SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 19
บทที่ 9
การพยาบาลผู้ป่ วยที่มีบาดแผล
และการอักเสบ
อ.กรวรรณ สุวรรณสาร
ชนิดของบาดแผล
1.แบ่งตามความสะอาดของแผล
• แผลสะอาด (clean wound)
• แผลกึ่งสะอาดกึ่งปนเปื้อน (clean-contaminated
wound)
• แผลปนเปื้อน (contaminated wound)
• แผลติดเชื้อหรือแผลสกปรก (infected
wound/dirty wound)
ชนิดของบาดแผล
2.แบ่งตามลักษณะการทาลายของผิวหนัง
• แผลปิ ด (closed wound); แผลฟกช้า
(contusion/bruise) แผลกระทบกระเทือน
(concussion) แผลแตก (rupture) แผลจากการ
ผ่าตัด (surgical incision)
• แผลเปิ ด (opened wound); แผลถลอก
(abrasion wound) แผลฉีกขาด (laceration
wound) แผลตัด (incision/ cut wound) แผล
ทะลุทะลวง (penetration wound) แผลที่มีเนื้อเยื่อ
ขาดหรือหลุดออกจากร่างกาย (avulsion wound)
ชนิดของบาดแผล
3.แบ่งตามสาเหตุของการเกิด
บาดแผล
• แผลเกิดโดยเจตนา (intention wound)
• แผลเกิดโดยไม่เจตนา (unintentional
wound)
4.ตามระยะเวลาที่เกิดแผล
• แผลสด
• แผลเก่า
• แผลเรื้อรัง
การหายของแผล
(wound healing)
ที่มา (Craven&Hirnle,
2009, p. 1000)
ปัจจัยที่มีผลต่อการหาย
ของแผล
• อายุ ¤ภาวะโภชนาการ
• สภาวะของโรค ¤ ยา
• บุหรี่ ¤ ความเครียด
• ความอ้วน ¤ ระบบการไหลเวียนโลหิต
• การติดเชื้อ ¤ ลักษณะของแผล
• การเคลื่อนไหว ¤ สิ่งแปลกปลอมภายในแผล
• การผ่าตัด ¤ เทคนิคการเย็บแผล/ ทาแผล
• อุณหภูมิของแผล ¤ น้ายาที่ใส่แผล
• รังสีรักษา
การดูแลผู้ป่ วยที่มีบาดแผล
และการอักเสบ
1.การพักผ่อนร่างกายและอวัยวะ
ที่มีบาดแผล
2.การทาความสะอาดบาดแผล
3.การส่งเสริมการไหลเวียนโลหิต
มายังบาดแผล
4.การยกบริเวณที่มีบาดแผลไว้สูง
5.การส่งเสริมให้ได้รับสารอาหาร
6.การลดความเจ็บปวดจากแผล
การทาแผล (dressing)
หลักการทาแผล
• ล้างแผลให้สะอาด
• ทาแผลที่สะอาดกว่าก่อน
• กาจัดเนื้อตายหรือสิ่งแปลกปลอมออกจากแผล
• ระบายของเหลวที่ตกค้าง
• อย่าให้แผลกระทบกระเทือน
• ห้ามเลือดก่อนปิดแผล
วัตถุประสงค์ของการทา
แผล
1. ให้สภาวะที่ดีเหมาะแก่การงอกของเนื้อเยื่อ
2. ดูดซึมสิ่งขับหลั่ง
3. จากัดการเคลื่อนไหวของแผลให้อยู่นิ่ง
4. ให้ความชุ่มชื้นกับพื้นผิวของแผล
5. ป้องกันไม่ให้ผ้าปิดแผลติดและดึงรั้งเนื้อเยื่อที่งอกใหม่
6. ป้องกันแผลหรือเนื้อเยื่อที่เกิดใหม่จากสิ่งกระทบกระเทือน
7. ป้องกันแผลปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์
8. การห้ามเลือด
9. ผู้ป่วยสุขสบาย
น้ายาที่ใช้สาหรับทาแผล
• 0.9% normal saline •70%
Alcohol
• 10% Providone-iodine solution
• 3% Hydrogenperoxide •
Tincture benzoin
• 2.5% Tincture iodine •
Mercurochrome
• Zinc paste • Benzene,
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทา
แผล
อุปกรณ์ทาความสะอาดแผล; ชุดทาแผลปราศจากเชื้อ (sterile
dressing set) , สารละลาย/ น้ายา (solution)
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทา
แผล
gauze Y-gauze
Vaseline gauz
transparent film hydrocolloid
วัสดุสาหรับ
ปิ ดแผล
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทา
แผล
transpore micropore leucopore
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทา
แผล
Suture scissors
probe
Metzenbaum
curette
ชนิดของการทาแผล
• การทาแผลชนิดแห้ง
(dry dressing)
• การทาแผลชนิดเปี ยก
(wet dressing)
• การทาแผลที่มีท่อ
ระบาย ท่อระบาย
(drain)
• การทาแผลที่ต้องใช้
แรงกด (pressure
dressing)
• การชะล้างแผล
ที่มา (Taylor, et al., 2008, p.
1216)
ที่มา (Taylor, et al., 2008,
p. 1212)
วิธีการตัดไหม (stitch off)
การตัดไหม (ภาพซ้าย)
การดึงลวดเย็บแผล (ภาพขวา)
ที่มา (Taylor, et al., 2008,
p. 1219)
1.ตรวจสอบคาสั่งการรักษาของแพทย์
2. ก่อนและหลังการตัดไหมทุกครั้ง เช็ดด้วย
แอลกอฮอล์ 70%
3. ไม่ดึงไหมส่วนที่มองเห็นลอดผ่านใต้ผิวหนัง
4. ตัดไหมส่วนที่ชิดผิวหนัง ใต้ปมที่ผูกไว้ ดึงไหมออก
ให้
5.ขอบแผลแยกให้หยุด และปิดด้วยวัสดุที่ช่วยดึงรั้ง
ขอบแผล
6. หลังตัดไหมปิดทับด้วยผ้าก๊อซบาง ๆ และอย่าให้
แผลสกปรกหรือถูกน้า
7. แนะนาผู้ป่วยเกี่ยวกับการดูแลแผล หากผิดปกติให้
การใช้ผ้าพันแผล
สิ่งที่ควรคานึงถึง
1.สภาพผิวหนัง
2. บริเวณที่พันผ้าต้องสะอาด
3. ไม่พันแน่นหรือหลวมเกินไป
4. พันจากส่วนปลายขึ้นไปข้างบน และพันจากส่วนเล็กไปหา
ส่วนใหญ่
5. ตรวจสอบแผนการรักษา
6. ประเมินความสามารถในการเคลื่อนไหวของอวัยวะที่จะพัน
การใช้ผ้าพันแผล
การพันเกลียว
การพันเป็นรูปเลขแปด
จบการนาเสนอบทที่ 9
นักศึกษาสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จาก
เอกสารประกอบการสอน และหนังสือตามที่
ปรากฏรายชื่ออยู่ในบรรณานุกรมท้ายบทที่
9

