SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 11
Downloaden Sie, um offline zu lesen
เมืองแม่มอก
สร้าง Care give เตรียมความพร้อมสู่เมืองสุขภาวะ
ปาริชาติ อ่อนทิมวงค์
ปลายฟ้า บุนนาค
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
2
เมืองแม่มอก
สร้าง Care give เตรียมความพร้อมสู่เมืองสุขภาวะ
ปาริชาติ อ่อนทิมวงค์ นักวิชาการอิสระ
ปลายฟ้า บุนนาค ปู้ช่วยวิจัยสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
บรรณาธิการ ยุวดี คาดการณ์ไกล
กองบรรณาธิการ ณัฐธิดา เย็นบารุง อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ปก ณัฐธิดา เย็นบารุง
รูปเล่ม ณัฐธิดา เย็นบารุง
ปีที่เผยแพร่ มกราคม 2561
เผยแพร่โดย ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ผู้สนับสนุน สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
3
เมืองแม่มอก
สร้าง Care give เตรียมความพร้อมสู่เมืองสุขภาวะ
แม่มอก เป็นตาบลหนึ่งซึ่งตั้งอยู่ในอาเภอเถิน จังหวัดลาปาง ห่างจากที่ว่าการอาเภอเถินไปทางทิศ
เหนือประมาณ 22 กิโลเมตร อาณาเขตติดต่อด้านทิศเหนือ ติดกับอาเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ ทิศตะวันออก
ติดกับอาเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ทิศตะวันตกและใต้ ติดกับตาบลแม่ปะและตาบลเวียงมอก อาเภอ
เถิน จังหวัดลาปาง ปัจจุบันมีเนื้อที่เกือบ 2 แสนไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 12 ของเนื้อที่อาเภอเถินทั้งหมด มี
ประชากร 5,799 คน หรือราว 1,400 หลังคาเรือน
พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ลาดเชิงเขา โดยมีภูเขาสูงชันอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ คั่นระหว่างอาเภอ
เถิน จังหวัดลาปางกับอาเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ภูเขาเหล่านี้ล้วนเป็นแหล่งต้นน้าลาธารที่สาคัญของ
ตาบล บริเวณตอนกลางของตาบลจะเป็นพื้นที่ราบมีแม่น้าแม่มอกไหลผ่าน และยังมีลาห้วยขนาดเล็กไหล
ผ่านในหมู่บ้านต่างๆ แม่มอก มาจากชื่อของลาน้าที่ไหลลงสู่บ้านผาคอก ชาวบ้านนิยมเรียกว่าแม่น้าผาคอก
จากนั้นเรียกเพี้ยนกันมาว่าแม่น้าแม่มอก และได้เรียกชื่อหมู่บ้านตามลาน้าว่าบ้านแม่มอกมาจนถึงปัจจุบัน
ส่วนลาน้าที่ไหลไปอีกฝั่งหนึ่งของภูเขาลงสู่พื้นที่ในเขตจังหวัดแพร่และสุโขทัย กลายเป็นต้นน้าของแม่น้ายม
โดยมีป่าแม่มอก ถือเป็นป่าสักงามผืนสุดท้ายของลาปาง และเป็นป่าสมุนไพรที่มีความอุดมสมบูรณ์
การเดินทางเข้าสู่ตาบลแม่มอก ใช้ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 ถึงอาเภอเถินแยกเข้าทางหลวง
แผ่นดินหมายเลข 1048 สายเถิน - ทุ่งเสลี่ยม โดยมีถนนลาดยางตัดเข้าชุมชน จากบ้านกุ่มเนิ้งใต้ ซึ่งมี
จานวนประชากรมากที่สุดในตาบล ไปสิ้นสุดที่บ้านหัวน้า กล่าวได้ว่า แม่มอกทั้งเมือง มีถนนหลักเป็นสอง
ช่องทางเพียงเส้นเดียว สองข้างทางมีต้นไม้ ทุ่งนาสูงๆ ต่าๆ ไต่ขึ้นลงตามแนวดอย วัด โรงเรียน สถานี
อนามัย และบ้านคน
ภาพ : ถนนเส้นหลักของแม่มอก
4
วิถีชีวิตของคนแม่มอก
ตาบลแม่มอกเดิมเป็นพื้นที่ที่ชาวกะเหรี่ยงอพยพมาตั้งถิ่นฐาน ต่อมามีราษฎรในเขตอาเภอแม่ทะ
อาเภอสบปราบ จังหวัดลาปาง ย้ายเข้ามาตั้งถิ่นฐาน และมีบริษัททาไม้ของประเทศอังกฤษมาดาเนินงานใน
เขตตาบลแม่มอก ส่งผลให้มีจานวนประชากรเพิ่มสูงขึ้น จึงได้จัดตั้งขึ้นเป็นตาบลชื่อว่าแม่มอก ปัจจุบันมี
สถานะเป็นเทศบาลตาบล มีหมู่บ้านในเขตเทศบาลตาบล จานวน 10 หมู่
ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางเกษตรกรรม ได้แก่ เพาะปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ พืชที่ปลูก
อาทิ ข้าว ถั่วลิสง ข้าวโพด กระเทียม พืชผักสวนครัว ลาไย มีการเลี้ยงสัตว์ เช่น โคเนื้อ กระบือ สุกร เป็ด
ไก่ ปลาน้าจืด สาหรับการทานาจะทาปีละครั้ง อาศัยน้าฝนในเดือนกรกฎาคม – ธันวาคม โดยใช้แรงงานใน
ครัวเรือน ถ้ากรณีแรงงานไม่พอจะจ้างจากตาบลใกล้เคียง เมื่อแรงงานว่างจากภาคเกษตรกรรม บางส่วนจะ
ไปประกอบอาชีพรับจ้างในพื้นที่อื่น
แม่มอกแม้ทางกายภาพจะมีลักษณะของความเป็นชนบท แต่คนวัยกลางคน คนรุ่นใหม่ก็เริ่มมีการ
ปรับตัวเข้าสู่วิถีชีวิตแบบเมืองแล้วเช่นกัน เช่น มีนายทุนในพื้นที่ มีการใช้ social media แต่ขณะเดียวกันยัง
มีลักษณะแบบชนบทอยู่มาก วิถีชีวิตของชาวแม่มอกจะมีความเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมพระพุทธศาสนาอยู่
ตลอด ผู้สูงอายุในชุมชนจะมีความตื่นตัวในการเป็นผู้นาทากิจกรรมต่างๆ เช่น การชักชวนคนหนุ่มสาวและ
เด็กๆ เข้าวัดทาบุญ การประกอบประเพณีสลากภัตในช่วงเข้าพรรษา การเซ่นไหว้แม่โพสพในฤดูทานา การ
ทาบุญอุทิศส่วนกุศลให้บรรพบุรุษ เป็นต้น ซึ่งกิจกรรมบุญทั้งหมดมักจะได้รับความร่วมมือในการเข้าร่วม
อย่างดีจากคนทุกเพศทุกวัยเสมอจนกลายมาเป็นจุดแข็งด้านต้นทุนทางสังคมของชุมชน
ภาพ : งานทอดผ้าป่าที่
วัดกุ่มเนิ้งใต้
5
ต้นทุนการรวมกลุ่มและจุดเด่นของแม่มอก
แม่มอก เป็นตาบลหนึ่งที่ตั้งอยู่ในเขตอาเภอเถิน จังหวัดลาปาง พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ป่า โดยมี
