SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 3
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1
‘จาก ‘เหยื่อ’ มาเป็น ‘ผู้สังเกตการณ์’
Self-Coaching for Personal Development
โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ (โค้ชบี) วิทยากรด้านการพัฒนาผู้นาและการสื่อสาร
และโค้ชที่ได้รับการรับรองจากสหพันธ์โค้ชนานาชาติ (Professional Certified Coach / PCC)
บริษัท บี วินนิ่ง เทรน แอนด์ โค้ช จากัด sirirat@bewinning.biz, www.bewinning.biz
ในฐานะโค้ชผู้บริหารที่ได้รับการรับรองจากสหพันธ์โค้ชนานาชาติ ผู้เขียนใช้ทักษะการตั้งคาถามอย่าง
สม่าเสมอเพื่อกระตุ้นให้ผู้รับการโค้ชเกิดการตระหนักรู้ความจริงเกี่ยวกับวิธีคิด และอารมณ์ ความรู้สึก
ของตนเอง หากเราสังเกตให้ดีจะพบว่า เรามักเข้าใจปัญหาของผู้อื่นมากกว่าปัญหาของตนเอง
เปรียบเสมือนคนที่ไม่สามารถมองเห็นใบหน้าของตนเองได้ แต่คนอื่นมองเห็น เราจะมองเห็นหน้าของ
เราเมื่อเราส่องกระจก
องค์กรหลายแห่งจึงจ้างโค้ชมาทาหน้าที่เป็น ‘กระจกสะท้อนความจริง’ ให้แก่ผู้บริหารและพนักงาน
ของตนเพื่อให้คนเหล่านั้นเข้าใจความเป็นจริงเกี่ยวกับสิ่งที่กีดขวางตนเองไม่ให้บรรลุเป้ าหมาย หรือก้าว
ไปไกลได้กว่าจุดที่ตนดารงอยู่ โค้ชจะตั้งคาถามโดยปราศจากอคติหลากหลายคาถามเพื่อให้ผู้รับการโค้ช
คิด ทบทวน ทาความเข้าใจเกี่ยวกับตนเอง และสถานการณ์ที่ตนเผชิญอยู่จนหาทางออกได้ ภายใต้
บรรยากาศของการสนทนาที่เต็มไปด้วยความไว้วางใจซึ่งกันและกัน
ที่จริง ทุกคนสามารถเป็นโค้ชหรือกระจกสะท้อนความจริงให้แก่ชีวิตของตนเองได้ แต่ความท้าทายคือ
เมื่อเราเผชิญกับสถานการณ์ท้าทายบางอย่าง เรามักมีอารมณ์ร่วมกับสถานการณ์นั้น เราสูญเสีย
ความสามารถในการมองตนเอง ผู้อื่น และสถานการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างเป็นกลาง เราจึงไม่สามารถทา
หน้าที่กระจกสะท้อนความจริงและตั้งคาถามที่เป็นกลางและสร้างสรรค์แบบที่โค้ชซึ่งเป็นคนอื่นที่ไม่ได้
2
เกี่ยวข้องในสถานการณ์ทาได้ เช่น แทนที่เราจะถามตนเองว่า “ฉันต้องการอะไรในชีวิตกันแน่?” เรา
กลับตั้งคาถามกับตนเองว่า “ทาไมฉันถึงต้องมาเจอเรื่องแย่ๆแบบนี้ด้วย?” หรือแทนที่เราจะตั้งถามว่า