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
piyarat wongnai
 
แผลกดทับ
แผลกดทับแผลกดทับ
แผลกดทับ
techno UCH
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
pueniiz
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
techno UCH
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
da priyada
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
Fmz Npaz
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
taem
 

Was ist angesagt? (20)

การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ IC
 
แผลกดทับ
แผลกดทับแผลกดทับ
แผลกดทับ
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
HAP
HAPHAP
HAP
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)
 

Mehr von Nakhon Pathom Rajabhat University

Mehr von Nakhon Pathom Rajabhat University (14)

การดูแลความสะอาดสุขสบาย
การดูแลความสะอาดสุขสบายการดูแลความสะอาดสุขสบาย
การดูแลความสะอาดสุขสบาย
 
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านอาหาร น้้า และเกลือแร่
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านอาหาร น้้า และเกลือแร่การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านอาหาร น้้า และเกลือแร่
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านอาหาร น้้า และเกลือแร่
 
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการพักผ่อน ความปลอดภัย และการจัดหน่วยผู้...
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการพักผ่อน ความปลอดภัย และการจัดหน่วยผู้...การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการพักผ่อน ความปลอดภัย และการจัดหน่วยผู้...
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการพักผ่อน ความปลอดภัย และการจัดหน่วยผู้...
 
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจ ากัดการเคลื...
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจ ากัดการเคลื...การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจ ากัดการเคลื...
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจ ากัดการเคลื...
 
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการขับถ่ายอุจจาระ
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการขับถ่ายอุจจาระการดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการขับถ่ายอุจจาระ
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการขับถ่ายอุจจาระ
 
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการขับถ่ายปัสสาวะ
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการขับถ่ายปัสสาวะการดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการขับถ่ายปัสสาวะ
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการขับถ่ายปัสสาวะ
 
การใช้เทคนิคปราศจากเชื้อและการกีดกั้นเชื้อ
การใช้เทคนิคปราศจากเชื้อและการกีดกั้นเชื้อการใช้เทคนิคปราศจากเชื้อและการกีดกั้นเชื้อ
การใช้เทคนิคปราศจากเชื้อและการกีดกั้นเชื้อ
 
การเก็บสิ่งส่งตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การเก็บสิ่งส่งตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการเก็บสิ่งส่งตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การเก็บสิ่งส่งตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
 
การพยาบาลผู้ป่วยใกล้ถึงแก่กรรม
การพยาบาลผู้ป่วยใกล้ถึงแก่กรรมการพยาบาลผู้ป่วยใกล้ถึงแก่กรรม
การพยาบาลผู้ป่วยใกล้ถึงแก่กรรม
 
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
 
การให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วย
การให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วยการให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วย
การให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วย
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีบาดแผลและการอักเสบ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีบาดแผลและการอักเสบการพยาบาลผู้ป่วยที่มีบาดแผลและการอักเสบ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีบาดแผลและการอักเสบ
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
 
การดูแลต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านอากาศเพื่อการหายใจ
การดูแลต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านอากาศเพื่อการหายใจการดูแลต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านอากาศเพื่อการหายใจ
การดูแลต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านอากาศเพื่อการหายใจ
 

การให้ยาฉีด