SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 55
การตรวจร่างกายระบบประสาท
(Nervous System)
โดย
อ.ณัฐกฤตา วงค์ตระกูล
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
• บอกแนวทางการซักประวัติและตรวจร่างกายระบบประสาทได้
• บอกสิ่งผิดปกติที่เกิดจากการตรวจร่างกายได้
• บอกการตรวจทางห้องปฏิบัติการและการส่งตรวจพิเศษได้
• ระบบประสาทมีหน้าที่ควบคุมหลัก 3 ประการได้แก่:
1) การรับ ความรู้สึก ทาโดยอาศัยตัวรับความรู้สึกบริเวณผิวหนัง
กล้ามเนื้อ ข้อต่อ อวัยวะ ภายในลูกตา จมูก ลิ้น หู;
2) การวิเคราะห์ข้อมูล ทาโดยนาข้อมูลที่ได้รับจากภายนอกร่างกายเข้า
มาทางประสาทรับความรู้สึกมาแปลผล ตัดสินใจ และส่งต่อข้อมูล
และ
3) การสั่งงานและควบคุมการทางานของร่างกาย ทาโดยการรับ
สัญญาณจากประสาทส่วนกลางส่งไปยังอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย
1. ระบบประสาทส่วนกลาง
• สมอง (Brain)ได้แก่ สมองใหญ่ (Cerebrum) มีหน้าที่รับความรู้สึก
ควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อ ระบบต่อมไร้ท่อ และระบบประสาท
อัตโนมัติ สมองน้อย (Cerebellum) ทาหน้าที่ควบคุมสมดุล การ
เคลื่อนไหวของร่างกาย
• ไขสันหลัง (Spinal cord) เป็นที่อยู่ของเซลล์ประสาทที่ทาหน้าที่
เคลื่อนไหวและการรับความรู้สึกต่างๆ ซึ่งสามารถส่งกระแสประสาทไป
ยังสมองและส่วนต่างๆของร่างกาย
2. ระบบประสาทส่วนปลาย (Peripheral nervous system)
ประกอบด้วย เส้นประสาทสมอง (Cranial nerve) จานวน 12 คู่ และ
เส้นประสาทไขสันหลัง (Spinal nerve) จานวน 31 คู่
3. ระบบประสาทอัตโนมัติ (Autonomic nervous system)
การตรวจร่างกายระบบประสาท สิ่งที่ต้องทาการตรวจ คือ
• การตรวจทั่วไปเช่น การเดิน ลักษณะที่แสดงออก
• การตรวจระดับความรู้สึกตัว (Conciousness) หรือระดับการรู้สติ
การรับรู้วันเวลา สถานที่ บุคคล สติปัญญา ความจา อารมณ์ ความคิด
การตัดสินใจการพูดและการใช้ภาษา
• การตรวจประสาทสมอง12 คู่ (Cranial nerve)
• การตรวจระบบประสาทมอเตอร์ (Motor System)หรือการ
เคลื่อนไหว
• การตรวจระบบประสาทรับรู้สึก (Sensory System)
• การตรวจปฏิกิริยาตอบสนอง (Reflexes)
• การตรวจการทางานประสานกัน
1. การตรวจทั่วไปเช่น การเดิน ลักษณะที่แสดงออก
2. การตรวจระดับความรู้สึกตัว (Conciousness) หรือระดับการรู้สติ
การรับรู้วันเวลา สถานที่ บุคคล สติปัญญา ความจา อารมณ์ ความคิด การ
ตัดสินใจการพูดและการใช้ภาษา การตรวจสภาวะทางจิตใจ (Mental
status) ประกอบด้วย การประเมินสภาพทางกาย และพฤติกรรม
ความสามารถในการรับรู้ ความมั่นคงทางอารมณ์ การพูดและการใช้ภาษา
การประเมินท่าทางและการเคลื่อนไหวการแต่งกายและสุขวิทยา สังเกต
และบันทึกการแต่งกายแสดงออกทางสีหน้า ความสามารถในการสื่อสาร
ความสามารถทางเชาวน์ปัญญา ได้แก่ ความจาเหตุการณ์ในอดีต
ความจาย้อนหลังปานกลาง และความจาถึง เหตุการณ์ในปัจจุบันโดยบอก
วัตถุ 3 สิ่งให้
• ผู้รับบริการจดจาไว้ เช่น ดอกไม้ ปากกา และรถ และกลับมาถามอีกครั้ง
การซักประวัติ
• อาการสาคัญ (Chief complaint) เป็นอาการสาคัญที่นาให้ผู้รับบริการ
มาตรวจรักษา ได้แก่ อาการชัก ตาพร่ามัว การสูญเสียความรู้สึก ปวด
ศีรษะมาก สูญเสียการทรงตัว ไม่รับรู้ความเจ็บปวด สูญเสียการรับรส
ความจาเสื่อม
• ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน (Present illness)
• ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต (Past illness)
• ประวัติครอบครัว (Family history)
• ประวัติทางสังคม ได้แก่ การดื่มแอลกอฮอลล์ การสูบบุหรี่ และการติด
ยาเสพติด
• การตรวจทั่วไป เน้นการสังเกตท่าเดินของผู้รับบริการสีหน้าการ
เคลื่อนไหว
• การตรวจระดับความรู้สึกตัว (Conciousness) หรือระดับการรู้
สติ การทาหน้าที่ทางด้านจิตใจ
• ซึ่งเกี่ยวข้องกับ ระดับความรู้สึกตัว ความร่วมมือ สติปัญญา ความจา
ระยะสั้น(recent) อารมณ์ ความคิด การตัดสินใจ การจัดแบ่งระดับ
ความรู้สึกตัวสามารถแบ่งออกเป็นระดับ ดังนี้
ระดับความรู้สึกตัวมีดังนี้
Alert ระดับความรู้สึกตัวปกติ เหมือนคนปกติทั่วไป
Drawsiness ระดับความรู้สึกซึมลง อยากหลับต้องปลุกเรียก แต่ยังพูดรู้
เรื่อง
Confuse ระดับความรู้สึกซึมลงมาก พูดจาไม่ค่อยรู้เรื่อง ไม่รู้จักเวลา
สถานที่ และบุคคล ที่เรียกว่า Disorientation
Delirium ระดับความรู้สึกจะเอะอะอาละวาดมากขึ้น หงุดหงิดตอบคาถาม
ไม่ได้ บางครั้งต้องจับ มัดไว้ (restrained)
Stupor ระดับความรู้สึกซึมมาก ต้องปลุกแรงๆ ลืมตาปัด แล้วหลับต่อ
บางที เรียกว่าSemiComa
Coma ระดับความรู้สึกไม่รู้สึกตัว ไม่มีการตอบสนองต่อแรงกระตุ้นใดๆ
การบอกระดับความรู้สึกด้วยการตอบสนองต่อสิ่งเร้า หรือการใช้
Glasglow Coma Score
การตรวจประสาทสมอง (Cranial Nerve)
เป็นเส้นประสาทที่ออกมาจากสมองโดยตรง ซึ่งต่างจากเส้นประสาทไขสัน
หลังที่ออกมาจากแต่ละส่วนของไขสันหลังประสาทสมองของร่างกายมี
ทั้งหมด 12 คู่
• ประสาทสมองคู่ที่ 1 (Olfactory Nerve) มีหน้าที่ในการดม
กลิ่น (Smell) ให้ผู้ป่วยหลับตาให้ดมกลิ่นแล้วบอก
• ประสาทสมองคู่ที่ 2 (Optic nerve) มีหน้าที่เกี่ยวกับการมองเห็น รับ
แสง สี และภาพ การตรวจประสาทคู่นี้สิ่งที่ต้องทาการตรวจ คือ การ
ตรวจวัดสายตา (Visual Acuity)การตรวจลานสายตา (Visual Field)
การตรวจการตรวจจอตา(Funduscopic examination)
ลักษณะลานสายตาต่างๆ
• ลานสายตาปกติ โรคตาบอดครึ่งซีกคู่นอก
โรคตาบอดครึ่งซีกคู่ใน โรคตาบอดครึ่งซีกซ้ายหรือขวา
• การตรวจวัดสายตา เป็นการตรวจความผิดปกติของสายตา วิธีตรวจ ทา
ได้โดยใช้การให้ผู้ป่วยหนังสือ หรืออ่าน Snellen ‘chart
• การตรวจลานสายตา (Visual Field) เป็นการตรวจความสามารถในการ
มองได้กว้างมากน้อยเท่าใด เช่น ใช้วิธีการแบบเผชิญหน้า
(confrontation test) โดยพยาบาลและผู้รับบริการหันหน้าเข้าหากันห่าง
กันประมาณ 3 ฟุต จ้องมองจมูกของกันและกัน ปิดตาด้านตรงข้ามกัน
พยาบาลค่อยๆ กระดกนิ้วจากนอกลานสายตาด้านบน ล่าง ด้านนอก
ค่อยๆเคลื่อนวัตถุหรือนิ้ว หากผู้ป่วยมองไม่เห็นพร้อมกับผู้ป่วยถือว่า
ลานสายตาผิดปกติ
การตรวจจอตา (Funduscopic examination)
• พยาบาลใช้เครื่องตรวจตา (Ophthalmoscope) เมื่อตรวจตาขวาของ
ผู้รับบริการ พยาบาลจับเครื่องมือด้วยมือขวาให้นิ้วมือทาบอยู่บนแป้ น
ปรับระดับความคมชัด จับเครื่องมือห่างจากตาผู้รับบริการประมาณ 10
นิ้ว เยื้องไปด้านข้างประมาณ 15 องศา ควรตรวจในห้องที่มีแสง
ค่อนข้างมืดเพื่อให้ม่านตา ของผู้รับบริการขยาย ในขณะตรวจให้
ผู้รับบริการมองตรงไปข้างหน้านิ่งๆ ไกลๆ พยาบาลมองผ่านรูของ
Ophthalmoscope ตรงไปยัง Pupil สังเกตแสงสีส้ม
• ประสาทสมองคู่ที่ 3 (Oculomotor nerve CNIII), คู่ที่ 4 (Trochlear
nerve CNIV), คู่ที่ 6 (Abducens nerve CNVI) การทางานของ
ประสาททั้ง 3 คู่นี้จะทางานประสานพร้อม ๆ กัน มีหน้าที่เกี่ยวกับการ