จุดเด่นคือเป็นป่าไม้เนื้อแข็งและป่าสมุนไพรที่มีความอุดมสมบูรณ์ มีป่าที่สาคัญเรียกว่า “ป่าดงกุเลย” ซึ่งมี
พื้นที่กว้างขวางราว 1,200 ไร่ เป็นที่ตั้งของพื้นที่อนุรักษ์ไม้สักทองธรรมชาติ มีน้าตกแม่มอกและลาน้าแม่
มอกเป็นแหล่งต้นน้า ปลายทางน้าสิ้นสุดที่อ่างเก็บน้าแม่มอก ด้วยความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ จึงทาให้
ชาวบ้านสามารถใช้ประโยชน์จากทรัพยากรเพื่อการบริโภคไปจนถึงการทาเกษตรกรรมได้ตลอดทั้งปี
การรวมกลุ่มช่างมีมืองานไม้
จุดเด่นของแม่มอกจึงล้วนมีต้นกาเนิดจากฐานต้นทุนทรัพยากรธรรมชาติแทบทั้งสิ้น โดยเฉพาะ
พื้นที่ป่าอันอุดมสมบูรณ์ ส่งผลให้มีแหล่งน้าตามธรรมชาติสาหรับการเพาะปลูกพืชพันธุ์ต่างๆ รวมถึงมี
อากาศบริสุทธิ์เหมาะแก่การพักผ่อน แม่มอกจึงกลายเป็นพื้นที่แห่งหนึ่งที่งดงามไม่แพ้ที่ใดในภาคเหนือ
บ้านเรือนจานวนมากสร้างขึ้นจากไม้ ด้วยความที่ชาวบ้านยากจนมาก่อน จึงอาศัยไม้ที่ขึ้นอยู่ตามธรรมชาติ
มาทาบ้านและเครื่องเรือนต่างๆ ทักษะความชานาญในงานไม้ที่สั่งสมมาเป็นเวลานาน ก่อเกิดการรวมกลุ่ม
ของช่างฝีมืองานไม้ จนได้รับการพัฒนาขึ้นเป็นสหกรณ์หัตถกรรมผลิตภัณฑ์ไม้บ้านห้วยเกาะหลวง จากัด
ซึ่งเป็นแหล่งอาชีพที่สร้างรายได้ทางหนึ่งให้แก่ชาวชุมชนตาบลแม่มอกในปัจจุบัน
สหกรณ์หัตถกรรมผลิตภัณฑ์ไม้บ้านห้วยเกาะหลวง จากัด ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2547 ปัจจุบันมี
สมาชิกผู้ถือหุ้นจานวน 127 ราย ประกอบกิจการผลิตเครื่องเรือนและของใช้ในครัวเรือนจากไม้สัก โดย
วัตถุดิบไม้ได้มาอย่างถูกต้องตามกฎหมาย จากการประมูลไม้ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ (อ.อ.ป.) จึง
เป็นกิจกรรมที่ไม่ส่งผลกระทบต่อพื้นที่ป่าในชุมชน ซึ่งปัจจุบันได้สร้างอาชีพช่างฝีมือผลิตเครื่องเรือนและ
ภาพล่าง บรรยากาศของทุ่งนา และภาพขวา
แหล่งน้าตกธรรมชาติของแม่มอก
6
ของใช้จากไม้ได้ราว 30 คน มีโรงเรือนการผลิตอยู่ในบริเวณเดียวกันกับที่ตั้งสหกรณ์ฯ โดยใช้พื้นที่ริมถนน
เป็นหน้าร้าน และพื้นที่ด้านหลังเป็นโรงเรือน การจัดจาหน่ายมีทั้งแบบขายส่งคือผลิตตามคาสั่งซื้อของลูกค้า
ประเภทร้านเฟอร์นิเจอร์และโรงแรมรีสอร์ตจากในเมือง และแบบขายปลีกคือผลิตตามคาสั่งซื้อของลูกค้า
รายย่อยทั่วไป รวมถึงลูกค้าที่เดินทางมาเลือกซื้อสินค้าบริเวณหน้าร้าน
การรวมกลุ่มผลิตสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรป่าไม้และแหล่งน้าตามธรรมชาติยังส่งผลต่อระบบเกษตรกรรม
ภายในพื้นที่ โดยในระยะหลังเริ่มมีชื่อเสียงมากขึ้นในเรื่องการเกษตรแบบผสมผสานและเกษตรอินทรีย์
ขณะที่สมุนไพรเป็นอีกผลิตภัณฑ์หนึ่งที่สร้างชื่อเสียงให้แก่แม่มอกไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน ปัจจุบันมีการก่อตั้ง
สหกรณ์การเกษตรสมุนไพรตาบลแม่มอก จากัด ดาเนินการผลิตและจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร ซึ่ง
ถือเป็นต้นทุนที่สาคัญในการต่อยอดไปสู่กิจกรรมด้านสุขภาพอื่นๆ ของชาวแม่มอกในลาดับต่อไป
สหกรณ์การเกษตรสมุนไพรตาบลแม่มอก จากัด ชาวแม่มอกใช้สมุนไพรสดรักษาโรคมาแต่ดั้งเดิม
กระทั่งในปี พ.ศ. 2542 มหาวิทยาลัยมหิดล ได้เข้ามาทาการศึกษาวิจัยโดยส่งเสริมให้มีการผลิตเป็นรูปธรรม
จากนั้นฝ่ายเภสัชกรรม โรงพยาบาลเถิน ได้สนับสนุนกิจกรรมการผลิตสมุนไพรของชาวบ้านมาอย่าง
ต่อเนื่อง กระทั่งมีการก่อตั้งหน่วยงานในรูปแบบสหกรณ์ ดาเนินการผลิตและจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์จาก
สมุนไพร ภายใต้ชื่อตราสินค้า “สมุนไพรแม่มอก” จุดเด่นของผลิตภัณฑ์อยู่ที่วัตถุดิบที่ใช้ ซึ่งเกิดจากการที่
สมาชิกมีส่วนร่วมในการปลูกสมุนไพรอินทรีย์ โดยมีการจัดการแปลงเพาะปลูกพืชที่หลากหลาย ทั้งพืช
สมุนไพร ข้าว ผลไม้ และผักสวนครัว ส่วนมากปลูกในพื้นที่ของตนเอง และมีแปลงปลูกรวมของชุมชน
ผลิตภัณฑ์สมุนไพรจึงผลิตขึ้นจากวัตถุดิบที่มีคุณภาพดี ปลอดสารพิษ และได้รับการรับรองมาตรฐานเกษตร
อินทรีย์แบบมีส่วนร่วม (PGS) เน้นการผลิตสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ผลิตภัณฑ์ที่โดดเด่น ได้แก่ ยาแคปซูล
ขมิ้นชัน และยาชงชุมเห็ดเทศ ปัจจุบันเริ่มขยายมาสู่การผลิตเวชสาอางค์ด้านความงามเพิ่มมากขึ้น อาทิ สบู่
แชมพู เป็นต้น รวมถึงการจาหน่ายในลักษณะที่เป็นวัตถุดิบสมุนไพรให้แก่โรงพยาบาลต่างๆ ซึ่งทาง
โรงพยาบาลเถินจะเข้าร่วมวางแผนการผลิตกับสหกรณ์ฯ และคอยติดตามควบคุมคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
ภาพ : โรงงานไม้ของสหกรณ์หัตถกรรมผลิตภัณฑ์ไม้บ้านห้วยเกาะหลวง
7
การทาเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม
จุดเด่นอีกประการหนึ่งที่ก่อให้เกิดศักยภาพในการพัฒนาเข้าสู่สังคมสุขภาวะของแม่มอกคือความ
พยายามในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงรูปแบบการผลิตทางการเกษตรไปเป็นการเกษตรแบบผสมผสานและ
เกษตรอินทรีย์ ภายใต้ระบบการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม (Participatory Guarantee
System; PGS) ซึ่งขับเคลื่อนและประสานงานโดยมูลนิธิเกษตรอินทรีย์ไทย โดยกลุ่มเกษตรกรแม่มอกเป็น
1 ใน 5 กลุ่มเกษตรกรนาร่องของประเทศไทย ที่มีการผลิตภายใต้มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ อาทิ แหล่งน้า
