SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 25
Downloaden Sie, um offline zu lesen
บทที่ 1
การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
(Production and Operations Management)
การนาเสนอภาพนิ่งนี้ จัดทาขึ้นจากหนังสือการจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
แปลถูกต้องตามลิขสิทธิ์ โดย รชฏ ขาบุญ และคณะ
ผู้จัดทาการนาเสนอภาพนิ่ง มิได้มีเจตนาละเมิดลิขสิทธิ์ แต่จัดทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ทางการศึกษาเท่านั้น 1
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
2
•• เมื่อศึกษาจบบทนี้แล้ว ผู้ศึกษาควรที่จะเมื่อศึกษาจบบทนี้แล้ว ผู้ศึกษาควรที่จะสามารถสามารถ
11)) นิยามการจัดการการปฏิบัติการนิยามการจัดการการปฏิบัติการ
22)) อธิบายความแตกต่างระหว่างสินค้าและบริการอธิบายความแตกต่างระหว่างสินค้าและบริการ
33)) อธิบายความแตกต่างระหว่างการผลิตและผลิตภาพอธิบายความแตกต่างระหว่างการผลิตและผลิตภาพ
44)) คานวณผลิตภาพแบบปัจจัยเดี่ยวคานวณผลิตภาพแบบปัจจัยเดี่ยว
55)) คานวณผลิตภาพแบบพหุปัจจัยคานวณผลิตภาพแบบพหุปัจจัย
66)) ระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มผลิตภาพระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มผลิตภาพ
เนื้อหา
การจัดการการปฏิบัติการการจัดการการปฏิบัติการ
การจัดองค์การเพื่อการผลิตสินค้าและบริการการจัดองค์การเพื่อการผลิตสินค้าและบริการ
ความสาคัญของการจัดการการปฏิบัติการความสาคัญของการจัดการการปฏิบัติการ
 หน้าที่ของผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการหน้าที่ของผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการ
ประวัติความเป็นมาของการจัดการการปฏิบัติการ เน้นต้นทุนเป็นประวัติความเป็นมาของการจัดการการปฏิบัติการ เน้นต้นทุนเป็น
หลักหลัก
ประวัติความเป็นมาของการจัดการการปฏิบัติการประวัติความเป็นมาของการจัดการการปฏิบัติการ
เน้นคุณภาพเป็นหลักเน้นคุณภาพเป็นหลัก
ประวัติความเป็นมาของการจัดการการปฏิบัติการประวัติความเป็นมาของการจัดการการปฏิบัติการ
เน้นความต้องการลูกค้าเป็นหลักเน้นความต้องการลูกค้าเป็นหลัก
คุณลักษณะของการบริการคุณลักษณะของการบริการ
ความแตกต่างระหว่างสินค้าและบริการความแตกต่างระหว่างสินค้าและบริการ
ผลิตภาพผลิตภาพ (Productivity)(Productivity)
กรณีศึกษา บริษัทกรณีศึกษา บริษัท Collins TitleCollins Title ,,ผลิตภาพบริษัทผลิตภาพบริษัท Collins TitleCollins Title
ผลิตภาพกับส่วนการบริการผลิตภาพกับส่วนการบริการ
3
• การผลิต (Production) คือ การสร้างสินค้าและบริการ
• การจัดการการปฏิบัติการ (Operations management; OM)
กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการสร้างมูลค่าในรูปของสินค้าและ
บริการโดยอาศัยกระบวนการแปรรูปหรือแปรสภาพปัจจัย
นาเข้า (inputs) ให้ออกมาเป็นปัจจัยนาออก (outputs)
4
การการจัดการการผลิตและการจัดการการผลิตและการปฏิบัติการปฏิบัติการ
• กิจกรรมการสร้างสินค้าและบริการ เกิดขึ้นในทุกๆ องค์การ
ทั้งผลผลิตที่จับต้องได้หรือไม่สามารถจับต้องได้
• กิจกรรมการผลิตที่จับต้องได้ (Tangible product) เช่น
โทรทัศน์ Sony รถจักรยานยนต์ยี่ห้อ Harley Davidson
• กิจกรรมที่ไม่สามารถจับต้องได้ คือ
กิจกรรมการผลิตของธุรกิจที่ให้การบริการ (Services) เช่น
ธนาคาร โรงพยาบาล สายการบิน มหาวิทยาลัย เป็นต้น
ตัวอย่างของการให้บริการ เช่น
การโอนเงินของธนาคาร การจัดที่นั่งผู้โดยสารของสายการบิน หรือ
การให้การศึกษาแก่นักศึกษา
5
การการจัดการการผลิตและการจัดการการผลิตและการปฏิบัติการปฏิบัติการ
• ในการผลิตสินค้าและบริการ ทุกองค์การจะดาเนินการหน้าที่หลัก
3 ประการ ได้แก่
• ด้านการตลาด (Marketing)
ดาเนินการเพื่อตอบสนองอุปสงค์ที่เกิดขึ้นของลูกค้า
• ด้านการผลิต (Production)
ดาเนินการแปรสภาพทรัพยากรการผลิตต่างๆ
ให้ออกมาเป็นสินค้าหรือบริการ
• ด้านการเงิน (Finance) ดาเนินการเกี่ยวกับการจัดหาเงินทุน
การใช้เงินทุน การรวบรวม การบันทึกวิเคราะห์
รายงานข้อมูลทางการเงิน
6
การจัดองค์การเพื่อการผลิตสินค้าและบริการ
• OM เป็นหนึ่งในหน้าที่หลัก 3 ประการ (การตลาด การผลิต การเงิน)
• ศึกษา OM เนื่องจากต้องการทราบวิธีการผลิตสินค้าและบริการเพื่อ
ดาเนินการผลิตสินค้าให้คนในสังคม