“ทางออกของเรื่องนี้คืออะไร?” เรากลับถามว่า “เขาทากับฉันอย่างนี้ได้อย่างไร?” คาถามย้อนอดีต
เหล่านี้ ไม่ได้ช่วยให้เราพ้นทุกข์ และเติบโต ในทางตรงกันข้าม เราจะยิ่งจมดิ่งลงไปในความทุกข์มากขึ้น
แบบถอนตัวได้ยาก เพราะเมื่อเราพูด ถาม รู้สึก และคิดถึงอดีตบ่อยเกินไป สมองซึ่งทาหน้าที่สร้างความ
เชื่อมโยงข้อมูลก็จะยิ่งผูกเรื่องราวต่างๆเป็นปมแน่นขึ้นๆ
ดังนั้น ผู้เขียนแนะนาว่า หากเผชิญกับสถานการณ์ที่ทาให้ทุกข์ใจ หรือสถานการณ์ท้าทายใดๆก็ตาม ให้
ลองดึงตัวเองออกมาจากเรื่องนี้ ลองมองเข้าไปด้วยสายตาของผู้สังเกตการณ์ (Observer) ไม่ใช่สายตา
ของเหยื่อ (Victim) ผู้สังเกตการณ์จะไม่รู้สึกเจ็บเพราะอยู่นอกวง แต่หากยังอยู่ในวงเป็นเหยื่อ เป็นตัว
ละครหนึ่งในสถานการณ์ ยิ่งคิดก็ยิ่งเจ็บ ยิ่งคิดยิ่งจม เมื่อสวมบทของผู้สังเกตการณ์แล้ว ลองตั้งคาถาม
กับตนเองว่า “ในฐานะผู้สังเกตการณ์ที่ไม่มีผลประโยชน์เกี่ยวข้องในเรื่องนี้ เรามองเห็นอะไร?” ผู้เขียน
เคยตั้งคาถามลักษณะนี้ กับผู้รับการโค้ชที่ติดอยู่ในเรื่องราวที่ทาให้ทุกข์ใจและไม่สามารถถอนตนเอง
ออกมาได้ เมื่อผู้เขียนกระตุ้นให้เขาดึงตัวเองออกมานอกสถานการณ์และมองเข้าไปในเรื่องราวนั้น
เหมือนกาลังดูภาพยนตร์เรื่องหนึ่ง ผู้เขียนพบว่าผู้รับการโค้ชเกือบทุกคนมีมุมมองต่อตนเอง ผู้อื่น และ
สถานการณ์ที่เกิดขึ้นแตกต่างไปจากเดิม มีความเป็นกลางมากขึ้น เริ่มกลับมาอยู่กับปัจจุบัน และเริ่ม
มองไปถึงเป้ าหมายในวันข้างหน้า รวมถึงคิดค้นวิธีการต่างๆที่จะทาให้บรรลุเป้ าหมายนั้น
3
มาถึงจุดนี้ ท่านผู้อ่านคงมองเห็นแล้วว่า มนุษย์ทุกคนในโลกใบนี้ สามารถเป็นโค้ชหรือกระจกสะท้อน
ความจริงให้แก่ชีวิตตนเองได้เมื่อตนสามารถปรับบทบาทของตนมาเป็นผู้สังเกตการณ์ และตั้งคาถาม
แบบผู้สังเกตการณ์ที่อยากรู้อยากเห็นว่า “เกิดอะไรขึ้น?” “ฉันมองเรื่องนี้ อย่างไร?” “ฉันเรียนรู้อะไร
จากเรื่องนี้ บ้าง?” “ฉันมีทางเลือกอะไรบ้าง?” “สิ่งแรกที่ฉันจะทาคืออะไร?” เป็นต้น
คาถามมีหลากหลาย ไม่ได้จากัดอยู่เฉพาะตัวอย่างข้างต้นที่ผู้เขียนยกมา จะตั้งคาถามอะไร ก็ขึ้นอยู่กับ
คาตอบก่อนหน้า ประเด็นสาคัญคือ การตั้งคาถามต้องทาด้วยจิตใจที่เป็นกลางแบบผู้สังเกตการณ์จึงจะ
ทาให้เราเห็นทุกข์ พ้นทุกข์ เรียนรู้จากทุกข์ และดับทุกข์ได้โดยแท้จริง