เคลื่อนไหวของลูกตาการตรวจ Accomodation ) รูม่านตาทั้งสองข้าง
ไม่เท่ากัน สาเหตุจากความผิดปกติของประสาทสมองคู่ที่ 3 พบในโรค
ม่านตาอักเสบ (Iritis)
ประสาทสมองคู่ที่ 5 (Trigeminal nerve CNV)
เป็นการตรวจความรู้สึกเจ็บ (Pain) และความรู้สึกสัมผัส (Touch
Sensation)และกล้ามเนื้อการเคี้ยว
Pain เป็นการตรวจความเจ็บโดยใช้เข็มหมุดปลายแหลม แตะตั้งแต่
หน้าผาก แก้ม คาง รวมทั้งหนังศีรษะและมุมคาง Touch Sensation
โดยใช้สาลีแตะบริเวณผิวหน้าตามตาแหน่งเดียวกันและเปรียบเทียบกัน
การเคี้ยวอาหาร เป็นการตรวจกล้ามเนื้อที่ใช้ในการเคี้ยวอาหาร
โดยให้ผู้ป่วยขบกรามเข้าออก ผู้ตรวจใช้นิ้วคลาที่กระพุ้งแก้มทั้งสองข้าง
คนปกติคลาพบการเกร็งบริเวณดังกล่าวเท่ากันทั้งสองข้าง
ประสาทสมองคู่ที่ 7 (Facial Nerve CNVII)
• หน้าที่ควบคุมการยักคิ้ว หลับตาลืมตา การยิ้ม และรับรสการตรวจกล้ามเนื้อ
Frontalis โดยให้ผู้ป่วยยักคิ้ว หรือขมวดคิ้ว ดูหน้าผากย่น
• การตรวจกล้ามเนื้อ Orbicularis Oculi โดยให้ผู้ป่วยหลับตาตามปกติก่อน
ในคนปกติจะหลับตาได้สนิท ในรายที่ผิดปกติจะมองเห็นตาขาว จากนั้น
ผู้ตรวจใช้นิ้วพยายามเปิดตาผู้ป่วย ปกติจะไม่สามารถเปิดตาได้
• การตรวจกล้ามเนื้อ Zygomaticus โดยให้ผู้ป่วยยิงฟันให้เต็มที่ ผู้ตรวจดูการ
ยกของมุมปาก
• การตรวจกล้ามเนื้อ Orbicularis Oris โดยให้ผู้ป่วยเป่าแก้มทั้งสองข้าง ทา
ปากจู๋ และผิวปาก
• การตรวจการรับรส บริเวณรับรสของลิ้น
ประสาทสมองคู่ที่ 8 (Auditory nerve หรือ Acoustic
nerve) CNVII
• การตรวจหน้าที่ของการได้ยิน และฟัง โดยการใช้เครื่องมือที่เรียกว่า
Tuning Fork ช่วยตรวจ มี 2 วิธี คือ Air Condition และ Bone
Conduction
• Weber’s Test โดยใช้ Tuning Fork เคาะให้สั่นแล้วเอาปลายมาแตะ
กลางศีรษะ คนปกติจะได้ยินเสียงสั่นสะเทือนเท่ากัน
• Rinne’s Test โดยใช้ Tuning Fork เคาะให้สั่นแล้วแตะที่ Mastoid
Process จนผู้ป่วยบอกว่าไม่ได้ยินเสียงแล้ว จึงยก Tuning Fork มาวาง
ที่หน้าหู คนปกติจะคงยังได้ยินเสียงต่อไป แสดงว่า Bone Conduction
ดีกว่า Air Conduction ถ้าฟังไม่ได้ยินแสดงว่า Air Conduction
มากกว่า Bone Conduction ซึ่งมักพบในผู้ป่วยที่มี
วิธีการทดสอบRinne
• การทดสอบ Rinne ขณะที่วางบน mastoid process จะเป็นการ
ทดสอบ bone conduction เมื่อไม่ได้ยินแล้วจึงเปลี่ยนมาวางหน้าหูข้าง
นั้น เพื่อดูว่า air conduction ของหูข้างนั้น ดีหรือไม่ ปกติแล้ว air
conduction ย่อมดีกว่า bone conduction เนื่องจากการ amplification
ของหูชั้นนอกและชั้นกลาง ดังนั้น การวางส้อมเสียงหน้าหูของหูที่ปกติ ก็
ควรจะได้ยินเสียงอีกครั้งหนึ่ง เนื่องจาก air conduction ดีกว่า bone
conduction
ถ้าพบว่า วางหน้าหูแล้วไม่ได้ยินเสียง แสดงว่า หูข้างนั้น air
conduction ไม่ได้ดีกว่า bone conduction แสดงว่า หูนั้นน่าจะมี
conductive hearing loss/deafness
ถามผู้รับบริการว่าได้ยิน เสียงสั่นหรือไม่ ถ้าได้ยินวางต่อไปจนกระทั่ง
ผู้รับบริการบอกว่า ไม่ได้ยินเสียง สั่น รีบนาซ่อมเสียงไปวางที่บริเวณหน้าหู
ข้างเดิมห่างประมาณ 1 เซนติเมตร ถ้าผู้รับบริการได้ยินเสียงสั่นอีก แสดง
ว่า การได้ยินเสียงปกติ หมายถึง การนาของเสียงผ่านอากาศ (Air
conduction) ดีกว่าการนาเสียงผ่าน กระดูก (Bone conduction)
Rinne test
• เปรียบเทียบ AC & BC ในหูข้างเดียวกัน
• วาง tuning fork ที่หน้าหู (AC) และ mastoid(BC)
• การแปลผล AC > BC (positive)
: normal conductive function
BC > AC (negative)
: conductive pathology
• AC = BC
• : technique error
• Not heard
• : severe SNHL (Neuro Sensory Hearing Loss)
ประสาทสมองคู่ที่ 9 และ 10
(Glossopharyngeal and Vagus Nerve ) CNIX, CNX
• มีหน้าที่ควบคุมการทางานของลิ้นไก่ เพดานปาก หลอดคอ กล่องเสียง
การหลั่ง น้าลาย และการรับรสที่โคนลิ้น การตรวจเส้นประสาทคู่ที่ 9
และ 10 มีวิธีการตรวจพร้อมกัน ดังนี้
• สังเกตว่ามีเสียงแหบหรือเสียงขึ้นจมูก หรือไม่
• ให้ผู้ป่วยร้อง อา พยาบาลสังเกตการยกตัวของลิ้นไก่ ปกติลิ้นไก่จะ
ยกขึ้นในแนวตรง
• ทดสอบ Gag reflex โดยใช้ไม้กดลิ้นแตะผนังคอหรือโคนลิ้น ปกติ
จะมีการขย้อน
• การทดสอบการรับรสให้ผู้รับบริการหลับตา ใช้เกลือหรือน้าตาลวางบน
ไม้กดลิ้นที่สะอาด แล้วนาไปวางที่โคนลิ้นของผู้รับบริการหรือใช้ไม้พัน
สาลีสะอาดแตะเกลือหรือน้าตาลเบาๆ แล้วนาไปแตะที่โคนลิ้นของ
ผู้ป่วย สอบถามว่ารสที่สัมผัสเป็นรสอะไร ถ้าตอบถูกต้องแสดงว่า ปกติ
ความผิดปกติที่พบในการตรวจเส้นประสาทสมองคู่ที่ 9 และคู่ที่ 10 ที่
พบบ่อย คือ อาการอ่อนแรงของเพดานอ่อน ลิ้นไก่ไม่ตรง การกลืน
ลาบาก สาลักน้าและอาหาร
ประสาทสมองคู่ที่ 11 (Accessory Nerve) CNXI)
• หน้าที่ของประสาทสมองคู่ที่ 11 คือ ควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อ
Sternocleidomastiod และส่วนบนของ Traprzius
muscle
• วิธีการตรวจ ให้ผู้ป่วยหันหน้าไปด้านใดด้านหนึ่ง ผู้ป่วยพยายามดันคาง
กลับทางเดิม ในคนปกติจะต้านแรงผู้ตรวจได้ และจะเห็นกล้ามเนื้อ
Sternocleidomastiod เกร็งตัวอย่างชัดเจน
• วิธีตรวจกล้ามเนื้อ Traprzius ให้ผู้ป่วยนั่งหรือยืนตัวตรง ๆ
สังเกตระดับไหล่ว่าเท่ากันหรือไม่ กล้ามเนื้อลีบว่ากันหรือไม่ ผู้ตรวจกด
ไหล่ของผู้ป่วย เพื่อดูกาลังของกล้ามเนื้อ
• หากผู้รับบริการไม่สามารถจะเคลื่อนไหวศีรษะคอได้ตามปกติ
• หรือไม่สามารถยกไหล่ได้ต้องมั่นใจว่าไม่ได้เกิดจากความผิดปกติของ
กล้ามเนื้อ
• จึงจะประเมินว่าเกิดจากประสาทสมองคู่ที่ 11 ได้รับบาดเจ็บได้
ประสาทสมองคู่ที่ 12 (Hypoglossal nerve CNVII)
• ให้ผู้รับบริการอ้าปากแลบลิ้นเข้าออกเร็วๆ พร้อมตวัดลิ้นไปมา สังเกต
ขนาดและลักษณะของลิ้น ถ้าลิ้นเอียงไปด้านใดด้านหนึ่ง แสดงว่ามี
ความผิดปกติ และบอกให้ผู้รับบริการเอาลิ้นดุนแก้ม พยาบาลออก
แรงดันบริเวณแก้มซ้ายขวาสังเกตความแข็งแรงของลิ้นในรายที่เป็น
อัมพาตลิ้นข้างนั้นจะลีบย่น สันของลิ้นจะเฉเฉียงข้างที่เป็น
การตรวจระบบประสาทมอเตอร์ (Motor System)
• สามารถดูรายละเอียดการประเมินได้จากประเมินภาวะสุขภาพระบบ
กระดูก ข้อ และกล้ามเนื้อ
การตรวจระบบประสาทรับรู้สึก (Sensory System)
• Pain Sensation ,Touch Sensation การทดสอบความ
จาแนกลักษณะของวัตถุโดยการสัมผัส(Sterognosia) บอกให้
ผู้รับบริการหลับตา พยาบาลนาวัตถุที่คุ้นเคย เช่นปากกา ยางลบ
กุญแจ วางในมือของผู้รับบริการและให้ผู้รับบริการบอกว่าคือวัตถุอะไร
ทดสอบทีละข้าง
• Vibration Sensation การรับรู้ความรู้สึกสั่นสะเทือน โดยการใช้
ส้อมเสียงความถี่ เคาะให้สั่นแล้ววางบนหลังกระดูก เช่น ตาตุ่ม หัวเข่า
ข้อศอก ข้อมือ หรือตามกระดูกสันหลัง
• Traced Figure Identification การรับรู้สิ่งที่เขียนบนผิวหนัง
การตรวจรีเฟล็กซ์
• การแบ่งระดับความไวดังนี้4+ ไวมาก, 3+ ไว, 2+ ปรกติ, 1+ น้อย