• ศึกษา OM เพื่อให้เกิดความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของแต่ละฝ่ายและเอื้อ
ต่อการพัฒนาทักษะที่จาเป็นต่อตาแหน่งที่สูงขึ้นของพนักงาน
• OM เป็นส่วนที่มีต้นทุนสูงขององค์กร โดยหากมีการจัดการที่เหมาะสม
องค์กรมีโอกาสที่ได้รับกาไรสูงขึ้น
7
ความสาคัญของการจัดการการปฏิบัติการความสาคัญของการจัดการการปฏิบัติการ
8
หน้าที่ของผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการหน้าที่ของผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการ
การออกแบบบริการและผลิตภัณฑ์ (Service and Product Design)
การจัดการคุณภาพ (Quality Management)
การออกแบบกระบวนการและกาลังการผลิต (Process and Capacity Design)
การเลือกทาเลที่ตั้งสถานประกอบการ (Location)
การวางผังสถานประกอบการ (Layout Design)
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน (Human Resources and Job Design)
การจัดการโซ่อุปทาน (Supply-Chain Management)
สินค้าคงคลัง การวางแผนความต้องการวัสดุและแนวคิดแบบทันเวลาพอดี (Inventory,
Material Requirements Planning and JIT (Just-in-Time)
การกาหนดตารางเวลาการทางานระยะสั้นและระยะกลาง (Intermediate and Short-
Term Scheduling)
การบารุงรักษา (Maintenance)
• แนวคิดในยุคเริ่มแรก ปี ค.ศ. 1776- 1880
• การใช้คนตามความชานาญเฉพาะด้าน (Smith, Babbage)
• ชิ้นส่วนมาตรฐาน (Whitney)
• ยุคการจัดการทางวิทยาศาสตร์ ค.ศ. 1880-1910
• แผนภูมิแกนต์ (Gantt)
• การศึกษาเวลาและความเคลื่อนไหว (Gilbreth)
• การวิเคราะห์กระบวนการ (Taylor)
• ทฤษฎีแถวคอย (Erlang)
• ยุคการผลิตจานวนมาก ค.ศ. 1919-1980
• การเคลื่อนย้ายชิ้นส่วนผ่านสายการผลิต (Ford/Sorensen)
• การสุ่มตัวอย่างเชิงสถิติ (Shewhart)
• ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด (Harris)
• โปรแกรมเชิงเส้นตรง (Dupont)
• การวางแผนความต้องการวัสดุ (MRP) 9
ประวัติความเป็นมาของการจัดการการปฏิบัติการ เน้นต้นทุนเป็นหลักประวัติความเป็นมาของการจัดการการปฏิบัติการ เน้นต้นทุนเป็นหลัก
• ยุคการผลิตแบบลีน ค.ศ. 1980 - 1995
ระบบการผลิตแบบทันเวลา (JIT)
การประยุกต์คอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิต (CAD)
การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (EDI)
การจัดการคุณภาพโดยรวม (TQM)
รางวัลคุณภาพ
การมอบอานาจให้พนักงาน
ระบบคัมบัง
10
ประวัติความเป็นมาของการจัดการการปฏิบัติการ
เน้นคุณภาพเป็นหลัก
• ยุคการตอบสนองผู้บริโภคมากราย ค.ศ. 1995 - 2010
โลกาภิวัฒน์
อินเตอร์เน็ต
การวางแผนทรัพยากรองค์กร
องค์การการเรียนรู้
มาตรฐานคุณภาพระหว่างประเทศ
ระบบการผลิตแบบคล่องตัว
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
11
ประวัติความเป็นมาของการจัดการการปฏิบัติการ
เน้นความต้องการลูกค้าเป็นหลัก
12
แนวโน้มที่น่าสนใจในอนาคตแนวโน้มที่น่าสนใจในอนาคต
 มุ่งเน้นระดับโลก
 การจัดส่งสินค้าแบบทันเวลาพอดี
 การเป็นหุ้นส่วนในห่วงโซ่อุปทาน การ
วางแผนทรัพยากรองค์กร พาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์
 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่รวดเร็ว ความ
ร่วมมือทางด้านการออกแบบ
 การมุ่งเน้นความต้องการของผู้บริโภค
มากราย
 การมอบอานาจให้พนักงาน การทางาน
เป็นทีม และการผลิตแบบลีน
เป็นเป็นจากจาก
 มุ่งเน้นท้องถิ่นหรือประเทศ
 การจัดส่งเป็นกลุ่มจานวนมาก
 การซื้อโดยการประมูลราคาต่า
 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใช้เวลานาน
 สินค้ามาตรฐาน
 งานที่มีความชานาญเฉพาะด้าน
13
คุณลักษณะของการบริการ
• การบริการเป็นสิ่งที่ไม่มีตัวตน จับต้องไม่ได้
• การบริการมักเป็นการผลิตและบริโภคในเวลาเดียวกัน
• การบริการมักเป็นสิ่งที่มีคุณลักษณะเฉพาะตัว
• การบริการเป็นสิ่งที่มีปฏิสัมพันธ์กับลูกค้าสูง
• การบริการมีคุณลักษณะไม่คงที่
• การบริการมักเกี่ยวข้องกับฐานความรู้
• การบริการมีการกระจายตัวในหลายแนวทาง
14
ความแตกต่างระหว่างสินค้าและบริการ
สินค้า/ผลิตภัณฑ์ที่มีตัวตน บริการ/ผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีตัวตน
1. สินค้าสามารถนามาทาการขายซ้าได้ 1. ไม่สามารถนามาทาการขายซ้าได้
2. มีการจัดการเป็นสินค้าคงคลังได้ 2. ไม่สามารถจัดเก็บเป็นสินค้าคงคลังได้
3. คุณลักษณะของคุณภาพสินค้าสามารถวัดได้ 3. คุณลักษณะของคุณภาพสินค้ายากที่จะวัดได้
