
ด้านอื่นๆ มารองรับ จะทาให้เมืองไม่สามารถเติบโตได้อย่างยั่งยืน สาหรับด้านสิ่งแวดล้อมของเมืองก็เป็นเรื่อง
สาคัญยิ่งในยุคปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นการเพิ่มพื้นที่สีเขียว การประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานทางเลือก
ตลอดจนการป้ องกันปัญหาน้าท่วม ล้วนเป็นหัวใจที่ส่งผลให้เมืองและคนเมืองมีสุขภาวะที่ดี ดังนั้น เมืองจึงต้องมี
ความ “Smart” และ “Green” ควบคู่กันไป
FURD Cities Monitor ฉบับนี้ขอนาเสนอตัวอย่างเมือง "Smart & Green" ที่กาลังมาแรง เป็นเมืองแห่ง
นวัตกรรม พัฒนาเศรษฐกิจอินเทอร์เน็ต มีวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์อันยาวนาน... มีการจัดการสิ่งแวดล้อมที่
เอื้อต่อวิถีชีวิตคนเมือง นั่นก็คือ “เมืองหางโจว” ผู้อ่านสามารถติดตามรายละเอียดได้ในฉบับ
ยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการ
1 | FURD Cities Monitor July 2017
เมืองหางโจว ชื่อนี้ปรากฏโดด
เด่นมากในเวทีโลกเมื่อปลายปีที่แล้ว
เพราะเมืองนี้ถูกคัดเลือกเป็นสถานที่
จัดการประชุมสุดยอดระดับโลก G20
สาหรับคนจีนแล้ว เมืองนี้ไม่ใช่
เมืองใหม่เป็นที่รู้จักกันในฐานะเมืองเก่าแก่
แห่งหนึ่งในทางประวัติศาสตร์ มีความ
รุ่งเรืองทางเศรษฐกิจตั้งแต่สมัยราชวงศซ่ง
เป็นเศรษฐกิจการเกษตรที่ผลิตผ้าไหม ใบ
ชา กระดาษ และงานฝีมือต่างๆ ส่งไป
จาหน่ายทั่วโลก
สาหรับนักท่องเที่ยวต่างชาติ
อย่างเราๆ ถ้าได้ไปเซี่ยงไฮ้แล้ว ก็จะไม่
พลาดแวะเมืองหางโจว บริษัททัวร์ส่วน
ใหญ่ก็มักจัดให้อยู่ในโปรแกรม
อะไรคือเสน่ห์ของหางโจว มีอะไร
น่าดึงดูด จนทาให้เมืองหางโจวกลายเป็น
พื้นที่ที่มีบทบาทสาคัญในวันนี้
ในสื่อจีนมีการตั้งคาถามว่า ทาไม
เมืองหางโจวถึงได้รับเลือกให้เป็นสถานที่
สาคัญของการประชุมสุดยอด G20 ในปี
ล่าสุด ค.ศ.2016 ทาไมรัฐบาลจีนไม่เลือก
เมืองปักกิ่งหรือเซี่ยงไฮ้ ซึ่งเป็นเมืองขนาด
ใหญ่มีความพร้อมทุกด้าน มีผู้ตั้ง
ข้อสังเกตไว้น่าสนใจ ดังนี้
- 2008 รัฐบาลโดยคณะกรรมการ
โอลิมปิคได้เลือก ปักกิ่ง เป็นสถานที่
จัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิค
- 2010 รัฐบาลโดยคณะกรรมการจัด
งานเอ็กซ์โป ได้เลือก
เซี่ยงไฮ้ เป็นสถานที่จัดงาน
เอ็กซ์โปโลก
- 2011 รัฐบาลเลือก
เมืองกวางโจว เป็นสถานที่
จัดกีฬาเอเชี่ยนเกมส์
- 2014 รัฐบาลเลือก
เมืองนานกิง เป็นสถานที่
จัดกรแข่งขันกีฬาโอลิมปิค
เยาวชน
หากวิเคราะห์ดูก็จะพบว่า เมือง
เหล่านี้ล้วนมีจุดเด่นเป็นเมืองอยู่แนวหน้า
First-Tier Cities (ดู Box 1-2) หรือไม่ก็
ใกล้เคียง ส่วนพลังทางเศรษฐกิจล้วนจัดอยู่
ใน 10 ลาดับต้นๆ
การบริหารของรัฐบาลจีนนั้น ก็จะ
มีนโยบายที่มอบหมายให้เมืองสาคัญของ
จีนเป็นสถานที่จัดการแข่งขันระดับโลก
หรือมีการจัดกิจกรรมระดับนานาชาติ ไม่
เพียงแต่จะช่วยปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน
ของเมืองให้ดีขึ้น แต่ยังเป็นโอกาสที่จะ
ยกระดับชื่อเสียง ความสามรถและความ
โดดเด่นของเมือง อีกด้วย
ปักกิ่ง เซี่ยงไฮ้ กวางโจว เป็น
เมืองที่ประสบความสาเร็จเป็นที่รู้จักของ
คนทั่วโลกแล้ว แต่รัฐบาลจีนยังรู้สึกว่าเมือง
ระดับแนวหน้ายังมีไม่พอ ยังต้องช่วย
พัฒนาเมืองอื่นๆขึ้นมาให้อยู่ในระดับ First-
Tier Cities เพิ่มมากขึ้น
หางโจว จึงเป็นเมืองหนึ่งที่กาลัง
ถูกฟูมฟักยกระดับขึ้นมาให้อยู่แนวหน้า
กล่าวกันว่าในช่วงที่ผ่านมา การพัฒนาของ
หางโจวเริ่มเกิดเป็นคอขวด แม้มีการ
พัฒนามากแต่ก็ยังรู้สึกขาดอะไรบางอย่าง
มาบัดนี้ รัฐบาลส่วนกลางของจีนได้เลือก
เมืองหางโจว ให้เป็นเจ้าภาพจัดการ
ประชุมสุดสอด G20 น่าจะมีเหตุผลสาคัญ
ที่เห็นศักยภาพและความพร้อมของ
หางโจวที่ก้าวขึ้นสู่เวทีโลก ดังนี้
เมื่อ
พูดถึงหางโจว เมืองนี้จะให้ภาพทาง
ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมที่สาคัญของจีน
เช่น มีทะเลสาบซีหู มีคลองขุดโบราณ
ขนาดใหญ่และยาวที่สุดในโลก เป็นต้น
ในประวัติศาสตร์จีนเมือง
หางโจวเคยแสดงบทบาทความสัมพันธ์
ระหว่างประเทศอยู่หลายหน เช่น เมื่อครั้ง
ที่นิกสันมาเยือนจีนเพื่อสร้างสัมพันธไมตรี
เจรจาหลายครั้งไม่สาเร็จ จนกระทั่ง
โจวเอินไหลได้เปลี่ยนสถานที่เจรจามาที่
หางโจว สุดท้ายบรรลุข้อตกลงและสามารถ
ออกแถลงการณ์ร่วมได้
เมืองหางโจว
Smart City
Green City
FURD Cities Monitor July 2017 | 2
เมืองหางโจวถือเป็นแกน
หลักของเขตเศรษฐกิจสามเหลี่ยมแม่น้า
แยงซีเกียง จึงถูกจับตามองในด้านการ
พัฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิจ เ ป็ น อ ย่ า ง ม า ก
ขณะเดียวกัน บริษัทอีคอมเมิร์ซที่ใหญ่
ที่สุดในโลกคือ บริษัทอาลีบาบาก็ตั้งอยู่ที่
หางโจว เศรษฐกิจของหางโจวจึงถือได้ว่า
มีพลวัตมากที่สุดเมืองหนึ่งของจีน
ธนาคารโลกยังยกย่องให้หางโจว
เป็นเมืองสิ่งแวดล้อมที่มีการลงทุนใน
ภาพรวมของเมืองได้ดีที่สุดของจีน และ
นิตยสาร Forbes ยกย่องให้หางโจวเป็น
เมืองอันดับหนึ่งของเมืองการค้าที่ดีที่สุด
ของจีน สานักงานใหญ่ของบริษัทรถยนต์
Geely ของจีนที่ซื้อบริษัทรถยนต์วอลโว่ ก็
ตั้งอยู่ที่หางโจว
สาหรับบริษัทอาลีบาบาที่เป็น
ตัวแทนเศรษฐกิจอีคอมเมิร์ซไม่เพียง
สนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจของ
หางโจว ยังเป็นตัวแทนของการพัฒนา
เศรษฐกิจที่เป็นแนวโน้มของโลกในอนาคต
จากการสารวจของ Nielsen แสดงให้เห็น
ว่า บริษัทอีคอมเมิร์ซของหางโจวมีอิทธิพล
อย่างกว้างขวางต่อทั่วทั้งประเทศจีนและ
แม้กระทั่งทั่วโลก ในปัจจุบัน ที่เมือง
หางโจวนับรวมเว็บไซต์ด้านอีคอมเมิร์ซได้
มากกว่าหนึ่งในสามของทั้งประเทศจีน
ในด้านก ารช าระ เงิน ทา ง
อิเล็กทรอนิกส์ คลาวด์คอมพิวติ้ง การ
จัดส่งสินค้าแบบด่วน การตลาดแบบ
ออนไลน์ เทคโนโลยีสารสนเทศ การ
ให้บริการด้านการดาเนินงานและอื่นๆ เป็น
ต้น มีผู้ให้บริการด้านอีคอมเมิร์ซที่
เชี่ยวชาญที่เกิดขึ้นใหม่จานวนมาก ใน
จานวนนี้รวมถึง Platform ของอีคอมเมิร์ซ
B2B ที่ใหญ่ที่สุดในโลก Platform การค้า
ปลีกทางออนไลน์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก และ
Platform การชาระเงินอิเล็กทรอนิกส์ที่
ใหญ่ที่สุดในโลก
หางโจวเป็นเขตสาธิต
นวัตกรรมที่เป็นอิสระระดับประเทศ
บรรยากาศทางธุรกิจเข้มข้น สถาบัน
การเงินมีหลากหลายและจานวนมาก และ
ยังเป็นนวัตกรรมที่ล้วนอยู่ในระดับแนว
หน้าของประเทศ สถาบันการเงินหลาย
แห่งจัดให้มีบริการเงินทุนสาหรับ
ผู้ประกอบการ สามารถตอบสนองความ
ต้องการที่หลายหลายของผู้ประกอบการ
สิ่งเหล่านี้คือจุดเด่นและข้อได้เปรียบ
หางโจวยังมีแผน 3 ปี ที่จะพัฒนาให้เป็น
สวรรค์ของผู้ประกอบการ ในปี 2017
หางโจวจะสร้างการบ่มเพาะนวัตกรรมทุก
ประเภท สร้างพื้นที่จานวนมากเพื่อดึงดูด
ผู้ประกอบการนวัตกรรมระดับชั้นนาจาก
ต่างประเทศ เพิ่มการลงทุนในด้าน
นวัตกรรมและวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
กระตุ้นให้เกิดพลังนวัตกรรมของสังคมและ
ศักยภาพความคิดสร้างสรรค์
ด้วยศักยภาพของเมืองหางโจว
ดังที่กล่าวข้างต้น จึงมีการกล่าวกันว่า ไม่
ว่าที่ใดในเมืองหางโจวที่มีแสดงอาทิตย์
ส่องถึงที่นั่นย่อมมี WiFi ให้เชื่อมต่อ
อินเทอร์เน็ตได้ ด้วยเหตุนี้เอง หางโจวจึง
กลายเป็นเมืองที่ดึงดูดคนรุ่นใหม่วันนี้
ปรารถนาที่จะเข้าไปหางานทาอย่างมาก
กระนั้นก็ตาม หางโจวยังมีการจัดการผัง
เมืองที่ดี จัดการสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่ มี
พื้นที่สีเขียว ใช้แบตเตอรี่ในรถโดยสาร
สาธารณะ รวมทั้งรถยนต์ส่วนบุคคล ทาให้
ลดมลพิษในเขตเมืองอย่างมาก จึงเหมาะ
แก่การอยู่อาศัย ไม่เพียงเป็น Smart City
ยังเป็น Green City อีกด้วย ซึ่งจะได้กล่าว
ต่อไป
3 | FURD Cities Monitor July 2017
เนื่องจาก จีนมี 613 เมือง ซึ่ง
แบ่งออกเป็น 4 ระดับชั้น เกณฑ์ที่
นามาใช้แบ่งชั้นของเมืองมีหลายปัจจัย
ด้วยกัน แต่ปัจจัยหลักๆ ประกอบด้วย
GDP การเมือง และประชากร
GDP เมืองของจีนมี GDP
ตั้งแต่ 350 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ จนถึง
เมืองขนาดเล็กที่มี GDP ต่ากว่า 20
พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
การเมือง เป็นการบริหารทาง
การเมืองของจีน จีนมีการบริหาร 4
ระดับ และ เขตบริหารพิเศษ 2 เขต
ประชากร เมืองที่เป็นแกนหลัก
และพื้นที่เขตเมืองที่อู่รอบๆ เมืองสาคัญ
จะถูกกาหนดให้เป็นพื้นที่ Metropolitan
เมื่อเร็วๆนี้ รัฐบาลกลางของจีน
ได้ออกมาประกาศว่า เมืองของจีนจะต้อง
หลีกเลี่ยงการพัฒนาเมืองไปในรูปแบบ
เ ดี ย ว กั น ค ว ร เ น้ น คุ ณ ค่ า ท า ง
ประวัติศาสตร์ที่เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละ
เมือง โดยออกนโยบายใหม่เพื่อคุ้มครอง
วัฒนธรรมของจีนแบบดั้งเดิมให้ดีขึ้น
เมืองจะต้องมีการกาหนดการเก็บรักษา
คุณค่าทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์
ของตนเอง ปรับแต่งและเลือกตัวอย่างที่
โดดเด่นในเชิงสัญลักษณ์และคุณลักษณะ
ทางวัฒนธรรมที่มีความพิเศษ โดยนาไป
บรรจุไว้ในการวางผังเมือง พยายามใช้
พื้นที่สาธารณะให้เหมาะสมเพื่อให้เป็นที่
แสดงประติมากรรม สร้างเป็นจัตุรัส เป็น
ต้น การพัฒนาอย่างรวดเร็วตลอดสี่
ทศวรรษที่ผ่านมาทางด้านเศรษฐกิจอย่าง
ไม่ลืมหูลืมตานั้น ได้ทาลายอาคารเก่าแก่
ของจีน และแทนที่ด้วยตึกสูงระฟ้าและ
อาคารสูงอื่นๆ ขณะที่บางสถานที่ใน
เซี่ยงไฮ้และเทียนจินทาได้ค่อนข้างดีใน
ด้านการคุ้มครองมรดกทางวัฒนธรรม
ของเมือง เช่น สถาปัตยกรรมในยุค
อาณานิคมของเมือง เป็นต้น
ปัจจัย เมืองชั้นที่ 1 เมืองชั้นที่ 2 เมืองชั้นที่ 3 เมืองชั้นที่ 4
GDP เมืองทั้งหมดที่อยู่ในชั้นที่
1 มี GDP มากกว่า 300
พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
เมืองที่มี GDP ระหว่าง 68
พันล้านดอลลาร์สหรัฐและ
299 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
เมืองที่มี GDP ระหว่าง
18 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
และ67 พันล้านดอลลาร์
สหรัฐ
เมืองที่มี GDP ต่ากว่า
17 พันล้านดอลลาร์
สหรัฐ
การเมือง เมืองที่รัฐบาลกลาง
ควบคุมโดยตรง
เมืองหลวงของแต่ละมณฑล
(province) และเมืองที่
รองลงมาจากเมืองหลวง
เมืองหลวงในระดับอาเภอ
(prefecture)
เมืองระดับเขต
(county)
ประชากร เมืองที่มีประชากร
มากกว่า 15 ล้านคน
เมืองที่มีประชากร 3 -15
ล้านคน
เมืองที่มีประชากร
150,000 - 3 ล้านคน
เมืองที่มีประชากร น้อย
กว่า 150,000 คน
FURD Cities Monitor July 2017 | 4
ประกอบด้วย Beijing, Tianjin,
Shanghai, Chongqing, Shenzen
เมืองชั้นที่ 1 นี้เป็นพื้นที่ที่มีการพัฒนา
แล้วมากที่สุดของประเทศ ผู้บริโภคมีฐานะร่ารวย
มากที่สุดและมีความซับซ้อน
ประกอบด้วย Chengdu, Wu-
han, Hangzhou, Harbin, Shenyang, Nanjing,
Jinan, Changsha, Zhengzhou และอีก 20 เมือง
เมืองชั้นที่ 2 นี้ มีการดึงดูดการลงทุน
มากขึ้น มีบางพื้นที่ในเมืองนี้ที่มีการเจริญเติบโต
ทางเศรษฐกิจสูงมาก พฤติกรรมผู้บริโภคกาลัง
พัฒนาข้นอย่างรวดเร็ว แนวโน้มด้านอื่นก็คล้าย
เมืองชั้นที่ 1