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie จาก 'เหยื่อ' มาเป็น 'ผู้สังเกตการณ์'

โค้ชวิธีคิด ปลดล็อคชีวิต พิชิตผลงาน โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
โค้ชวิธีคิด ปลดล็อคชีวิต พิชิตผลงาน โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณโค้ชวิธีคิด ปลดล็อคชีวิต พิชิตผลงาน โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
โค้ชวิธีคิด ปลดล็อคชีวิต พิชิตผลงาน โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
Sirirat Siriwan
 
คำคม คนโค้ช ตอนที่ 1 โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
คำคม คนโค้ช ตอนที่ 1 โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณคำคม คนโค้ช ตอนที่ 1 โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
คำคม คนโค้ช ตอนที่ 1 โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
Sirirat Siriwan
 
โค้ชชี่ร้องไห้ ทำไงดี? โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
โค้ชชี่ร้องไห้ ทำไงดี? โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณโค้ชชี่ร้องไห้ ทำไงดี? โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
โค้ชชี่ร้องไห้ ทำไงดี? โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
Sirirat Siriwan
 
โค้ชคนให้เป็นผู้นำ ไม่ทำไม่ได้แล้ว โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
โค้ชคนให้เป็นผู้นำ ไม่ทำไม่ได้แล้ว โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณโค้ชคนให้เป็นผู้นำ ไม่ทำไม่ได้แล้ว โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
โค้ชคนให้เป็นผู้นำ ไม่ทำไม่ได้แล้ว โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
Sirirat Siriwan
 

Ähnlich wie จาก 'เหยื่อ' มาเป็น 'ผู้สังเกตการณ์' (12)

โค้ชชีวิต...ปลดล็อกจิต พิชิตความสำเร็จ โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
โค้ชชีวิต...ปลดล็อกจิต พิชิตความสำเร็จ โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณโค้ชชีวิต...ปลดล็อกจิต พิชิตความสำเร็จ โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
โค้ชชีวิต...ปลดล็อกจิต พิชิตความสำเร็จ โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
 
6 ข้อคิดการทำให้ชีวิตมีความหมายในทุกวัน โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
6 ข้อคิดการทำให้ชีวิตมีความหมายในทุกวัน โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ6 ข้อคิดการทำให้ชีวิตมีความหมายในทุกวัน โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
6 ข้อคิดการทำให้ชีวิตมีความหมายในทุกวัน โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
 
Coaching in action 2
Coaching in action 2Coaching in action 2
Coaching in action 2
 
โค้ชเจ้านายแบบเนียนๆทำอย่างไรให้ได้ใจเจ้านาย โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
โค้ชเจ้านายแบบเนียนๆทำอย่างไรให้ได้ใจเจ้านาย โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณโค้ชเจ้านายแบบเนียนๆทำอย่างไรให้ได้ใจเจ้านาย โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
โค้ชเจ้านายแบบเนียนๆทำอย่างไรให้ได้ใจเจ้านาย โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
 
โค้ชกลุ่มอย่างไรให้ได้ใจทั้งทีม โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
โค้ชกลุ่มอย่างไรให้ได้ใจทั้งทีม โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณโค้ชกลุ่มอย่างไรให้ได้ใจทั้งทีม โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
โค้ชกลุ่มอย่างไรให้ได้ใจทั้งทีม โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
 
โค้ชวิธีคิด ปลดล็อคชีวิต พิชิตผลงาน โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
โค้ชวิธีคิด ปลดล็อคชีวิต พิชิตผลงาน โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณโค้ชวิธีคิด ปลดล็อคชีวิต พิชิตผลงาน โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
โค้ชวิธีคิด ปลดล็อคชีวิต พิชิตผลงาน โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
 
Eb chapter2
Eb chapter2Eb chapter2
Eb chapter2
 
News Release: บี วินนิ่ง ร่วมชิงแชร์ตลาดโค้ชชิ่ง โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
News Release: บี วินนิ่ง ร่วมชิงแชร์ตลาดโค้ชชิ่ง โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณNews Release: บี วินนิ่ง ร่วมชิงแชร์ตลาดโค้ชชิ่ง โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
News Release: บี วินนิ่ง ร่วมชิงแชร์ตลาดโค้ชชิ่ง โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
 
คำคม คนโค้ช ตอนที่ 1 โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
คำคม คนโค้ช ตอนที่ 1 โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณคำคม คนโค้ช ตอนที่ 1 โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
คำคม คนโค้ช ตอนที่ 1 โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
 
พลังของการตั้งคำถามว่ามีอะไรอีกไหม โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
พลังของการตั้งคำถามว่ามีอะไรอีกไหม โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณพลังของการตั้งคำถามว่ามีอะไรอีกไหม โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
พลังของการตั้งคำถามว่ามีอะไรอีกไหม โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
 
โค้ชชี่ร้องไห้ ทำไงดี? โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
โค้ชชี่ร้องไห้ ทำไงดี? โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณโค้ชชี่ร้องไห้ ทำไงดี? โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
โค้ชชี่ร้องไห้ ทำไงดี? โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
 