4. การขายมีลักษณะเฉพาะตัวที่แยกออกมาจากการผลิต 4. การขายเป็นส่วนหนึ่งของการบริการ
5. สามารถทาการเคลื่อนย้ายขนส่งได้ 5. ผู้ให้บริการ ไม่ใช่ตัวสินค้า สามารถเคลื่อนย้ายได้
6. ทาเลที่ตั้งในการผลิตมีความสาคัญต่อต้นทุน 6. ทาเลที่ตั้งเป็นสิ่งสาคัญเพื่อการติดต่อกับลูกค้า
7. ง่ายต่อการผลิตแบบอัตโนมัติ 7. ยากที่จะดาเนินการเป็นแบบอัตโนมัติ
15
สินค้าและบริการ
รถยนต์
คอมพิวเตอร์
การติดตั้งพรมปูพื้น
อาหารจานด่วน
อาหารในร้านอาหาร/ซ่อมรถยนต์
โรงพยาบาล
ตัวแทนโฆษณา/การบริหารการลงทุน
บริษัทที่ปรึกษา/การสอน
การแนะแนว
เปอร์เซ็นต์ของผลิตภัณฑ์ที่เป็นสินค้า เปอร์เซ็นต์ของผลิตภัณฑ์ที่เป็นการบริการ
100% 75 50 25 0 25 50 75 100%
| | | | | | | | |
16
ผลิตภาพ (Productivity)
17
การปรับปรุงประสิทธิภาพของการผลิต
• สามารถดาเนินการได้หลายวิธี คือ
• 1) Efficient ผลผลิตเพิ่มขึ้นในขณะที่ปัจจัยนาเข้าเท่าเดิมหรือเพิ่มขึ้น
เล็กน้อย
• 2) Downsize ผลผลิตเท่าเดิมแต่ใช้ปัจจัยนาเข้าลดลง
• 3) Expand ผลผลิตเพิ่มขึ้น เร็วกว่า การเพิ่มขึ้นของปัจจัยนาเข้า
• 4) Retrench ผลผลิตลดลง แต่ช้ากว่า การลดลงของปัจจัยนาเข้า
• 5) Breakthroughs ผลผลิตเพิ่มขึ้นในขณะที่ปัจจัยนาเข้าลดลง
18
กรณีศึกษา บริษัท Collins Title
• บริษัท Collins Title มีพนักงานอยู่ 4 คน พนักงานแต่ละคนทางาน 8
ชั่วโมง/วัน (ค่าจ้างแรงงาน 640 ดอลลาร์สหรัฐ/วัน) ค่าใช้จ่ายในการ
ดาเนินงาน 400 ดอลลาร์/วัน บริษัททาการประมวลผลข้อมูลและปิ ด
งานวันละ 8 รายการ
• เมื่อไม่นานมานี้ บริษัทเพิ่งซื้อระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะประมวลผล
ข้อมูลได้สูงถึง 14 รายการ/วัน โดยที่พนักงานและชั่วโมงแรงงานเท่า
เดิม แต่มีค่าใช้จ่ายในการดาเนินการเป็น 800 ดอลลาร์/วัน
19
ผลิตภาพบริษัท Collins Title
=ผลิตภาพด้าน
แรงงานในระบบ
เดิม
พนักงาน 4 คน ทางาน 8 ชั่วโมง/วัน 8 รายการ/วัน
ค่าจ้างแรงงาน = $640/วัน ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน = $400/วัน
ระบบเดิมระบบเดิม::
8 รายการ/วัน
32 ชั่วโมงแรงงาน
0.25 รายการ/ชั่วโมง
แรงงาน
=
20
ผลิตภาพบริษัท Collins Title (ต่อ)
8 รายการ/วัน
32 ชั่วโมงแรงงาน
=ผลิตภาพด้าน
แรงงานในระบบ
เดิม
=ผลิตภาพด้าน
แรงงานในระบบ
ใหม่
พนักงาน 4 คน ทางาน 8 ชั่วโมง/วัน 8 รายการ/วัน
ค่าจ้างแรงงาน = $640/วัน ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการ = $400/วัน
ระบบเดิมระบบเดิม::
1414 รายการรายการ//วันวัน
3232 ชั่วโมงแรงงานชั่วโมงแรงงาน
= 0.25 รายการ/ชั่วโมงแรงงาน
= 0.4375 รายการ/ชั่วโมงแรงงาน
21
ผลิตภาพบริษัท Collins Title (ต่อ)
พนักงาน 4 คน ทางาน 8 ชั่วโมง/วัน 8 รายการ/วัน
ค่าจ้างแรงงาน = $640/วัน ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการ = $400/วัน
ระบบเดิมระบบเดิม::
14 รายการ/วัน ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการ = $800/วัน
ระบบใหม่ระบบใหม่::
=ผลิตภาพแบบพหุ
ปัจจัย
ในระบบเดิม
8 รายการ/วัน
$640 + 400
= 0.0077 รายการ/$
22
ผลิตภาพบริษัท Collins Title (ต่อ)
พนักงาน 4 คน ทางาน 8 ชั่วโมง/วัน 8 รายการ/วัน
ค่าจ้างแรงงาน = $640/วัน ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการ = $400/วัน
ระบบเดิมระบบเดิม::
8 รายการ/วัน
$640 + 400
=ผลิตภาพแบบพหุ
ปัจจัย
ในระบบเดิม
=ผลิตภาพแบบพหุ
ปัจจัย
ในระบบใหม่
= 0.0077 รายการ/$
1414 รายการรายการ//วันวัน
$$640640 ++ 800800
= 0.0097 รายการ/$
14 รายการ/วัน ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการ = $800/วัน
ระบบใหม่ระบบใหม่::
23
ผลิตภาพบริษัท Collins Title (ต่อ)
• ผลิตภาพด้านแรงงานเพิ่มขึ้น =
• ผลิตภาพแบบพหุปัจจัยเพิ่มขึ้น =
0.4375-0.25
0.25
X100 = เพิ่มขึ้น 75%
0.0097-0.0077
0.0077
X100 = เพิ่มขึ้น25.9%
24
ผลิตภาพกับส่วนการบริการ
• การปรับปรุงคุณภาพในส่วนการบริการเป็นเรื่องยุ่งยาก เนื่องจาก
1) เป็นงานที่ต้องใช้แรงงานที่มีความชานาญเฉพาะด้านเป็นหลัก
2) เป็นกระบวนการที่ใช้ปัจเจกบุคคลเฉพาะราย
3) เป็นงานที่ต้องใช้สติปัญญาดาเนินงานโดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะอาชีพ
4) มีความยุ่งยากในการใช้เครื่องจักรและระบบอัตโนมัติ
5) มีความยุ่งยากที่จะวัดและประเมินคุณภาพ
25
Q & A