ประกอบด้วย Daqing, Wei-
fang, Changzhou, Zibo, Zhuzhou, Hengyang,
Wuhu, Qujing
โดยทั่วไปเมืองกลุ่มนี้ยังตามหลังเมือง
ชั้นที่ 1 และ ชั้นที่ 2 ในด้านการพัฒนาและการ
เติบโตทางเศรษฐกิจ แม้ว่าหลายเมืองมี
ความสาคัญทางประวัติศาสตร์และเศรษฐกิจอย่าง
มาก
ประกอบด้วย Anshan, Baotou,
Chazhou, Daqing, Datong, Fushun, Handan,
Huzhou, Jilin, Liuzhou ซึ่งรวมแล้วมีถึง 400
กว่าเมือง
เมืองกลุ่มนี้นับว่าเป็นที่อยู่อาศัยของ
ประชากรกลุ่มใหญ่ของจีน มีการเปลี่ยนแปลงของ
การพัฒนาอย่างรวดเร็ว มีศักยภาพสูงที่สามารถ
ปรับเปลี่ยนยกระดับเมืองเหล่านี้ได้มาก
5 | FURD Cities Monitor July 2017
หางโจว (杭州) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่
มีขนาดใหญ่ที่สุดของมณฑลเจ้อเจียง (浙江省)
ทางตะวันออกของจีน มีพื้นที่รวม 16,596
ตารางกิโลเมตร ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบ
ริมฝั่งแม่น้้าแยงซี หางโจวเป็นหนึ่งในหกเมือง
เก่าแก่ของจีนที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า
2,200 ปี ผ่านความเจริญและความซบเซามา
หลายต่อหลายครั้ง กระทั่งเข้าสู่ยุคการปฏิรูป
ประเทศครั้งใหญ่ของเติ้ง เสี่ยวผิง (ค.ศ. 1978)
มีการใช้จุดแข็งด้านภูมิศาสตร์ที่ตั้งของเมืองอัน
อยู่ในเขตเศรษฐกิจสามเหลี่ยมปากแม่น้้าแยงซี
ซึ่งเป็นเขตเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดของจีนมาเป็น
หลักของการพัฒนาจนประสบความส้าเร็จ ท้า
ให้ปัจจุบันหางโจวเป็นเมืองที่มีความเจริญมาก
ที่สุดแห่งหนึ่งของจีน
ใน ค.ศ. 2015 เมืองหางโจวมีประชากร 9.02
ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 0.66 ของประชากร
จีนทั้งประเทศซึ่งมีจ้านวน 1,371 ล้านคน
(World Bank, 2016) นอกจากนี้ หางโจวยังเป็น
เมืองหนึ่งที่มีจ้านวนประชากรเพิ่มขึ้นอย่าง
ต่อเนื่องท่ามกลางอัตราการเกิดที่ลดลงซึ่งจีน
ก้าลังเผชิญ สะท้อนถึงจุดแข็งด้านก้าลังคนที่
สามารถรองรับการเติบโตของเมืองได้ โดยใน
ค.ศ. 2015 เมืองหางโจวมีแรงงานจ้านวน 6.63
ล้านคน และมีอัตราการว่างงานในระดับต่้าอยู่ที่
ร้อยละ 1.74 (Hangzhou Statistical Infor-
mation net, 2016)
REFERENCE :
- HSBC. (2 0 1 6 ) . Hangzhou our guide to the city hosting this year's G2 0 . อ อ น ไ ล น์ https://www.weekin
china.com/wp-content/uploads/2016/02/Sinopolis-Hangzhou-v1.pdf
- Sayli Udas Mankikar. (2017). Smart like Hangzhou. ออนไลน์ http://www.thehindu.com/news/cities/mumbai/smart-like-
hangzhou/article17533006.ece
ส า ร ะ ข อ ง เ มื อ ง ที่ คุ ณ ‘ ต้ อ ง รู้ ’
FURD Cities Monitor July 2017 | 6
เศรษฐกิจของเมืองหางโจวในยุคปัจจุบันเริ่มเติบโตอย่าง
ก้าวกระโดดนับตั้งแต่มีการเปิดประตูรับการลงทุนและการพัฒนา
อย่างเป็นทางการใน ค.ศ. 1992 โดยเริ่มต้นจากการพัฒนา
อุตสาหกรรมจนยกระดับขึ้นเป็นเมืองฐานการผลิตและศูนย์กลาง
การขนส่งที่สาคัญบริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออกของจีน การเติบโต
ดังกล่าวสะท้อนผ่านมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม (GDP) ของเมืองที่
เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วภายในเวลาไม่ถึง 20 ปี จากใน ค.ศ. 2001 ที่
มีมูลค่า 156.8 พันล้านหยวน เพิ่มมาเป็น 1.105 ล้านล้านหยวน
ใน ค.ศ. 2016 สอดคล้องกับรายได้ประชากรต่อหัว (GDP per
capita) ที่เพิ่มจาก 3,025 ดอลลาร์สหรัฐ เป็น 18,282 ดอลลาร์
สหรัฐ นอกจากนี้ เมื่อเทียบกับเศรษฐกิจของประเทศที่เริ่มชะลอ
ตัว เศรษฐกิจเมืองหางโจวกลับมีอัตราการขยายตัวถึงร้อยละ 10.8
ใน ค.ศ. 2016 สูงกว่าการเติบโต GDP ของประเทศที่ลดลงมาอยู่ที่
ร้อยละ 6.7 ในปีเดียวกัน ซึ่ง ณ ปัจจุบัน หางโจวเป็นเมืองที่มี
เศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 10 ของประเทศ
อนึ่ง ปัจจัยสาคัญที่ส่งผลให้เศรษฐกิจเมืองหางโจวเติบโต
ได้อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะตั้งแต่ ค.ศ. 2014 เป็นต้นมา คือการ
ลงทุนของภาครัฐในอุตสาหกรรมเทคโนโลยี ภายใต้นโยบาย
“Project Number 1” ที่มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาหางโจวสู่การเป็น
Smart City ซึ่งในระยะแรกสามารถกระตุ้น GDP ของเมืองให้โต
ขึ้นถึงร้อยละ 23 ในช่วงครึ่งแรกของ ค.ศ. 2015 และยังทาให้
ปัจจุบันอุตสาหกรรมขั้นตติยภูมิที่อาศัยเทคโนโลยีเป็นตัว
ขับเคลื่อน เช่น บริการด้านการขนส่ง การค้าส่ง การค้าปลีก กลาย
มาเป็นภาคส่วนที่สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจให้แก่เมืองมากที่สุด
และมีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดย ค.ศ. 2015 อุตสาหกรรม
ขั้นตติยภูมิมีสัดส่วน 2.9 : 38.9 : 58.2 เมื่อเทียบกับอุตสาหกรรม
อีกสองขั้นที่เหลือ มีสัดส่วนการเติบโตจากปีก่อนร้อยละ 3
(Hangzhou Statistical Information net, 2016)
7 | FURD Cities Monitor July 2017
แนวทางการพัฒนาของเมืองหาง
โจวตั้งแต่ ค.ศ. 2011 เป็นต้นมา ให้
ความสาคัญกับหลักการพัฒนาใหญ่ของ
ประเทศที่เน้นการปฏิรูปโครงสร้าง
เศรษฐกิจเพื่อสร้างความมั่นคงในการ
เ ติบ โ ต แ ละ ข ย า ย ต ลา ด ผู้บ ริโ ภ ค
ภายในประเทศเพื่อทดแทนการส่งออกที่
เริ่มชะลอตัว โดยธุรกิจภาคบริการเป็นภาค
ส่วนสาคัญที่สุดที่รัฐบาลให้การสนับสนุน มี
การอนุมัติงบประมาณพิเศษเพื่อกระตุ้น
การเติบโตของภาคบริการสาขาต่างๆ ของ
เมือง โดยพุ่งเป้าให้ธุรกิจบริการด้านไอที
(IT) และซอฟต์แวร์ บริการโลจิสติกส์ รวม
ไปถึงบริการให้คาปรึกษาโดยผู้เชี่ยวชาญ
พัฒนาไปเป็นอุตสาหกรรมภาคบริการหลัก
ตลอดจนยกระดับให้เมืองหางโจวเป็น
ศูนย์กลางการส่งออกบริการด้านธุรกิจแห่ง
ใหม่โดยเฉพาะบริการด้านข้อมูล
สารสนเทศ หรือมีฐานะเป็น “ออฟฟิศของ
โลก” (World Office)
อย่างไรก็ดี ปัจจัยสาคัญที่จะช่วยให้
เมืองหางโจวพัฒนาสู่ความเป็นเมือง
เศรษฐกิจที่ทันสมัยได้อย่างสมบูรณ์คือ
“นวัตกรรม” แผนการพัฒนาเมืองจึงไม่
ละเลยที่จะเน้นพัฒนานวัตกรรมโดย
ประสานความร่วมมือกับทุกภาคส่วนที่
เกี่ยวข้อง กุญแจสาคัญของการพัฒนาอยู่ที่
การสร้างกระบวนการวิจัยและพัฒนา
(R&D) ให้สอดคล้องกับระบบการศึกษา
และการจัดฝึกอบรมพัฒนาความเชี่ยวชาญ
และทักษะแรงงานอย่างต่อเนื่อง ซึ่งทั้งหมด
จะช่วยพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมบน
ฐานความรู้ (Knowledge-based Economy
& Society) ซึ่งตอบโจทย์การพัฒนาเมือง
อย่างยั่งยืน
นอกจากการพัฒนาเศรษฐกิจที่มุ่ง
สร้างผลกาไรแล้ว เมืองหางโจวยังให้
ความสาคัญกับการจัดหาและพัฒนา
ปัจจุบัน การเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันได้กลายมาเป็นเป้าประสงค์หลัก
ส้าหรับทุกเมือง หางโจวก็เช่นกัน แผนพัฒนาต่างๆ ของเมือง ไม่ว่าจะเป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมฉบับที่ 12 ของมณฑลเจ้อเจียงและเมืองหางโจว (12th
FYPs) แผนพัฒนาเมืองหางโจว 20
ปี ค.ศ. 2001 – 2020 รวมไปถึงแผนพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามเหลี่ยมปากแม่น้้าแยงซีเกียง
(Yangtze River Delta) ต่างมีวัตถุประสงค์ที่สอดคล้องกันในการมุ่งเสริมสร้างขีดความสามารถ
ในการแข่งขันของเมืองหางโจวอย่างรอบด้านทั้งเศรษฐกิจ สังคมและความเป็นเมือง ซึ่งแต่ละด้านมี
รายละเอียด ดังนี้
FURD Cities Monitor July 2017 | 8
บริการทางสังคมให้แก่พลเมืองด้วยเช่นกัน
โดยเพิ่มการลงทุนสร้างบริการทางสังคมที่
มีคุณภาพทั้งบริการสาธารณสุข บริการ
สาธารณะ ไปจนถึงการดูแลความมั่นคง
ทางสังคมในเรื่องสวัสดิการและการจ้างงาน
เป้าหมายหลักคือ สร้างประโยชน์ให้แก่
ประชาชนโดยการยกระดับรายได้และ
มาตรฐานความเป็นอยู่ ส่งเสริมและขยาย
ฐานธุรกิจท้องถิ่นตลอดจนตลาดผู้บริโภค
ของเมืองให้เข้มแข็ง
ความก้าวหน้าของเศรษฐกิจที่
เกิดขึ้นได้ส่งเสริมและเร่งเร้าให้หางโจว
พัฒนาสู่ความเป็นเมืองไปในเวลาเดียวกัน
โดยเฉพาะในปัจจุบันที่ต้องผลักดันตัวเองสู่
การเป็น “แกนกลางของความเป็ น
เมือง” (Urban Core) ทั้งในระดับมณฑล
และระดับประเทศ อย่างไรก็ตาม เมือง
หางโจวก็ยังประสบปัญหาการปรับตัวของ
นโยบายและการพัฒนาที่ก้าวไม่ทันต่อการ
เพิ่มจานวนของประชากรและความต้องการ
สาธารณูปโภคพื้นฐานที่เพิ่มขึ้นอย่าง
รวดเร็วในระยะเวลาไม่นานจนทาให้เกิด
ภาวการณ์กระจุกตัวของประชากรที่แออัด
ในเขตเมือง ดังนั้น แผนการพัฒนาที่มี
แนวทางยุทธศาสตร์และวิสัยทัศน์ชัดเจนจึง
เป็นสิ่งจาเป็นสาหรับการพัฒนาเมือง และ
ด้วยเหตุดังกล่าว แผนแนวคิดเมืองหางโจว
(The Hangzhou Concept Plan) ได้ถือ
กาเนิดขึ้นมาตั้งแต่ต้นศตวรรษที่ 21 แม้จะ
เพียงให้หลักการกว้างๆ ในการพัฒนาและ
มิได้มีผลบังคับใช้ทางกฎหมาย แต่ก็มี
อิทธิพลทางความคิดต่อแผนพัฒนาเมือง
หางโจวเชิงปฏิบัติแผนอื่นๆ มาจนถึง
ปัจจุบัน
เพื่อสร้างระบบการพัฒนาที่เป็น
รูปธรรม ใน ค.ศ. 2008 รัฐบาลเมือง
หางโจวได้เสนอโครงการจัดตั้ง 20 เมือง
ใหม่เพื่อแก้ปัญหาความแออัดของ
ประชากรในเขตเมืองและกระจายการ
พัฒนาไปสู่แถบชานเมืองและชนบทให้ได้
มากที่สุด ซึ่งเมืองใหม่ 10 เมืองแรกถูก
กาหนดให้ตั้งบริเวณรอบแกนกลางของ
เมือง (Urban Core) ส่วนอีก 10 เมืองจะ
กระจายอยู่รอบนอกถัดออกมาบริเวณเขต
หยูหาง (Yuhang) และเขตปกครอง
ใกล้เคียงอื่นๆ ทั้ง 20 เมืองจะได้รับการ
พัฒนาให้เป็นทาเลทองทางเศรษฐกิจ
(Central Business Districts: CBDs) เป็น
ศูนย์กลางการคมนาคม และเป็นที่ตั้งของ
มหาวิทยาลัยรวมถึงสถาบันวิจัยและพัฒนา
ซึ่งเมื่อดาเนินการเสร็จสมบูรณ์ แผน
ดังกล่าวจะนามาซึ่งการกระจายตัวของ
ความเจริญของเมือง อันจะช่วยลดการ
กระจุกตัวของประชากรที่เดิมอยู่ในบริเวณ
แกนกลางของเมืองลงไปได้ โดยคาดว่าแต่
ละเมืองจะมีประชากรเฉลี่ย 35,000 –
700,000 คน ทั้ง 20 เมืองรวมกันมี
ประชากรประมาณ 3.52 ล้านคนใน
ระยะแรก (ค.ศ. 2010) และคาดว่าจะเพิ่ม
ถึง 9.3 ล้านคนใน ค.ศ. 2020
9 | FURD Cities Monitor July 2017
ท่ามกลางกระแสเทคโนโลยีดิจิทัล
ที่ค่อยๆ ทวีความสาคัญต่อวิถีชีวิตมนุษย์
มากขึ้น แนวคิด Smart City จึงเริ่มเป็นที่
สนใจในสายตารัฐบาลจีน โดยเฉพาะตั้งแต่
การประชุม Shanghai Expo 2010 เป็นต้น
มา รัฐบาลได้กาหนดเป้าหมายในการ
พัฒนาเมืองของจีน 90 แห่งให้เป็นเมือง
อัจฉริยะ ซึ่งหางโจวคือหนึ่งในเมืองที่ได้รับ
เลือกมาเป็นอันดับต้นๆ จากศักยภาพและ
ความพร้อมที่มีอยู่ จุดหมายปลายทาง
สาคัญของการพัฒนาหางโจวในทุกวันนี้จึง
อยู่ที่การก้าวสู่ความเป็นเมืองอัจฉริยะใน
ด้านผู้นาเศรษฐกิจ Internet of Things
(IoT) และเมืองต้นแบบที่ขับเคลื่อนด้วย
E–Commerce
Hangzhou Master Plan หรือแผนพัฒนาเมืองหางโจวถือเป็นกุญแจสาคัญที่
จะช่วยวางแนวทางการพัฒนาหางโจวสู่เมืองอัจฉริยะอย่างเป็นระบบ แผนนี้มีเป้าหมาย
เพื่อส่งเสริมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมรูปแบบต่างๆ ของเมือง ทั้งด้าน
เทคโนโลยีสารสนเทศ พลังงาน และการขนส่ง ทั้งยังสะท้อนถึงวิสัยทัศน์ที่กว้างขึ้นของ