กว่าปกติ, 0 ไม่มี ปฏิกิริยาตอบสนอง หรือ รีแฟลกซ์ คือ ปฏิกิริยาที่
ตอบสนองต่อการกระตุ้นอย่างรวดเร็วอย่างอัตโนมัติโดยการเคลื่อนไหว
หนีออก ซึ่งเป็นหน้าที่ของประสาทไขสันหลัง เช่น ถ้าเดินเหยียบของ
แหลมหรือของร้อนๆ จะรีบชักเท้าหนีทันที รีแฟลกซ์จึงมีประโยชน์ต่อ
การชี้ตาแหน่งความผิดปกติของเส้นประสาทไขสันหลังของร่างกาย การ
ตรวจปฏิกิริยาตอบสนอง แบ่งเป็น 2 ชนิด ได้แก่ การตรวจปฏิกิริยา
ตอบสนองชนิดลึก (Deep tendon reflex) และการตรวจ
ปฏิกิริยาตอบสนองชนิดตื้น
• การทดสอบปฏิกิริยาตอบสนองชนิดลึก มีหลักการตรวจโดยผู้รับบริการ
ต้องอยู่ในท่าที่ผ่อนคลาย กล้ามเนื้อมีความตึงตัวพอสมควรและไม่เกร็ง
และจัดให้แขนขาอยู่ในท่าที่เหมาะสมเมื่อทาการทดสอบความไวของ
ปฏิกิริยาต้องเปรียบเทียบกันทั้งสองข้างเสมอ ที่นิยมตรวจมี 3 แห่ง ดังนี้
• การทดสอบ Biceps reflex เป็นการตรวจการทางานของเส้นประสาท
Cervical spinal nerve คู่ที่ 5การทดสอบ Biceps reflex เป็นการตรวจ
การทางานของเส้นประสาท Cervical spinal nerve คู่ที่ 5 (C5) และ
Musculocutaneous nerve ทาโดยให้ผู้รับบริการงอข้อศอกเล็กน้อย
ผู้ตรวจวางนิ้วหัวแม่มือลงบน Biceps tendon กดปลายนิ้วหัวแม่มือลง
เล็กน้อย ใช้ไม้เคาะรีแฟล็กซ์
• การทดสอบ Triceps reflex เป็นการตรวจการทางานของเส้นประสาท
Cervical spinal nerve คู่ที่ 6 และ 7 (C6, 7) และ Radial nerveโดยให้
ปลายแขนห้อย ใช้ไม้เคาะตรงบริเวณเอ็นของกล้ามเนื้อ Triceps
brachealis(ประมาณ 2 นิ้วเหนือข้อศอกด้านหลัง)
• การทดสอบ Quadriceps reflex เป็นการตรวจการ
• ทางานของเส้นประสาท Lumbar spinal nerve คู่ที่ 2 ถึง คู่ที่ 4 (L2-4)
และ
• Femoral nerve ทาโดยให้ผู้รับบริการนั่งห้อยเท้าที่ขอบเตียง พยาบาลใช้ไม้
เคาะรี
• แฟล็กซ์เคาะบริเวณ Patella tendon ซึ่งเป็นเอ็นของกล้ามเนื้อ
Quadriceps
• femolis โดยตรง (ดังภาพที่ 32) การตอบสนองปกติที่พบคือ ขาท่อนล่างจะ
• เหยียด เนื่องจาก Quadriceps femolis หดตัว ประเมินความไวของปฏิกิริยา
เป็น
• เกรดต่างๆ ทั้งสองข้าง
การตรวจปฏิกิริยาตอบสนองชนิดตื้น (Superficial reflex
• การทดสอบปฏิกิริยาของแก้วตา (Corneal reflex) เป็นการทดสอบการทางาน
ของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 5 (Trigeminal nerve: CNV)
• การทดสอบปฏิกิริยาตอบสนองที่ผนังหน้าท้อง(Abdominal reflex) เป็นการ
ตรวจการทางานของ Thoracic spinal nerve คู่ที่8-12 (T8-12) ผู้รับบริการนอน
หงาย ใช้วัสดุปลายทู่เขี่ยบริเวณหน้าท้องรอบๆ สะดือเบาๆ โดยลากเฉียงจากด้าน
นอกเข้าด้านใน (ดังภาพที่ 33) จะเห็นปฏิกิริยาตอบสนองโดยผนังหน้าท้องจะหด
ตัวตามการกระตุ้น สะดือจะเอียงไปด้านที่ทาการทดสอบแสดงการทดสอบ
ปฏิกิริยาตอบสนองที่ผนังหน้าท้อง
.
• การทดสอบการหดตัวของถุงอัณฑะ (Cremasteric reflex) เป็นการ
ทดสอบการทางานของ Lumbar spinal nerve คู่ที่ 1-2 (L1-2) ให้
ผู้รับบริการนอนหรือนั่ง พยาบาลใช้วัตถุทู่ๆ ขีดลากที่ด้านในของต้นขา
ใน แนวเฉียงลงล่างและเข้าใน ปฏิกิริยาตอบสนองคือจะเห็นถุงอัณฑะ
ด้านที่ ทดสอบหดตัว (ตรวจเฉพาะในรายที่มีความผิดปกติ)
การทดสอบ Plantar reflex
• เป็นการทดสอบการทางานของ Lumbar spinal nerve คู่ที่ 5 (L5) และ
Sacral spinal nerve คู่ที่ 1-2 (S1-2) ทาโดยให้ผู้รับบริการนอนหงายไม่
เกร็งกล้ามเนื้อ ใช้วัตถุปลายทู่ขูดที่ฝ่าเท้าจากปลายเท้าทางด้านนอกมา
ทางนิ้วก้อยและวนไปทางนิ้วหัวแม่เท้าการแปลผลถ้าหากมีการเหยียด
ออกของนิ้วเท้า ถือว่ามี การตอบสนองที่ผิดปกติ เรียกว่า มี barbinski
response หรือ barbinski ให้ผลบวก
การตรวจการทางานประสานกัน (COORDINATION)
• เป็นการตรวจหน้าที่ในการทางานประสานกันของระบบประสาทและ
กล้ามเนื้อในการทดสอบการทางานประสานกันต่อไปนี้ให้สังเกตว่า
ผู้ป่วยสามารถทาได้ราบรื่นและแม่นยาดีหรือไม่ ได้แก่
• การทดสอบ finger to finger
ให้ผู้ป่วยหลับตาและกางแขนออกเต็มที่, แล้วเหวี่ยงแขนเข้าในให้เป็นวงจน
ปลายนิ้วทั้งสองข้างมาแตะกันตรงกลาง
• การทดสอบ Finger to nose ทาโดยให้ผู้รับบริการหลับตาและ
กางแขนข้างหนึ่งออกเต็มที่โดยยื่นนิ้วชี้ออกด้วย นิ้วชี้ของมืออีกข้างหนึ่ง
สัมผัสที่จมูก นานิ้วชี้ข้างที่สัมผัสจมูกไปสัมผัสกับปลายนิ้วชี้ข้างที่กาง
ออกทาซ้า 2- 3 ครั้ง สลับทาอีกข้างหนึ่ง
• การทดสอบ Finger to nose to finger ให้ผู้รับบริการลืมตาใช้
ปลายนิ้วสัมผัสจมูกตนเองและนาไปสัมผัสกับปลายนิ้วชี้ของพยาบาล
• โดยพยาบาลเปลี่ยนตาแหน่งของนิ้วไปทางซ้ายและขวา (นิ้วชี้ของ
พยาบาลควรอยู่ห่างจากผู้รับบริการเกือบสุดปลายแขน)
• การทดสอบ heel to knee
ท่าที่เหมาะสมสาหรับตรวจคือท่าผู้ป่วยนอน ผู้ป่วยยกขาข้างหนึ่งขึ้นแล้ว
วางส้นเท้าลงบนเข่าอีกข้าง หลังจากนั้นไถส้นเท้าไปตามหน้าแข้งและหลัง
เท้าจนถึงปลายเท้าด้วยความเร็วพอสมควร อาจให้ผู้ป่วยไถส้นเท้ากลับขึ้น
ไปอีกครั้งเพื่อจะได้มีโอกาสสังเกตนานขึ้น ทดสอบทีละข้าง
• Romberg test. ให้ผู้ป่วยยืนหลับตา เท้าชิดกัน หงายฝ่ามือและ
เหยียดแขนไปข้างหน้า สังเกตว่าผู้ป่วยสามารถทรงตัวอยู่ได้หรือไม่ หรือ
ล้มเอียงไปข้างใดข้างหนึ่ง ผู้ประเมินอาจออกแรงผลักผู้ป่วยเบาๆด้วย
ปลายนิ้วไปข้างใดข้างหนึ่ง
การทดสอบอื่นๆที่จาเป็น
การตรวจอาการระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมอง (Signs of
meningeal irritation) มีวิธีการทดสอบต่างๆ ดังนี้
การทดสอบอาการคอแข็ง (Stiff neck) ปกติจะสามารถยกศีรษะขึ้นได้โดย
ไม่มีอาการเจ็บปวด ถ้ามีอาการเจ็บคอหรือมีการเกร็งกล้ามเนื้อบริเวณคอ
แสดงว่า การทดสอบให้ผลบวก ซึ่งอาจหมายถึงมีพยาธิสภาพของเยื่อหุ้ม
สมอง
• การทดสอบอาการ Kernig (Kernig’s sign) ทาโดยให้ผู้รับบริการงอเข่า
90O พยาบาลค่อยๆ จับเข่าของผู้รับบริการยืดออก ถ้ายืดไม่ได้และมี
อาการปวดกล้ามเนื้อต้นขาด้านหลัง แสดงว่า การตรวจได้ผลบวก ซึ่ง
อาจเกิดจากมีการระคายเคืองเยื่อหุ้มสมอง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
• การเจาะหลัง (Lumbar puncture) การเจาะหลังเป็นบทบาทของ
แพทย์ในการวิเคราะห์ความผิดปกติของระบบประสาท
• การตรวจทางรังสีComputer tomography (CT) เป็นวิธีการฉายภาพ
ทางรังสีที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยตัดต่อและเลือกภาพให้มีความชัดเจนและ
มองเห็นรายละเอียดได้มากขึ้น
• Magnetic resonance imaging เป็นวิธีการตรวจโดยการ
• ใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่สามารถมองเห็นรายละเอียดของสมองหรือส่วน
ที่ต้องการตรวจได้ชัดเจนกว่าการตรวจ Computer tomography (CT)
• Cerebral angiogram เป็นวิธีการฉีดสารทึบแสงเข้าทางหลอด
เลือด Femoral artery ดูการอุดตันที่หลอดเลือดในสมองต่างๆ
ภาวะเนื้องอกในสมอง
• Electroenphalography เป็นวิธีที่ใช้วัดคลื่นไฟฟ้ าบริเวณ
เปลือกนอกของเนื้อสมอง (Cerebral cortex)