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพChapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพRonnarit Junsiri
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิต และการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
บทที่ 1การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืนบทที่ 1การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
บทที่ 1 การจัดการการผลิต และการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืนคนป่า เถื่อนๆ
 
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการบทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์Thida Noodaeng
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการบทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลังการบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลังUtai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์Teetut Tresirichod
 
การจัดการคุณภาพ(Quality management)
การจัดการคุณภาพ(Quality management)การจัดการคุณภาพ(Quality management)
การจัดการคุณภาพ(Quality management)tumetr1
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักTeetut Tresirichod
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)Nattakorn Sunkdon
 
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)Padvee Academy
 

Was ist angesagt? (20)

Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพChapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
 
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
 
แนวข้อสอบการค้นคว้าอิสระ Ps796›
แนวข้อสอบการค้นคว้าอิสระ Ps796›แนวข้อสอบการค้นคว้าอิสระ Ps796›
แนวข้อสอบการค้นคว้าอิสระ Ps796›
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิต และการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
บทที่ 1การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืนบทที่ 1การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
บทที่ 1 การจัดการการผลิต และการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
 
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการบทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
 
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการบทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
 
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลังการบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
 
บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์
 
การจัดการคุณภาพ(Quality management)
การจัดการคุณภาพ(Quality management)การจัดการคุณภาพ(Quality management)
การจัดการคุณภาพ(Quality management)
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
 