ต้องสะอาด ประปาธรรมชาติ หรือบ่อ ที่ไม่ปะปนสารเคมี ไม่ใช้สารเคมี เช่น ปุ๋ยเคมี ยากาจัดศัตรูพืช
ห่างไกลแหล่งปฏิกูล ปลูกพืชเป็นแนวกันชนเพื่อป้องกันสารพิษจากแหลงข้างเคียง เช่น ไผ่ ต้นกล้วย ชะอม
เป็นต้น ประกอบกับมีการทาเกษตรกรรมแบบผสมผสานที่ปลูกพืชพันธุ์หลากหลายในพื้นที่ จึงทาให้
ทรัพยากรดินในแม่มอกมีความอุดมสมบูรณ์อย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันแม่มอกมีผลผลิตทางการเกษตรที่เป็น
เกษตรอินทรีย์เกินกว่าครึ่งของผลผลิตทั้งหมด ผลผลิตที่สาคัญ ได้แก่ ข้าว ถั่วลิสง ถั่วเหลือง เมล็ดกาแฟ
กระเทียม และผลไม้ต่างๆ โดยเฉพาะข้าวไรซ์เบอร์รี่และกระเทียมที่ได้รับความนิยมจนผลผลิตไม่เพียงพอ
กับการจัดจาหน่าย
ภาพ : การปลูกสมุนไพรและการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ยาต่างๆ
8
กลุ่มผู้สร้างบ้านแปงเมืองขับเคลื่อนการพัฒนาแม่มอก
ปัจจุบันคนในพื้นที่แม่มอกเริ่มมีการรวมกลุ่มพัฒนาแม่มอก โดยมีกลุ่มคนที่รวมตัวกันประกอบด้วย
สมาชิกจากทั้งชาวแม่มอกที่ยังอยู่ในแม่มอก และชาวแม่มอกที่ไปทางานอยู่นอกถิ่น คนกลุ่มนี้มีทั้งอาจารย์
พระสงฆ์ พนักงานเทศบาลตาบลแม่มอก นักธุรกิจท้องถิ่น ตารวจ ด็อกเตอร์หลากหลายสาขา เป็นหัวหอก
สาคัญในการระดมความร่วมมือผ่านกิจกรรมการทาบุญ โดยใช้วัดเป็นสื่อกลางในการรวมตัว
คนกลุ่มนี้เป็นกลุ่มคนแม่มอกที่มีความรู้ความสามารถ มีความเชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ ที่สาคัญ
คือ มีความรักในถิ่นกาเนิดของเขา คล้ายกับที่รักชาติบ้านเมือง ต้องการสร้างบ้านแปงเมือง จึงลุกขึ้นมา
พึ่งตนเอง ร่วมกันระดมทุนจากคนภายในชุมชนเป็นหลัก โดยไม่ได้พึ่งพาเทศบาลหรือราชการส่วนภูมิภาค
หรือส่วนกลาง
สิ่งที่ร้อยรัดพวกเขาไว้อย่างเหนียวแน่น คือ มิตรภาพในวัยเยาว์ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเพื่อนนักเรียนเก่า
กัน ความเป็นญาติพี่น้องเกี่ยวพันกัน รู้จักกันทั้งตาบล และความสานึกรักในแม่มอก ที่ต้องการพัฒนาให้
บ้านเกิดเมืองนอนของตนมีความเจริญทางด้านคุณค่าและมูลค่า ให้คนในชุมชนพึ่งพาตนเองและพึ่งพาซึ่ง
กันและกันได้ โดยพัฒนาบนพื้นฐานอัตลักษณ์ของตนเอง ใช้ทรัพยากรและทุนพื้นที่ที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์
สูงสุด
กลไกของการทางาน แบ่งคนออกเป็นกลุ่มใหญ่ 4 กลุ่ม ดังนี้
1. กลุ่มปฏิบัติ กลุ่มปฏิบัติจะแบ่งย่อยเป็นอีกหลายทีมตามความถนัดของแต่ละคน โดยแบ่งเป็น ทีม
ประชาสัมพันธ์ (รวมทั้งจัดทาเส้นทางจักรยาน แผนที่แม่มอก) ทีมหมอนวดแผนไทย ทีมแม่ครัว
ทีมคมนาคมขนส่ง (รวมทั้งรถยนต์ รถจักรยานยนต์ และรถจักรยาน) ทีมนักบริบาลผู้สูงอายุ ทีม
ภาพ : การทาเกษตรอินทรีย์และผลผลิตจากธรรมชาติ
9
โฮมสเตย์ (โฮมสเตย์ รีสอร์ท ห้องเช่า และที่พักนักท่องเที่ยว) กลุ่มการท่องเที่ยว (ดูแลการ
ท่องเที่ยว ไกด์ชุมชน) ทีมเกษตร (เน้นเกษตรอินทรีและใช้การตลาดนาการผลิต)
2. กลุ่มประสานงาน คนในกลุ่มประสานงานนี้คือ คนจากแต่ละทีมปฏิบัติที่ถูกคัดตัวมาเป็นหัวหน้า
ของแต่ละทีม ทาหน้าที่เป็นผู้ประสานงานระหว่างกลุ่มอานวยการกับทีมของกลุ่มปฏิบัติแต่ละทีม
3. กลุ่มอานวยการ กลุ่มนี้เป็นกลุ่มคนที่เป็นแกนหลัก เป็นตัวเชื่อมระหว่างข้างล่างกับข้างบน เชื่อม
ระหว่างนักวิชาการ แหล่งทุนต่างๆ กับกลุ่มประสานงานและคนในพื้นที่แม่มอก
4. กลุ่มพิเศษ คือกลุ่มที่ปรึกษา เป็นที่ปรึกษาด้านการตลาด การผลิต เป็นปัญญาปฏิบัติที่เป็นผู้เฒ่า
ผู้แก่ ผู้หลักผู้ใหญ่ที่มีประสบการณ์และประสบความสาเร็จในสาขาของตน มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ
ด้าน เช่น คุณหนุ่ย เป็นคนแม่มอกที่ไปทาธุรกิจขายผลผลิตทางการเกษตรที่เชียงราย จะเข้ามา
เป็นที่ปรึกษาด้านการตลาดนาการผลิต และมีผู้สูงอายุท่านหนึ่ง เคยจัดสวนให้พระราชินีของ
นิวซีแลนด์ ก็จะเข้ามาเป็นที่ปรึกษาด้านภูมิสถาปัตย์
การพัฒนาในอนาคต : สร้าง Care Giver รองรับสังคมผู้สูงอายุ
เป้าหมายที่สาคัญของการพัฒนาแม่มอกคือการสร้างเศรษฐกิจเพื่อท้องถิ่นและชุมชน โดยมุ่งทา
Local and Communitarian Capitalism ให้เกิดขึ้น ทุกครัวเรือนต้องได้รับประโยชน์ เพื่อให้แม่มอก
เจริญก้าวหน้าอย่างยั่งยืนและรักษาจุดเด่นไว้ให้ได้มากที่สุด ไม่ปล่อยให้กลไกตลาดบั่นทอนครอบครัว
ชุมชนและทรัพยากร หรือบิดเบือนสังคมกับวัฒนธรรมของชาวแม่มอกไปในทางลบ โดยเน้นการสร้าง
มูลค่าเพิ่มให้แก่ต้นทุนทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่แม่มอกมีอยู่ ตัวอย่างของวิสาหกิจชุมชนที่ได้
ดาเนินการไปแล้ว อาทิ การผลิตและจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์เครื่องเรือนและของใช้ที่ทาจากไม้ ยาและเวช
สาอางค์จากสมุนไพร โดยมีกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่กาลังจะริเริ่มทาในอนาคต เช่น จากการสารวจบ้านกว่า
1,400 หลังคาเรือนทั่วตาบลแม่มอก พบว่ามีบ้านไม้กว่าร้อยละ 15 ที่ไม่มีผู้อยู่อาศัย แต่ยังคงได้รับการดูแล
เป็นอย่างดี จึงเป็นโอกาสที่เจ้าของบ้านจะดัดแปลงบ้านเหล่านี้ให้เป็นบ้านพักค้างคืน (Homestay) เพื่อ