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgtechno UCH
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)piyarat wongnai
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาsongsri
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติSambushi Kritsada
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆDashodragon KaoKaen
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560Aphisit Aunbusdumberdor
 
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551Utai Sukviwatsirikul
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfpraphan khunti
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)Aom S
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อUtai Sukviwatsirikul
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentsAphisit Aunbusdumberdor
 

Was ist angesagt? (20)

27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
 
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
Genogram
GenogramGenogram
Genogram
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
 

Andere mochten auch

ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankThanyamon Chat.
 
Hand out of_pe_spine_edit2012 ระบบประสาท
Hand out of_pe_spine_edit2012 ระบบประสาทHand out of_pe_spine_edit2012 ระบบประสาท
Hand out of_pe_spine_edit2012 ระบบประสาทCotton On
 
พฤติกรรม
พฤติกรรมพฤติกรรม
พฤติกรรมsukanya petin
 
9789740332961
97897403329619789740332961
9789740332961CUPress
 
Vl plantocut 22-sr
Vl plantocut 22-srVl plantocut 22-sr
Vl plantocut 22-srtkxkd19
 
Cloud computing pros and cons for computer forensic investigations
Cloud computing pros and cons for computer forensic investigationsCloud computing pros and cons for computer forensic investigations
Cloud computing pros and cons for computer forensic investigationspoojagupta010
 
Инвестируйте в себя! Avtomeenkoff
Инвестируйте в себя!  AvtomeenkoffИнвестируйте в себя!  Avtomeenkoff
Инвестируйте в себя! AvtomeenkoffAvtomeenkoff & Co
 
RIGEA GeoLiteracy
RIGEA GeoLiteracyRIGEA GeoLiteracy
RIGEA GeoLiteracySeth Dixon
 
RIGEA Latin America
RIGEA Latin AmericaRIGEA Latin America
RIGEA Latin AmericaSeth Dixon
 
แบบบันทึกเคส ยะลา
แบบบันทึกเคส ยะลาแบบบันทึกเคส ยะลา
แบบบันทึกเคส ยะลาCotton On
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)Natthaya Khaothong
 
Choices Program: What does good Geography Teaching Look Like?
Choices Program: What does good Geography Teaching Look Like?Choices Program: What does good Geography Teaching Look Like?
Choices Program: What does good Geography Teaching Look Like?Seth Dixon
 

Andere mochten auch (20)

ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blank
 
Hand out of_pe_spine_edit2012 ระบบประสาท
Hand out of_pe_spine_edit2012 ระบบประสาทHand out of_pe_spine_edit2012 ระบบประสาท
Hand out of_pe_spine_edit2012 ระบบประสาท
 
พฤติกรรม
พฤติกรรมพฤติกรรม
พฤติกรรม
 
9789740332961
97897403329619789740332961
9789740332961
 
Gump
GumpGump
Gump
 
Vl plantocut 22-sr
Vl plantocut 22-srVl plantocut 22-sr
Vl plantocut 22-sr
 
Yop
YopYop
Yop
 
Neuro ex
Neuro exNeuro ex
Neuro ex
 
Juegos paraolimpicos2016
Juegos paraolimpicos2016Juegos paraolimpicos2016
Juegos paraolimpicos2016
 
Jscd cpresiwhite
Jscd cpresiwhiteJscd cpresiwhite
Jscd cpresiwhite
 
Peru ley27314
Peru ley27314Peru ley27314
Peru ley27314
 
Cloud computing pros and cons for computer forensic investigations
Cloud computing pros and cons for computer forensic investigationsCloud computing pros and cons for computer forensic investigations
Cloud computing pros and cons for computer forensic investigations
 
Инвестируйте в себя! Avtomeenkoff
Инвестируйте в себя!  AvtomeenkoffИнвестируйте в себя!  Avtomeenkoff
Инвестируйте в себя! Avtomeenkoff
 
RIGEA GeoLiteracy
RIGEA GeoLiteracyRIGEA GeoLiteracy
RIGEA GeoLiteracy
 
RIGEA Latin America
RIGEA Latin AmericaRIGEA Latin America
RIGEA Latin America
 
แบบบันทึกเคส ยะลา
แบบบันทึกเคส ยะลาแบบบันทึกเคส ยะลา
แบบบันทึกเคส ยะลา
 
Jscd cpresi
Jscd cpresiJscd cpresi
Jscd cpresi
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
 
sun tracking solar panel
sun tracking solar panelsun tracking solar panel
sun tracking solar panel
 
Choices Program: What does good Geography Teaching Look Like?
Choices Program: What does good Geography Teaching Look Like?Choices Program: What does good Geography Teaching Look Like?
Choices Program: What does good Geography Teaching Look Like?
 

Ähnlich wie ตรวจร่างกายระบบประสาท

กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาAngkana Chongjarearn
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองsukanya petin
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการWan Ngamwongwan
 
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไปข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไปPijak Insawang
 
งาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมองงาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมองPongsatorn Srivhieang
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
ทฤษฎีการรับรู้ อารีลักษณ์ อรอุรา
ทฤษฎีการรับรู้ อารีลักษณ์  อรอุราทฤษฎีการรับรู้ อารีลักษณ์  อรอุรา
ทฤษฎีการรับรู้ อารีลักษณ์ อรอุราareeluck pooknoy
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลังWan Ngamwongwan
 

Ähnlich wie ตรวจร่างกายระบบประสาท (20)

กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
 
Osa
OsaOsa
Osa
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
test
testtest
test
 
Sheet bone scan
Sheet bone scanSheet bone scan
Sheet bone scan
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
Hearing Loss
Hearing LossHearing Loss
Hearing Loss
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไปข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
งาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมองงาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมอง
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
ทฤษฎีการรับรู้ อารีลักษณ์ อรอุรา
ทฤษฎีการรับรู้ อารีลักษณ์  อรอุราทฤษฎีการรับรู้ อารีลักษณ์  อรอุรา
ทฤษฎีการรับรู้ อารีลักษณ์ อรอุรา
 
Example osce
Example osceExample osce
Example osce
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 