เมืองสาหรับการพัฒนาสู่อนาคตที่ปัจจุบันนโยบายของเมืองเน้นการปรับโครงสร้างทาง
เศรษฐกิจและอุตสาหกรรมในท้องถิ่นด้วยการพัฒนาอุตสาหกรรมใหม่และนาเทคโนโลยี
ขั้นสูงมาเป็นเครื่องมือกระตุ้นการขยายตัวของทุกภาคการผลิตดังที่กล่าวไปในข้างต้น
การเปลี่ยนแปลงสาคัญที่สุดประการหนึ่งคือการกาหนดเขตเศรษฐกิจใหม่ขึ้นเป็นการ
เฉพาะแยกออกจากเขตเมืองเก่าที่มีมรดกทางวัฒนธรรมและเขตชุมชนเพื่อมุ่งพัฒนา
ภาคเศรษฐกิจแต่ละด้านอย่างจริงจังและหลีกเลี่ยงการสร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
รวมถึงวิถีเดิมของคนเมือง โดยเขตเศรษฐกิจใหม่ที่สาคัญมีด้วยกัน 3 เขต ได้แก่
FURD Cities Monitor July 2017 | 10
เข ต พัฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ
เทคโนโลยีหางโจว (Hangzhou Eco-
nomic & Technological Development
Zone: HETDZ) จัดตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริมให้
เมืองหางโจวเป็นศูนย์กลางการพัฒนา
อุตสาหกรรมสาขาสาคัญและเทคโนโลยี ทั้ง
ยังให้ความสาคัญกับการมุ่งสู่การเป็น “ศูนย์
รวมข้อมูลสารสนเทศ” (Information Har-
bor) และ “ศูนย์กลางการแพทย์แห่ง
ใหม่” (New Medicine Habor) ตลอดจน
การปฏิรูปให้กระบวนการผลิตใน
อุตสาหกรรมทั้งหมดเป็นระบบไฮเทค
เขตพัฒนาการส่งออกหางโจว
(Hangzhou Export Processing Zone:
Hangzhou EPZ) จัดตั้งขึ้นเพื่อสร้างระบบ
การจัดการการส่งออกและการนาเข้าที่ได้
มาตรฐานอันจะช่วยอานวยความสะดวกให้
ทั้งภาคเอกชนและรัฐวิสาหกิจสามารถ
เข้าถึงบริการได้อย่างครบถ้วนทั้งด้านการ
ธนาคาร ศุลกากร ไปจนถึงระบบขนส่ง
โลจิสติกส์ อุตสาหกรรมหลักของ EPZ
ได้แก่ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และการ
สื่อสารโทรคมนาคม และอุตสาหกรรม
ยานยนต์
เขตพัฒนาอุตสาหกรรมไฮเทค
หางโจว (Hangzhou High-tech Indus-
trial Develop-ment Zone: HHTZ) เป็น
เสมือนแหล่งรวมองค์ความรู้ของเมืองหาง
โจว ด้วยเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยและ
สถาบันวิจัยกว่า 50 แห่ง เป้าหมายหลัก
ของ HHTZ คือการส่งเสริมการลงทุนด้าน
อุตสาหกรรมเทคโนโลยี ซึ่งปัจจุบัน HHTZ
ได้กลายเป็น 1 ใน 11 ฐานอุตสาหกรรม
ระดับนานาชาติด้านซอฟต์แวร์ การ
ออกแบบวงจรรวม (IC) ธุรกิจ Business
Process Outsourcing (BPO) แ ล ะ
แอนิเมชั่น โดย ค.ศ. 2013 HHTZ เป็นฐาน
ที่ตั้งของบริษัทพัฒนาซอฟต์แวร์และ BPO
กว่า 1,100 แห่ง อาทิ บริษัทเทคโนโลยีทรง
อิทธิพลระดับโลก ทั้ง Nokia Panasonic
Mitsubishi IBM NTT Microsoft และ AI-
SIN แม้แต่ Alibaba Group ธุรกิจการค้า
ออนไลน์ที่ใหญ่ติดอันดับต้นของโลกก็เลือก
เขตเศรษฐกิจนี้เป็นที่ตั้งสานักงานใหญ่ ทุก
วันนี้ HHTZ จึงเป็นที่รู้จักในฐานะ "Silicon
Valley" ของประเทศจีน แม้แต่การประชุม
G20 ประจาปี 2016 ที่ผ่านมาซึ่งเมืองหาง
โจวเป็นเจ้าภาพก็ถูกจัดขึ้นในเขต HHTZ
ด้วยเช่นกัน
11 | FURD Cities Monitor July 2017
พื้นที่อุยกู่ อยู่ทางตอนเหนือของ
เขตฟู่หยาง ห่างจากใจกลางเมืองหางโจว
ประมาณ 15 นาที ด้วยภูมิศาสตร์ที่ดี พื้นที่
ดังกล่าวจึงถูกกาหนดให้เป็น Silicon
Valley ของเมืองหางโจว โดยปัจจุบันเป็น
ที่ตั้งสานักงานใหญ่ของบริษัทเทคโนโลยีผู้
สร้างสรรค์นวัตกรรมและการพัฒนาไฮเทค
โดยเฉพาะด้านข้อมูลสารสนเทศ เช่น
Alibaba Group บริษัทต่างชาติ ไปจนถึง
บริษัท start-up ด้านเทคโนโลยีอีก
มากมาย ปัจจุบันเขตอุยกู่จึงเติบโตอย่าง
ต่ อ เ นื่ อ ง แ ล ะ เ ป็ น ที่ส น ใ จ ข อ ง ทั้ง
ผู้ประกอบการธุรกิจ นักลงทุน และแรงงาน
ในตลาดงานสายเทคโนโลยี
เขตฟูหยาง เป็นเขตที่มีที่ตั้งอยู่ใน
หุบเขา อาณาเขตประมาณ 3.62 ตาราง
กิโลเมตร พื้นที่ดังกล่าวถูกกาหนดให้เป็น
เมืองแห่งอุตสาหกรรมด้านยาแบบครบ
วงจร เป็นศูนย์รวมของบริษัทยาซึ่งทา
หน้าที่วิจัยผลิตยาตัวใหม่ ตลอดจนผลิต
ส่วนผสมยาเพื่อส่งออกไปขายยัง
ต่างประเทศนอกจากการเป็นศูนย์กลาง
ผลิตและส่งออกยารักษาโลกแล้ว เขต
ฟู่หยางยังถูกพัฒนาให้เป็นเมืองต้นแบบ
ด้านสุขภาพแห่งใหม่ของจีน โดย
ตั้งเป้าหมายการในเป็นศูนย์กลางแห่งการ
ประชุมด้านสุขภาพ พัฒนาแพทย์
ผู้เชี่ยวชาญและระบบการรักษา รวมถึง
สร้างสิ่งแวดล้อมสีเขียวให้เหมาะต่อกับการ
พักผ่อนและฟื้นฟูร่างกายของผู้ป่วย
นิคมอุตสาหกรรมถงลู่ มีพื้นที่
ประมาณ 3.48 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ใกล้
กับมหาวิทยาลัยด้านอุตสาหกรรมและการ
พาณิชย์ของมณฑลเจ้อเจียง เขตพื้นที่นี้
ถู ก ก า ห น ด ใ ห้เ ป็ น ศู น ย์ ร ว ม ข อ ง
อุตสาหกรรมความปลอดภัยอย่างครบ
วงจรโดยเน้นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่
อุปกรณ์ไฮเทค รวมไปถึงการพัฒนา
บุคลากรผู้เชี่ยวชาญ เพื่อก้าวสู่การเป็น
ผู้นาด้านความปลอดภัยของมณฑล
เจ้อเจียงและสามเหลี่ยมแม่น้าแยงซี ซึ่ง
คาดว่าจะสามารถสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ
ไ ด้ม า ก ก ว่ า ห นึ่ ง แ ส น ล้า น ห ย ว น
นอกจากนั้น เขตถงลู่ยังถูกออกแบบให้
เป็นแหล่งท่องเที่ยว ที่ผู้คนสามารถเข้ามา
เยี่ยมชมและพักผ่อนได้ไปในคราวเดียวกัน
นอกจากนี้ โครงการจัดตั้ง 20 เมืองใหม่ที่รัฐบาลหางโจวริเริ่มมาตั้งแต่ ค.ศ.
2008 ปัจจุบันเริ่มมีความก้าวหน้าที่เห็นผลเป็นรูปธรรมมากขึ้น โดยเมืองใหม่หลายแห่ง
ในเขตเศรษฐกิจใหม่ได้รับการส่งเสริมให้เป็นศูนย์กลางความเชี่ยวชาญด้านต่างๆ
โดยเฉพาะด้านเทคโนโลยี เพื่อตอบโจทย์การเป็นเมืองอัจฉริยะของหางโจว บรรดาเมือง
ใหม่ที่ส้าคัญ มีดังนี้
ที่มา : Hangzhou Urban Planning Exhibition Hall
FURD Cities Monitor July 2017 | 12
เดิม ทีย่ าน ห ลง อูเป็ น แ ห ล่ ง
ท่องเที่ยวที่สาคัญของเมือง แต่ในปัจจุบัน
ได้ถูกพัฒนาให้เป็นเขตวัฒนธรรมแบบ
สร้างสรรค์ คือ เป็นสถานที่ท่องเที่ยว
พักผ่อนหย่อนใจควบคู่ไปกับการส่งเสริม
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศและวัฒนธรรม เช่น
การเยี่ยมชมไร่ชา เขตค้าชา สัมผัสกับ
วัฒนธรรมชาและประเพณีต่างๆ รวมถึง
กีฬากลางแจ้ง นอกจากนี้ หลงอูยังได้รับ
การยกระดับให้กลายเป็นเมืองแห่งชาหลง
จิ่งที่สาคัญของมณฑลเจ้อเจียงและเป็นเขต
ค้าขายชาหลงจิ่งที่ใหญ่ที่สุดของจีน มีเขต
อุตสาหกรรมแห่งชาครบวงจร โดยใช้
วัฒนธรรมประเพณีในระดับหมู่บ้านเป็น
กลไกนาการพัฒนา
ระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
(E-Commerce) คือ การดาเนินธุรกิจโดย
ใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
ทางธุรกิจที่องค์กรได้วางไว้ เช่น การซื้อ
ขายสินค้าและบริการ การโฆษณาผ่านสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์
โทรทัศน์ วิทยุ หรือแม้แต่อินเทอร์เน็ต เป็น
ต้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดค่าใช้จ่าย
และเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร
ด้วยยุทธศาสตร์ของรัฐบาลจีนที่
กาหนดให้เขตเชียเฉิงใช้จุดแข็งด้านที่ตั้งที่
สามารถเชื่อมไปยังต่างประเทศได้มา
พัฒนา E-Commerce เชื่อมระหว่าง
ประเทศ โดยกาหนดพื้นที่เขตพัฒนา
ประมาณ 2.9 ตร. กม. ในอนาคตรัฐบาล
หางโจวคาดหวังว่าเชียเฉิงจะเป็นพื้นที่การ
พัฒนาอย่างสร้างสรรค์ เป็นศูนย์กลางของ
E-Commerce เป็ นบทบาทใหม่ที่จะ
ยกระดับการค้าระหว่างประเทศของเมือง
โดยเชื่อมโยงอุตสาหกรรมทั้งหมดเข้ากับ
ระบบ E-Commerce อย่างสมบูรณ์
ตั้งอยู่ด้านตะวันออกของเขตไฮเทค
เมืองหางโจว มีพื้นที่ประมาณ 3.66 ตาราง
กิโลเมตร ศูนย์กลางการพัฒนาจะมี
ประมาณ 1.5 ตารางกิโลเมตร รัฐบาล
หางโจววางเป้าหมายให้บินเจียงเป็นเขต
แห่งอุตสาหกรรม IoT หรือ “อินเตอร์เน็ต
ของสรรพสิ่ง” ซึ่งหมายถึง การเชื่อมโยง
ทุกสิ่งทุกอย่างสู่โลกอินเตอร์เน็ต ทาให้คน
สามารถสั่งการควบคุมการใช้งานอุปกรณ์
ต่างๆ ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้อย่าง
สะดวกรวดเร็ว เช่น การเปิด-ปิด อุปกรณ์
เครื่องใช้ไฟฟ้า รถยนต์ โทรศัพท์มือถือ
เครื่องมือสื่อสาร เครื่องมือการเกษตร
อ า ค า ร บ้า น เ รือ น เ ค รื่ อ ง ใ ช้ใ น
ชีวิตประจาวันต่างๆ เป็นต้น ตลอดจนให้
ความสาคัญกับการพัฒนา iCloud
Big Data และความปลอดภัยด้านข้อมูล
อุปกรณ์ส่งสัญญาณที่ทันสมัย การผลิต
ชิ้นส่วนต่างๆ ที่ช่วยให้การใช้ชีวิตของ
มนุษย์และเทคโนโลยีเป็นหนึ่งเดียวกัน ซึ่ง
ในอนาคตคาดว่าเขตบินเจียงจะกลายเป็น
เขตพัฒนา IoT ที่สาคัญของจีนและของ
โลกได้
นอกจาก 6 เมืองใหม่ข้างต้นแล้ว ยังมีอีกหลายเขตที่น่าสนใจ เช่น เขตเจี้ยนเต๋อที่จะ
ถูกพัฒนาเป็นศูนย์กลางการบิน เขตเซียวซาน ศูนย์กลางด้านข้อมูล เขตถงหลู เมือง
แห่งสุขภาพแบบครบวงจร เป็นต้น การพัฒนาทั้งหมดสะท้อนถึงการปรับตัวของเมืองสู่
การเติบโตอย่างชาญฉลาดด้วยการใช้ระบบอินเตอร์เน็ตและเทคโนโลยีควบคู่กับการดึง
ต้นทุนด้านประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมมาจัดการเมืองอย่างมีประสิทธิภาพ
13 | FURD Cities Monitor July 2017
ด้วยหลักคิดที่ว่า “การสร้างเมืองอัจฉริยะที่สมบูรณ์
แบบ เทคโนโลยีไม่ได้เป็นคาตอบสุดท้าย แต่สิ่งที่สาคัญกว่า
คือการนาเทคโนโลยีมาทาให้ชีวิตคนง่ายขึ้นและดีขึ้น”
นอกจากความ Smart ด้านเศรษฐกิจแล้ว ทางการจีนรวมถึง
เมืองหางโจวจึงให้ความสาคัญกับการนาเทคโนโลยีมาใช้
ประโยชน์ในการอานวยความสะดวกให้แก่คนเมืองด้วยการ
เปิดตัวโครงการ Internet Plus ที่ส่งเสริมการใช้ระบบ
อินเตอร์เน็ตบนโทรศัพท์มือถือเพื่อให้บริการด้านสาธารณะที่
ครอบคลุมทั่วทั้งเมือง เช่น ด้านการเดินทาง บริการด้าน
สุขภาพ การศึกษา การให้บริการของระบบราชการ เป็นต้น
การดาเนินงานสร้างเมืองอัจฉริยะที่สมบูรณ์นี้อาศัยการ
ประสานงานระหว่างภาครัฐและเอกชน (Public Private
Partnerships - PPP) อันได้แก่ Alibaba และอีก 13 บริษัท
ยักษ์ใหญ่ร่วมมือกันพัฒนาระบบบริการอัจฉริยะขึ้นในเมือง
และผลงานที่ออกมาเป็นรูปธรรมคือ Hangzhou Resident
Card บัตรเพียงใบเดียวที่อานวยความสะดวกให้พลเมือง
หางโจวสามารถใช้บริการต่างๆ ในเมืองได้อย่างครบวงจร
ไม่ว่าจะเป็น ถอนเงินจาก ATM เช่าจักรยาน ตรวจการ
เดินทางของรถเมล์ ซื้อของชา จองร้านอาหาร เข้าใช้บริการ
ห้องสมุดหรือยิม ไปจนถึงการชาระภาษี บัตรดังกล่าวมี
ลักษณะคล้ายบัตรประชาชนที่บันทึกข้อมูลทั้งหมดของผู้ใช้
เอาไว้ เพียงแต่เพิ่มนวัตกรรมที่ช่วยให้เจ้าของบัตรใช้ชีวิตได้
ง่ายขึ้นซึ่งเป็นประโยชน์อย่างมากโดยเฉพาะกับผู้สูงอายุ ซึ่ง
ปัจจุบันมีประชาชนในหางโจวมากถึง 21 ล้านคน ใช้บริการ
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) ต่างๆ ผ่านบัตรเป็น
ประจา จนอาจกล่าวได้ว่า ณ ปัจจุบัน หางโจวกลายมาเป็น
เมืองที่สามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศและ
บริการอินเตอร์เน็ตบนระบบมือถือได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ที่สุดเมืองหนึ่งของโลก
นอกจากการเป็นเมืองอัจฉริยะแล้ว หางโจวยังไม่ละเลยที่จะใช้นวัตกรรมในการดูแล
รักษาธรรมชาติของเมืองซึ่งเป็นมรดกที่มีชื่อเสียงมาตั้งแต่อดีตให้คงอยู่อย่างสมบูรณ์ควบคู่
