SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 11
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง 33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2558
ชื่อโครงงาน กังหันลมผลิตไฟฟ้า
ชื่อผู้ทำาโครงงาน
1.โชติวัฒน์ เลิศภาสนวัฒน์ ม 6/13 เลขที่ 20
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)
…………………………………………………
ระยะเวลาดำาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการ
ศึกษา 2558
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทำาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม 1
1.นายโชติวัฒน์ เลิศภาสนวัฒน์ ม 6/13 เลขที่ 20
คำาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อ
ไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
กังหันลมผลิตไฟฟ้า
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Wind Turbine
ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทงานค้นค้วา
ชื่อผู้ทำาโครงงาน โชติวัฒน์ เลิศภาสนวัฒน์
ชื่อที่ปรึกษา
____________________________________________________________
____
ชื่อที่ปรึกษาร่วม
____________________________________________________________
_
ระยะเวลาดำาเนินงาน 1 เดือน
ที่มาและความสำาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และ
เหตุผล ของการทำาโครงงาน)
เนื่องจากปัจจุบันประเทศไทยได้ให้ความสำาคัญและสนใจในการพัฒนาด้านพลังงานทดแทนและพลังงานหมุนเวียนมากขึ้น
เพื่อทดแทนการนำาเข้านำ้ามันเชื้อเพลิงที่ต้องซื้อหาจากต่างประเทศ ที่นับวันมีราคาแพงขึ้น การผลิตพลังงานทดแทนอื่นๆ
และพลังงานลมเป็นพลังงานทางเลือกหนึ่งในการสนับสนุนพัฒนาให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ความมั่นคงด้านพลังงานของ
ประเทศ เทคโนโลยีกังหันลมจึงเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความสำาคัญ เพื่อการเลือกหาผลิตขึ้นมาใช้งานให้มีความเหมาะสมกับ
ความเร็วลมที่มีอยู่ในพื้นที่ ด้วยประเทศไทยอยู่ใกล้เขตเส้นศูนย์สูตรทำาให้ได้รับแรงลมเฉลี่ยทั้งปีตำ่าถึงปานกลาง การที่จะ
พัฒนาพลังงานลมเพื่อใช้ประโยชน์จึงจำาเป็นต้องศึกษารูปแบบกังหันลมผลิตไฟฟ้าให้มีความเหมาะสมกับความเร็วลมที่มีอยู่
จึงได้เริ่มดำาเนินการวิจัย จัดหา สาธิต การใช้ประโยชน์จากกังหันลมความเร็วลมตำ่า และสามารถผลิตชิ้นส่วนเพื่อประกอบ
3
ระบบกังหันลมผลิตไฟฟ้าขึ้นมาใช้งานในประเทศ เพื่อลดต้นทุนและสร้างความเชื่อมั่นในการใช้ประโยชน์จากกังหันลม
ผลิตไฟฟ้า ด้วยแต่ละพื้นที่ ที่มีความเร็วลมแตกต่างกัน หากได้ต้นแบบกังหันลมผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่ไม่
ซับซ้อน ติดตั้งง่ายและสามารถขยายผลโดยการส่งเสริมให้มีการใช้ในครัวเรือน ชุมชนขนาดเล็ก ผู้ประกอบการ ครัวเรือน
ที่ต้องการใช้พลังงานลมในการผลิตไฟฟ้าใช้ในกิจกรรมต่างๆ ของตนเอง เพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืน ในการจัดหา
พลังงานให้กับตนเอง อีกทั้งจะทำาให้กังหันลมผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กที่ผลิตได้ในประเทศมีราคาถูกลง เป็นการสร้างแรงจูงใจ
ในการเลือกหามาติดตั้งใช้งานในพื้นที่ที่ห่างไกลหรือในพื้นที่บริเวณเกาะของผู้ประกอบการมากขึ้น อีกทั้งยังจะช่วยรักษา
สภาพแวดล้อม ไม่ทำาให้เกิดสภาวะโลกร้อน เนื่องจากเป็นพลังงานจากธรรมชาติ ไม่ต้องซื้อหา และเป็นการส่งเสริมให้เกิด
การพัฒนาระบบการผลิตไฟฟ้าจากกังหันลมในอนาคตได้อย่างยั่งยืนและมีความมั่นคงด้านพลังงานได้ในระยะยาว
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทำาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อสร้างกังหันลมผลิตพลังงานไฟฟ้า 2. เพื่อสาธิตการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลม .
ขอบเขตของการศึกษา
2.ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการใช้กังหันลม 2.แนวทางการแก้ปัญหาเพื่อลดการใช้พลังงานที่ก่อให้เกิดมลพิษที่
เกี่ยวข้องกับกังหันลม 3.พลังงานที่สะอาดไร้มลพิษ ที่สามารถนำามาใช้ในชีวิตประจำาวันได้
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจำากัดของการ
ทำาโครงงาน)
1.การที่ทำาโครงงานชิ้นนี้ต้องใช้ทุนงบประมาณสูงมากทำาให้ยาก
แก่การผลิต
2.ต้องใช้งบประมาณสูงมากๆ
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทำา
โครงงาน)
1.ปัจจุบันไฟฟ้าเริ่มพลิตยากมากขึ้นจึงหาทางใช้วิธีธรรมชาติใน
การผลิตไฟฟ้า
วิธีดำาเนินงาน
แนวทางการดำาเนินงาน
พลังงานลม
ลม เป็นการเคลื่อนไหวของอากาศจากบริเวณที่มีความกดอากาศสูงไปสู่บริเวณที่มีความกดอากาศตำ่าในแนวนอน โดยลมที่
เกี่ยวข้องกับความเป็นอยู่ของคนเรานั้นคือ ลมระดับพื้นผิว ซึ่งแบ่งออกเป็นประเภทตามเหตุที่เกิดและบริเวณที่เกิด คือลม
4
ประจำำปี ลมประจำำฤดู ลมประจำำเวลำ และลมประจำำถิ่น ส่วนลมที่จะไม่พูดถึงเลย คือลมพำยุก็เป็นลมระดับพื้นผิวด้วยเช่นกัน
ซึ่งลมแต่ละประเภทที่จะกล่ำวถึงในที่นี้คือ
ลมประจำำปี
เป็นลมที่พัดอยู่เป็นประจำำตลอดทั้งปีในส่วนต่ำงๆ ของโลกแตกต่ำงกันไปในแต่ละเขตละติจูดของโลกเนื่องจำกประเทศไทย
อยู่ในบริเวณเขตศูนย์สูตร อิทธิพลของลมประจำำปีจึงไม่มีประโยชน์ในกำรนำำมำใช้ ซึงคุณเกียรติชัยถึงกับบ่นเสียดำยมำก
ลมประจำำฤดู
เป็นลมที่พัดเปลี่ยนทิศทำงตำมฤดูกำล เรียกว่ำ ลมมรสุม เมื่อพูดถึงลมในบทควำมนี้จะพูดถึงเฉพำะลมพื้นผิวที่ผ่ำน
ประเทศไทยเท่ำนั้น ลมมรสุมที่มีควำมสำำคัญมำกก็คือ
1. ลมมรสุมฤดูร้อน พัดในแนวทิศใต้ และตะวันตกเฉียงใต้ ในช่วงเดือนมิถุนำยน-สิงหำคม
2. ลมมรสุมฤดูหนำว พัดในแนวทิศเหนือ และตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่วงเดือนธันวำคม-กุมภำพันธ์
ลมประจำำเวลำ
เป็นลมที่เกิดขึ้นเนื่องจำกกำรเปลี่ยนแปลงควำมกดอำกำศระหว่ำง 2 บริเวณในระยะเวลำสั้นๆ ได้แก่ ลมบก ลมทะเล ลม
ภูเขำ และลมหุบเขำ บริเวณที่อยู่ตำมชำยฝั่งอิทธิพลของลมบก ลมทะเลมีสูงมำก ยังจำำกันได้ไหมว่ำลมบกพัดจำกบกสู่
ทะเลในตอนกลำงคืน ส่วนลมทะเลพัดจำกทะเลเข้ำหำฝั่งในตอนกลำงวัน
พลังงำนลม เป็นพลังงำนธรรมชำติที่สะอำดและบริสุทธิ์ ใช้แล้วไม่มีวันหมดสิ้นไปจำกโลก จึงทำำให้พลังงำนลมได้รับควำม