โค้ชคนให้เป็นผู้นำ ไม่ทำไม่ได้แล้ว โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
โค้ชคนให้เป็นผู้นำ ไม่ทำไม่ได้แล้ว โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณโค้ชคนให้เป็นผู้นำ ไม่ทำไม่ได้แล้ว โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
โค้ชคนให้เป็นผู้นำ ไม่ทำไม่ได้แล้ว โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
 

Mehr von Sirirat Siriwan

กล่องของขวัญของโค้ชชี่ โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
กล่องของขวัญของโค้ชชี่ โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณกล่องของขวัญของโค้ชชี่ โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
กล่องของขวัญของโค้ชชี่ โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
Sirirat Siriwan
 
กระบี่ดีอย่างเดียวไม่พอ ต้องรำเป็นด้วย:การออกแบบกิจกรรมการฝึกอบรม โดย ศิริรัต...
กระบี่ดีอย่างเดียวไม่พอ ต้องรำเป็นด้วย:การออกแบบกิจกรรมการฝึกอบรม โดย ศิริรัต...กระบี่ดีอย่างเดียวไม่พอ ต้องรำเป็นด้วย:การออกแบบกิจกรรมการฝึกอบรม โดย ศิริรัต...
กระบี่ดีอย่างเดียวไม่พอ ต้องรำเป็นด้วย:การออกแบบกิจกรรมการฝึกอบรม โดย ศิริรัต...
Sirirat Siriwan
 
ธรรมะกับการโค้ช โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
ธรรมะกับการโค้ช โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณธรรมะกับการโค้ช โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
ธรรมะกับการโค้ช โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
Sirirat Siriwan
 
9 ข้อคิดพิชิตความสำเร็จในการนำเสนองาน (Presentation) โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
9 ข้อคิดพิชิตความสำเร็จในการนำเสนองาน (Presentation) โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ9 ข้อคิดพิชิตความสำเร็จในการนำเสนองาน (Presentation) โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
9 ข้อคิดพิชิตความสำเร็จในการนำเสนองาน (Presentation) โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
Sirirat Siriwan
 
สุดยอดผู้นำกับการโค้ชผลการปฏิบัติงาน (Brilliant Leadership & Performance Coac...
สุดยอดผู้นำกับการโค้ชผลการปฏิบัติงาน (Brilliant Leadership & Performance Coac...สุดยอดผู้นำกับการโค้ชผลการปฏิบัติงาน (Brilliant Leadership & Performance Coac...
สุดยอดผู้นำกับการโค้ชผลการปฏิบัติงาน (Brilliant Leadership & Performance Coac...
Sirirat Siriwan
 
'พูดเก่ง' ไม่สำคัญ สำคัญที่ต้อง 'พูดเป็น' ตอนที่ 1 พูดน้อย แต่ได้มาก โดย ศิริ...
'พูดเก่ง' ไม่สำคัญ สำคัญที่ต้อง 'พูดเป็น' ตอนที่ 1 พูดน้อย แต่ได้มาก โดย ศิริ...'พูดเก่ง' ไม่สำคัญ สำคัญที่ต้อง 'พูดเป็น' ตอนที่ 1 พูดน้อย แต่ได้มาก โดย ศิริ...
'พูดเก่ง' ไม่สำคัญ สำคัญที่ต้อง 'พูดเป็น' ตอนที่ 1 พูดน้อย แต่ได้มาก โดย ศิริ...
Sirirat Siriwan
 
คำคม คนโค้ช ตอนที่ 2 โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
คำคม คนโค้ช ตอนที่ 2 โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณคำคม คนโค้ช ตอนที่ 2 โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
คำคม คนโค้ช ตอนที่ 2 โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
Sirirat Siriwan
 
สิ่งที่โค้ชควรระวัง ยิ่งใกล้ ยิ่งเจ็บ โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
สิ่งที่โค้ชควรระวัง ยิ่งใกล้ ยิ่งเจ็บ โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณสิ่งที่โค้ชควรระวัง ยิ่งใกล้ ยิ่งเจ็บ โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
สิ่งที่โค้ชควรระวัง ยิ่งใกล้ ยิ่งเจ็บ โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
Sirirat Siriwan
 
Leadership & Coaching Program Guideline by Sirirat Siriwan
Leadership & Coaching Program Guideline by Sirirat Siriwan Leadership & Coaching Program Guideline by Sirirat Siriwan
Leadership & Coaching Program Guideline by Sirirat Siriwan
Sirirat Siriwan
 