ไปกับการเติบโตของเศรษฐกิจและเทคโนโลยีที่ทันสมัยด้วยการสถาปนาความเป็น “เมือง
สีเขียว” มีการปฏิรูประบบการคมนาคมของเมืองให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ทุกวันนี้
จักรยานได้กลายมาเป็นพาหนะหลักของคนแทนรถยนต์จนหางโจวถูกคาดการณ์ว่าเป็นเมือง
ที่มีระบบจักรยานสาธารณะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ซึ่งคนในเมืองสามารถใช้บริการยืมคืน
จักรยานที่กระจายอยู่ทั่วเมืองผ่านโทรศัพท์มือถือได้อย่างง่ายดาย นอกจากนี้ยังมีโครงการ
นาร่องที่ภาครัฐร่วมมือกับบริษัท Alibaba นาเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการจราจร น้า และขยะ
มูลฝอยอย่างมีประสิทธิภาพ
FURD Cities Monitor July 2017 | 14
REFERENCE : พิพิธภัณฑ์เมืองหางโจว
15 | FURD Cities Monitor July 2017
- ณัฐธิดา เย็นบารุง -
ในยุคเติ้ง เสี่ยวผิง (Deng Xiaoping) ก้าว
ขึ้นมามีอานาจในจีนเมื่อ ค.ศ. 1976 เป็นช่วงเวลาทีจีน
ดาเนินนโยบายปฏิรูปความเจริญของบ้านเมืองให้ทันสมัย
โดยเปิดประเทศรับวิทยาการจากภายนอกเพื่อพัฒนา
ประเทศให้ทันสมัยตามแบบตะวันตก เรียกว่า “นโยบาย
สี่ทันสมัย” โดยเน้นพัฒนา 4 ด้าน คือ ด้านเกษตรกรรม
ด้านอุตสาหกรรม ด้านการป้องกันประเทศด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประเทศจีน ณ ขณะนั้นเน้น
การพัฒนาอุตสาหกรรมหนัก ที่ใช้พลังงานและใช้แรงงาน
สูง เน้นการผลิตเพื่อการส่งออกให้มีการเจริญเติบโตทาง
เศรษฐกิจดีขึ้น ซึ่งประเทศจีนเศรษฐกิจก็เติบโตไม่ต่ากว่า
10 เปอร์เซ็นต์ต่อปี โดยการพัฒนาเริ่มจากเขตพื้นที่ที่
พร้อมสาหรับการพัฒนา นั่นก็คือ เขตด้านตะวันออกของ
จีน อันเป็นที่ตั้งของมหานครเซี่ยงไฮ้ มณฑลเจ้อเจียง ที่มี
เมืองหางโจวเป็นเมืองหลวง อย่างไรก็ตามการ
เจริญเติบโตที่มาจากการใช้ทรัพยากรในประเทศอย่าง
หนักหน่วง แลกมาด้วยปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่างรุนแรงไม่
เว้นในเมืองหางโจว โดยเฉพาะในเขตทะเลสาบตะวันตก
หรือที่เรียกว่าทะเลสาบซีหู ทะเลสาบสาคัญของเมือง
หางโจวก็ได้รับผลกระทบไปด้วย
ทะเลสาบซีหู ตั้งอยู่ด้านตะวันตกของเมือง
หางโจว บริเวณโดยรอบทะเลสาบกว้างประมาณ 15
กิโลเมตร เป็นทะเลสาบสาคัญทางประวัติศาสตร์ของเมือง
หางโจว เกิดเคียงคู่กับเมืองมากว่า 2,000 ปี มีทิวทัศน์
สวยงามเป็นที่ชื่นชอบของนักท่องเที่ยวทั้งจีนและ
ต่างประเทศมาตั้งแต่โบราณกาล กวีชาวจีนหลายคนได้
ชื่นชมความงามของทะเลสาบแห่งนี้ มาตั้งแต่พุทธ
ศตวรรษที่ 14 และเป็นแหล่งกาเนิดของนิทานพื้นบ้าน
เรื่องนางพญางูขาว อันเป็นที่รู้จักกันดี เรียกได้ว่าเป็น
ทิวทัศน์ล้าค่าของเมืองหางโจว
การพัฒนาอย่างหนักไม่สามารถยกเว้น
ผลกระทบให้แก่ทะเลสาบแห่งนี้ หลังการพัฒนา คุณภาพ
น้าในทะเลสาบซีหูเสื่อม มีการปนเปื้อนของสารเคมี จาก
การผลิตที่ไหลลงสู่แม่น้าทาให้คุณภาพน้าแย่ลง อีกทั้งการ
ไหลเวียนของน้าก็มีปัญหาด้วย
FURD Cities Monitor July 2017 | 16
17 | FURD Cities Monitor July 2017
หัวใจสาคัญของสิ่งแวดล้อมหางโจว
เมื่อการพัฒนาเดินทางมาถึงจุดสูงสุด
หางโจวกลายเป็นเมืองเศรษฐกิจที่สาคัญแห่งหนึ่งของจีน
แล้ว รัฐบาลเมืองหางโจวเริ่มหันมาสนใจคุณภาพชีวิตของ
คนในเมือง โดยเฉพาะการปรับปรุงสภาพแวดล้อมเมือง
ครั้งใหญ่ หลังจากที่ถูกทาลายไปมากให้กลับมาสวยงาม
ดั้งเดิม ในปี 2002 รัฐบาลเมืองหางโจวได้สร้างแผนพัฒนา
ระยะ 5 ปี ฉบับที่ 9 (Ninth Five-Year Plan) มีแผนแม่บท
คือ การพัฒนาทะเลสาบซีหูเพื่อให้กลายเป็นจุดชมวิว
สาคัญของเมืองหางโจว และการพัฒนาสาธารณูปโภคขั้น
พื้นฐานของเมือง แผนดังกล่าวพัฒนาร่วมกับ แผน
คุ้มครองสิ่งแวดล้อมแห่งชาติฉบับที่ 11 ที่ต้องการพัฒนา
เมืองหางโจวเจริญเติบโตทางอุตสาหกรรม พร้อมกับสร้าง
เมืองนิเวศวิทยาด้วย เพื่อดูแลรักษาทะเลสาบและภูเขา
ของเมืองหางโจว นาไปสู่การผลักดันให้หางโจวเป็นเมือง
ท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม จึงหวังเป็น
อย่างยิ่งว่าการพัฒนาเมืองที่ดูแลสิ่งแวดล้อมจะเป็น
รากฐานที่ดีสาหรับการพัฒนาเมืองที่ยั่งยืน
ตั้งแต่ปี 2002 เป็นต้นมา รัฐบาลเมือง
หางโจวทุ่มเททั้งทรัพยากรคน เทคโนโลยีต่างๆ เข้า
พัฒนาสิ่งแวดล้อมเมือง เมืองหางโจวดาเนินโครงการดูแล
รักษาสิ่งแวดล้อมกว่า 605 โครงการ และที่สาคัญคือการ
พัฒนาทะเลสาบซีหู และบริเวณรอบทะเลสาบซีหู ให้เป็น
หัวใจของสิ่งแวดล้อมที่ดีในเมืองหางโจว ที่ให้คนในเมือง
มาพักผ่อน และคนนอกมาท่องเที่ยว ทะเลสาบซีหูได้รับ
การแก้ไขคุณภาพน้าด้วยมาตรการต่างๆ มีการสร้าง
ระบบระบายน้ารอบทะเลสาบเพื่อให้สามารถระบายน้า
ออกไปได้ นอกจากนี้ยังมีการขุดลอกคลองเป็นระยะที่
ดาเนินการมาตั้งแต่ปี 1952 1976 และ 1999-2003
บริเวณรอบทะเลสาบก็ได้รับการจัดการอย่างดี เช่น จัดให้
มีถนนที่กว้างเพียงพอสาหรับการเดิน การปั่นจักรยาน
รวมไปถึงการมีเจ้าหน้าที่ดูแลเก็บกวาดขยะ ดูแลความ
สะอาดทุกตารางเมตร เป็นต้น
ฟื้นทะเลสาบ..
FURD Cities Monitor July 2017 | 18
ปัจจุบัน หากใครได้ไปเยือนเมืองหางโจว จะ
พบว่าบริเวณทะเลสาบซีหู เป็นหัวใจสาคัญของเมือง
หางโจว เพราะบริเวณแห่งนี้มีเป็นแหล่งรวมตัวขนาดใหญ่
ของคนเมืองหางโจว ที่เข้ามาพักผ่อน เดินเล่น ออกกาลัง
กาย ปั่นจักรยาน รวมไปถึงการทากิจกรรมที่สนุกสนาน
เช่น การนั่งเรือในทะเลสาบ การเต้น การเล่นว่าว เป็นต้น
ด้วยทัศนียภาพที่สวยงามของทะเลสาบซีหู
รวมถึงการจัดการรอบทะเลสาบ ไม่เพียงแต่ช่วยให้คน
เมืองได้มีแหล่งธรรมชาติให้พักผ่อน ยังดึงดูดผู้คนให้มา
เยือนหางโจวทั้งจากคนในประเทศจีน และจาก
ต่างประเทศ นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่ที่มาหางโจวต้องมา
เยือนบริเวณทะเลสาบแห่งนี้ เพื่อมาชมทัศนีภาพ
ทะเลสาบ รวมถึงบริเวณรอบทะเลสาบก็เป็นสถานที่
ประวัติศาสตร์ เช่น มีพิพิธภัณฑ์ มีอาคารสาคัญ เป็นต้น
เมื่อทะเลสาบซีหูเป็นสถานที่นิยมของนักท่องเที่ยว ทาให้
เมืองหางโจวมีการหลั่งไหลของผู้คนเข้ามาเที่ยวในเมือง
ปีละไม่ต่ากว่า 38 ล้านคน ซึ่งทาให้เมืองหางโจวโดดเด่น
ในเรื่องการท่องเที่ยวมากกว่าภูมิภาคอื่นๆ ของจีน เมือง
หางโจวเป็นเมืองค่าครองชีพค่อนข้างสูง และนักท่องเที่ยว
ส่วนใหญ่ที่เข้ามาล้วนแต่เป็นนักท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ มี
แนวโน้มที่จะจ่ายเงินพักผ่อนให้หางโจวได้
ความพยายามในการสร้างเมืองที่มี
สภาพแวดล้อมที่ดี และสภาพแวดล้อมทางนิเวศวิทยาก็
ได้รับการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ทาให้ในปี 2001 หางโจว
ได้รับรางวัลกิตติมศักดิ์ในฐานะเมืองต้นแบบด้าน
สิ่งแวดล้อม (National Environmental Protection Model
City) ในปี 2005 และ ปี 2009 หางโจวได้รับการเสนอชื่อ
เข้าชิงเป็นหนึ่งในเมืองนาร่องการพัฒนาอารยธรรม
นิเวศวิทยาในประเทศจีน และในปี 2011 ด้วยความสาคัญ
ทางประวัติศาสตร์ และความสวยงาม ทาให้ทะเลสาบซีหู
ได้รับการลงทะเบียนขึ้นเป็นมรดกโลกในการประชุม
คณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญครั้งที่ 35 ที่กรุง
ปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในชื่อ "ภูมิทัศน์วัฒนธรรม
ทะเลสาบตะวันตกในหางโจว" ด้วย
ความสาเร็จนี้ยิ่งทาให้เมืองหางโจวยังมุ่งมั่น
ที่จะทาให้เมืองเป็นเมืองที่มีกฎระเบียบด้านสิ่งแวดล้อมที่
เข้มงวดมากที่สุด เพื่อช่วยยกระดับคุณภาพสิ่งแวดล้อมใน
ระบบนิเวศของเมือง เพื่อให้เมืองหางโจวกลายเป็นเมืองที่
มีการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม 3 ด้านนี้จะ
เป็นความสมดุลที่จะช่วยให้เมืองหางโจวเป็นเมืองที่มี
รากฐานการพัฒนาอย่างยั่งยืนได้
ทะเลสาบซีหู
แลนด์มาร์กของเมืองหางโจว
REFERENCE :
- Zhang Qian, Masahiro Yabuta ,Koki Nakamura. (2008). Eco-
tourism Development and the Community Structure At West
Lake in Hangzhou. Tokyo: Chuo University.
- Hangzhou Environmental Protection Bureau
19 | FURD Cities Monitor July 2017
ล้าพังแค่การมีต้นไม้กับเลนจักรยานไม่ได้หมายความว่าเมืองของคุณจะกลายเป็น
เมืองสีเขียวได้ในทันที แต่การจะเป็นเมืองสีเขียวได้นั้นเมืองต้องส่งเสริมการเพิ่มพื้นที่
สีเขียวควบคู่ไปกับการลดพฤติกรรมที่กระทบต่อสิ่งแวดล้อมด้วยต่างหาก โดยเฉพาะการ
เดินทางขนส่งในเมืองที่ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ออกมามหาศาล ซึ่งเมือง
หางโจวก็ประสบและเล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าว จึงพยายามหาวิถีทางในการลดการปล่อย
ก๊าซ CO2 อย่างครอบคลุม เป็นระบบ และเน้นแก้ไปที่ต้นเหตุ ซึ่งมีด้วยกัน 3 แนวทาง
REFERENCE :
- David Banister and Jian Liu. (2013). “Urban Transport and the Environment, Hangzhou, China.” Retrieved from https://unhabitat.org/
wp-content/uploads/2013/06/GRHS.2013.Case_. Study_.Hangzhou.China_.pdf
- HSBC. (2016). “HANGZHOU Our guide to the city hosting this year's G20.” Week in China SINOPOLIS, Retrieved from https://
www.weekinchina.com/wp-content/ uploads/2016/02/Sinopolis-Hangzhou-v1.pdf
- Xinhua. (2016). 2,563 scattered charging piles established in Hangzhou. http://www.globaltimes.cn/content/1026484.shtml
FURD Cities Monitor July 2017 | 20
การเดินทางโดยไม่ใช้เครื่องยนต์ซึ่ง
ก็คือการเดินและขี่จักรยาน ถือเป็น
นโยบายหลักด้านการขนส่งในเมือง
หางโจวที่ครอบคลุมทั้งการวางผังเมืองและ
ผังระบบขนส่ง การก่อสร้างโครงสร้าง
พื้นฐาน ตลอดจนการออกกฎหมาย
ข้อบังคับ เพื่อให้การเดินทางโดยไม่ใช้
เครื่องยนต์ครอบคลุมทั่วถึงทั้งเมืองและ
เข้าถึงได้ง่าย โดยเครื่องจักรสาคัญที่เมือง
หางโจวใช้ขับเคลื่อนการเดินทางรูปแบบนี้
คือ ‘การให้บริการจักรยานสาธารณะ’
นั่นเอง
ด้วยเขตเมืองหางโจวได้เติบโต
อย่างรวดเร็วและไร้ทิศทาง คนเมืองจึงหัน
มาใช้รถยนต์ส่วนตัวกันมากขึ้น ทาให้
ปริมาณการใช้จักรยานในเมืองลดลงจาก
60% ในปี 1997 เหลือเพียง 33.5% ในปี
2007 นายกเทศมนตรีหวังกั๋วผิงจึงออก
มาตรการใช้ระบบบริการจักรยาน
สาธารณะในปี 2008 ซึ่งถือเป็นระบบ
บริการจักรยานสาธารณะแห่งแรกใน
ประเทศจีน โดยมีจุดบริการ 61 แห่ง มี
จักรยานรวมทั้งหมด 2,500 คัน เพียงแค่มี
บัตรประชาชนหรือแอปพลิเคชัน WeChat
ก็ใช้บริการได้เลย ด้านอัตราค่าบริการ
ชั่วโมงแรกใช้ฟรี ชั่วโมงที่สองและสามเก็บ
ค่าบริการ 1 หยวนและ 2 หยวนตามลาดับ
ส่วนชั่วโมงต่อ ๆ ไปเก็บค่าบริการชั่วโมง
ละ 3 หยวน จวบจนปัจจุบันเมืองหางโจวมี
จุดบริการจักรยานสาธารณะมากถึง 2,700
แห่งและให้บริการจักรยานมากกว่า
66,500 คัน (HSBC, 2016) ตั้งอยู่ตามป้าย
รถเมล์ สถานีรถไฟใต้ดิน เขตที่พักอาศัย
แหล่งท่องเที่ยว และสถาบันการศึกษา
นอกจากนี้ หางโจวยังมีการออกแบบ
โครงสร้างพื้นฐานสาหรับการขี่จักรยาน
และการเดินทางเท้าไว้ด้วย (ภาพล่าง)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)

FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.7 (DECEMBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.7 (DECEMBER 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.7 (DECEMBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.7 (DECEMBER 2017)
FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD_RSU
 
2012 - Year in Review (thumbsup - Thailand)
2012 - Year in Review (thumbsup - Thailand)2012 - Year in Review (thumbsup - Thailand)
2012 - Year in Review (thumbsup - Thailand)
Moonshot Digital
 
แผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยว
แผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยวแผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยว
แผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยว
icecenterA11
 
Smart farm white paper chapter 4
Smart farm white paper chapter 4Smart farm white paper chapter 4
Smart farm white paper chapter 4
Pisuth paiboonrat
 

Ähnlich wie FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017) (20)

FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
 
FURD CITIES MONITOR VOL.7 (DECEMBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.7 (DECEMBER 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.7 (DECEMBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.7 (DECEMBER 2017)
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
 
FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)
 
Unemployment
UnemploymentUnemployment
Unemployment
 
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
 
Unemployment
UnemploymentUnemployment
Unemployment
 
FURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORT
 
2012 - Year in Review (thumbsup - Thailand)
2012 - Year in Review (thumbsup - Thailand)2012 - Year in Review (thumbsup - Thailand)
2012 - Year in Review (thumbsup - Thailand)
 
20181005 etda annual 2017 seed-view-compressed
20181005 etda annual 2017 seed-view-compressed20181005 etda annual 2017 seed-view-compressed
20181005 etda annual 2017 seed-view-compressed
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีนการบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน
 
Application
ApplicationApplication
Application
 
The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)
 
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
 
1
11
1
 
แผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยว
แผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยวแผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยว
แผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยว
 
Smart farm white paper chapter 4
Smart farm white paper chapter 4Smart farm white paper chapter 4
Smart farm white paper chapter 4
 
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
 
G-Magz_V40
G-Magz_V40G-Magz_V40
G-Magz_V40
 

Mehr von FURD_RSU

เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
FURD_RSU
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
FURD_RSU
 

Mehr von FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
 

FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)