แนวทางการควบคุมคุณภาพการผลิต
แนวทางการควบคุมคุณภาพการผลิตแนวทางการควบคุมคุณภาพการผลิต
แนวทางการควบคุมคุณภาพการผลิต
 
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำบทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
 
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
 

Andere mochten auch

เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์koorimkhong
 
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯเอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯthnaporn999
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงหน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงdp130233
 

Andere mochten auch (6)

เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯเอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
 
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงหน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 

Ähnlich wie บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ

Business developmentl
Business developmentlBusiness developmentl
Business developmentlwiwattho
 
Erp Change Leadership(1) Thai Version
Erp Change Leadership(1) Thai VersionErp Change Leadership(1) Thai Version
Erp Change Leadership(1) Thai VersionPaul Kell
 
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิตการจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิตMobile_Clinic
 

Ähnlich wie บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ (7)

Business developmentl
Business developmentlBusiness developmentl
Business developmentl
 
L2
L2L2
L2
 
2015 course syllabus
2015 course syllabus2015 course syllabus
2015 course syllabus
 
Erp Change Leadership(1) Thai Version
Erp Change Leadership(1) Thai VersionErp Change Leadership(1) Thai Version
Erp Change Leadership(1) Thai Version
 
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิตการจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
 
L5
L5L5
L5
 
Lean present opd_2551
Lean present opd_2551Lean present opd_2551
Lean present opd_2551
 

Mehr von Dr.Krisada [Hua] RMUTT

ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุบทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมบทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานบทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานบทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
แนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลาแนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลาDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องสรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าการรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Introduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation ManagementIntroduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation ManagementDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามการตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้นการเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้นDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 

Mehr von Dr.Krisada [Hua] RMUTT (20)

ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุบทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
 
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมบทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
 
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานบทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
 
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานบทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
 
Oganization Culture
Oganization CultureOganization Culture
Oganization Culture
 
การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design)
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
 
แนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลาแนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลา
 
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องสรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
 
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าการรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
 
Introduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation ManagementIntroduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation Management
 
Research Proposal Preparation
Research Proposal PreparationResearch Proposal Preparation
Research Proposal Preparation
 
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามการตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
 
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
 
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้นการเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัย
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
 

บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ

  • 1. บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ (Production and Operations Management) การนาเสนอภาพนิ่งนี้ จัดทาขึ้นจากหนังสือการจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ แปลถูกต้องตามลิขสิทธิ์ โดย รชฏ ขาบุญ และคณะ ผู้จัดทาการนาเสนอภาพนิ่ง มิได้มีเจตนาละเมิดลิขสิทธิ์ แต่จัดทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ทางการศึกษาเท่านั้น 1
  • 2. วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 2 •• เมื่อศึกษาจบบทนี้แล้ว ผู้ศึกษาควรที่จะเมื่อศึกษาจบบทนี้แล้ว ผู้ศึกษาควรที่จะสามารถสามารถ 11)) นิยามการจัดการการปฏิบัติการนิยามการจัดการการปฏิบัติการ 22)) อธิบายความแตกต่างระหว่างสินค้าและบริการอธิบายความแตกต่างระหว่างสินค้าและบริการ 33)) อธิบายความแตกต่างระหว่างการผลิตและผลิตภาพอธิบายความแตกต่างระหว่างการผลิตและผลิตภาพ 44)) คานวณผลิตภาพแบบปัจจัยเดี่ยวคานวณผลิตภาพแบบปัจจัยเดี่ยว 55)) คานวณผลิตภาพแบบพหุปัจจัยคานวณผลิตภาพแบบพหุปัจจัย 66)) ระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มผลิตภาพระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มผลิตภาพ
  • 3. เนื้อหา การจัดการการปฏิบัติการการจัดการการปฏิบัติการ การจัดองค์การเพื่อการผลิตสินค้าและบริการการจัดองค์การเพื่อการผลิตสินค้าและบริการ ความสาคัญของการจัดการการปฏิบัติการความสาคัญของการจัดการการปฏิบัติการ  หน้าที่ของผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการหน้าที่ของผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการ ประวัติความเป็นมาของการจัดการการปฏิบัติการ เน้นต้นทุนเป็นประวัติความเป็นมาของการจัดการการปฏิบัติการ เน้นต้นทุนเป็น หลักหลัก ประวัติความเป็นมาของการจัดการการปฏิบัติการประวัติความเป็นมาของการจัดการการปฏิบัติการ เน้นคุณภาพเป็นหลักเน้นคุณภาพเป็นหลัก ประวัติความเป็นมาของการจัดการการปฏิบัติการประวัติความเป็นมาของการจัดการการปฏิบัติการ เน้นความต้องการลูกค้าเป็นหลักเน้นความต้องการลูกค้าเป็นหลัก คุณลักษณะของการบริการคุณลักษณะของการบริการ ความแตกต่างระหว่างสินค้าและบริการความแตกต่างระหว่างสินค้าและบริการ ผลิตภาพผลิตภาพ (Productivity)(Productivity) กรณีศึกษา บริษัทกรณีศึกษา บริษัท Collins TitleCollins Title ,,ผลิตภาพบริษัทผลิตภาพบริษัท Collins TitleCollins Title ผลิตภาพกับส่วนการบริการผลิตภาพกับส่วนการบริการ 3
  • 4. • การผลิต (Production) คือ การสร้างสินค้าและบริการ • การจัดการการปฏิบัติการ (Operations management; OM) กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการสร้างมูลค่าในรูปของสินค้าและ บริการโดยอาศัยกระบวนการแปรรูปหรือแปรสภาพปัจจัย นาเข้า (inputs) ให้ออกมาเป็นปัจจัยนาออก (outputs) 4 การการจัดการการผลิตและการจัดการการผลิตและการปฏิบัติการปฏิบัติการ
  • 5. • กิจกรรมการสร้างสินค้าและบริการ เกิดขึ้นในทุกๆ องค์การ ทั้งผลผลิตที่จับต้องได้หรือไม่สามารถจับต้องได้ • กิจกรรมการผลิตที่จับต้องได้ (Tangible product) เช่น โทรทัศน์ Sony รถจักรยานยนต์ยี่ห้อ Harley Davidson • กิจกรรมที่ไม่สามารถจับต้องได้ คือ กิจกรรมการผลิตของธุรกิจที่ให้การบริการ (Services) เช่น ธนาคาร โรงพยาบาล สายการบิน มหาวิทยาลัย เป็นต้น ตัวอย่างของการให้บริการ เช่น การโอนเงินของธนาคาร การจัดที่นั่งผู้โดยสารของสายการบิน หรือ การให้การศึกษาแก่นักศึกษา 5 การการจัดการการผลิตและการจัดการการผลิตและการปฏิบัติการปฏิบัติการ
  • 6. • ในการผลิตสินค้าและบริการ ทุกองค์การจะดาเนินการหน้าที่หลัก 3 ประการ ได้แก่ • ด้านการตลาด (Marketing) ดาเนินการเพื่อตอบสนองอุปสงค์ที่เกิดขึ้นของลูกค้า • ด้านการผลิต (Production) ดาเนินการแปรสภาพทรัพยากรการผลิตต่างๆ ให้ออกมาเป็นสินค้าหรือบริการ • ด้านการเงิน (Finance) ดาเนินการเกี่ยวกับการจัดหาเงินทุน การใช้เงินทุน การรวบรวม การบันทึกวิเคราะห์ รายงานข้อมูลทางการเงิน 6 การจัดองค์การเพื่อการผลิตสินค้าและบริการ