รองรับการท่องเที่ยววิถีชุมชน โดยไม่ต้องพึ่งพานายทุนและทาลายสิ่งแวดล้อมไปมากกว่าเดิม
การส่งเสริมกิจกรรมเชิงสุขภาพเป็นอีกหนึ่งกิจกรรมเป้าหมายที่ชาวแม่มอกกาลังมุ่งมั่นดาเนินการ
ให้เกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งนอกจากจะตอบโจทย์การสร้างอาชีพ สร้างรายได้ที่มั่นคง และสร้างการเติบโตของ
เศรษฐกิจท้องถิ่นที่ชาวบ้านเป็นเจ้าของทรัพยากรและสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืนแล้ว ยังหมาย
รวมถึงการสร้างสังคมสุขภาวะให้เกิดขึ้น ด้วยการตอบสนองต่อสังคมผู้สูงอายุที่ชาวแม่มอกกาลังเผชิญหน้า
อยู่ในปัจจุบัน ซึ่งโครงการแรกที่จะริเริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2561 คือการอบรมนักบริบาลผู้สูงอายุ โดยศูนย์เรียนรู้
และพัฒนาสุขภาวะผู้สูงอายุแบบครบวงจรและบริบาลผู้ป่วยระยะท้าย โรงพยาบาลรามาธิบดี จะเข้ามามี
บทบาทสาคัญในการสร้างหลักสูตรอบรมนักบริบาลผู้สูงอายุหรือที่เรียกว่า “ผู้ดูแล” (Care Giver) ซึ่งแบ่ง
การดูแลออกเป็น 3 ระดับ ใช้เวลาในการอบรมประมาณระดับละ 7 วัน
10
เริ่มตั้งแต่การดูแลขั้นพื้นฐาน เป็นการดูแลผู้สูงอายุพึ่งพิงที่ยังช่วยเหลือตัวเองได้บ้าง ระดับถัดไปคือ
การดูแลเบื้องต้น เป็นการดูแลผู้สูงอายุที่ติดเตียง ซึ่งจะมีวิธีการที่ซับซ้อนมากขึ้น เช่น การพลิกตะแคงตัว
การระวังเรื่องแผลกดทับ และหลักสูตรระดับสูง สาหรับดูแลผู้สูงอายุสมองเสื่อม หรือมีภาวะแทรกซ้อนที่
ซับซ้อนมากขึ้น อย่างเช่น ผู้สูงอายุที่ใส่สายให้ออกซิเจน ใส่สายให้อาหารทางจมูก โดยหลักสูตรจะเน้นการ
ฝึกปฏิบัติจริง ซึ่งต้องประสานงานกับหน่วยงานด้านสาธารณสุขในพื้นที่ ในการนาผู้เข้าอบรมไปฝึก
ปฏิบัติงานกับผู้ป่วยติดเตียงในโรงพยาบาล อาทิ การวัดความดัน การเช็ดตัว การจัดท่าทางที่ถูกต้องในการ
ยกตัวผู้ป่วย การอุ้มขึ้นมาจากเตียง การช่วยจากเตียงลงมานั่งเก้าอี้ การพยุงตัว การพาเดิน เพื่อให้ผู้ป่วย
ปลอดภัย และให้ตัวผู้ดูแลเองปลอดภัยด้วย รวมถึงการช่วยชีวิต การปั๊มหัวใจ การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
ตลอดจนการนาหลักสูตรการนวดตอกเส้น ที่คิดค้นขึ้นมาเป็นภูมิปัญญาเฉพาะของท่านสาธารณสุขอาเภอ
เถิน เข้ามาผนวกเข้าไว้ด้วย เพื่อการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างครบวงจร
ภาพ : การประชุมชาวแม่มอกที่ต้องการสมัครเป็นนักบริบาล
ภายหลังจากการอบรมนักบริบาลผู้สูงอายุ หรือ “ผู้ดูแล” (Care Giver) ชาวแม่มอก รุ่นที่ 1 จานวน
ประมาณ 60 – 70 คน เสร็จสิ้นแล้ว ทางชุมชนมีแนวทางการดาเนินงานเพื่อต่อยอดกลุ่มนักบริบาลเป็น 3
แนวทางดังนี้
1. การรับผู้สูงอายุเข้ามาดูแลในชุมชนระยะสั้น โดยผนวกเข้ากับการท่องเที่ยววิถีธรรมชาติและ
ชุมชนแม่มอก ภายใต้แนวคิดที่ว่าแม่มอกมีธรรมชาติที่สวยงาม อากาศดี มีทรัพยากรการ
ท่องเที่ยวประเภทป่า เขา ลาธาร ถ้า น้าตก รวมถึงกาลังมีการพัฒนาบ้านพักค้างในชุมชน
รูปแบบโฮมสเตย์ เหมาะสาหรับลูกหลานที่ต้องการเดินทางมาท่องเที่ยวในชุมชนและพื้นที่
ละแวกข้างใกล้เคียง และต้องการพาพ่อแม่ผู้สูงอายุมาพักผ่อนตากอากาศในสถานที่ที่มีอากาศดี
ซึ่งเวลาลูกหลานออกไปเที่ยวข้างนอก ผู้สูงอายุอาจจะไม่สะดวก หรือไม่มีความพร้อมที่จะออก
11
เดินทางไปด้วย ลูกหลานจึงสามารถฝากผู้สูงอายุไว้ที่บ้านพักเพื่อให้นักบริบาลเป็นผู้ดูแล และ
ออกไปเที่ยวด้วยความสบายใจ ไม่ต้องกังวล
2. การรับผู้สูงอายุเข้ามาดูแลในชุมชนระยะยาว โดยผนวกเข้ากับแนวคิดธุรกิจบริการเพื่อสุขภาพ
ระยะยาว (long-stay and health care) โดยใช้บริการด้านสุขภาพเป็นจุดขาย ซึ่งจาเป็นต้อง
เตรียมความพร้อมของชุมชนให้เป็นแหล่งให้บริการพักผ่อนระยะยาว พร้อมทั้งมีการบริการด้าน
สุขภาพอย่างครบวงจร ทั้งนี้เพื่อให้บริการแก่กลุ่มลูกค้าเป้าหมายผู้สูงอายุ หรือวัยเกษียณอายุ
ที่ต้องการเข้ามาพักผ่อนระยะยาว ระยะเวลาตั้งแต่ 2 สัปดาห์ จนถึง 2-3 เดือน หรือ 1 ปี ซึ่ง
ส่วนใหญ่มีกาลังซื้อสูง ต้องการมีสิ่งแวดล้อมที่ดี มีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมประเพณีกับ
ประชาชนในท้องถิ่น มีการท่องเที่ยวเปลี่ยนบรรยากาศเป็นครั้งคราว
3. การส่งออกนักบริบาลไปดูแลผู้สูงอายุภายนอกชุมขน โดยจัดตั้งเป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพื่อเป็น
ศูนย์กลางในการติดต่อประสานงานเพื่อส่งนักบริบาลที่มีความพร้อมออกไปทางานเป็นผู้ดูแล
ตามบ้านหรือตามศูนย์รับดูแลผู้สูงอายุในพื้นที่ใกล้เคียง ในจังหวัดลาปาง จังหวัดตาก หรือ
จังหวัดอื่นๆ ต่อไป
แม้วันนี้แม่มอกอาจจะไม่เมืองใหญ่ ที่เต็มไปด้วยการพัฒนาที่ล้าหน้ามากมาย แต่แม่มอกเป็นเมือง
ธรรมชาติที่ยังคงความดั้งเดิม มีอากาศที่ดีในแบบที่หลายเมืองอยากได้ และวันนี้พวกเขาก็อยากแปรเปลี่ยน
ต้นทุนธรรมชาติ ภูมิปัญญาพื้นบ้าน และทุนทางสังคมอันเป็นจุดเด่นของสังคมที่มีพื้นฐานชนบท รวมพลัง
สร้างกลุ่มคนที่เข้ามาคิดและวางแผนขับเคลื่อนเมืองในแบบที่พวกเขาอยากให้เป็น แม้จะอยู่ในช่วงเริ่มต้น
แต่ก็จุดเริ่มต้นที่เป็นเค้ารางของการพัฒนาทีดี กลุ่มคนที่รักเมือง สร้างสรรค์สิ่งดีเพื่อเมือง จะเป็นจุดเริ่มต้นที่
ดีให้แม่มอกกลายเป็นเมืองที่น่าอยู่เมืองหนึ่งของไทย