  • 1. ปี ที่ 1 ฉบับที่ 4 กรกฎาคม 2560 เมืองหางโจว เมืองสิ่งแวดล้อม หางโจวกับ การเดินทางสีเขียว ความปลอดภัย บนท้องถนนของจีน หางโจวที่คุณ ‘ต้องรู้’
  • 2. i | FURD Cities Monitor July 2017 บรรณาธิการ ยุวดี คาดการณ์ไกล ผู้ช่วยบรรณาธิการ อรุณ สถิตพงศ์สถาพร กองบรรณาธิการ ณัฐธิดา เย็นบารุง จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ อรุณ สถิตพงศ์สถาพร ออกแบบและรูปเล่ม อรุณ สถิตพงศ์สถาพร ภาพปก ยุวดี คาดการณ์ไกล ภาพในเล่ม จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ ณัฐธิดา เย็นบารุง เทวินทร์ แซ่แต้ อรุณ สถิตพงศ์สถาพร สานักข่าว Xinhua David Banister Jian Liu เผยแพร่ ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 CONTACT US FURD Cities Monitor July 2017 | ii ฉบับก่อนหน้านี้เราได้เสนอแนวคิด “Smart City” กับการพัฒนาเมือง แต่ลาพังเพียงแค่ความ “Smart” หรือการมีเทคโนโลยี มีนวัตกรรมในเมืองนั้นอาจยังไม่เพียงพอ เพราะการมุ่งเพียงเป็น “Smart City” โดยขาดมิติ ด้านอื่นๆ มารองรับ จะทาให้เมืองไม่สามารถเติบโตได้อย่างยั่งยืน สาหรับด้านสิ่งแวดล้อมของเมืองก็เป็นเรื่อง สาคัญยิ่งในยุคปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นการเพิ่มพื้นที่สีเขียว การประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานทางเลือก ตลอดจนการป้ องกันปัญหาน้าท่วม ล้วนเป็นหัวใจที่ส่งผลให้เมืองและคนเมืองมีสุขภาวะที่ดี ดังนั้น เมืองจึงต้องมี ความ “Smart” และ “Green” ควบคู่กันไป FURD Cities Monitor ฉบับนี้ขอนาเสนอตัวอย่างเมือง "Smart & Green" ที่กาลังมาแรง เป็นเมืองแห่ง นวัตกรรม พัฒนาเศรษฐกิจอินเทอร์เน็ต มีวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์อันยาวนาน... มีการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ เอื้อต่อวิถีชีวิตคนเมือง นั่นก็คือ “เมืองหางโจว” ผู้อ่านสามารถติดตามรายละเอียดได้ในฉบับ ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ
  • 3. 1 | FURD Cities Monitor July 2017 เมืองหางโจว ชื่อนี้ปรากฏโดด เด่นมากในเวทีโลกเมื่อปลายปีที่แล้ว เพราะเมืองนี้ถูกคัดเลือกเป็นสถานที่ จัดการประชุมสุดยอดระดับโลก G20 สาหรับคนจีนแล้ว เมืองนี้ไม่ใช่ เมืองใหม่เป็นที่รู้จักกันในฐานะเมืองเก่าแก่ แห่งหนึ่งในทางประวัติศาสตร์ มีความ รุ่งเรืองทางเศรษฐกิจตั้งแต่สมัยราชวงศซ่ง เป็นเศรษฐกิจการเกษตรที่ผลิตผ้าไหม ใบ ชา กระดาษ และงานฝีมือต่างๆ ส่งไป จาหน่ายทั่วโลก สาหรับนักท่องเที่ยวต่างชาติ อย่างเราๆ ถ้าได้ไปเซี่ยงไฮ้แล้ว ก็จะไม่ พลาดแวะเมืองหางโจว บริษัททัวร์ส่วน ใหญ่ก็มักจัดให้อยู่ในโปรแกรม อะไรคือเสน่ห์ของหางโจว มีอะไร น่าดึงดูด จนทาให้เมืองหางโจวกลายเป็น พื้นที่ที่มีบทบาทสาคัญในวันนี้ ในสื่อจีนมีการตั้งคาถามว่า ทาไม เมืองหางโจวถึงได้รับเลือกให้เป็นสถานที่ สาคัญของการประชุมสุดยอด G20 ในปี ล่าสุด ค.ศ.2016 ทาไมรัฐบาลจีนไม่เลือก เมืองปักกิ่งหรือเซี่ยงไฮ้ ซึ่งเป็นเมืองขนาด ใหญ่มีความพร้อมทุกด้าน มีผู้ตั้ง ข้อสังเกตไว้น่าสนใจ ดังนี้ - 2008 รัฐบาลโดยคณะกรรมการ โอลิมปิคได้เลือก ปักกิ่ง เป็นสถานที่ จัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิค - 2010 รัฐบาลโดยคณะกรรมการจัด งานเอ็กซ์โป ได้เลือก เซี่ยงไฮ้ เป็นสถานที่จัดงาน เอ็กซ์โปโลก - 2011 รัฐบาลเลือก เมืองกวางโจว เป็นสถานที่ จัดกีฬาเอเชี่ยนเกมส์ - 2014 รัฐบาลเลือก เมืองนานกิง เป็นสถานที่ จัดกรแข่งขันกีฬาโอลิมปิค เยาวชน หากวิเคราะห์ดูก็จะพบว่า เมือง เหล่านี้ล้วนมีจุดเด่นเป็นเมืองอยู่แนวหน้า First-Tier Cities (ดู Box 1-2) หรือไม่ก็ ใกล้เคียง ส่วนพลังทางเศรษฐกิจล้วนจัดอยู่ ใน 10 ลาดับต้นๆ การบริหารของรัฐบาลจีนนั้น ก็จะ มีนโยบายที่มอบหมายให้เมืองสาคัญของ จีนเป็นสถานที่จัดการแข่งขันระดับโลก หรือมีการจัดกิจกรรมระดับนานาชาติ ไม่ เพียงแต่จะช่วยปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน ของเมืองให้ดีขึ้น แต่ยังเป็นโอกาสที่จะ ยกระดับชื่อเสียง ความสามรถและความ โดดเด่นของเมือง อีกด้วย ปักกิ่ง เซี่ยงไฮ้ กวางโจว เป็น เมืองที่ประสบความสาเร็จเป็นที่รู้จักของ คนทั่วโลกแล้ว แต่รัฐบาลจีนยังรู้สึกว่าเมือง ระดับแนวหน้ายังมีไม่พอ ยังต้องช่วย พัฒนาเมืองอื่นๆขึ้นมาให้อยู่ในระดับ First- Tier Cities เพิ่มมากขึ้น หางโจว จึงเป็นเมืองหนึ่งที่กาลัง ถูกฟูมฟักยกระดับขึ้นมาให้อยู่แนวหน้า กล่าวกันว่าในช่วงที่ผ่านมา การพัฒนาของ หางโจวเริ่มเกิดเป็นคอขวด แม้มีการ พัฒนามากแต่ก็ยังรู้สึกขาดอะไรบางอย่าง มาบัดนี้ รัฐบาลส่วนกลางของจีนได้เลือก เมืองหางโจว ให้เป็นเจ้าภาพจัดการ ประชุมสุดสอด G20 น่าจะมีเหตุผลสาคัญ ที่เห็นศักยภาพและความพร้อมของ หางโจวที่ก้าวขึ้นสู่เวทีโลก ดังนี้ เมื่อ พูดถึงหางโจว เมืองนี้จะให้ภาพทาง ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมที่สาคัญของจีน เช่น มีทะเลสาบซีหู มีคลองขุดโบราณ ขนาดใหญ่และยาวที่สุดในโลก เป็นต้น ในประวัติศาสตร์จีนเมือง หางโจวเคยแสดงบทบาทความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศอยู่หลายหน เช่น เมื่อครั้ง ที่นิกสันมาเยือนจีนเพื่อสร้างสัมพันธไมตรี เจรจาหลายครั้งไม่สาเร็จ จนกระทั่ง โจวเอินไหลได้เปลี่ยนสถานที่เจรจามาที่ หางโจว สุดท้ายบรรลุข้อตกลงและสามารถ ออกแถลงการณ์ร่วมได้ เมืองหางโจว Smart City Green City FURD Cities Monitor July 2017 | 2 เมืองหางโจวถือเป็นแกน หลักของเขตเศรษฐกิจสามเหลี่ยมแม่น้า แยงซีเกียง จึงถูกจับตามองในด้านการ พัฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิจ เ ป็ น อ ย่ า ง ม า ก ขณะเดียวกัน บริษัทอีคอมเมิร์ซที่ใหญ่ ที่สุดในโลกคือ บริษัทอาลีบาบาก็ตั้งอยู่ที่ หางโจว เศรษฐกิจของหางโจวจึงถือได้ว่า มีพลวัตมากที่สุดเมืองหนึ่งของจีน ธนาคารโลกยังยกย่องให้หางโจว เป็นเมืองสิ่งแวดล้อมที่มีการลงทุนใน ภาพรวมของเมืองได้ดีที่สุดของจีน และ นิตยสาร Forbes ยกย่องให้หางโจวเป็น เมืองอันดับหนึ่งของเมืองการค้าที่ดีที่สุด ของจีน สานักงานใหญ่ของบริษัทรถยนต์ Geely ของจีนที่ซื้อบริษัทรถยนต์วอลโว่ ก็ ตั้งอยู่ที่หางโจว สาหรับบริษัทอาลีบาบาที่เป็น ตัวแทนเศรษฐกิจอีคอมเมิร์ซไม่เพียง สนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจของ หางโจว ยังเป็นตัวแทนของการพัฒนา เศรษฐกิจที่เป็นแนวโน้มของโลกในอนาคต จากการสารวจของ Nielsen แสดงให้เห็น ว่า บริษัทอีคอมเมิร์ซของหางโจวมีอิทธิพล อย่างกว้างขวางต่อทั่วทั้งประเทศจีนและ แม้กระทั่งทั่วโลก ในปัจจุบัน ที่เมือง หางโจวนับรวมเว็บไซต์ด้านอีคอมเมิร์ซได้ มากกว่าหนึ่งในสามของทั้งประเทศจีน ในด้านก ารช าระ เงิน ทา ง อิเล็กทรอนิกส์ คลาวด์คอมพิวติ้ง การ จัดส่งสินค้าแบบด่วน การตลาดแบบ ออนไลน์ เทคโนโลยีสารสนเทศ การ ให้บริการด้านการดาเนินงานและอื่นๆ เป็น ต้น มีผู้ให้บริการด้านอีคอมเมิร์ซที่ เชี่ยวชาญที่เกิดขึ้นใหม่จานวนมาก ใน จานวนนี้รวมถึง Platform ของอีคอมเมิร์ซ B2B ที่ใหญ่ที่สุดในโลก Platform การค้า ปลีกทางออนไลน์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก และ Platform การชาระเงินอิเล็กทรอนิกส์ที่ ใหญ่ที่สุดในโลก หางโจวเป็นเขตสาธิต นวัตกรรมที่เป็นอิสระระดับประเทศ บรรยากาศทางธุรกิจเข้มข้น สถาบัน การเงินมีหลากหลายและจานวนมาก และ ยังเป็นนวัตกรรมที่ล้วนอยู่ในระดับแนว หน้าของประเทศ สถาบันการเงินหลาย แห่งจัดให้มีบริการเงินทุนสาหรับ ผู้ประกอบการ สามารถตอบสนองความ ต้องการที่หลายหลายของผู้ประกอบการ สิ่งเหล่านี้คือจุดเด่นและข้อได้เปรียบ หางโจวยังมีแผน 3 ปี ที่จะพัฒนาให้เป็น สวรรค์ของผู้ประกอบการ ในปี 2017 หางโจวจะสร้างการบ่มเพาะนวัตกรรมทุก ประเภท สร้างพื้นที่จานวนมากเพื่อดึงดูด ผู้ประกอบการนวัตกรรมระดับชั้นนาจาก ต่างประเทศ เพิ่มการลงทุนในด้าน นวัตกรรมและวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี กระตุ้นให้เกิดพลังนวัตกรรมของสังคมและ ศักยภาพความคิดสร้างสรรค์ ด้วยศักยภาพของเมืองหางโจว ดังที่กล่าวข้างต้น จึงมีการกล่าวกันว่า ไม่ ว่าที่ใดในเมืองหางโจวที่มีแสดงอาทิตย์ ส่องถึงที่นั่นย่อมมี WiFi ให้เชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ตได้ ด้วยเหตุนี้เอง หางโจวจึง กลายเป็นเมืองที่ดึงดูดคนรุ่นใหม่วันนี้ ปรารถนาที่จะเข้าไปหางานทาอย่างมาก กระนั้นก็ตาม หางโจวยังมีการจัดการผัง เมืองที่ดี จัดการสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่ มี พื้นที่สีเขียว ใช้แบตเตอรี่ในรถโดยสาร สาธารณะ รวมทั้งรถยนต์ส่วนบุคคล ทาให้ ลดมลพิษในเขตเมืองอย่างมาก จึงเหมาะ แก่การอยู่อาศัย ไม่เพียงเป็น Smart City ยังเป็น Green City อีกด้วย ซึ่งจะได้กล่าว ต่อไป
  • 4. 3 | FURD Cities Monitor July 2017 เนื่องจาก จีนมี 613 เมือง ซึ่ง แบ่งออกเป็น 4 ระดับชั้น เกณฑ์ที่ นามาใช้แบ่งชั้นของเมืองมีหลายปัจจัย ด้วยกัน แต่ปัจจัยหลักๆ ประกอบด้วย GDP การเมือง และประชากร GDP เมืองของจีนมี GDP ตั้งแต่ 350 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ จนถึง เมืองขนาดเล็กที่มี GDP ต่ากว่า 20 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ การเมือง เป็นการบริหารทาง การเมืองของจีน จีนมีการบริหาร 4 ระดับ และ เขตบริหารพิเศษ 2 เขต ประชากร เมืองที่เป็นแกนหลัก และพื้นที่เขตเมืองที่อู่รอบๆ เมืองสาคัญ จะถูกกาหนดให้เป็นพื้นที่ Metropolitan เมื่อเร็วๆนี้ รัฐบาลกลางของจีน ได้ออกมาประกาศว่า เมืองของจีนจะต้อง หลีกเลี่ยงการพัฒนาเมืองไปในรูปแบบ เ ดี ย ว กั น ค ว ร เ น้ น คุ ณ ค่ า ท า ง ประวัติศาสตร์ที่เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละ เมือง โดยออกนโยบายใหม่เพื่อคุ้มครอง วัฒนธรรมของจีนแบบดั้งเดิมให้ดีขึ้น เมืองจะต้องมีการกาหนดการเก็บรักษา คุณค่าทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ ของตนเอง ปรับแต่งและเลือกตัวอย่างที่ โดดเด่นในเชิงสัญลักษณ์และคุณลักษณะ ทางวัฒนธรรมที่มีความพิเศษ โดยนาไป บรรจุไว้ในการวางผังเมือง พยายามใช้ พื้นที่สาธารณะให้เหมาะสมเพื่อให้เป็นที่ แสดงประติมากรรม สร้างเป็นจัตุรัส เป็น ต้น การพัฒนาอย่างรวดเร็วตลอดสี่ ทศวรรษที่ผ่านมาทางด้านเศรษฐกิจอย่าง ไม่ลืมหูลืมตานั้น ได้ทาลายอาคารเก่าแก่ ของจีน และแทนที่ด้วยตึกสูงระฟ้าและ อาคารสูงอื่นๆ ขณะที่บางสถานที่ใน เซี่ยงไฮ้และเทียนจินทาได้ค่อนข้างดีใน ด้านการคุ้มครองมรดกทางวัฒนธรรม ของเมือง เช่น สถาปัตยกรรมในยุค อาณานิคมของเมือง เป็นต้น ปัจจัย เมืองชั้นที่ 1 เมืองชั้นที่ 2 เมืองชั้นที่ 3 เมืองชั้นที่ 4 GDP เมืองทั้งหมดที่อยู่ในชั้นที่ 1 มี GDP มากกว่า 300 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เมืองที่มี GDP ระหว่าง 68 พันล้านดอลลาร์สหรัฐและ 299 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เมืองที่มี GDP ระหว่าง 18 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และ67 พันล้านดอลลาร์ สหรัฐ เมืองที่มี GDP ต่ากว่า 17 พันล้านดอลลาร์ สหรัฐ การเมือง เมืองที่รัฐบาลกลาง ควบคุมโดยตรง เมืองหลวงของแต่ละมณฑล (province) และเมืองที่ รองลงมาจากเมืองหลวง เมืองหลวงในระดับอาเภอ (prefecture) เมืองระดับเขต (county) ประชากร เมืองที่มีประชากร มากกว่า 15 ล้านคน เมืองที่มีประชากร 3 -15 ล้านคน เมืองที่มีประชากร 150,000 - 3 ล้านคน เมืองที่มีประชากร น้อย กว่า 150,000 คน FURD Cities Monitor July 2017 | 4 ประกอบด้วย Beijing, Tianjin, Shanghai, Chongqing, Shenzen เมืองชั้นที่ 1 นี้เป็นพื้นที่ที่มีการพัฒนา แล้วมากที่สุดของประเทศ ผู้บริโภคมีฐานะร่ารวย มากที่สุดและมีความซับซ้อน ประกอบด้วย Chengdu, Wu- han, Hangzhou, Harbin, Shenyang, Nanjing, Jinan, Changsha, Zhengzhou และอีก 20 เมือง เมืองชั้นที่ 2 นี้ มีการดึงดูดการลงทุน มากขึ้น มีบางพื้นที่ในเมืองนี้ที่มีการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจสูงมาก พฤติกรรมผู้บริโภคกาลัง พัฒนาข้นอย่างรวดเร็ว แนวโน้มด้านอื่นก็คล้าย เมืองชั้นที่ 1 ประกอบด้วย Daqing, Wei- fang, Changzhou, Zibo, Zhuzhou, Hengyang, Wuhu, Qujing โดยทั่วไปเมืองกลุ่มนี้ยังตามหลังเมือง ชั้นที่ 1 และ ชั้นที่ 2 ในด้านการพัฒนาและการ เติบโตทางเศรษฐกิจ แม้ว่าหลายเมืองมี ความสาคัญทางประวัติศาสตร์และเศรษฐกิจอย่าง มาก ประกอบด้วย Anshan, Baotou, Chazhou, Daqing, Datong, Fushun, Handan, Huzhou, Jilin, Liuzhou ซึ่งรวมแล้วมีถึง 400 กว่าเมือง เมืองกลุ่มนี้นับว่าเป็นที่อยู่อาศัยของ ประชากรกลุ่มใหญ่ของจีน มีการเปลี่ยนแปลงของ การพัฒนาอย่างรวดเร็ว มีศักยภาพสูงที่สามารถ ปรับเปลี่ยนยกระดับเมืองเหล่านี้ได้มาก
  • 5. 5 | FURD Cities Monitor July 2017 หางโจว (杭州) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ มีขนาดใหญ่ที่สุดของมณฑลเจ้อเจียง (浙江省) ทางตะวันออกของจีน มีพื้นที่รวม 16,596 ตารางกิโลเมตร ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบ ริมฝั่งแม่น้้าแยงซี หางโจวเป็นหนึ่งในหกเมือง เก่าแก่ของจีนที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า 2,200 ปี ผ่านความเจริญและความซบเซามา หลายต่อหลายครั้ง กระทั่งเข้าสู่ยุคการปฏิรูป ประเทศครั้งใหญ่ของเติ้ง เสี่ยวผิง (ค.ศ. 1978) มีการใช้จุดแข็งด้านภูมิศาสตร์ที่ตั้งของเมืองอัน อยู่ในเขตเศรษฐกิจสามเหลี่ยมปากแม่น้้าแยงซี ซึ่งเป็นเขตเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดของจีนมาเป็น หลักของการพัฒนาจนประสบความส้าเร็จ ท้า ให้ปัจจุบันหางโจวเป็นเมืองที่มีความเจริญมาก ที่สุดแห่งหนึ่งของจีน ใน ค.ศ. 2015 เมืองหางโจวมีประชากร 9.02 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 0.66 ของประชากร จีนทั้งประเทศซึ่งมีจ้านวน 1,371 ล้านคน (World Bank, 2016) นอกจากนี้ หางโจวยังเป็น เมืองหนึ่งที่มีจ้านวนประชากรเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่องท่ามกลางอัตราการเกิดที่ลดลงซึ่งจีน ก้าลังเผชิญ สะท้อนถึงจุดแข็งด้านก้าลังคนที่ สามารถรองรับการเติบโตของเมืองได้ โดยใน ค.ศ. 2015 เมืองหางโจวมีแรงงานจ้านวน 6.63 ล้านคน และมีอัตราการว่างงานในระดับต่้าอยู่ที่ ร้อยละ 1.74 (Hangzhou Statistical Infor- mation net, 2016) REFERENCE : - HSBC. (2 0 1 6 ) . Hangzhou our guide to the city hosting this year's G2 0 . อ อ น ไ ล น์ https://www.weekin china.com/wp-content/uploads/2016/02/Sinopolis-Hangzhou-v1.pdf - Sayli Udas Mankikar. (2017). Smart like Hangzhou. ออนไลน์ http://www.thehindu.com/news/cities/mumbai/smart-like- hangzhou/article17533006.ece ส า ร ะ ข อ ง เ มื อ ง ที่ คุ ณ ‘ ต้ อ ง รู้ ’ FURD Cities Monitor July 2017 | 6 เศรษฐกิจของเมืองหางโจวในยุคปัจจุบันเริ่มเติบโตอย่าง ก้าวกระโดดนับตั้งแต่มีการเปิดประตูรับการลงทุนและการพัฒนา อย่างเป็นทางการใน ค.ศ. 1992 โดยเริ่มต้นจากการพัฒนา อุตสาหกรรมจนยกระดับขึ้นเป็นเมืองฐานการผลิตและศูนย์กลาง การขนส่งที่สาคัญบริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออกของจีน การเติบโต ดังกล่าวสะท้อนผ่านมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม (GDP) ของเมืองที่ เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วภายในเวลาไม่ถึง 20 ปี จากใน ค.ศ. 2001 ที่ มีมูลค่า 156.8 พันล้านหยวน เพิ่มมาเป็น 1.105 ล้านล้านหยวน ใน ค.ศ. 2016 สอดคล้องกับรายได้ประชากรต่อหัว (GDP per capita) ที่เพิ่มจาก 3,025 ดอลลาร์สหรัฐ เป็น 18,282 ดอลลาร์ สหรัฐ นอกจากนี้ เมื่อเทียบกับเศรษฐกิจของประเทศที่เริ่มชะลอ ตัว เศรษฐกิจเมืองหางโจวกลับมีอัตราการขยายตัวถึงร้อยละ 10.8 ใน ค.ศ. 2016 สูงกว่าการเติบโต GDP ของประเทศที่ลดลงมาอยู่ที่ ร้อยละ 6.7 ในปีเดียวกัน ซึ่ง ณ ปัจจุบัน หางโจวเป็นเมืองที่มี เศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 10 ของประเทศ อนึ่ง ปัจจัยสาคัญที่ส่งผลให้เศรษฐกิจเมืองหางโจวเติบโต ได้อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะตั้งแต่ ค.ศ. 2014 เป็นต้นมา คือการ ลงทุนของภาครัฐในอุตสาหกรรมเทคโนโลยี ภายใต้นโยบาย “Project Number 1” ที่มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาหางโจวสู่การเป็น Smart City ซึ่งในระยะแรกสามารถกระตุ้น GDP ของเมืองให้โต ขึ้นถึงร้อยละ 23 ในช่วงครึ่งแรกของ ค.ศ. 2015 และยังทาให้ ปัจจุบันอุตสาหกรรมขั้นตติยภูมิที่อาศัยเทคโนโลยีเป็นตัว ขับเคลื่อน เช่น บริการด้านการขนส่ง การค้าส่ง การค้าปลีก กลาย มาเป็นภาคส่วนที่สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจให้แก่เมืองมากที่สุด และมีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดย ค.ศ. 2015 อุตสาหกรรม ขั้นตติยภูมิมีสัดส่วน 2.9 : 38.9 : 58.2 เมื่อเทียบกับอุตสาหกรรม อีกสองขั้นที่เหลือ มีสัดส่วนการเติบโตจากปีก่อนร้อยละ 3 (Hangzhou Statistical Information net, 2016)