  • 7. • OM เป็นหนึ่งในหน้าที่หลัก 3 ประการ (การตลาด การผลิต การเงิน) • ศึกษา OM เนื่องจากต้องการทราบวิธีการผลิตสินค้าและบริการเพื่อ ดาเนินการผลิตสินค้าให้คนในสังคม • ศึกษา OM เพื่อให้เกิดความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของแต่ละฝ่ายและเอื้อ ต่อการพัฒนาทักษะที่จาเป็นต่อตาแหน่งที่สูงขึ้นของพนักงาน • OM เป็นส่วนที่มีต้นทุนสูงขององค์กร โดยหากมีการจัดการที่เหมาะสม องค์กรมีโอกาสที่ได้รับกาไรสูงขึ้น 7 ความสาคัญของการจัดการการปฏิบัติการความสาคัญของการจัดการการปฏิบัติการ
  • 8. 8 หน้าที่ของผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการหน้าที่ของผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการ การออกแบบบริการและผลิตภัณฑ์ (Service and Product Design) การจัดการคุณภาพ (Quality Management) การออกแบบกระบวนการและกาลังการผลิต (Process and Capacity Design) การเลือกทาเลที่ตั้งสถานประกอบการ (Location) การวางผังสถานประกอบการ (Layout Design) ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน (Human Resources and Job Design) การจัดการโซ่อุปทาน (Supply-Chain Management) สินค้าคงคลัง การวางแผนความต้องการวัสดุและแนวคิดแบบทันเวลาพอดี (Inventory, Material Requirements Planning and JIT (Just-in-Time) การกาหนดตารางเวลาการทางานระยะสั้นและระยะกลาง (Intermediate and Short- Term Scheduling) การบารุงรักษา (Maintenance)
  • 9. • แนวคิดในยุคเริ่มแรก ปี ค.ศ. 1776- 1880 • การใช้คนตามความชานาญเฉพาะด้าน (Smith, Babbage) • ชิ้นส่วนมาตรฐาน (Whitney) • ยุคการจัดการทางวิทยาศาสตร์ ค.ศ. 1880-1910 • แผนภูมิแกนต์ (Gantt) • การศึกษาเวลาและความเคลื่อนไหว (Gilbreth) • การวิเคราะห์กระบวนการ (Taylor) • ทฤษฎีแถวคอย (Erlang) • ยุคการผลิตจานวนมาก ค.ศ. 1919-1980 • การเคลื่อนย้ายชิ้นส่วนผ่านสายการผลิต (Ford/Sorensen) • การสุ่มตัวอย่างเชิงสถิติ (Shewhart) • ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด (Harris) • โปรแกรมเชิงเส้นตรง (Dupont) • การวางแผนความต้องการวัสดุ (MRP) 9 ประวัติความเป็นมาของการจัดการการปฏิบัติการ เน้นต้นทุนเป็นหลักประวัติความเป็นมาของการจัดการการปฏิบัติการ เน้นต้นทุนเป็นหลัก
  • 10. • ยุคการผลิตแบบลีน ค.ศ. 1980 - 1995 ระบบการผลิตแบบทันเวลา (JIT) การประยุกต์คอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิต (CAD) การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (EDI) การจัดการคุณภาพโดยรวม (TQM) รางวัลคุณภาพ การมอบอานาจให้พนักงาน ระบบคัมบัง 10 ประวัติความเป็นมาของการจัดการการปฏิบัติการ เน้นคุณภาพเป็นหลัก
  • 11. • ยุคการตอบสนองผู้บริโภคมากราย ค.ศ. 1995 - 2010 โลกาภิวัฒน์ อินเตอร์เน็ต การวางแผนทรัพยากรองค์กร องค์การการเรียนรู้ มาตรฐานคุณภาพระหว่างประเทศ ระบบการผลิตแบบคล่องตัว พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 11 ประวัติความเป็นมาของการจัดการการปฏิบัติการ เน้นความต้องการลูกค้าเป็นหลัก
  • 12. 12 แนวโน้มที่น่าสนใจในอนาคตแนวโน้มที่น่าสนใจในอนาคต  มุ่งเน้นระดับโลก  การจัดส่งสินค้าแบบทันเวลาพอดี  การเป็นหุ้นส่วนในห่วงโซ่อุปทาน การ วางแผนทรัพยากรองค์กร พาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์  การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่รวดเร็ว ความ ร่วมมือทางด้านการออกแบบ  การมุ่งเน้นความต้องการของผู้บริโภค มากราย  การมอบอานาจให้พนักงาน การทางาน เป็นทีม และการผลิตแบบลีน เป็นเป็นจากจาก  มุ่งเน้นท้องถิ่นหรือประเทศ  การจัดส่งเป็นกลุ่มจานวนมาก  การซื้อโดยการประมูลราคาต่า  การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใช้เวลานาน  สินค้ามาตรฐาน  งานที่มีความชานาญเฉพาะด้าน
  • 13. 13 คุณลักษณะของการบริการ • การบริการเป็นสิ่งที่ไม่มีตัวตน จับต้องไม่ได้ • การบริการมักเป็นการผลิตและบริโภคในเวลาเดียวกัน • การบริการมักเป็นสิ่งที่มีคุณลักษณะเฉพาะตัว • การบริการเป็นสิ่งที่มีปฏิสัมพันธ์กับลูกค้าสูง • การบริการมีคุณลักษณะไม่คงที่ • การบริการมักเกี่ยวข้องกับฐานความรู้ • การบริการมีการกระจายตัวในหลายแนวทาง