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
FURD_RSU
 
บุญทันตา ฉบับ 3
บุญทันตา ฉบับ 3 บุญทันตา ฉบับ 3
บุญทันตา ฉบับ 3
Kasidit Pathomkul
 
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 52554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
เล่มที่ 8
เล่มที่ 8เล่มที่ 8
เล่มที่ 8
disk1412
 
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
Tum Meng
 

Was ist angesagt? (9)

เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
 
FURD CITIES MONITOR VOL.8 (JANUARY 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.8 (JANUARY 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.8 (JANUARY 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.8 (JANUARY 2018)
 
บุญทันตา ฉบับ 3
บุญทันตา ฉบับ 3 บุญทันตา ฉบับ 3
บุญทันตา ฉบับ 3
 
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 52554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
 
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
 
เวลา อาสา
เวลา อาสาเวลา อาสา
เวลา อาสา
 
เล่มที่ 8
เล่มที่ 8เล่มที่ 8
เล่มที่ 8
 
Persontalk 20121018191110
Persontalk 20121018191110Persontalk 20121018191110
Persontalk 20121018191110
 
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
 

Ähnlich wie เมืองแม่มอก : สร้าง Care Giver เตรียมความพร้อมสู่เมืองสุขภาวะ

บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงบ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
PN17
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
PN17
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
อาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลาง
orawan155
 
โครงการสหกรณ์หมู่บ้านสันกำแพง
โครงการสหกรณ์หมู่บ้านสันกำแพงโครงการสหกรณ์หมู่บ้านสันกำแพง
โครงการสหกรณ์หมู่บ้านสันกำแพง
ploy27866
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2
tongsuchart
 

Ähnlich wie เมืองแม่มอก : สร้าง Care Giver เตรียมความพร้อมสู่เมืองสุขภาวะ (10)

Poopoopaper 111
Poopoopaper 111Poopoopaper 111
Poopoopaper 111
 
BDC412 Poopoopaper
BDC412 PoopoopaperBDC412 Poopoopaper
BDC412 Poopoopaper
 
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงบ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลาง
 
โครงการสหกรณ์หมู่บ้านสันกำแพง
โครงการสหกรณ์หมู่บ้านสันกำแพงโครงการสหกรณ์หมู่บ้านสันกำแพง
โครงการสหกรณ์หมู่บ้านสันกำแพง
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2
 
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docxชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
 