  • 6. 7 | FURD Cities Monitor July 2017 แนวทางการพัฒนาของเมืองหาง โจวตั้งแต่ ค.ศ. 2011 เป็นต้นมา ให้ ความสาคัญกับหลักการพัฒนาใหญ่ของ ประเทศที่เน้นการปฏิรูปโครงสร้าง เศรษฐกิจเพื่อสร้างความมั่นคงในการ เ ติบ โ ต แ ละ ข ย า ย ต ลา ด ผู้บ ริโ ภ ค ภายในประเทศเพื่อทดแทนการส่งออกที่ เริ่มชะลอตัว โดยธุรกิจภาคบริการเป็นภาค ส่วนสาคัญที่สุดที่รัฐบาลให้การสนับสนุน มี การอนุมัติงบประมาณพิเศษเพื่อกระตุ้น การเติบโตของภาคบริการสาขาต่างๆ ของ เมือง โดยพุ่งเป้าให้ธุรกิจบริการด้านไอที (IT) และซอฟต์แวร์ บริการโลจิสติกส์ รวม ไปถึงบริการให้คาปรึกษาโดยผู้เชี่ยวชาญ พัฒนาไปเป็นอุตสาหกรรมภาคบริการหลัก ตลอดจนยกระดับให้เมืองหางโจวเป็น ศูนย์กลางการส่งออกบริการด้านธุรกิจแห่ง ใหม่โดยเฉพาะบริการด้านข้อมูล สารสนเทศ หรือมีฐานะเป็น “ออฟฟิศของ โลก” (World Office) อย่างไรก็ดี ปัจจัยสาคัญที่จะช่วยให้ เมืองหางโจวพัฒนาสู่ความเป็นเมือง เศรษฐกิจที่ทันสมัยได้อย่างสมบูรณ์คือ “นวัตกรรม” แผนการพัฒนาเมืองจึงไม่ ละเลยที่จะเน้นพัฒนานวัตกรรมโดย ประสานความร่วมมือกับทุกภาคส่วนที่ เกี่ยวข้อง กุญแจสาคัญของการพัฒนาอยู่ที่ การสร้างกระบวนการวิจัยและพัฒนา (R&D) ให้สอดคล้องกับระบบการศึกษา และการจัดฝึกอบรมพัฒนาความเชี่ยวชาญ และทักษะแรงงานอย่างต่อเนื่อง ซึ่งทั้งหมด จะช่วยพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมบน ฐานความรู้ (Knowledge-based Economy & Society) ซึ่งตอบโจทย์การพัฒนาเมือง อย่างยั่งยืน นอกจากการพัฒนาเศรษฐกิจที่มุ่ง สร้างผลกาไรแล้ว เมืองหางโจวยังให้ ความสาคัญกับการจัดหาและพัฒนา ปัจจุบัน การเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันได้กลายมาเป็นเป้าประสงค์หลัก ส้าหรับทุกเมือง หางโจวก็เช่นกัน แผนพัฒนาต่างๆ ของเมือง ไม่ว่าจะเป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมฉบับที่ 12 ของมณฑลเจ้อเจียงและเมืองหางโจว (12th FYPs) แผนพัฒนาเมืองหางโจว 20 ปี ค.ศ. 2001 – 2020 รวมไปถึงแผนพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามเหลี่ยมปากแม่น้้าแยงซีเกียง (Yangtze River Delta) ต่างมีวัตถุประสงค์ที่สอดคล้องกันในการมุ่งเสริมสร้างขีดความสามารถ ในการแข่งขันของเมืองหางโจวอย่างรอบด้านทั้งเศรษฐกิจ สังคมและความเป็นเมือง ซึ่งแต่ละด้านมี รายละเอียด ดังนี้ FURD Cities Monitor July 2017 | 8 บริการทางสังคมให้แก่พลเมืองด้วยเช่นกัน โดยเพิ่มการลงทุนสร้างบริการทางสังคมที่ มีคุณภาพทั้งบริการสาธารณสุข บริการ สาธารณะ ไปจนถึงการดูแลความมั่นคง ทางสังคมในเรื่องสวัสดิการและการจ้างงาน เป้าหมายหลักคือ สร้างประโยชน์ให้แก่ ประชาชนโดยการยกระดับรายได้และ มาตรฐานความเป็นอยู่ ส่งเสริมและขยาย ฐานธุรกิจท้องถิ่นตลอดจนตลาดผู้บริโภค ของเมืองให้เข้มแข็ง ความก้าวหน้าของเศรษฐกิจที่ เกิดขึ้นได้ส่งเสริมและเร่งเร้าให้หางโจว พัฒนาสู่ความเป็นเมืองไปในเวลาเดียวกัน โดยเฉพาะในปัจจุบันที่ต้องผลักดันตัวเองสู่ การเป็น “แกนกลางของความเป็ น เมือง” (Urban Core) ทั้งในระดับมณฑล และระดับประเทศ อย่างไรก็ตาม เมือง หางโจวก็ยังประสบปัญหาการปรับตัวของ นโยบายและการพัฒนาที่ก้าวไม่ทันต่อการ เพิ่มจานวนของประชากรและความต้องการ สาธารณูปโภคพื้นฐานที่เพิ่มขึ้นอย่าง รวดเร็วในระยะเวลาไม่นานจนทาให้เกิด ภาวการณ์กระจุกตัวของประชากรที่แออัด ในเขตเมือง ดังนั้น แผนการพัฒนาที่มี แนวทางยุทธศาสตร์และวิสัยทัศน์ชัดเจนจึง เป็นสิ่งจาเป็นสาหรับการพัฒนาเมือง และ ด้วยเหตุดังกล่าว แผนแนวคิดเมืองหางโจว (The Hangzhou Concept Plan) ได้ถือ กาเนิดขึ้นมาตั้งแต่ต้นศตวรรษที่ 21 แม้จะ เพียงให้หลักการกว้างๆ ในการพัฒนาและ มิได้มีผลบังคับใช้ทางกฎหมาย แต่ก็มี อิทธิพลทางความคิดต่อแผนพัฒนาเมือง หางโจวเชิงปฏิบัติแผนอื่นๆ มาจนถึง ปัจจุบัน เพื่อสร้างระบบการพัฒนาที่เป็น รูปธรรม ใน ค.ศ. 2008 รัฐบาลเมือง หางโจวได้เสนอโครงการจัดตั้ง 20 เมือง ใหม่เพื่อแก้ปัญหาความแออัดของ ประชากรในเขตเมืองและกระจายการ พัฒนาไปสู่แถบชานเมืองและชนบทให้ได้ มากที่สุด ซึ่งเมืองใหม่ 10 เมืองแรกถูก กาหนดให้ตั้งบริเวณรอบแกนกลางของ เมือง (Urban Core) ส่วนอีก 10 เมืองจะ กระจายอยู่รอบนอกถัดออกมาบริเวณเขต หยูหาง (Yuhang) และเขตปกครอง ใกล้เคียงอื่นๆ ทั้ง 20 เมืองจะได้รับการ พัฒนาให้เป็นทาเลทองทางเศรษฐกิจ (Central Business Districts: CBDs) เป็น ศูนย์กลางการคมนาคม และเป็นที่ตั้งของ มหาวิทยาลัยรวมถึงสถาบันวิจัยและพัฒนา ซึ่งเมื่อดาเนินการเสร็จสมบูรณ์ แผน ดังกล่าวจะนามาซึ่งการกระจายตัวของ ความเจริญของเมือง อันจะช่วยลดการ กระจุกตัวของประชากรที่เดิมอยู่ในบริเวณ แกนกลางของเมืองลงไปได้ โดยคาดว่าแต่ ละเมืองจะมีประชากรเฉลี่ย 35,000 – 700,000 คน ทั้ง 20 เมืองรวมกันมี ประชากรประมาณ 3.52 ล้านคนใน ระยะแรก (ค.ศ. 2010) และคาดว่าจะเพิ่ม ถึง 9.3 ล้านคนใน ค.ศ. 2020
  • 7. 9 | FURD Cities Monitor July 2017 ท่ามกลางกระแสเทคโนโลยีดิจิทัล ที่ค่อยๆ ทวีความสาคัญต่อวิถีชีวิตมนุษย์ มากขึ้น แนวคิด Smart City จึงเริ่มเป็นที่ สนใจในสายตารัฐบาลจีน โดยเฉพาะตั้งแต่ การประชุม Shanghai Expo 2010 เป็นต้น มา รัฐบาลได้กาหนดเป้าหมายในการ พัฒนาเมืองของจีน 90 แห่งให้เป็นเมือง อัจฉริยะ ซึ่งหางโจวคือหนึ่งในเมืองที่ได้รับ เลือกมาเป็นอันดับต้นๆ จากศักยภาพและ ความพร้อมที่มีอยู่ จุดหมายปลายทาง สาคัญของการพัฒนาหางโจวในทุกวันนี้จึง อยู่ที่การก้าวสู่ความเป็นเมืองอัจฉริยะใน ด้านผู้นาเศรษฐกิจ Internet of Things (IoT) และเมืองต้นแบบที่ขับเคลื่อนด้วย E–Commerce Hangzhou Master Plan หรือแผนพัฒนาเมืองหางโจวถือเป็นกุญแจสาคัญที่ จะช่วยวางแนวทางการพัฒนาหางโจวสู่เมืองอัจฉริยะอย่างเป็นระบบ แผนนี้มีเป้าหมาย เพื่อส่งเสริมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมรูปแบบต่างๆ ของเมือง ทั้งด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ พลังงาน และการขนส่ง ทั้งยังสะท้อนถึงวิสัยทัศน์ที่กว้างขึ้นของ เมืองสาหรับการพัฒนาสู่อนาคตที่ปัจจุบันนโยบายของเมืองเน้นการปรับโครงสร้างทาง เศรษฐกิจและอุตสาหกรรมในท้องถิ่นด้วยการพัฒนาอุตสาหกรรมใหม่และนาเทคโนโลยี ขั้นสูงมาเป็นเครื่องมือกระตุ้นการขยายตัวของทุกภาคการผลิตดังที่กล่าวไปในข้างต้น การเปลี่ยนแปลงสาคัญที่สุดประการหนึ่งคือการกาหนดเขตเศรษฐกิจใหม่ขึ้นเป็นการ เฉพาะแยกออกจากเขตเมืองเก่าที่มีมรดกทางวัฒนธรรมและเขตชุมชนเพื่อมุ่งพัฒนา ภาคเศรษฐกิจแต่ละด้านอย่างจริงจังและหลีกเลี่ยงการสร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม รวมถึงวิถีเดิมของคนเมือง โดยเขตเศรษฐกิจใหม่ที่สาคัญมีด้วยกัน 3 เขต ได้แก่ FURD Cities Monitor July 2017 | 10 เข ต พัฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ เทคโนโลยีหางโจว (Hangzhou Eco- nomic & Technological Development Zone: HETDZ) จัดตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริมให้ เมืองหางโจวเป็นศูนย์กลางการพัฒนา อุตสาหกรรมสาขาสาคัญและเทคโนโลยี ทั้ง ยังให้ความสาคัญกับการมุ่งสู่การเป็น “ศูนย์ รวมข้อมูลสารสนเทศ” (Information Har- bor) และ “ศูนย์กลางการแพทย์แห่ง ใหม่” (New Medicine Habor) ตลอดจน การปฏิรูปให้กระบวนการผลิตใน อุตสาหกรรมทั้งหมดเป็นระบบไฮเทค เขตพัฒนาการส่งออกหางโจว (Hangzhou Export Processing Zone: Hangzhou EPZ) จัดตั้งขึ้นเพื่อสร้างระบบ การจัดการการส่งออกและการนาเข้าที่ได้ มาตรฐานอันจะช่วยอานวยความสะดวกให้ ทั้งภาคเอกชนและรัฐวิสาหกิจสามารถ เข้าถึงบริการได้อย่างครบถ้วนทั้งด้านการ ธนาคาร ศุลกากร ไปจนถึงระบบขนส่ง โลจิสติกส์ อุตสาหกรรมหลักของ EPZ ได้แก่ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และการ สื่อสารโทรคมนาคม และอุตสาหกรรม ยานยนต์ เขตพัฒนาอุตสาหกรรมไฮเทค หางโจว (Hangzhou High-tech Indus- trial Develop-ment Zone: HHTZ) เป็น เสมือนแหล่งรวมองค์ความรู้ของเมืองหาง โจว ด้วยเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยและ สถาบันวิจัยกว่า 50 แห่ง เป้าหมายหลัก ของ HHTZ คือการส่งเสริมการลงทุนด้าน อุตสาหกรรมเทคโนโลยี ซึ่งปัจจุบัน HHTZ ได้กลายเป็น 1 ใน 11 ฐานอุตสาหกรรม ระดับนานาชาติด้านซอฟต์แวร์ การ ออกแบบวงจรรวม (IC) ธุรกิจ Business Process Outsourcing (BPO) แ ล ะ แอนิเมชั่น โดย ค.ศ. 2013 HHTZ เป็นฐาน ที่ตั้งของบริษัทพัฒนาซอฟต์แวร์และ BPO กว่า 1,100 แห่ง อาทิ บริษัทเทคโนโลยีทรง อิทธิพลระดับโลก ทั้ง Nokia Panasonic Mitsubishi IBM NTT Microsoft และ AI- SIN แม้แต่ Alibaba Group ธุรกิจการค้า ออนไลน์ที่ใหญ่ติดอันดับต้นของโลกก็เลือก เขตเศรษฐกิจนี้เป็นที่ตั้งสานักงานใหญ่ ทุก วันนี้ HHTZ จึงเป็นที่รู้จักในฐานะ "Silicon Valley" ของประเทศจีน แม้แต่การประชุม G20 ประจาปี 2016 ที่ผ่านมาซึ่งเมืองหาง โจวเป็นเจ้าภาพก็ถูกจัดขึ้นในเขต HHTZ ด้วยเช่นกัน
  • 8. 11 | FURD Cities Monitor July 2017 พื้นที่อุยกู่ อยู่ทางตอนเหนือของ เขตฟู่หยาง ห่างจากใจกลางเมืองหางโจว ประมาณ 15 นาที ด้วยภูมิศาสตร์ที่ดี พื้นที่ ดังกล่าวจึงถูกกาหนดให้เป็น Silicon Valley ของเมืองหางโจว โดยปัจจุบันเป็น ที่ตั้งสานักงานใหญ่ของบริษัทเทคโนโลยีผู้ สร้างสรรค์นวัตกรรมและการพัฒนาไฮเทค โดยเฉพาะด้านข้อมูลสารสนเทศ เช่น Alibaba Group บริษัทต่างชาติ ไปจนถึง บริษัท start-up ด้านเทคโนโลยีอีก มากมาย ปัจจุบันเขตอุยกู่จึงเติบโตอย่าง ต่ อ เ นื่ อ ง แ ล ะ เ ป็ น ที่ส น ใ จ ข อ ง ทั้ง ผู้ประกอบการธุรกิจ นักลงทุน และแรงงาน ในตลาดงานสายเทคโนโลยี เขตฟูหยาง เป็นเขตที่มีที่ตั้งอยู่ใน หุบเขา อาณาเขตประมาณ 3.62 ตาราง กิโลเมตร พื้นที่ดังกล่าวถูกกาหนดให้เป็น เมืองแห่งอุตสาหกรรมด้านยาแบบครบ วงจร เป็นศูนย์รวมของบริษัทยาซึ่งทา หน้าที่วิจัยผลิตยาตัวใหม่ ตลอดจนผลิต ส่วนผสมยาเพื่อส่งออกไปขายยัง ต่างประเทศนอกจากการเป็นศูนย์กลาง ผลิตและส่งออกยารักษาโลกแล้ว เขต ฟู่หยางยังถูกพัฒนาให้เป็นเมืองต้นแบบ ด้านสุขภาพแห่งใหม่ของจีน โดย ตั้งเป้าหมายการในเป็นศูนย์กลางแห่งการ ประชุมด้านสุขภาพ พัฒนาแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญและระบบการรักษา รวมถึง สร้างสิ่งแวดล้อมสีเขียวให้เหมาะต่อกับการ พักผ่อนและฟื้นฟูร่างกายของผู้ป่วย นิคมอุตสาหกรรมถงลู่ มีพื้นที่ ประมาณ 3.48 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ใกล้ กับมหาวิทยาลัยด้านอุตสาหกรรมและการ พาณิชย์ของมณฑลเจ้อเจียง เขตพื้นที่นี้ ถู ก ก า ห น ด ใ ห้เ ป็ น ศู น ย์ ร ว ม ข อ ง อุตสาหกรรมความปลอดภัยอย่างครบ วงจรโดยเน้นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ อุปกรณ์ไฮเทค รวมไปถึงการพัฒนา บุคลากรผู้เชี่ยวชาญ เพื่อก้าวสู่การเป็น ผู้นาด้านความปลอดภัยของมณฑล เจ้อเจียงและสามเหลี่ยมแม่น้าแยงซี ซึ่ง คาดว่าจะสามารถสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ ไ ด้ม า ก ก ว่ า ห นึ่ ง แ ส น ล้า น ห ย ว น นอกจากนั้น เขตถงลู่ยังถูกออกแบบให้ เป็นแหล่งท่องเที่ยว ที่ผู้คนสามารถเข้ามา เยี่ยมชมและพักผ่อนได้ไปในคราวเดียวกัน นอกจากนี้ โครงการจัดตั้ง 20 เมืองใหม่ที่รัฐบาลหางโจวริเริ่มมาตั้งแต่ ค.ศ. 2008 ปัจจุบันเริ่มมีความก้าวหน้าที่เห็นผลเป็นรูปธรรมมากขึ้น โดยเมืองใหม่หลายแห่ง ในเขตเศรษฐกิจใหม่ได้รับการส่งเสริมให้เป็นศูนย์กลางความเชี่ยวชาญด้านต่างๆ โดยเฉพาะด้านเทคโนโลยี เพื่อตอบโจทย์การเป็นเมืองอัจฉริยะของหางโจว บรรดาเมือง ใหม่ที่ส้าคัญ มีดังนี้ ที่มา : Hangzhou Urban Planning Exhibition Hall FURD Cities Monitor July 2017 | 12 เดิม ทีย่ าน ห ลง อูเป็ น แ ห ล่ ง ท่องเที่ยวที่สาคัญของเมือง แต่ในปัจจุบัน ได้ถูกพัฒนาให้เป็นเขตวัฒนธรรมแบบ สร้างสรรค์ คือ เป็นสถานที่ท่องเที่ยว พักผ่อนหย่อนใจควบคู่ไปกับการส่งเสริม การท่องเที่ยวเชิงนิเวศและวัฒนธรรม เช่น การเยี่ยมชมไร่ชา เขตค้าชา สัมผัสกับ วัฒนธรรมชาและประเพณีต่างๆ รวมถึง กีฬากลางแจ้ง นอกจากนี้ หลงอูยังได้รับ การยกระดับให้กลายเป็นเมืองแห่งชาหลง จิ่งที่สาคัญของมณฑลเจ้อเจียงและเป็นเขต ค้าขายชาหลงจิ่งที่ใหญ่ที่สุดของจีน มีเขต อุตสาหกรรมแห่งชาครบวงจร โดยใช้ วัฒนธรรมประเพณีในระดับหมู่บ้านเป็น กลไกนาการพัฒนา ระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) คือ การดาเนินธุรกิจโดย ใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ทางธุรกิจที่องค์กรได้วางไว้ เช่น การซื้อ ขายสินค้าและบริการ การโฆษณาผ่านสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์ โทรทัศน์ วิทยุ หรือแม้แต่อินเทอร์เน็ต เป็น ต้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดค่าใช้จ่าย และเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร ด้วยยุทธศาสตร์ของรัฐบาลจีนที่ กาหนดให้เขตเชียเฉิงใช้จุดแข็งด้านที่ตั้งที่ สามารถเชื่อมไปยังต่างประเทศได้มา พัฒนา E-Commerce เชื่อมระหว่าง ประเทศ โดยกาหนดพื้นที่เขตพัฒนา ประมาณ 2.9 ตร. กม. ในอนาคตรัฐบาล หางโจวคาดหวังว่าเชียเฉิงจะเป็นพื้นที่การ พัฒนาอย่างสร้างสรรค์ เป็นศูนย์กลางของ E-Commerce เป็ นบทบาทใหม่ที่จะ ยกระดับการค้าระหว่างประเทศของเมือง โดยเชื่อมโยงอุตสาหกรรมทั้งหมดเข้ากับ ระบบ E-Commerce อย่างสมบูรณ์ ตั้งอยู่ด้านตะวันออกของเขตไฮเทค เมืองหางโจว มีพื้นที่ประมาณ 3.66 ตาราง กิโลเมตร ศูนย์กลางการพัฒนาจะมี ประมาณ 1.5 ตารางกิโลเมตร รัฐบาล หางโจววางเป้าหมายให้บินเจียงเป็นเขต แห่งอุตสาหกรรม IoT หรือ “อินเตอร์เน็ต ของสรรพสิ่ง” ซึ่งหมายถึง การเชื่อมโยง ทุกสิ่งทุกอย่างสู่โลกอินเตอร์เน็ต ทาให้คน สามารถสั่งการควบคุมการใช้งานอุปกรณ์ ต่างๆ ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้อย่าง สะดวกรวดเร็ว เช่น การเปิด-ปิด อุปกรณ์ เครื่องใช้ไฟฟ้า รถยนต์ โทรศัพท์มือถือ เครื่องมือสื่อสาร เครื่องมือการเกษตร อ า ค า ร บ้า น เ รือ น เ ค รื่ อ ง ใ ช้ใ น ชีวิตประจาวันต่างๆ เป็นต้น ตลอดจนให้ ความสาคัญกับการพัฒนา iCloud Big Data และความปลอดภัยด้านข้อมูล อุปกรณ์ส่งสัญญาณที่ทันสมัย การผลิต ชิ้นส่วนต่างๆ ที่ช่วยให้การใช้ชีวิตของ มนุษย์และเทคโนโลยีเป็นหนึ่งเดียวกัน ซึ่ง ในอนาคตคาดว่าเขตบินเจียงจะกลายเป็น เขตพัฒนา IoT ที่สาคัญของจีนและของ โลกได้ นอกจาก 6 เมืองใหม่ข้างต้นแล้ว ยังมีอีกหลายเขตที่น่าสนใจ เช่น เขตเจี้ยนเต๋อที่จะ ถูกพัฒนาเป็นศูนย์กลางการบิน เขตเซียวซาน ศูนย์กลางด้านข้อมูล เขตถงหลู เมือง แห่งสุขภาพแบบครบวงจร เป็นต้น การพัฒนาทั้งหมดสะท้อนถึงการปรับตัวของเมืองสู่ การเติบโตอย่างชาญฉลาดด้วยการใช้ระบบอินเตอร์เน็ตและเทคโนโลยีควบคู่กับการดึง ต้นทุนด้านประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมมาจัดการเมืองอย่างมีประสิทธิภาพ