Mehr von Sirirat Siriwan (16)

What are my values a question that will change your life
What are my values  a question that will change your lifeWhat are my values  a question that will change your life
What are my values a question that will change your life
 
The Power of Saying No
The Power of Saying NoThe Power of Saying No
The Power of Saying No
 
กล่องของขวัญของโค้ชชี่ โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
กล่องของขวัญของโค้ชชี่ โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณกล่องของขวัญของโค้ชชี่ โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
กล่องของขวัญของโค้ชชี่ โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
 
กระบี่ดีอย่างเดียวไม่พอ ต้องรำเป็นด้วย:การออกแบบกิจกรรมการฝึกอบรม โดย ศิริรัต...
กระบี่ดีอย่างเดียวไม่พอ ต้องรำเป็นด้วย:การออกแบบกิจกรรมการฝึกอบรม โดย ศิริรัต...กระบี่ดีอย่างเดียวไม่พอ ต้องรำเป็นด้วย:การออกแบบกิจกรรมการฝึกอบรม โดย ศิริรัต...
กระบี่ดีอย่างเดียวไม่พอ ต้องรำเป็นด้วย:การออกแบบกิจกรรมการฝึกอบรม โดย ศิริรัต...
 
ธรรมะกับการโค้ช โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
ธรรมะกับการโค้ช โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณธรรมะกับการโค้ช โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
ธรรมะกับการโค้ช โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
 
9 ข้อคิดพิชิตความสำเร็จในการนำเสนองาน (Presentation) โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
9 ข้อคิดพิชิตความสำเร็จในการนำเสนองาน (Presentation) โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ9 ข้อคิดพิชิตความสำเร็จในการนำเสนองาน (Presentation) โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
9 ข้อคิดพิชิตความสำเร็จในการนำเสนองาน (Presentation) โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
 
สุดยอดผู้นำกับการโค้ชผลการปฏิบัติงาน (Brilliant Leadership & Performance Coac...
สุดยอดผู้นำกับการโค้ชผลการปฏิบัติงาน (Brilliant Leadership & Performance Coac...สุดยอดผู้นำกับการโค้ชผลการปฏิบัติงาน (Brilliant Leadership & Performance Coac...
สุดยอดผู้นำกับการโค้ชผลการปฏิบัติงาน (Brilliant Leadership & Performance Coac...
 
'พูดเก่ง' ไม่สำคัญ สำคัญที่ต้อง 'พูดเป็น' ตอนที่ 1 พูดน้อย แต่ได้มาก โดย ศิริ...
'พูดเก่ง' ไม่สำคัญ สำคัญที่ต้อง 'พูดเป็น' ตอนที่ 1 พูดน้อย แต่ได้มาก โดย ศิริ...'พูดเก่ง' ไม่สำคัญ สำคัญที่ต้อง 'พูดเป็น' ตอนที่ 1 พูดน้อย แต่ได้มาก โดย ศิริ...
'พูดเก่ง' ไม่สำคัญ สำคัญที่ต้อง 'พูดเป็น' ตอนที่ 1 พูดน้อย แต่ได้มาก โดย ศิริ...
 
คำคม คนโค้ช ตอนที่ 2 โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
คำคม คนโค้ช ตอนที่ 2 โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณคำคม คนโค้ช ตอนที่ 2 โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
คำคม คนโค้ช ตอนที่ 2 โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
 
Coaching Skills: GROW Model Questioning
Coaching Skills: GROW Model QuestioningCoaching Skills: GROW Model Questioning
Coaching Skills: GROW Model Questioning
 
Steve jobs, Zen, and Presentation that changed the world by Sirirat Siriwan
Steve jobs, Zen, and Presentation that changed the world by Sirirat SiriwanSteve jobs, Zen, and Presentation that changed the world by Sirirat Siriwan
Steve jobs, Zen, and Presentation that changed the world by Sirirat Siriwan
 
The Truth of Performance Coaching by Sirirat Siriwan
The Truth of Performance Coaching by Sirirat SiriwanThe Truth of Performance Coaching by Sirirat Siriwan
The Truth of Performance Coaching by Sirirat Siriwan
 