Mehr von FURD_RSU

เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
FURD_RSU
 

Mehr von FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 

เมืองแม่มอก : สร้าง Care Giver เตรียมความพร้อมสู่เมืองสุขภาวะ

  • 1. เมืองแม่มอก สร้าง Care give เตรียมความพร้อมสู่เมืองสุขภาวะ ปาริชาติ อ่อนทิมวงค์ ปลายฟ้า บุนนาค ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 2. 2 เมืองแม่มอก สร้าง Care give เตรียมความพร้อมสู่เมืองสุขภาวะ ปาริชาติ อ่อนทิมวงค์ นักวิชาการอิสระ ปลายฟ้า บุนนาค ปู้ช่วยวิจัยสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ บรรณาธิการ ยุวดี คาดการณ์ไกล กองบรรณาธิการ ณัฐธิดา เย็นบารุง อรุณ สถิตพงศ์สถาพร ปก ณัฐธิดา เย็นบารุง รูปเล่ม ณัฐธิดา เย็นบารุง ปีที่เผยแพร่ มกราคม 2561 เผยแพร่โดย ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ผู้สนับสนุน สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
  • 3. 3 เมืองแม่มอก สร้าง Care give เตรียมความพร้อมสู่เมืองสุขภาวะ แม่มอก เป็นตาบลหนึ่งซึ่งตั้งอยู่ในอาเภอเถิน จังหวัดลาปาง ห่างจากที่ว่าการอาเภอเถินไปทางทิศ เหนือประมาณ 22 กิโลเมตร อาณาเขตติดต่อด้านทิศเหนือ ติดกับอาเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ ทิศตะวันออก ติดกับอาเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ทิศตะวันตกและใต้ ติดกับตาบลแม่ปะและตาบลเวียงมอก อาเภอ เถิน จังหวัดลาปาง ปัจจุบันมีเนื้อที่เกือบ 2 แสนไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 12 ของเนื้อที่อาเภอเถินทั้งหมด มี ประชากร 5,799 คน หรือราว 1,400 หลังคาเรือน พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ลาดเชิงเขา โดยมีภูเขาสูงชันอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ คั่นระหว่างอาเภอ เถิน จังหวัดลาปางกับอาเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ภูเขาเหล่านี้ล้วนเป็นแหล่งต้นน้าลาธารที่สาคัญของ ตาบล บริเวณตอนกลางของตาบลจะเป็นพื้นที่ราบมีแม่น้าแม่มอกไหลผ่าน และยังมีลาห้วยขนาดเล็กไหล ผ่านในหมู่บ้านต่างๆ แม่มอก มาจากชื่อของลาน้าที่ไหลลงสู่บ้านผาคอก ชาวบ้านนิยมเรียกว่าแม่น้าผาคอก จากนั้นเรียกเพี้ยนกันมาว่าแม่น้าแม่มอก และได้เรียกชื่อหมู่บ้านตามลาน้าว่าบ้านแม่มอกมาจนถึงปัจจุบัน ส่วนลาน้าที่ไหลไปอีกฝั่งหนึ่งของภูเขาลงสู่พื้นที่ในเขตจังหวัดแพร่และสุโขทัย กลายเป็นต้นน้าของแม่น้ายม โดยมีป่าแม่มอก ถือเป็นป่าสักงามผืนสุดท้ายของลาปาง และเป็นป่าสมุนไพรที่มีความอุดมสมบูรณ์ การเดินทางเข้าสู่ตาบลแม่มอก ใช้ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 ถึงอาเภอเถินแยกเข้าทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 1048 สายเถิน - ทุ่งเสลี่ยม โดยมีถนนลาดยางตัดเข้าชุมชน จากบ้านกุ่มเนิ้งใต้ ซึ่งมี จานวนประชากรมากที่สุดในตาบล ไปสิ้นสุดที่บ้านหัวน้า กล่าวได้ว่า แม่มอกทั้งเมือง มีถนนหลักเป็นสอง ช่องทางเพียงเส้นเดียว สองข้างทางมีต้นไม้ ทุ่งนาสูงๆ ต่าๆ ไต่ขึ้นลงตามแนวดอย วัด โรงเรียน สถานี อนามัย และบ้านคน ภาพ : ถนนเส้นหลักของแม่มอก
  • 4. 4 วิถีชีวิตของคนแม่มอก ตาบลแม่มอกเดิมเป็นพื้นที่ที่ชาวกะเหรี่ยงอพยพมาตั้งถิ่นฐาน ต่อมามีราษฎรในเขตอาเภอแม่ทะ อาเภอสบปราบ จังหวัดลาปาง ย้ายเข้ามาตั้งถิ่นฐาน และมีบริษัททาไม้ของประเทศอังกฤษมาดาเนินงานใน เขตตาบลแม่มอก ส่งผลให้มีจานวนประชากรเพิ่มสูงขึ้น จึงได้จัดตั้งขึ้นเป็นตาบลชื่อว่าแม่มอก ปัจจุบันมี สถานะเป็นเทศบาลตาบล มีหมู่บ้านในเขตเทศบาลตาบล จานวน 10 หมู่ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางเกษตรกรรม ได้แก่ เพาะปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ พืชที่ปลูก อาทิ ข้าว ถั่วลิสง ข้าวโพด กระเทียม พืชผักสวนครัว ลาไย มีการเลี้ยงสัตว์ เช่น โคเนื้อ กระบือ สุกร เป็ด ไก่ ปลาน้าจืด สาหรับการทานาจะทาปีละครั้ง อาศัยน้าฝนในเดือนกรกฎาคม – ธันวาคม โดยใช้แรงงานใน ครัวเรือน ถ้ากรณีแรงงานไม่พอจะจ้างจากตาบลใกล้เคียง เมื่อแรงงานว่างจากภาคเกษตรกรรม บางส่วนจะ ไปประกอบอาชีพรับจ้างในพื้นที่อื่น แม่มอกแม้ทางกายภาพจะมีลักษณะของความเป็นชนบท แต่คนวัยกลางคน คนรุ่นใหม่ก็เริ่มมีการ ปรับตัวเข้าสู่วิถีชีวิตแบบเมืองแล้วเช่นกัน เช่น มีนายทุนในพื้นที่ มีการใช้ social media แต่ขณะเดียวกันยัง มีลักษณะแบบชนบทอยู่มาก วิถีชีวิตของชาวแม่มอกจะมีความเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมพระพุทธศาสนาอยู่ ตลอด ผู้สูงอายุในชุมชนจะมีความตื่นตัวในการเป็นผู้นาทากิจกรรมต่างๆ เช่น การชักชวนคนหนุ่มสาวและ เด็กๆ เข้าวัดทาบุญ การประกอบประเพณีสลากภัตในช่วงเข้าพรรษา การเซ่นไหว้แม่โพสพในฤดูทานา การ ทาบุญอุทิศส่วนกุศลให้บรรพบุรุษ เป็นต้น ซึ่งกิจกรรมบุญทั้งหมดมักจะได้รับความร่วมมือในการเข้าร่วม อย่างดีจากคนทุกเพศทุกวัยเสมอจนกลายมาเป็นจุดแข็งด้านต้นทุนทางสังคมของชุมชน ภาพ : งานทอดผ้าป่าที่ วัดกุ่มเนิ้งใต้
  • 5. 5 ต้นทุนการรวมกลุ่มและจุดเด่นของแม่มอก แม่มอก เป็นตาบลหนึ่งที่ตั้งอยู่ในเขตอาเภอเถิน จังหวัดลาปาง พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ป่า โดยมี จุดเด่นคือเป็นป่าไม้เนื้อแข็งและป่าสมุนไพรที่มีความอุดมสมบูรณ์ มีป่าที่สาคัญเรียกว่า “ป่าดงกุเลย” ซึ่งมี พื้นที่กว้างขวางราว 1,200 ไร่ เป็นที่ตั้งของพื้นที่อนุรักษ์ไม้สักทองธรรมชาติ มีน้าตกแม่มอกและลาน้าแม่ มอกเป็นแหล่งต้นน้า ปลายทางน้าสิ้นสุดที่อ่างเก็บน้าแม่มอก ด้วยความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ จึงทาให้ ชาวบ้านสามารถใช้ประโยชน์จากทรัพยากรเพื่อการบริโภคไปจนถึงการทาเกษตรกรรมได้ตลอดทั้งปี การรวมกลุ่มช่างมีมืองานไม้ จุดเด่นของแม่มอกจึงล้วนมีต้นกาเนิดจากฐานต้นทุนทรัพยากรธรรมชาติแทบทั้งสิ้น โดยเฉพาะ พื้นที่ป่าอันอุดมสมบูรณ์ ส่งผลให้มีแหล่งน้าตามธรรมชาติสาหรับการเพาะปลูกพืชพันธุ์ต่างๆ รวมถึงมี อากาศบริสุทธิ์เหมาะแก่การพักผ่อน แม่มอกจึงกลายเป็นพื้นที่แห่งหนึ่งที่งดงามไม่แพ้ที่ใดในภาคเหนือ บ้านเรือนจานวนมากสร้างขึ้นจากไม้ ด้วยความที่ชาวบ้านยากจนมาก่อน จึงอาศัยไม้ที่ขึ้นอยู่ตามธรรมชาติ มาทาบ้านและเครื่องเรือนต่างๆ ทักษะความชานาญในงานไม้ที่สั่งสมมาเป็นเวลานาน ก่อเกิดการรวมกลุ่ม ของช่างฝีมืองานไม้ จนได้รับการพัฒนาขึ้นเป็นสหกรณ์หัตถกรรมผลิตภัณฑ์ไม้บ้านห้วยเกาะหลวง จากัด ซึ่งเป็นแหล่งอาชีพที่สร้างรายได้ทางหนึ่งให้แก่ชาวชุมชนตาบลแม่มอกในปัจจุบัน สหกรณ์หัตถกรรมผลิตภัณฑ์ไม้บ้านห้วยเกาะหลวง จากัด ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2547 ปัจจุบันมี สมาชิกผู้ถือหุ้นจานวน 127 ราย ประกอบกิจการผลิตเครื่องเรือนและของใช้ในครัวเรือนจากไม้สัก โดย วัตถุดิบไม้ได้มาอย่างถูกต้องตามกฎหมาย จากการประมูลไม้ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ (อ.อ.ป.) จึง เป็นกิจกรรมที่ไม่ส่งผลกระทบต่อพื้นที่ป่าในชุมชน ซึ่งปัจจุบันได้สร้างอาชีพช่างฝีมือผลิตเครื่องเรือนและ ภาพล่าง บรรยากาศของทุ่งนา และภาพขวา แหล่งน้าตกธรรมชาติของแม่มอก