  • 14. 14 ความแตกต่างระหว่างสินค้าและบริการ สินค้า/ผลิตภัณฑ์ที่มีตัวตน บริการ/ผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีตัวตน 1. สินค้าสามารถนามาทาการขายซ้าได้ 1. ไม่สามารถนามาทาการขายซ้าได้ 2. มีการจัดการเป็นสินค้าคงคลังได้ 2. ไม่สามารถจัดเก็บเป็นสินค้าคงคลังได้ 3. คุณลักษณะของคุณภาพสินค้าสามารถวัดได้ 3. คุณลักษณะของคุณภาพสินค้ายากที่จะวัดได้ 4. การขายมีลักษณะเฉพาะตัวที่แยกออกมาจากการผลิต 4. การขายเป็นส่วนหนึ่งของการบริการ 5. สามารถทาการเคลื่อนย้ายขนส่งได้ 5. ผู้ให้บริการ ไม่ใช่ตัวสินค้า สามารถเคลื่อนย้ายได้ 6. ทาเลที่ตั้งในการผลิตมีความสาคัญต่อต้นทุน 6. ทาเลที่ตั้งเป็นสิ่งสาคัญเพื่อการติดต่อกับลูกค้า 7. ง่ายต่อการผลิตแบบอัตโนมัติ 7. ยากที่จะดาเนินการเป็นแบบอัตโนมัติ
  • 17. 17 การปรับปรุงประสิทธิภาพของการผลิต • สามารถดาเนินการได้หลายวิธี คือ • 1) Efficient ผลผลิตเพิ่มขึ้นในขณะที่ปัจจัยนาเข้าเท่าเดิมหรือเพิ่มขึ้น เล็กน้อย • 2) Downsize ผลผลิตเท่าเดิมแต่ใช้ปัจจัยนาเข้าลดลง • 3) Expand ผลผลิตเพิ่มขึ้น เร็วกว่า การเพิ่มขึ้นของปัจจัยนาเข้า • 4) Retrench ผลผลิตลดลง แต่ช้ากว่า การลดลงของปัจจัยนาเข้า • 5) Breakthroughs ผลผลิตเพิ่มขึ้นในขณะที่ปัจจัยนาเข้าลดลง
  • 18. 18 กรณีศึกษา บริษัท Collins Title • บริษัท Collins Title มีพนักงานอยู่ 4 คน พนักงานแต่ละคนทางาน 8 ชั่วโมง/วัน (ค่าจ้างแรงงาน 640 ดอลลาร์สหรัฐ/วัน) ค่าใช้จ่ายในการ ดาเนินงาน 400 ดอลลาร์/วัน บริษัททาการประมวลผลข้อมูลและปิ ด งานวันละ 8 รายการ • เมื่อไม่นานมานี้ บริษัทเพิ่งซื้อระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะประมวลผล ข้อมูลได้สูงถึง 14 รายการ/วัน โดยที่พนักงานและชั่วโมงแรงงานเท่า เดิม แต่มีค่าใช้จ่ายในการดาเนินการเป็น 800 ดอลลาร์/วัน
  • 19. 19 ผลิตภาพบริษัท Collins Title =ผลิตภาพด้าน แรงงานในระบบ เดิม พนักงาน 4 คน ทางาน 8 ชั่วโมง/วัน 8 รายการ/วัน ค่าจ้างแรงงาน = $640/วัน ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน = $400/วัน ระบบเดิมระบบเดิม:: 8 รายการ/วัน 32 ชั่วโมงแรงงาน 0.25 รายการ/ชั่วโมง แรงงาน =
  • 20. 20 ผลิตภาพบริษัท Collins Title (ต่อ) 8 รายการ/วัน 32 ชั่วโมงแรงงาน =ผลิตภาพด้าน แรงงานในระบบ เดิม =ผลิตภาพด้าน แรงงานในระบบ ใหม่ พนักงาน 4 คน ทางาน 8 ชั่วโมง/วัน 8 รายการ/วัน ค่าจ้างแรงงาน = $640/วัน ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการ = $400/วัน ระบบเดิมระบบเดิม:: 1414 รายการรายการ//วันวัน 3232 ชั่วโมงแรงงานชั่วโมงแรงงาน = 0.25 รายการ/ชั่วโมงแรงงาน = 0.4375 รายการ/ชั่วโมงแรงงาน
  • 21. 21 ผลิตภาพบริษัท Collins Title (ต่อ) พนักงาน 4 คน ทางาน 8 ชั่วโมง/วัน 8 รายการ/วัน ค่าจ้างแรงงาน = $640/วัน ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการ = $400/วัน ระบบเดิมระบบเดิม:: 14 รายการ/วัน ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการ = $800/วัน ระบบใหม่ระบบใหม่:: =ผลิตภาพแบบพหุ ปัจจัย ในระบบเดิม 8 รายการ/วัน $640 + 400 = 0.0077 รายการ/$
  • 22. 22 ผลิตภาพบริษัท Collins Title (ต่อ) พนักงาน 4 คน ทางาน 8 ชั่วโมง/วัน 8 รายการ/วัน ค่าจ้างแรงงาน = $640/วัน ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการ = $400/วัน ระบบเดิมระบบเดิม:: 8 รายการ/วัน $640 + 400 =ผลิตภาพแบบพหุ ปัจจัย ในระบบเดิม =ผลิตภาพแบบพหุ ปัจจัย ในระบบใหม่ = 0.0077 รายการ/$ 1414 รายการรายการ//วันวัน $$640640 ++ 800800 = 0.0097 รายการ/$ 14 รายการ/วัน ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการ = $800/วัน ระบบใหม่ระบบใหม่::
  • 23. 23 ผลิตภาพบริษัท Collins Title (ต่อ) • ผลิตภาพด้านแรงงานเพิ่มขึ้น = • ผลิตภาพแบบพหุปัจจัยเพิ่มขึ้น = 0.4375-0.25 0.25 X100 = เพิ่มขึ้น 75% 0.0097-0.0077 0.0077 X100 = เพิ่มขึ้น25.9%
  • 24. 24 ผลิตภาพกับส่วนการบริการ • การปรับปรุงคุณภาพในส่วนการบริการเป็นเรื่องยุ่งยาก เนื่องจาก 1) เป็นงานที่ต้องใช้แรงงานที่มีความชานาญเฉพาะด้านเป็นหลัก 2) เป็นกระบวนการที่ใช้ปัจเจกบุคคลเฉพาะราย 3) เป็นงานที่ต้องใช้สติปัญญาดาเนินงานโดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะอาชีพ 4) มีความยุ่งยากในการใช้เครื่องจักรและระบบอัตโนมัติ 5) มีความยุ่งยากที่จะวัดและประเมินคุณภาพ