ตรวจร่างกายระบบประสาท

  • 3. • ระบบประสาทมีหน้าที่ควบคุมหลัก 3 ประการได้แก่: 1) การรับ ความรู้สึก ทาโดยอาศัยตัวรับความรู้สึกบริเวณผิวหนัง กล้ามเนื้อ ข้อต่อ อวัยวะ ภายในลูกตา จมูก ลิ้น หู; 2) การวิเคราะห์ข้อมูล ทาโดยนาข้อมูลที่ได้รับจากภายนอกร่างกายเข้า มาทางประสาทรับความรู้สึกมาแปลผล ตัดสินใจ และส่งต่อข้อมูล และ 3) การสั่งงานและควบคุมการทางานของร่างกาย ทาโดยการรับ สัญญาณจากประสาทส่วนกลางส่งไปยังอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย
  • 4. 1. ระบบประสาทส่วนกลาง • สมอง (Brain)ได้แก่ สมองใหญ่ (Cerebrum) มีหน้าที่รับความรู้สึก ควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อ ระบบต่อมไร้ท่อ และระบบประสาท อัตโนมัติ สมองน้อย (Cerebellum) ทาหน้าที่ควบคุมสมดุล การ เคลื่อนไหวของร่างกาย • ไขสันหลัง (Spinal cord) เป็นที่อยู่ของเซลล์ประสาทที่ทาหน้าที่ เคลื่อนไหวและการรับความรู้สึกต่างๆ ซึ่งสามารถส่งกระแสประสาทไป ยังสมองและส่วนต่างๆของร่างกาย
  • 5. 2. ระบบประสาทส่วนปลาย (Peripheral nervous system) ประกอบด้วย เส้นประสาทสมอง (Cranial nerve) จานวน 12 คู่ และ เส้นประสาทไขสันหลัง (Spinal nerve) จานวน 31 คู่ 3. ระบบประสาทอัตโนมัติ (Autonomic nervous system)
  • 6.
  • 7.
  • 8. การตรวจร่างกายระบบประสาท สิ่งที่ต้องทาการตรวจ คือ • การตรวจทั่วไปเช่น การเดิน ลักษณะที่แสดงออก • การตรวจระดับความรู้สึกตัว (Conciousness) หรือระดับการรู้สติ การรับรู้วันเวลา สถานที่ บุคคล สติปัญญา ความจา อารมณ์ ความคิด การตัดสินใจการพูดและการใช้ภาษา • การตรวจประสาทสมอง12 คู่ (Cranial nerve) • การตรวจระบบประสาทมอเตอร์ (Motor System)หรือการ เคลื่อนไหว • การตรวจระบบประสาทรับรู้สึก (Sensory System) • การตรวจปฏิกิริยาตอบสนอง (Reflexes) • การตรวจการทางานประสานกัน
  • 9. 1. การตรวจทั่วไปเช่น การเดิน ลักษณะที่แสดงออก 2. การตรวจระดับความรู้สึกตัว (Conciousness) หรือระดับการรู้สติ การรับรู้วันเวลา สถานที่ บุคคล สติปัญญา ความจา อารมณ์ ความคิด การ ตัดสินใจการพูดและการใช้ภาษา การตรวจสภาวะทางจิตใจ (Mental status) ประกอบด้วย การประเมินสภาพทางกาย และพฤติกรรม ความสามารถในการรับรู้ ความมั่นคงทางอารมณ์ การพูดและการใช้ภาษา การประเมินท่าทางและการเคลื่อนไหวการแต่งกายและสุขวิทยา สังเกต และบันทึกการแต่งกายแสดงออกทางสีหน้า ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถทางเชาวน์ปัญญา ได้แก่ ความจาเหตุการณ์ในอดีต ความจาย้อนหลังปานกลาง และความจาถึง เหตุการณ์ในปัจจุบันโดยบอก วัตถุ 3 สิ่งให้ • ผู้รับบริการจดจาไว้ เช่น ดอกไม้ ปากกา และรถ และกลับมาถามอีกครั้ง
  • 10. การซักประวัติ • อาการสาคัญ (Chief complaint) เป็นอาการสาคัญที่นาให้ผู้รับบริการ มาตรวจรักษา ได้แก่ อาการชัก ตาพร่ามัว การสูญเสียความรู้สึก ปวด ศีรษะมาก สูญเสียการทรงตัว ไม่รับรู้ความเจ็บปวด สูญเสียการรับรส ความจาเสื่อม • ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน (Present illness) • ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต (Past illness) • ประวัติครอบครัว (Family history) • ประวัติทางสังคม ได้แก่ การดื่มแอลกอฮอลล์ การสูบบุหรี่ และการติด ยาเสพติด
  • 11. • การตรวจทั่วไป เน้นการสังเกตท่าเดินของผู้รับบริการสีหน้าการ เคลื่อนไหว • การตรวจระดับความรู้สึกตัว (Conciousness) หรือระดับการรู้ สติ การทาหน้าที่ทางด้านจิตใจ • ซึ่งเกี่ยวข้องกับ ระดับความรู้สึกตัว ความร่วมมือ สติปัญญา ความจา ระยะสั้น(recent) อารมณ์ ความคิด การตัดสินใจ การจัดแบ่งระดับ ความรู้สึกตัวสามารถแบ่งออกเป็นระดับ ดังนี้
  • 12. ระดับความรู้สึกตัวมีดังนี้ Alert ระดับความรู้สึกตัวปกติ เหมือนคนปกติทั่วไป Drawsiness ระดับความรู้สึกซึมลง อยากหลับต้องปลุกเรียก แต่ยังพูดรู้ เรื่อง Confuse ระดับความรู้สึกซึมลงมาก พูดจาไม่ค่อยรู้เรื่อง ไม่รู้จักเวลา สถานที่ และบุคคล ที่เรียกว่า Disorientation Delirium ระดับความรู้สึกจะเอะอะอาละวาดมากขึ้น หงุดหงิดตอบคาถาม ไม่ได้ บางครั้งต้องจับ มัดไว้ (restrained) Stupor ระดับความรู้สึกซึมมาก ต้องปลุกแรงๆ ลืมตาปัด แล้วหลับต่อ บางที เรียกว่าSemiComa Coma ระดับความรู้สึกไม่รู้สึกตัว ไม่มีการตอบสนองต่อแรงกระตุ้นใดๆ
  • 14. การตรวจประสาทสมอง (Cranial Nerve) เป็นเส้นประสาทที่ออกมาจากสมองโดยตรง ซึ่งต่างจากเส้นประสาทไขสัน หลังที่ออกมาจากแต่ละส่วนของไขสันหลังประสาทสมองของร่างกายมี ทั้งหมด 12 คู่ • ประสาทสมองคู่ที่ 1 (Olfactory Nerve) มีหน้าที่ในการดม กลิ่น (Smell) ให้ผู้ป่วยหลับตาให้ดมกลิ่นแล้วบอก
  • 15. • ประสาทสมองคู่ที่ 2 (Optic nerve) มีหน้าที่เกี่ยวกับการมองเห็น รับ แสง สี และภาพ การตรวจประสาทคู่นี้สิ่งที่ต้องทาการตรวจ คือ การ ตรวจวัดสายตา (Visual Acuity)การตรวจลานสายตา (Visual Field) การตรวจการตรวจจอตา(Funduscopic examination)
  • 16.
  • 18. • การตรวจวัดสายตา เป็นการตรวจความผิดปกติของสายตา วิธีตรวจ ทา ได้โดยใช้การให้ผู้ป่วยหนังสือ หรืออ่าน Snellen ‘chart • การตรวจลานสายตา (Visual Field) เป็นการตรวจความสามารถในการ มองได้กว้างมากน้อยเท่าใด เช่น ใช้วิธีการแบบเผชิญหน้า (confrontation test) โดยพยาบาลและผู้รับบริการหันหน้าเข้าหากันห่าง กันประมาณ 3 ฟุต จ้องมองจมูกของกันและกัน ปิดตาด้านตรงข้ามกัน พยาบาลค่อยๆ กระดกนิ้วจากนอกลานสายตาด้านบน ล่าง ด้านนอก ค่อยๆเคลื่อนวัตถุหรือนิ้ว หากผู้ป่วยมองไม่เห็นพร้อมกับผู้ป่วยถือว่า ลานสายตาผิดปกติ
  • 19. การตรวจจอตา (Funduscopic examination) • พยาบาลใช้เครื่องตรวจตา (Ophthalmoscope) เมื่อตรวจตาขวาของ ผู้รับบริการ พยาบาลจับเครื่องมือด้วยมือขวาให้นิ้วมือทาบอยู่บนแป้ น ปรับระดับความคมชัด จับเครื่องมือห่างจากตาผู้รับบริการประมาณ 10 นิ้ว เยื้องไปด้านข้างประมาณ 15 องศา ควรตรวจในห้องที่มีแสง ค่อนข้างมืดเพื่อให้ม่านตา ของผู้รับบริการขยาย ในขณะตรวจให้ ผู้รับบริการมองตรงไปข้างหน้านิ่งๆ ไกลๆ พยาบาลมองผ่านรูของ Ophthalmoscope ตรงไปยัง Pupil สังเกตแสงสีส้ม
  • 20.
  • 21. • ประสาทสมองคู่ที่ 3 (Oculomotor nerve CNIII), คู่ที่ 4 (Trochlear nerve CNIV), คู่ที่ 6 (Abducens nerve CNVI) การทางานของ ประสาททั้ง 3 คู่นี้จะทางานประสานพร้อม ๆ กัน มีหน้าที่เกี่ยวกับการ เคลื่อนไหวของลูกตาการตรวจ Accomodation ) รูม่านตาทั้งสองข้าง ไม่เท่ากัน สาเหตุจากความผิดปกติของประสาทสมองคู่ที่ 3 พบในโรค ม่านตาอักเสบ (Iritis)