  • 6. 6 ของใช้จากไม้ได้ราว 30 คน มีโรงเรือนการผลิตอยู่ในบริเวณเดียวกันกับที่ตั้งสหกรณ์ฯ โดยใช้พื้นที่ริมถนน เป็นหน้าร้าน และพื้นที่ด้านหลังเป็นโรงเรือน การจัดจาหน่ายมีทั้งแบบขายส่งคือผลิตตามคาสั่งซื้อของลูกค้า ประเภทร้านเฟอร์นิเจอร์และโรงแรมรีสอร์ตจากในเมือง และแบบขายปลีกคือผลิตตามคาสั่งซื้อของลูกค้า รายย่อยทั่วไป รวมถึงลูกค้าที่เดินทางมาเลือกซื้อสินค้าบริเวณหน้าร้าน การรวมกลุ่มผลิตสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรป่าไม้และแหล่งน้าตามธรรมชาติยังส่งผลต่อระบบเกษตรกรรม ภายในพื้นที่ โดยในระยะหลังเริ่มมีชื่อเสียงมากขึ้นในเรื่องการเกษตรแบบผสมผสานและเกษตรอินทรีย์ ขณะที่สมุนไพรเป็นอีกผลิตภัณฑ์หนึ่งที่สร้างชื่อเสียงให้แก่แม่มอกไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน ปัจจุบันมีการก่อตั้ง สหกรณ์การเกษตรสมุนไพรตาบลแม่มอก จากัด ดาเนินการผลิตและจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร ซึ่ง ถือเป็นต้นทุนที่สาคัญในการต่อยอดไปสู่กิจกรรมด้านสุขภาพอื่นๆ ของชาวแม่มอกในลาดับต่อไป สหกรณ์การเกษตรสมุนไพรตาบลแม่มอก จากัด ชาวแม่มอกใช้สมุนไพรสดรักษาโรคมาแต่ดั้งเดิม กระทั่งในปี พ.ศ. 2542 มหาวิทยาลัยมหิดล ได้เข้ามาทาการศึกษาวิจัยโดยส่งเสริมให้มีการผลิตเป็นรูปธรรม จากนั้นฝ่ายเภสัชกรรม โรงพยาบาลเถิน ได้สนับสนุนกิจกรรมการผลิตสมุนไพรของชาวบ้านมาอย่าง ต่อเนื่อง กระทั่งมีการก่อตั้งหน่วยงานในรูปแบบสหกรณ์ ดาเนินการผลิตและจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์จาก สมุนไพร ภายใต้ชื่อตราสินค้า “สมุนไพรแม่มอก” จุดเด่นของผลิตภัณฑ์อยู่ที่วัตถุดิบที่ใช้ ซึ่งเกิดจากการที่ สมาชิกมีส่วนร่วมในการปลูกสมุนไพรอินทรีย์ โดยมีการจัดการแปลงเพาะปลูกพืชที่หลากหลาย ทั้งพืช สมุนไพร ข้าว ผลไม้ และผักสวนครัว ส่วนมากปลูกในพื้นที่ของตนเอง และมีแปลงปลูกรวมของชุมชน ผลิตภัณฑ์สมุนไพรจึงผลิตขึ้นจากวัตถุดิบที่มีคุณภาพดี ปลอดสารพิษ และได้รับการรับรองมาตรฐานเกษตร อินทรีย์แบบมีส่วนร่วม (PGS) เน้นการผลิตสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ผลิตภัณฑ์ที่โดดเด่น ได้แก่ ยาแคปซูล ขมิ้นชัน และยาชงชุมเห็ดเทศ ปัจจุบันเริ่มขยายมาสู่การผลิตเวชสาอางค์ด้านความงามเพิ่มมากขึ้น อาทิ สบู่ แชมพู เป็นต้น รวมถึงการจาหน่ายในลักษณะที่เป็นวัตถุดิบสมุนไพรให้แก่โรงพยาบาลต่างๆ ซึ่งทาง โรงพยาบาลเถินจะเข้าร่วมวางแผนการผลิตกับสหกรณ์ฯ และคอยติดตามควบคุมคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ภาพ : โรงงานไม้ของสหกรณ์หัตถกรรมผลิตภัณฑ์ไม้บ้านห้วยเกาะหลวง
  • 7. 7 การทาเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม จุดเด่นอีกประการหนึ่งที่ก่อให้เกิดศักยภาพในการพัฒนาเข้าสู่สังคมสุขภาวะของแม่มอกคือความ พยายามในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงรูปแบบการผลิตทางการเกษตรไปเป็นการเกษตรแบบผสมผสานและ เกษตรอินทรีย์ ภายใต้ระบบการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม (Participatory Guarantee System; PGS) ซึ่งขับเคลื่อนและประสานงานโดยมูลนิธิเกษตรอินทรีย์ไทย โดยกลุ่มเกษตรกรแม่มอกเป็น 1 ใน 5 กลุ่มเกษตรกรนาร่องของประเทศไทย ที่มีการผลิตภายใต้มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ อาทิ แหล่งน้า ต้องสะอาด ประปาธรรมชาติ หรือบ่อ ที่ไม่ปะปนสารเคมี ไม่ใช้สารเคมี เช่น ปุ๋ยเคมี ยากาจัดศัตรูพืช ห่างไกลแหล่งปฏิกูล ปลูกพืชเป็นแนวกันชนเพื่อป้องกันสารพิษจากแหลงข้างเคียง เช่น ไผ่ ต้นกล้วย ชะอม เป็นต้น ประกอบกับมีการทาเกษตรกรรมแบบผสมผสานที่ปลูกพืชพันธุ์หลากหลายในพื้นที่ จึงทาให้ ทรัพยากรดินในแม่มอกมีความอุดมสมบูรณ์อย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันแม่มอกมีผลผลิตทางการเกษตรที่เป็น เกษตรอินทรีย์เกินกว่าครึ่งของผลผลิตทั้งหมด ผลผลิตที่สาคัญ ได้แก่ ข้าว ถั่วลิสง ถั่วเหลือง เมล็ดกาแฟ กระเทียม และผลไม้ต่างๆ โดยเฉพาะข้าวไรซ์เบอร์รี่และกระเทียมที่ได้รับความนิยมจนผลผลิตไม่เพียงพอ กับการจัดจาหน่าย ภาพ : การปลูกสมุนไพรและการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ยาต่างๆ
  • 8. 8 กลุ่มผู้สร้างบ้านแปงเมืองขับเคลื่อนการพัฒนาแม่มอก ปัจจุบันคนในพื้นที่แม่มอกเริ่มมีการรวมกลุ่มพัฒนาแม่มอก โดยมีกลุ่มคนที่รวมตัวกันประกอบด้วย สมาชิกจากทั้งชาวแม่มอกที่ยังอยู่ในแม่มอก และชาวแม่มอกที่ไปทางานอยู่นอกถิ่น คนกลุ่มนี้มีทั้งอาจารย์ พระสงฆ์ พนักงานเทศบาลตาบลแม่มอก นักธุรกิจท้องถิ่น ตารวจ ด็อกเตอร์หลากหลายสาขา เป็นหัวหอก สาคัญในการระดมความร่วมมือผ่านกิจกรรมการทาบุญ โดยใช้วัดเป็นสื่อกลางในการรวมตัว คนกลุ่มนี้เป็นกลุ่มคนแม่มอกที่มีความรู้ความสามารถ มีความเชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ ที่สาคัญ คือ มีความรักในถิ่นกาเนิดของเขา คล้ายกับที่รักชาติบ้านเมือง ต้องการสร้างบ้านแปงเมือง จึงลุกขึ้นมา พึ่งตนเอง ร่วมกันระดมทุนจากคนภายในชุมชนเป็นหลัก โดยไม่ได้พึ่งพาเทศบาลหรือราชการส่วนภูมิภาค หรือส่วนกลาง สิ่งที่ร้อยรัดพวกเขาไว้อย่างเหนียวแน่น คือ มิตรภาพในวัยเยาว์ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเพื่อนนักเรียนเก่า กัน ความเป็นญาติพี่น้องเกี่ยวพันกัน รู้จักกันทั้งตาบล และความสานึกรักในแม่มอก ที่ต้องการพัฒนาให้ บ้านเกิดเมืองนอนของตนมีความเจริญทางด้านคุณค่าและมูลค่า ให้คนในชุมชนพึ่งพาตนเองและพึ่งพาซึ่ง กันและกันได้ โดยพัฒนาบนพื้นฐานอัตลักษณ์ของตนเอง ใช้ทรัพยากรและทุนพื้นที่ที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ สูงสุด กลไกของการทางาน แบ่งคนออกเป็นกลุ่มใหญ่ 4 กลุ่ม ดังนี้ 1. กลุ่มปฏิบัติ กลุ่มปฏิบัติจะแบ่งย่อยเป็นอีกหลายทีมตามความถนัดของแต่ละคน โดยแบ่งเป็น ทีม ประชาสัมพันธ์ (รวมทั้งจัดทาเส้นทางจักรยาน แผนที่แม่มอก) ทีมหมอนวดแผนไทย ทีมแม่ครัว ทีมคมนาคมขนส่ง (รวมทั้งรถยนต์ รถจักรยานยนต์ และรถจักรยาน) ทีมนักบริบาลผู้สูงอายุ ทีม ภาพ : การทาเกษตรอินทรีย์และผลผลิตจากธรรมชาติ