สิ่งที่โค้ชควรระวัง ยิ่งใกล้ ยิ่งเจ็บ โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
สิ่งที่โค้ชควรระวัง ยิ่งใกล้ ยิ่งเจ็บ โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณสิ่งที่โค้ชควรระวัง ยิ่งใกล้ ยิ่งเจ็บ โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
สิ่งที่โค้ชควรระวัง ยิ่งใกล้ ยิ่งเจ็บ โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
 
การปล่อยวางของโค้ช โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
การปล่อยวางของโค้ช โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณการปล่อยวางของโค้ช โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
การปล่อยวางของโค้ช โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
 
Leadership & Coaching Program Guideline by Sirirat Siriwan
Leadership & Coaching Program Guideline by Sirirat Siriwan Leadership & Coaching Program Guideline by Sirirat Siriwan
Leadership & Coaching Program Guideline by Sirirat Siriwan
 
Performance coaching introduction by sirirat siriwan
Performance coaching introduction by sirirat siriwanPerformance coaching introduction by sirirat siriwan
Performance coaching introduction by sirirat siriwan
 

จาก 'เหยื่อ' มาเป็น 'ผู้สังเกตการณ์'

  • 1. 1 ‘จาก ‘เหยื่อ’ มาเป็น ‘ผู้สังเกตการณ์’ Self-Coaching for Personal Development โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ (โค้ชบี) วิทยากรด้านการพัฒนาผู้นาและการสื่อสาร และโค้ชที่ได้รับการรับรองจากสหพันธ์โค้ชนานาชาติ (Professional Certified Coach / PCC) บริษัท บี วินนิ่ง เทรน แอนด์ โค้ช จากัด sirirat@bewinning.biz, www.bewinning.biz ในฐานะโค้ชผู้บริหารที่ได้รับการรับรองจากสหพันธ์โค้ชนานาชาติ ผู้เขียนใช้ทักษะการตั้งคาถามอย่าง สม่าเสมอเพื่อกระตุ้นให้ผู้รับการโค้ชเกิดการตระหนักรู้ความจริงเกี่ยวกับวิธีคิด และอารมณ์ ความรู้สึก ของตนเอง หากเราสังเกตให้ดีจะพบว่า เรามักเข้าใจปัญหาของผู้อื่นมากกว่าปัญหาของตนเอง เปรียบเสมือนคนที่ไม่สามารถมองเห็นใบหน้าของตนเองได้ แต่คนอื่นมองเห็น เราจะมองเห็นหน้าของ เราเมื่อเราส่องกระจก องค์กรหลายแห่งจึงจ้างโค้ชมาทาหน้าที่เป็น ‘กระจกสะท้อนความจริง’ ให้แก่ผู้บริหารและพนักงาน ของตนเพื่อให้คนเหล่านั้นเข้าใจความเป็นจริงเกี่ยวกับสิ่งที่กีดขวางตนเองไม่ให้บรรลุเป้ าหมาย หรือก้าว ไปไกลได้กว่าจุดที่ตนดารงอยู่ โค้ชจะตั้งคาถามโดยปราศจากอคติหลากหลายคาถามเพื่อให้ผู้รับการโค้ช คิด ทบทวน ทาความเข้าใจเกี่ยวกับตนเอง และสถานการณ์ที่ตนเผชิญอยู่จนหาทางออกได้ ภายใต้ บรรยากาศของการสนทนาที่เต็มไปด้วยความไว้วางใจซึ่งกันและกัน ที่จริง ทุกคนสามารถเป็นโค้ชหรือกระจกสะท้อนความจริงให้แก่ชีวิตของตนเองได้ แต่ความท้าทายคือ เมื่อเราเผชิญกับสถานการณ์ท้าทายบางอย่าง เรามักมีอารมณ์ร่วมกับสถานการณ์นั้น เราสูญเสีย ความสามารถในการมองตนเอง ผู้อื่น และสถานการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างเป็นกลาง เราจึงไม่สามารถทา หน้าที่กระจกสะท้อนความจริงและตั้งคาถามที่เป็นกลางและสร้างสรรค์แบบที่โค้ชซึ่งเป็นคนอื่นที่ไม่ได้