  • 9. 13 | FURD Cities Monitor July 2017 ด้วยหลักคิดที่ว่า “การสร้างเมืองอัจฉริยะที่สมบูรณ์ แบบ เทคโนโลยีไม่ได้เป็นคาตอบสุดท้าย แต่สิ่งที่สาคัญกว่า คือการนาเทคโนโลยีมาทาให้ชีวิตคนง่ายขึ้นและดีขึ้น” นอกจากความ Smart ด้านเศรษฐกิจแล้ว ทางการจีนรวมถึง เมืองหางโจวจึงให้ความสาคัญกับการนาเทคโนโลยีมาใช้ ประโยชน์ในการอานวยความสะดวกให้แก่คนเมืองด้วยการ เปิดตัวโครงการ Internet Plus ที่ส่งเสริมการใช้ระบบ อินเตอร์เน็ตบนโทรศัพท์มือถือเพื่อให้บริการด้านสาธารณะที่ ครอบคลุมทั่วทั้งเมือง เช่น ด้านการเดินทาง บริการด้าน สุขภาพ การศึกษา การให้บริการของระบบราชการ เป็นต้น การดาเนินงานสร้างเมืองอัจฉริยะที่สมบูรณ์นี้อาศัยการ ประสานงานระหว่างภาครัฐและเอกชน (Public Private Partnerships - PPP) อันได้แก่ Alibaba และอีก 13 บริษัท ยักษ์ใหญ่ร่วมมือกันพัฒนาระบบบริการอัจฉริยะขึ้นในเมือง และผลงานที่ออกมาเป็นรูปธรรมคือ Hangzhou Resident Card บัตรเพียงใบเดียวที่อานวยความสะดวกให้พลเมือง หางโจวสามารถใช้บริการต่างๆ ในเมืองได้อย่างครบวงจร ไม่ว่าจะเป็น ถอนเงินจาก ATM เช่าจักรยาน ตรวจการ เดินทางของรถเมล์ ซื้อของชา จองร้านอาหาร เข้าใช้บริการ ห้องสมุดหรือยิม ไปจนถึงการชาระภาษี บัตรดังกล่าวมี ลักษณะคล้ายบัตรประชาชนที่บันทึกข้อมูลทั้งหมดของผู้ใช้ เอาไว้ เพียงแต่เพิ่มนวัตกรรมที่ช่วยให้เจ้าของบัตรใช้ชีวิตได้ ง่ายขึ้นซึ่งเป็นประโยชน์อย่างมากโดยเฉพาะกับผู้สูงอายุ ซึ่ง ปัจจุบันมีประชาชนในหางโจวมากถึง 21 ล้านคน ใช้บริการ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) ต่างๆ ผ่านบัตรเป็น ประจา จนอาจกล่าวได้ว่า ณ ปัจจุบัน หางโจวกลายมาเป็น เมืองที่สามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศและ บริการอินเตอร์เน็ตบนระบบมือถือได้อย่างมีประสิทธิภาพ ที่สุดเมืองหนึ่งของโลก นอกจากการเป็นเมืองอัจฉริยะแล้ว หางโจวยังไม่ละเลยที่จะใช้นวัตกรรมในการดูแล รักษาธรรมชาติของเมืองซึ่งเป็นมรดกที่มีชื่อเสียงมาตั้งแต่อดีตให้คงอยู่อย่างสมบูรณ์ควบคู่ ไปกับการเติบโตของเศรษฐกิจและเทคโนโลยีที่ทันสมัยด้วยการสถาปนาความเป็น “เมือง สีเขียว” มีการปฏิรูประบบการคมนาคมของเมืองให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ทุกวันนี้ จักรยานได้กลายมาเป็นพาหนะหลักของคนแทนรถยนต์จนหางโจวถูกคาดการณ์ว่าเป็นเมือง ที่มีระบบจักรยานสาธารณะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ซึ่งคนในเมืองสามารถใช้บริการยืมคืน จักรยานที่กระจายอยู่ทั่วเมืองผ่านโทรศัพท์มือถือได้อย่างง่ายดาย นอกจากนี้ยังมีโครงการ นาร่องที่ภาครัฐร่วมมือกับบริษัท Alibaba นาเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการจราจร น้า และขยะ มูลฝอยอย่างมีประสิทธิภาพ FURD Cities Monitor July 2017 | 14 REFERENCE : พิพิธภัณฑ์เมืองหางโจว
  • 10. 15 | FURD Cities Monitor July 2017 - ณัฐธิดา เย็นบารุง - ในยุคเติ้ง เสี่ยวผิง (Deng Xiaoping) ก้าว ขึ้นมามีอานาจในจีนเมื่อ ค.ศ. 1976 เป็นช่วงเวลาทีจีน ดาเนินนโยบายปฏิรูปความเจริญของบ้านเมืองให้ทันสมัย โดยเปิดประเทศรับวิทยาการจากภายนอกเพื่อพัฒนา ประเทศให้ทันสมัยตามแบบตะวันตก เรียกว่า “นโยบาย สี่ทันสมัย” โดยเน้นพัฒนา 4 ด้าน คือ ด้านเกษตรกรรม ด้านอุตสาหกรรม ด้านการป้องกันประเทศด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประเทศจีน ณ ขณะนั้นเน้น การพัฒนาอุตสาหกรรมหนัก ที่ใช้พลังงานและใช้แรงงาน สูง เน้นการผลิตเพื่อการส่งออกให้มีการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจดีขึ้น ซึ่งประเทศจีนเศรษฐกิจก็เติบโตไม่ต่ากว่า 10 เปอร์เซ็นต์ต่อปี โดยการพัฒนาเริ่มจากเขตพื้นที่ที่ พร้อมสาหรับการพัฒนา นั่นก็คือ เขตด้านตะวันออกของ จีน อันเป็นที่ตั้งของมหานครเซี่ยงไฮ้ มณฑลเจ้อเจียง ที่มี เมืองหางโจวเป็นเมืองหลวง อย่างไรก็ตามการ เจริญเติบโตที่มาจากการใช้ทรัพยากรในประเทศอย่าง หนักหน่วง แลกมาด้วยปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่างรุนแรงไม่ เว้นในเมืองหางโจว โดยเฉพาะในเขตทะเลสาบตะวันตก หรือที่เรียกว่าทะเลสาบซีหู ทะเลสาบสาคัญของเมือง หางโจวก็ได้รับผลกระทบไปด้วย ทะเลสาบซีหู ตั้งอยู่ด้านตะวันตกของเมือง หางโจว บริเวณโดยรอบทะเลสาบกว้างประมาณ 15 กิโลเมตร เป็นทะเลสาบสาคัญทางประวัติศาสตร์ของเมือง หางโจว เกิดเคียงคู่กับเมืองมากว่า 2,000 ปี มีทิวทัศน์ สวยงามเป็นที่ชื่นชอบของนักท่องเที่ยวทั้งจีนและ ต่างประเทศมาตั้งแต่โบราณกาล กวีชาวจีนหลายคนได้ ชื่นชมความงามของทะเลสาบแห่งนี้ มาตั้งแต่พุทธ ศตวรรษที่ 14 และเป็นแหล่งกาเนิดของนิทานพื้นบ้าน เรื่องนางพญางูขาว อันเป็นที่รู้จักกันดี เรียกได้ว่าเป็น ทิวทัศน์ล้าค่าของเมืองหางโจว การพัฒนาอย่างหนักไม่สามารถยกเว้น ผลกระทบให้แก่ทะเลสาบแห่งนี้ หลังการพัฒนา คุณภาพ น้าในทะเลสาบซีหูเสื่อม มีการปนเปื้อนของสารเคมี จาก การผลิตที่ไหลลงสู่แม่น้าทาให้คุณภาพน้าแย่ลง อีกทั้งการ ไหลเวียนของน้าก็มีปัญหาด้วย FURD Cities Monitor July 2017 | 16
  • 11. 17 | FURD Cities Monitor July 2017 หัวใจสาคัญของสิ่งแวดล้อมหางโจว เมื่อการพัฒนาเดินทางมาถึงจุดสูงสุด หางโจวกลายเป็นเมืองเศรษฐกิจที่สาคัญแห่งหนึ่งของจีน แล้ว รัฐบาลเมืองหางโจวเริ่มหันมาสนใจคุณภาพชีวิตของ คนในเมือง โดยเฉพาะการปรับปรุงสภาพแวดล้อมเมือง ครั้งใหญ่ หลังจากที่ถูกทาลายไปมากให้กลับมาสวยงาม ดั้งเดิม ในปี 2002 รัฐบาลเมืองหางโจวได้สร้างแผนพัฒนา ระยะ 5 ปี ฉบับที่ 9 (Ninth Five-Year Plan) มีแผนแม่บท คือ การพัฒนาทะเลสาบซีหูเพื่อให้กลายเป็นจุดชมวิว สาคัญของเมืองหางโจว และการพัฒนาสาธารณูปโภคขั้น พื้นฐานของเมือง แผนดังกล่าวพัฒนาร่วมกับ แผน คุ้มครองสิ่งแวดล้อมแห่งชาติฉบับที่ 11 ที่ต้องการพัฒนา เมืองหางโจวเจริญเติบโตทางอุตสาหกรรม พร้อมกับสร้าง เมืองนิเวศวิทยาด้วย เพื่อดูแลรักษาทะเลสาบและภูเขา ของเมืองหางโจว นาไปสู่การผลักดันให้หางโจวเป็นเมือง ท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม จึงหวังเป็น อย่างยิ่งว่าการพัฒนาเมืองที่ดูแลสิ่งแวดล้อมจะเป็น รากฐานที่ดีสาหรับการพัฒนาเมืองที่ยั่งยืน ตั้งแต่ปี 2002 เป็นต้นมา รัฐบาลเมือง หางโจวทุ่มเททั้งทรัพยากรคน เทคโนโลยีต่างๆ เข้า พัฒนาสิ่งแวดล้อมเมือง เมืองหางโจวดาเนินโครงการดูแล รักษาสิ่งแวดล้อมกว่า 605 โครงการ และที่สาคัญคือการ พัฒนาทะเลสาบซีหู และบริเวณรอบทะเลสาบซีหู ให้เป็น หัวใจของสิ่งแวดล้อมที่ดีในเมืองหางโจว ที่ให้คนในเมือง มาพักผ่อน และคนนอกมาท่องเที่ยว ทะเลสาบซีหูได้รับ การแก้ไขคุณภาพน้าด้วยมาตรการต่างๆ มีการสร้าง ระบบระบายน้ารอบทะเลสาบเพื่อให้สามารถระบายน้า ออกไปได้ นอกจากนี้ยังมีการขุดลอกคลองเป็นระยะที่ ดาเนินการมาตั้งแต่ปี 1952 1976 และ 1999-2003 บริเวณรอบทะเลสาบก็ได้รับการจัดการอย่างดี เช่น จัดให้ มีถนนที่กว้างเพียงพอสาหรับการเดิน การปั่นจักรยาน รวมไปถึงการมีเจ้าหน้าที่ดูแลเก็บกวาดขยะ ดูแลความ สะอาดทุกตารางเมตร เป็นต้น ฟื้นทะเลสาบ.. FURD Cities Monitor July 2017 | 18 ปัจจุบัน หากใครได้ไปเยือนเมืองหางโจว จะ พบว่าบริเวณทะเลสาบซีหู เป็นหัวใจสาคัญของเมือง หางโจว เพราะบริเวณแห่งนี้มีเป็นแหล่งรวมตัวขนาดใหญ่ ของคนเมืองหางโจว ที่เข้ามาพักผ่อน เดินเล่น ออกกาลัง กาย ปั่นจักรยาน รวมไปถึงการทากิจกรรมที่สนุกสนาน เช่น การนั่งเรือในทะเลสาบ การเต้น การเล่นว่าว เป็นต้น ด้วยทัศนียภาพที่สวยงามของทะเลสาบซีหู รวมถึงการจัดการรอบทะเลสาบ ไม่เพียงแต่ช่วยให้คน เมืองได้มีแหล่งธรรมชาติให้พักผ่อน ยังดึงดูดผู้คนให้มา เยือนหางโจวทั้งจากคนในประเทศจีน และจาก ต่างประเทศ นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่ที่มาหางโจวต้องมา เยือนบริเวณทะเลสาบแห่งนี้ เพื่อมาชมทัศนีภาพ ทะเลสาบ รวมถึงบริเวณรอบทะเลสาบก็เป็นสถานที่ ประวัติศาสตร์ เช่น มีพิพิธภัณฑ์ มีอาคารสาคัญ เป็นต้น เมื่อทะเลสาบซีหูเป็นสถานที่นิยมของนักท่องเที่ยว ทาให้ เมืองหางโจวมีการหลั่งไหลของผู้คนเข้ามาเที่ยวในเมือง ปีละไม่ต่ากว่า 38 ล้านคน ซึ่งทาให้เมืองหางโจวโดดเด่น ในเรื่องการท่องเที่ยวมากกว่าภูมิภาคอื่นๆ ของจีน เมือง หางโจวเป็นเมืองค่าครองชีพค่อนข้างสูง และนักท่องเที่ยว ส่วนใหญ่ที่เข้ามาล้วนแต่เป็นนักท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ มี แนวโน้มที่จะจ่ายเงินพักผ่อนให้หางโจวได้ ความพยายามในการสร้างเมืองที่มี สภาพแวดล้อมที่ดี และสภาพแวดล้อมทางนิเวศวิทยาก็ ได้รับการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ทาให้ในปี 2001 หางโจว ได้รับรางวัลกิตติมศักดิ์ในฐานะเมืองต้นแบบด้าน สิ่งแวดล้อม (National Environmental Protection Model City) ในปี 2005 และ ปี 2009 หางโจวได้รับการเสนอชื่อ เข้าชิงเป็นหนึ่งในเมืองนาร่องการพัฒนาอารยธรรม นิเวศวิทยาในประเทศจีน และในปี 2011 ด้วยความสาคัญ ทางประวัติศาสตร์ และความสวยงาม ทาให้ทะเลสาบซีหู ได้รับการลงทะเบียนขึ้นเป็นมรดกโลกในการประชุม คณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญครั้งที่ 35 ที่กรุง ปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในชื่อ "ภูมิทัศน์วัฒนธรรม ทะเลสาบตะวันตกในหางโจว" ด้วย ความสาเร็จนี้ยิ่งทาให้เมืองหางโจวยังมุ่งมั่น ที่จะทาให้เมืองเป็นเมืองที่มีกฎระเบียบด้านสิ่งแวดล้อมที่ เข้มงวดมากที่สุด เพื่อช่วยยกระดับคุณภาพสิ่งแวดล้อมใน ระบบนิเวศของเมือง เพื่อให้เมืองหางโจวกลายเป็นเมืองที่ มีการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม 3 ด้านนี้จะ เป็นความสมดุลที่จะช่วยให้เมืองหางโจวเป็นเมืองที่มี รากฐานการพัฒนาอย่างยั่งยืนได้ ทะเลสาบซีหู แลนด์มาร์กของเมืองหางโจว REFERENCE : - Zhang Qian, Masahiro Yabuta ,Koki Nakamura. (2008). Eco- tourism Development and the Community Structure At West Lake in Hangzhou. Tokyo: Chuo University. - Hangzhou Environmental Protection Bureau
  • 12. 19 | FURD Cities Monitor July 2017 ล้าพังแค่การมีต้นไม้กับเลนจักรยานไม่ได้หมายความว่าเมืองของคุณจะกลายเป็น เมืองสีเขียวได้ในทันที แต่การจะเป็นเมืองสีเขียวได้นั้นเมืองต้องส่งเสริมการเพิ่มพื้นที่ สีเขียวควบคู่ไปกับการลดพฤติกรรมที่กระทบต่อสิ่งแวดล้อมด้วยต่างหาก โดยเฉพาะการ เดินทางขนส่งในเมืองที่ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ออกมามหาศาล ซึ่งเมือง หางโจวก็ประสบและเล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าว จึงพยายามหาวิถีทางในการลดการปล่อย ก๊าซ CO2 อย่างครอบคลุม เป็นระบบ และเน้นแก้ไปที่ต้นเหตุ ซึ่งมีด้วยกัน 3 แนวทาง REFERENCE : - David Banister and Jian Liu. (2013). “Urban Transport and the Environment, Hangzhou, China.” Retrieved from https://unhabitat.org/ wp-content/uploads/2013/06/GRHS.2013.Case_. Study_.Hangzhou.China_.pdf - HSBC. (2016). “HANGZHOU Our guide to the city hosting this year's G20.” Week in China SINOPOLIS, Retrieved from https:// www.weekinchina.com/wp-content/ uploads/2016/02/Sinopolis-Hangzhou-v1.pdf - Xinhua. (2016). 2,563 scattered charging piles established in Hangzhou. http://www.globaltimes.cn/content/1026484.shtml FURD Cities Monitor July 2017 | 20 การเดินทางโดยไม่ใช้เครื่องยนต์ซึ่ง ก็คือการเดินและขี่จักรยาน ถือเป็น นโยบายหลักด้านการขนส่งในเมือง หางโจวที่ครอบคลุมทั้งการวางผังเมืองและ ผังระบบขนส่ง การก่อสร้างโครงสร้าง พื้นฐาน ตลอดจนการออกกฎหมาย ข้อบังคับ เพื่อให้การเดินทางโดยไม่ใช้ เครื่องยนต์ครอบคลุมทั่วถึงทั้งเมืองและ เข้าถึงได้ง่าย โดยเครื่องจักรสาคัญที่เมือง หางโจวใช้ขับเคลื่อนการเดินทางรูปแบบนี้ คือ ‘การให้บริการจักรยานสาธารณะ’ นั่นเอง ด้วยเขตเมืองหางโจวได้เติบโต อย่างรวดเร็วและไร้ทิศทาง คนเมืองจึงหัน มาใช้รถยนต์ส่วนตัวกันมากขึ้น ทาให้ ปริมาณการใช้จักรยานในเมืองลดลงจาก 60% ในปี 1997 เหลือเพียง 33.5% ในปี 2007 นายกเทศมนตรีหวังกั๋วผิงจึงออก มาตรการใช้ระบบบริการจักรยาน สาธารณะในปี 2008 ซึ่งถือเป็นระบบ บริการจักรยานสาธารณะแห่งแรกใน ประเทศจีน โดยมีจุดบริการ 61 แห่ง มี จักรยานรวมทั้งหมด 2,500 คัน เพียงแค่มี บัตรประชาชนหรือแอปพลิเคชัน WeChat ก็ใช้บริการได้เลย ด้านอัตราค่าบริการ ชั่วโมงแรกใช้ฟรี ชั่วโมงที่สองและสามเก็บ ค่าบริการ 1 หยวนและ 2 หยวนตามลาดับ ส่วนชั่วโมงต่อ ๆ ไปเก็บค่าบริการชั่วโมง ละ 3 หยวน จวบจนปัจจุบันเมืองหางโจวมี จุดบริการจักรยานสาธารณะมากถึง 2,700 แห่งและให้บริการจักรยานมากกว่า 66,500 คัน (HSBC, 2016) ตั้งอยู่ตามป้าย รถเมล์ สถานีรถไฟใต้ดิน เขตที่พักอาศัย แหล่งท่องเที่ยว และสถาบันการศึกษา นอกจากนี้ หางโจวยังมีการออกแบบ โครงสร้างพื้นฐานสาหรับการขี่จักรยาน และการเดินทางเท้าไว้ด้วย (ภาพล่าง)