  • 9. 9 โฮมสเตย์ (โฮมสเตย์ รีสอร์ท ห้องเช่า และที่พักนักท่องเที่ยว) กลุ่มการท่องเที่ยว (ดูแลการ ท่องเที่ยว ไกด์ชุมชน) ทีมเกษตร (เน้นเกษตรอินทรีและใช้การตลาดนาการผลิต) 2. กลุ่มประสานงาน คนในกลุ่มประสานงานนี้คือ คนจากแต่ละทีมปฏิบัติที่ถูกคัดตัวมาเป็นหัวหน้า ของแต่ละทีม ทาหน้าที่เป็นผู้ประสานงานระหว่างกลุ่มอานวยการกับทีมของกลุ่มปฏิบัติแต่ละทีม 3. กลุ่มอานวยการ กลุ่มนี้เป็นกลุ่มคนที่เป็นแกนหลัก เป็นตัวเชื่อมระหว่างข้างล่างกับข้างบน เชื่อม ระหว่างนักวิชาการ แหล่งทุนต่างๆ กับกลุ่มประสานงานและคนในพื้นที่แม่มอก 4. กลุ่มพิเศษ คือกลุ่มที่ปรึกษา เป็นที่ปรึกษาด้านการตลาด การผลิต เป็นปัญญาปฏิบัติที่เป็นผู้เฒ่า ผู้แก่ ผู้หลักผู้ใหญ่ที่มีประสบการณ์และประสบความสาเร็จในสาขาของตน มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ ด้าน เช่น คุณหนุ่ย เป็นคนแม่มอกที่ไปทาธุรกิจขายผลผลิตทางการเกษตรที่เชียงราย จะเข้ามา เป็นที่ปรึกษาด้านการตลาดนาการผลิต และมีผู้สูงอายุท่านหนึ่ง เคยจัดสวนให้พระราชินีของ นิวซีแลนด์ ก็จะเข้ามาเป็นที่ปรึกษาด้านภูมิสถาปัตย์ การพัฒนาในอนาคต : สร้าง Care Giver รองรับสังคมผู้สูงอายุ เป้าหมายที่สาคัญของการพัฒนาแม่มอกคือการสร้างเศรษฐกิจเพื่อท้องถิ่นและชุมชน โดยมุ่งทา Local and Communitarian Capitalism ให้เกิดขึ้น ทุกครัวเรือนต้องได้รับประโยชน์ เพื่อให้แม่มอก เจริญก้าวหน้าอย่างยั่งยืนและรักษาจุดเด่นไว้ให้ได้มากที่สุด ไม่ปล่อยให้กลไกตลาดบั่นทอนครอบครัว ชุมชนและทรัพยากร หรือบิดเบือนสังคมกับวัฒนธรรมของชาวแม่มอกไปในทางลบ โดยเน้นการสร้าง มูลค่าเพิ่มให้แก่ต้นทุนทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่แม่มอกมีอยู่ ตัวอย่างของวิสาหกิจชุมชนที่ได้ ดาเนินการไปแล้ว อาทิ การผลิตและจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์เครื่องเรือนและของใช้ที่ทาจากไม้ ยาและเวช สาอางค์จากสมุนไพร โดยมีกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่กาลังจะริเริ่มทาในอนาคต เช่น จากการสารวจบ้านกว่า 1,400 หลังคาเรือนทั่วตาบลแม่มอก พบว่ามีบ้านไม้กว่าร้อยละ 15 ที่ไม่มีผู้อยู่อาศัย แต่ยังคงได้รับการดูแล เป็นอย่างดี จึงเป็นโอกาสที่เจ้าของบ้านจะดัดแปลงบ้านเหล่านี้ให้เป็นบ้านพักค้างคืน (Homestay) เพื่อ รองรับการท่องเที่ยววิถีชุมชน โดยไม่ต้องพึ่งพานายทุนและทาลายสิ่งแวดล้อมไปมากกว่าเดิม การส่งเสริมกิจกรรมเชิงสุขภาพเป็นอีกหนึ่งกิจกรรมเป้าหมายที่ชาวแม่มอกกาลังมุ่งมั่นดาเนินการ ให้เกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งนอกจากจะตอบโจทย์การสร้างอาชีพ สร้างรายได้ที่มั่นคง และสร้างการเติบโตของ เศรษฐกิจท้องถิ่นที่ชาวบ้านเป็นเจ้าของทรัพยากรและสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืนแล้ว ยังหมาย รวมถึงการสร้างสังคมสุขภาวะให้เกิดขึ้น ด้วยการตอบสนองต่อสังคมผู้สูงอายุที่ชาวแม่มอกกาลังเผชิญหน้า อยู่ในปัจจุบัน ซึ่งโครงการแรกที่จะริเริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2561 คือการอบรมนักบริบาลผู้สูงอายุ โดยศูนย์เรียนรู้ และพัฒนาสุขภาวะผู้สูงอายุแบบครบวงจรและบริบาลผู้ป่วยระยะท้าย โรงพยาบาลรามาธิบดี จะเข้ามามี บทบาทสาคัญในการสร้างหลักสูตรอบรมนักบริบาลผู้สูงอายุหรือที่เรียกว่า “ผู้ดูแล” (Care Giver) ซึ่งแบ่ง การดูแลออกเป็น 3 ระดับ ใช้เวลาในการอบรมประมาณระดับละ 7 วัน
  • 10. 10 เริ่มตั้งแต่การดูแลขั้นพื้นฐาน เป็นการดูแลผู้สูงอายุพึ่งพิงที่ยังช่วยเหลือตัวเองได้บ้าง ระดับถัดไปคือ การดูแลเบื้องต้น เป็นการดูแลผู้สูงอายุที่ติดเตียง ซึ่งจะมีวิธีการที่ซับซ้อนมากขึ้น เช่น การพลิกตะแคงตัว การระวังเรื่องแผลกดทับ และหลักสูตรระดับสูง สาหรับดูแลผู้สูงอายุสมองเสื่อม หรือมีภาวะแทรกซ้อนที่ ซับซ้อนมากขึ้น อย่างเช่น ผู้สูงอายุที่ใส่สายให้ออกซิเจน ใส่สายให้อาหารทางจมูก โดยหลักสูตรจะเน้นการ ฝึกปฏิบัติจริง ซึ่งต้องประสานงานกับหน่วยงานด้านสาธารณสุขในพื้นที่ ในการนาผู้เข้าอบรมไปฝึก ปฏิบัติงานกับผู้ป่วยติดเตียงในโรงพยาบาล อาทิ การวัดความดัน การเช็ดตัว การจัดท่าทางที่ถูกต้องในการ ยกตัวผู้ป่วย การอุ้มขึ้นมาจากเตียง การช่วยจากเตียงลงมานั่งเก้าอี้ การพยุงตัว การพาเดิน เพื่อให้ผู้ป่วย ปลอดภัย และให้ตัวผู้ดูแลเองปลอดภัยด้วย รวมถึงการช่วยชีวิต การปั๊มหัวใจ การปฐมพยาบาลเบื้องต้น ตลอดจนการนาหลักสูตรการนวดตอกเส้น ที่คิดค้นขึ้นมาเป็นภูมิปัญญาเฉพาะของท่านสาธารณสุขอาเภอ เถิน เข้ามาผนวกเข้าไว้ด้วย เพื่อการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างครบวงจร ภาพ : การประชุมชาวแม่มอกที่ต้องการสมัครเป็นนักบริบาล ภายหลังจากการอบรมนักบริบาลผู้สูงอายุ หรือ “ผู้ดูแล” (Care Giver) ชาวแม่มอก รุ่นที่ 1 จานวน ประมาณ 60 – 70 คน เสร็จสิ้นแล้ว ทางชุมชนมีแนวทางการดาเนินงานเพื่อต่อยอดกลุ่มนักบริบาลเป็น 3 แนวทางดังนี้ 1. การรับผู้สูงอายุเข้ามาดูแลในชุมชนระยะสั้น โดยผนวกเข้ากับการท่องเที่ยววิถีธรรมชาติและ ชุมชนแม่มอก ภายใต้แนวคิดที่ว่าแม่มอกมีธรรมชาติที่สวยงาม อากาศดี มีทรัพยากรการ ท่องเที่ยวประเภทป่า เขา ลาธาร ถ้า น้าตก รวมถึงกาลังมีการพัฒนาบ้านพักค้างในชุมชน รูปแบบโฮมสเตย์ เหมาะสาหรับลูกหลานที่ต้องการเดินทางมาท่องเที่ยวในชุมชนและพื้นที่ ละแวกข้างใกล้เคียง และต้องการพาพ่อแม่ผู้สูงอายุมาพักผ่อนตากอากาศในสถานที่ที่มีอากาศดี ซึ่งเวลาลูกหลานออกไปเที่ยวข้างนอก ผู้สูงอายุอาจจะไม่สะดวก หรือไม่มีความพร้อมที่จะออก
  • 11. 11 เดินทางไปด้วย ลูกหลานจึงสามารถฝากผู้สูงอายุไว้ที่บ้านพักเพื่อให้นักบริบาลเป็นผู้ดูแล และ ออกไปเที่ยวด้วยความสบายใจ ไม่ต้องกังวล 2. การรับผู้สูงอายุเข้ามาดูแลในชุมชนระยะยาว โดยผนวกเข้ากับแนวคิดธุรกิจบริการเพื่อสุขภาพ ระยะยาว (long-stay and health care) โดยใช้บริการด้านสุขภาพเป็นจุดขาย ซึ่งจาเป็นต้อง เตรียมความพร้อมของชุมชนให้เป็นแหล่งให้บริการพักผ่อนระยะยาว พร้อมทั้งมีการบริการด้าน สุขภาพอย่างครบวงจร ทั้งนี้เพื่อให้บริการแก่กลุ่มลูกค้าเป้าหมายผู้สูงอายุ หรือวัยเกษียณอายุ ที่ต้องการเข้ามาพักผ่อนระยะยาว ระยะเวลาตั้งแต่ 2 สัปดาห์ จนถึง 2-3 เดือน หรือ 1 ปี ซึ่ง ส่วนใหญ่มีกาลังซื้อสูง ต้องการมีสิ่งแวดล้อมที่ดี มีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมประเพณีกับ ประชาชนในท้องถิ่น มีการท่องเที่ยวเปลี่ยนบรรยากาศเป็นครั้งคราว 3. การส่งออกนักบริบาลไปดูแลผู้สูงอายุภายนอกชุมขน โดยจัดตั้งเป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพื่อเป็น ศูนย์กลางในการติดต่อประสานงานเพื่อส่งนักบริบาลที่มีความพร้อมออกไปทางานเป็นผู้ดูแล ตามบ้านหรือตามศูนย์รับดูแลผู้สูงอายุในพื้นที่ใกล้เคียง ในจังหวัดลาปาง จังหวัดตาก หรือ จังหวัดอื่นๆ ต่อไป แม้วันนี้แม่มอกอาจจะไม่เมืองใหญ่ ที่เต็มไปด้วยการพัฒนาที่ล้าหน้ามากมาย แต่แม่มอกเป็นเมือง ธรรมชาติที่ยังคงความดั้งเดิม มีอากาศที่ดีในแบบที่หลายเมืองอยากได้ และวันนี้พวกเขาก็อยากแปรเปลี่ยน ต้นทุนธรรมชาติ ภูมิปัญญาพื้นบ้าน และทุนทางสังคมอันเป็นจุดเด่นของสังคมที่มีพื้นฐานชนบท รวมพลัง สร้างกลุ่มคนที่เข้ามาคิดและวางแผนขับเคลื่อนเมืองในแบบที่พวกเขาอยากให้เป็น แม้จะอยู่ในช่วงเริ่มต้น แต่ก็จุดเริ่มต้นที่เป็นเค้ารางของการพัฒนาทีดี กลุ่มคนที่รักเมือง สร้างสรรค์สิ่งดีเพื่อเมือง จะเป็นจุดเริ่มต้นที่ ดีให้แม่มอกกลายเป็นเมืองที่น่าอยู่เมืองหนึ่งของไทย