  • 22. ประสาทสมองคู่ที่ 5 (Trigeminal nerve CNV) เป็นการตรวจความรู้สึกเจ็บ (Pain) และความรู้สึกสัมผัส (Touch Sensation)และกล้ามเนื้อการเคี้ยว Pain เป็นการตรวจความเจ็บโดยใช้เข็มหมุดปลายแหลม แตะตั้งแต่ หน้าผาก แก้ม คาง รวมทั้งหนังศีรษะและมุมคาง Touch Sensation โดยใช้สาลีแตะบริเวณผิวหน้าตามตาแหน่งเดียวกันและเปรียบเทียบกัน การเคี้ยวอาหาร เป็นการตรวจกล้ามเนื้อที่ใช้ในการเคี้ยวอาหาร โดยให้ผู้ป่วยขบกรามเข้าออก ผู้ตรวจใช้นิ้วคลาที่กระพุ้งแก้มทั้งสองข้าง คนปกติคลาพบการเกร็งบริเวณดังกล่าวเท่ากันทั้งสองข้าง
  • 23.
  • 24. ประสาทสมองคู่ที่ 7 (Facial Nerve CNVII) • หน้าที่ควบคุมการยักคิ้ว หลับตาลืมตา การยิ้ม และรับรสการตรวจกล้ามเนื้อ Frontalis โดยให้ผู้ป่วยยักคิ้ว หรือขมวดคิ้ว ดูหน้าผากย่น • การตรวจกล้ามเนื้อ Orbicularis Oculi โดยให้ผู้ป่วยหลับตาตามปกติก่อน ในคนปกติจะหลับตาได้สนิท ในรายที่ผิดปกติจะมองเห็นตาขาว จากนั้น ผู้ตรวจใช้นิ้วพยายามเปิดตาผู้ป่วย ปกติจะไม่สามารถเปิดตาได้ • การตรวจกล้ามเนื้อ Zygomaticus โดยให้ผู้ป่วยยิงฟันให้เต็มที่ ผู้ตรวจดูการ ยกของมุมปาก • การตรวจกล้ามเนื้อ Orbicularis Oris โดยให้ผู้ป่วยเป่าแก้มทั้งสองข้าง ทา ปากจู๋ และผิวปาก • การตรวจการรับรส บริเวณรับรสของลิ้น
  • 25.
  • 26. ประสาทสมองคู่ที่ 8 (Auditory nerve หรือ Acoustic nerve) CNVII • การตรวจหน้าที่ของการได้ยิน และฟัง โดยการใช้เครื่องมือที่เรียกว่า Tuning Fork ช่วยตรวจ มี 2 วิธี คือ Air Condition และ Bone Conduction • Weber’s Test โดยใช้ Tuning Fork เคาะให้สั่นแล้วเอาปลายมาแตะ กลางศีรษะ คนปกติจะได้ยินเสียงสั่นสะเทือนเท่ากัน • Rinne’s Test โดยใช้ Tuning Fork เคาะให้สั่นแล้วแตะที่ Mastoid Process จนผู้ป่วยบอกว่าไม่ได้ยินเสียงแล้ว จึงยก Tuning Fork มาวาง ที่หน้าหู คนปกติจะคงยังได้ยินเสียงต่อไป แสดงว่า Bone Conduction ดีกว่า Air Conduction ถ้าฟังไม่ได้ยินแสดงว่า Air Conduction มากกว่า Bone Conduction ซึ่งมักพบในผู้ป่วยที่มี
  • 27. วิธีการทดสอบRinne • การทดสอบ Rinne ขณะที่วางบน mastoid process จะเป็นการ ทดสอบ bone conduction เมื่อไม่ได้ยินแล้วจึงเปลี่ยนมาวางหน้าหูข้าง นั้น เพื่อดูว่า air conduction ของหูข้างนั้น ดีหรือไม่ ปกติแล้ว air conduction ย่อมดีกว่า bone conduction เนื่องจากการ amplification ของหูชั้นนอกและชั้นกลาง ดังนั้น การวางส้อมเสียงหน้าหูของหูที่ปกติ ก็ ควรจะได้ยินเสียงอีกครั้งหนึ่ง เนื่องจาก air conduction ดีกว่า bone conduction ถ้าพบว่า วางหน้าหูแล้วไม่ได้ยินเสียง แสดงว่า หูข้างนั้น air conduction ไม่ได้ดีกว่า bone conduction แสดงว่า หูนั้นน่าจะมี conductive hearing loss/deafness
  • 28. ถามผู้รับบริการว่าได้ยิน เสียงสั่นหรือไม่ ถ้าได้ยินวางต่อไปจนกระทั่ง ผู้รับบริการบอกว่า ไม่ได้ยินเสียง สั่น รีบนาซ่อมเสียงไปวางที่บริเวณหน้าหู ข้างเดิมห่างประมาณ 1 เซนติเมตร ถ้าผู้รับบริการได้ยินเสียงสั่นอีก แสดง ว่า การได้ยินเสียงปกติ หมายถึง การนาของเสียงผ่านอากาศ (Air conduction) ดีกว่าการนาเสียงผ่าน กระดูก (Bone conduction)
  • 29. Rinne test • เปรียบเทียบ AC & BC ในหูข้างเดียวกัน • วาง tuning fork ที่หน้าหู (AC) และ mastoid(BC) • การแปลผล AC > BC (positive) : normal conductive function BC > AC (negative) : conductive pathology • AC = BC • : technique error • Not heard • : severe SNHL (Neuro Sensory Hearing Loss)
  • 30. ประสาทสมองคู่ที่ 9 และ 10 (Glossopharyngeal and Vagus Nerve ) CNIX, CNX • มีหน้าที่ควบคุมการทางานของลิ้นไก่ เพดานปาก หลอดคอ กล่องเสียง การหลั่ง น้าลาย และการรับรสที่โคนลิ้น การตรวจเส้นประสาทคู่ที่ 9 และ 10 มีวิธีการตรวจพร้อมกัน ดังนี้ • สังเกตว่ามีเสียงแหบหรือเสียงขึ้นจมูก หรือไม่ • ให้ผู้ป่วยร้อง อา พยาบาลสังเกตการยกตัวของลิ้นไก่ ปกติลิ้นไก่จะ ยกขึ้นในแนวตรง • ทดสอบ Gag reflex โดยใช้ไม้กดลิ้นแตะผนังคอหรือโคนลิ้น ปกติ จะมีการขย้อน
  • 31.
  • 32. • การทดสอบการรับรสให้ผู้รับบริการหลับตา ใช้เกลือหรือน้าตาลวางบน ไม้กดลิ้นที่สะอาด แล้วนาไปวางที่โคนลิ้นของผู้รับบริการหรือใช้ไม้พัน สาลีสะอาดแตะเกลือหรือน้าตาลเบาๆ แล้วนาไปแตะที่โคนลิ้นของ ผู้ป่วย สอบถามว่ารสที่สัมผัสเป็นรสอะไร ถ้าตอบถูกต้องแสดงว่า ปกติ ความผิดปกติที่พบในการตรวจเส้นประสาทสมองคู่ที่ 9 และคู่ที่ 10 ที่ พบบ่อย คือ อาการอ่อนแรงของเพดานอ่อน ลิ้นไก่ไม่ตรง การกลืน ลาบาก สาลักน้าและอาหาร
  • 33. ประสาทสมองคู่ที่ 11 (Accessory Nerve) CNXI) • หน้าที่ของประสาทสมองคู่ที่ 11 คือ ควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อ Sternocleidomastiod และส่วนบนของ Traprzius muscle • วิธีการตรวจ ให้ผู้ป่วยหันหน้าไปด้านใดด้านหนึ่ง ผู้ป่วยพยายามดันคาง กลับทางเดิม ในคนปกติจะต้านแรงผู้ตรวจได้ และจะเห็นกล้ามเนื้อ Sternocleidomastiod เกร็งตัวอย่างชัดเจน • วิธีตรวจกล้ามเนื้อ Traprzius ให้ผู้ป่วยนั่งหรือยืนตัวตรง ๆ สังเกตระดับไหล่ว่าเท่ากันหรือไม่ กล้ามเนื้อลีบว่ากันหรือไม่ ผู้ตรวจกด ไหล่ของผู้ป่วย เพื่อดูกาลังของกล้ามเนื้อ
  • 35. ประสาทสมองคู่ที่ 12 (Hypoglossal nerve CNVII) • ให้ผู้รับบริการอ้าปากแลบลิ้นเข้าออกเร็วๆ พร้อมตวัดลิ้นไปมา สังเกต ขนาดและลักษณะของลิ้น ถ้าลิ้นเอียงไปด้านใดด้านหนึ่ง แสดงว่ามี ความผิดปกติ และบอกให้ผู้รับบริการเอาลิ้นดุนแก้ม พยาบาลออก แรงดันบริเวณแก้มซ้ายขวาสังเกตความแข็งแรงของลิ้นในรายที่เป็น อัมพาตลิ้นข้างนั้นจะลีบย่น สันของลิ้นจะเฉเฉียงข้างที่เป็น
  • 36. การตรวจระบบประสาทมอเตอร์ (Motor System) • สามารถดูรายละเอียดการประเมินได้จากประเมินภาวะสุขภาพระบบ กระดูก ข้อ และกล้ามเนื้อ
  • 37. การตรวจระบบประสาทรับรู้สึก (Sensory System) • Pain Sensation ,Touch Sensation การทดสอบความ จาแนกลักษณะของวัตถุโดยการสัมผัส(Sterognosia) บอกให้ ผู้รับบริการหลับตา พยาบาลนาวัตถุที่คุ้นเคย เช่นปากกา ยางลบ กุญแจ วางในมือของผู้รับบริการและให้ผู้รับบริการบอกว่าคือวัตถุอะไร ทดสอบทีละข้าง • Vibration Sensation การรับรู้ความรู้สึกสั่นสะเทือน โดยการใช้ ส้อมเสียงความถี่ เคาะให้สั่นแล้ววางบนหลังกระดูก เช่น ตาตุ่ม หัวเข่า ข้อศอก ข้อมือ หรือตามกระดูกสันหลัง • Traced Figure Identification การรับรู้สิ่งที่เขียนบนผิวหนัง
  • 38. การตรวจรีเฟล็กซ์ • การแบ่งระดับความไวดังนี้4+ ไวมาก, 3+ ไว, 2+ ปรกติ, 1+ น้อย กว่าปกติ, 0 ไม่มี ปฏิกิริยาตอบสนอง หรือ รีแฟลกซ์ คือ ปฏิกิริยาที่ ตอบสนองต่อการกระตุ้นอย่างรวดเร็วอย่างอัตโนมัติโดยการเคลื่อนไหว หนีออก ซึ่งเป็นหน้าที่ของประสาทไขสันหลัง เช่น ถ้าเดินเหยียบของ แหลมหรือของร้อนๆ จะรีบชักเท้าหนีทันที รีแฟลกซ์จึงมีประโยชน์ต่อ การชี้ตาแหน่งความผิดปกติของเส้นประสาทไขสันหลังของร่างกาย การ ตรวจปฏิกิริยาตอบสนอง แบ่งเป็น 2 ชนิด ได้แก่ การตรวจปฏิกิริยา ตอบสนองชนิดลึก (Deep tendon reflex) และการตรวจ ปฏิกิริยาตอบสนองชนิดตื้น