  • 2. 2 เกี่ยวข้องในสถานการณ์ทาได้ เช่น แทนที่เราจะถามตนเองว่า “ฉันต้องการอะไรในชีวิตกันแน่?” เรา กลับตั้งคาถามกับตนเองว่า “ทาไมฉันถึงต้องมาเจอเรื่องแย่ๆแบบนี้ด้วย?” หรือแทนที่เราจะตั้งถามว่า “ทางออกของเรื่องนี้คืออะไร?” เรากลับถามว่า “เขาทากับฉันอย่างนี้ได้อย่างไร?” คาถามย้อนอดีต เหล่านี้ ไม่ได้ช่วยให้เราพ้นทุกข์ และเติบโต ในทางตรงกันข้าม เราจะยิ่งจมดิ่งลงไปในความทุกข์มากขึ้น แบบถอนตัวได้ยาก เพราะเมื่อเราพูด ถาม รู้สึก และคิดถึงอดีตบ่อยเกินไป สมองซึ่งทาหน้าที่สร้างความ เชื่อมโยงข้อมูลก็จะยิ่งผูกเรื่องราวต่างๆเป็นปมแน่นขึ้นๆ ดังนั้น ผู้เขียนแนะนาว่า หากเผชิญกับสถานการณ์ที่ทาให้ทุกข์ใจ หรือสถานการณ์ท้าทายใดๆก็ตาม ให้ ลองดึงตัวเองออกมาจากเรื่องนี้ ลองมองเข้าไปด้วยสายตาของผู้สังเกตการณ์ (Observer) ไม่ใช่สายตา ของเหยื่อ (Victim) ผู้สังเกตการณ์จะไม่รู้สึกเจ็บเพราะอยู่นอกวง แต่หากยังอยู่ในวงเป็นเหยื่อ เป็นตัว ละครหนึ่งในสถานการณ์ ยิ่งคิดก็ยิ่งเจ็บ ยิ่งคิดยิ่งจม เมื่อสวมบทของผู้สังเกตการณ์แล้ว ลองตั้งคาถาม กับตนเองว่า “ในฐานะผู้สังเกตการณ์ที่ไม่มีผลประโยชน์เกี่ยวข้องในเรื่องนี้ เรามองเห็นอะไร?” ผู้เขียน เคยตั้งคาถามลักษณะนี้ กับผู้รับการโค้ชที่ติดอยู่ในเรื่องราวที่ทาให้ทุกข์ใจและไม่สามารถถอนตนเอง ออกมาได้ เมื่อผู้เขียนกระตุ้นให้เขาดึงตัวเองออกมานอกสถานการณ์และมองเข้าไปในเรื่องราวนั้น เหมือนกาลังดูภาพยนตร์เรื่องหนึ่ง ผู้เขียนพบว่าผู้รับการโค้ชเกือบทุกคนมีมุมมองต่อตนเอง ผู้อื่น และ สถานการณ์ที่เกิดขึ้นแตกต่างไปจากเดิม มีความเป็นกลางมากขึ้น เริ่มกลับมาอยู่กับปัจจุบัน และเริ่ม มองไปถึงเป้ าหมายในวันข้างหน้า รวมถึงคิดค้นวิธีการต่างๆที่จะทาให้บรรลุเป้ าหมายนั้น
  • 3. 3 มาถึงจุดนี้ ท่านผู้อ่านคงมองเห็นแล้วว่า มนุษย์ทุกคนในโลกใบนี้ สามารถเป็นโค้ชหรือกระจกสะท้อน ความจริงให้แก่ชีวิตตนเองได้เมื่อตนสามารถปรับบทบาทของตนมาเป็นผู้สังเกตการณ์ และตั้งคาถาม แบบผู้สังเกตการณ์ที่อยากรู้อยากเห็นว่า “เกิดอะไรขึ้น?” “ฉันมองเรื่องนี้ อย่างไร?” “ฉันเรียนรู้อะไร จากเรื่องนี้ บ้าง?” “ฉันมีทางเลือกอะไรบ้าง?” “สิ่งแรกที่ฉันจะทาคืออะไร?” เป็นต้น คาถามมีหลากหลาย ไม่ได้จากัดอยู่เฉพาะตัวอย่างข้างต้นที่ผู้เขียนยกมา จะตั้งคาถามอะไร ก็ขึ้นอยู่กับ คาตอบก่อนหน้า ประเด็นสาคัญคือ การตั้งคาถามต้องทาด้วยจิตใจที่เป็นกลางแบบผู้สังเกตการณ์จึงจะ ทาให้เราเห็นทุกข์ พ้นทุกข์ เรียนรู้จากทุกข์ และดับทุกข์ได้โดยแท้จริง