  • 39. • การทดสอบปฏิกิริยาตอบสนองชนิดลึก มีหลักการตรวจโดยผู้รับบริการ ต้องอยู่ในท่าที่ผ่อนคลาย กล้ามเนื้อมีความตึงตัวพอสมควรและไม่เกร็ง และจัดให้แขนขาอยู่ในท่าที่เหมาะสมเมื่อทาการทดสอบความไวของ ปฏิกิริยาต้องเปรียบเทียบกันทั้งสองข้างเสมอ ที่นิยมตรวจมี 3 แห่ง ดังนี้
  • 40. • การทดสอบ Biceps reflex เป็นการตรวจการทางานของเส้นประสาท Cervical spinal nerve คู่ที่ 5การทดสอบ Biceps reflex เป็นการตรวจ การทางานของเส้นประสาท Cervical spinal nerve คู่ที่ 5 (C5) และ Musculocutaneous nerve ทาโดยให้ผู้รับบริการงอข้อศอกเล็กน้อย ผู้ตรวจวางนิ้วหัวแม่มือลงบน Biceps tendon กดปลายนิ้วหัวแม่มือลง เล็กน้อย ใช้ไม้เคาะรีแฟล็กซ์
  • 41. • การทดสอบ Triceps reflex เป็นการตรวจการทางานของเส้นประสาท Cervical spinal nerve คู่ที่ 6 และ 7 (C6, 7) และ Radial nerveโดยให้ ปลายแขนห้อย ใช้ไม้เคาะตรงบริเวณเอ็นของกล้ามเนื้อ Triceps brachealis(ประมาณ 2 นิ้วเหนือข้อศอกด้านหลัง)
  • 42. • การทดสอบ Quadriceps reflex เป็นการตรวจการ • ทางานของเส้นประสาท Lumbar spinal nerve คู่ที่ 2 ถึง คู่ที่ 4 (L2-4) และ • Femoral nerve ทาโดยให้ผู้รับบริการนั่งห้อยเท้าที่ขอบเตียง พยาบาลใช้ไม้ เคาะรี • แฟล็กซ์เคาะบริเวณ Patella tendon ซึ่งเป็นเอ็นของกล้ามเนื้อ Quadriceps • femolis โดยตรง (ดังภาพที่ 32) การตอบสนองปกติที่พบคือ ขาท่อนล่างจะ • เหยียด เนื่องจาก Quadriceps femolis หดตัว ประเมินความไวของปฏิกิริยา เป็น • เกรดต่างๆ ทั้งสองข้าง
  • 43.
  • 44. การตรวจปฏิกิริยาตอบสนองชนิดตื้น (Superficial reflex • การทดสอบปฏิกิริยาของแก้วตา (Corneal reflex) เป็นการทดสอบการทางาน ของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 5 (Trigeminal nerve: CNV) • การทดสอบปฏิกิริยาตอบสนองที่ผนังหน้าท้อง(Abdominal reflex) เป็นการ ตรวจการทางานของ Thoracic spinal nerve คู่ที่8-12 (T8-12) ผู้รับบริการนอน หงาย ใช้วัสดุปลายทู่เขี่ยบริเวณหน้าท้องรอบๆ สะดือเบาๆ โดยลากเฉียงจากด้าน นอกเข้าด้านใน (ดังภาพที่ 33) จะเห็นปฏิกิริยาตอบสนองโดยผนังหน้าท้องจะหด ตัวตามการกระตุ้น สะดือจะเอียงไปด้านที่ทาการทดสอบแสดงการทดสอบ ปฏิกิริยาตอบสนองที่ผนังหน้าท้อง .
  • 45. • การทดสอบการหดตัวของถุงอัณฑะ (Cremasteric reflex) เป็นการ ทดสอบการทางานของ Lumbar spinal nerve คู่ที่ 1-2 (L1-2) ให้ ผู้รับบริการนอนหรือนั่ง พยาบาลใช้วัตถุทู่ๆ ขีดลากที่ด้านในของต้นขา ใน แนวเฉียงลงล่างและเข้าใน ปฏิกิริยาตอบสนองคือจะเห็นถุงอัณฑะ ด้านที่ ทดสอบหดตัว (ตรวจเฉพาะในรายที่มีความผิดปกติ)
  • 46. การทดสอบ Plantar reflex • เป็นการทดสอบการทางานของ Lumbar spinal nerve คู่ที่ 5 (L5) และ Sacral spinal nerve คู่ที่ 1-2 (S1-2) ทาโดยให้ผู้รับบริการนอนหงายไม่ เกร็งกล้ามเนื้อ ใช้วัตถุปลายทู่ขูดที่ฝ่าเท้าจากปลายเท้าทางด้านนอกมา ทางนิ้วก้อยและวนไปทางนิ้วหัวแม่เท้าการแปลผลถ้าหากมีการเหยียด ออกของนิ้วเท้า ถือว่ามี การตอบสนองที่ผิดปกติ เรียกว่า มี barbinski response หรือ barbinski ให้ผลบวก
  • 47. การตรวจการทางานประสานกัน (COORDINATION) • เป็นการตรวจหน้าที่ในการทางานประสานกันของระบบประสาทและ กล้ามเนื้อในการทดสอบการทางานประสานกันต่อไปนี้ให้สังเกตว่า ผู้ป่วยสามารถทาได้ราบรื่นและแม่นยาดีหรือไม่ ได้แก่ • การทดสอบ finger to finger ให้ผู้ป่วยหลับตาและกางแขนออกเต็มที่, แล้วเหวี่ยงแขนเข้าในให้เป็นวงจน ปลายนิ้วทั้งสองข้างมาแตะกันตรงกลาง
  • 48. • การทดสอบ Finger to nose ทาโดยให้ผู้รับบริการหลับตาและ กางแขนข้างหนึ่งออกเต็มที่โดยยื่นนิ้วชี้ออกด้วย นิ้วชี้ของมืออีกข้างหนึ่ง สัมผัสที่จมูก นานิ้วชี้ข้างที่สัมผัสจมูกไปสัมผัสกับปลายนิ้วชี้ข้างที่กาง ออกทาซ้า 2- 3 ครั้ง สลับทาอีกข้างหนึ่ง
  • 49. • การทดสอบ Finger to nose to finger ให้ผู้รับบริการลืมตาใช้ ปลายนิ้วสัมผัสจมูกตนเองและนาไปสัมผัสกับปลายนิ้วชี้ของพยาบาล • โดยพยาบาลเปลี่ยนตาแหน่งของนิ้วไปทางซ้ายและขวา (นิ้วชี้ของ พยาบาลควรอยู่ห่างจากผู้รับบริการเกือบสุดปลายแขน)
  • 50. • การทดสอบ heel to knee ท่าที่เหมาะสมสาหรับตรวจคือท่าผู้ป่วยนอน ผู้ป่วยยกขาข้างหนึ่งขึ้นแล้ว วางส้นเท้าลงบนเข่าอีกข้าง หลังจากนั้นไถส้นเท้าไปตามหน้าแข้งและหลัง เท้าจนถึงปลายเท้าด้วยความเร็วพอสมควร อาจให้ผู้ป่วยไถส้นเท้ากลับขึ้น ไปอีกครั้งเพื่อจะได้มีโอกาสสังเกตนานขึ้น ทดสอบทีละข้าง
  • 51. • Romberg test. ให้ผู้ป่วยยืนหลับตา เท้าชิดกัน หงายฝ่ามือและ เหยียดแขนไปข้างหน้า สังเกตว่าผู้ป่วยสามารถทรงตัวอยู่ได้หรือไม่ หรือ ล้มเอียงไปข้างใดข้างหนึ่ง ผู้ประเมินอาจออกแรงผลักผู้ป่วยเบาๆด้วย ปลายนิ้วไปข้างใดข้างหนึ่ง
  • 52. การทดสอบอื่นๆที่จาเป็น การตรวจอาการระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมอง (Signs of meningeal irritation) มีวิธีการทดสอบต่างๆ ดังนี้ การทดสอบอาการคอแข็ง (Stiff neck) ปกติจะสามารถยกศีรษะขึ้นได้โดย ไม่มีอาการเจ็บปวด ถ้ามีอาการเจ็บคอหรือมีการเกร็งกล้ามเนื้อบริเวณคอ แสดงว่า การทดสอบให้ผลบวก ซึ่งอาจหมายถึงมีพยาธิสภาพของเยื่อหุ้ม สมอง • การทดสอบอาการ Kernig (Kernig’s sign) ทาโดยให้ผู้รับบริการงอเข่า 90O พยาบาลค่อยๆ จับเข่าของผู้รับบริการยืดออก ถ้ายืดไม่ได้และมี อาการปวดกล้ามเนื้อต้นขาด้านหลัง แสดงว่า การตรวจได้ผลบวก ซึ่ง อาจเกิดจากมีการระคายเคืองเยื่อหุ้มสมอง
  • 53.
  • 54. การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ • การเจาะหลัง (Lumbar puncture) การเจาะหลังเป็นบทบาทของ แพทย์ในการวิเคราะห์ความผิดปกติของระบบประสาท • การตรวจทางรังสีComputer tomography (CT) เป็นวิธีการฉายภาพ ทางรังสีที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยตัดต่อและเลือกภาพให้มีความชัดเจนและ มองเห็นรายละเอียดได้มากขึ้น • Magnetic resonance imaging เป็นวิธีการตรวจโดยการ • ใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่สามารถมองเห็นรายละเอียดของสมองหรือส่วน ที่ต้องการตรวจได้ชัดเจนกว่าการตรวจ Computer tomography (CT)
  • 55. • Cerebral angiogram เป็นวิธีการฉีดสารทึบแสงเข้าทางหลอด เลือด Femoral artery ดูการอุดตันที่หลอดเลือดในสมองต่างๆ ภาวะเนื้องอกในสมอง • Electroenphalography เป็นวิธีที่ใช้วัดคลื่นไฟฟ้ าบริเวณ เปลือกนอกของเนื้อสมอง (Cerebral cortex)