สนใจในกำรศึกษำและพัฒนำให้เกิดประโยชน์กันอย่ำงกว้ำงขวำง ในขณะเดียวกัน กังหันลม ก็เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที
สำมำรถนำำพลังงำนลมมำใช้ให้เป็นประโยชน์ได้โดยเฉพำะในกำรผลิตกระแสไฟฟ้ำและกำรสูบนำ้ำ ซึ่งมีกำรใช้งำนกันมำ
แล้วอย่ำงแพร่หลำยในอดีตที่ผ่ำนมำ
ในประเทศไทย หน่วยงำนที่ทำำกำรศึกษำเกี่ยวกับกำรใช้ประโยชน์จำกพลังงำนลมยังมีไม่มำกนัก ซึ่งอำจเนื่องมำจำกอัตรำ
ควำมเร็วลมในประเทศที่ไม่สูงนัก รวมทั้งมีข้อจำำกัดทำงด้ำนงบประมำณ อย่ำงไรก็ดี กำรไฟฟ้ำฝ่ำยผลิตแห่งประเทศไทย (
กฟผ.) ได้ติดตำมศึกษำเรื่องนี้มำตลอดระยะเวลำกว่ำ 17 ปี ผลที่ได้ในขณะนี้นับว่ำประสบควำมสำำเร็จไปขั้นหนึ่งแล้ว คือ
สำมำรถจ่ำยไฟฟ้ำจำกพลังงำนลมที่ผลิตได้ไปใช้งำนจริง แม้ว่ำจะมีกำำลังผลิตน้อยเมื่อเทียบกับพลังงำนชนิดอื่น ๆ แต่
กฟผ. ก็ได้ตั้งเป้ำหมำยที่จะพัฒนำพลังงำนชนิดนี้ต่อไปให้มำกที่สุดเท่ำที่จะเป็นไปได้ในขอบเขตศักยภำพของพลังงำนลมที่
มีอยู่ในประเทศ
เทคโนโลยีกังหันลม
พลังงำนลม เป็นพลังงำนจำกธรรมชำติที่สำมำรถนำำมำใช้ประโยชน์ ได้ โดยอำศัยเครื่องมือที่เรียกว่ำ “ กังหันลม ” เป็นตัว
สกัดกั้นพลังงำนจลน์ของกระแสลม แล้วเปลี่ยนเป็นพลังงำนกล จำกนั้นจึงนำำพลังงำนกลที่ได้ไปใช้ประโยชน์ เช่น สูบนำ้ำ
หรือใช้ผลิตไฟฟ้ำ เป็นต้น กังหันลมที่ใช้กันมำกในประเทศไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ได้แก่ กังหันลมแบบใบกังหันไม้ ใช้
สำำหรับวิดนำ้ำเข้ำนำข้ำวบริเวณจังหวัดฉะเชิงเทรำ กังหันใบเสื่อลำำแพนใช้วิดนำ้ำเค็มเข้ำนำเกลือบริเวณจังหวัด
สมุทรสงครำม และกังหันลมแบบใบกังหันหลำยใบทำำด้วยแผ่นเหล็กใช้สำำหรับสูบนำ้ำลึก เช่น นำ้ำบำดำล นำ้ำบ่อ ขึ้นไปเก็บใน
ถังกักเก็บ
ชนิดของกังหันลม
กำรจำำแนกชนิดของกังหันลม มี 2 วิธี กล่ำวคือ
1.กำรจำำแนกตำมลักษณะแนวแกนหมุนของกังหัน จำำแนกได้ 2 ประเภท ได้แก่ กังหันลมที่มีแกนหมุนในแนวแกนนอน และ
กังหันลมที่มีแกนหมุนใน แกนแนวตั้ง
2.กำรจำำแนกตำมลักษณะแรงขับที่กระแสลมกระทำำต่อใบกังหัน มี 2 แบบ คือ กำรขับด้วยแรงยก (Lift force) และ กำรขับ
ด้วยแรงฉุดหรือแรงหน่วง (Drag force)
กังหันลมแนวแกนนอน (Horizontal Axis Wind Turbine)
เป็นกังหันลมที่มีแกนหมุนขนำนกับทิศทำงของลมโดยมีใบพัดเป็นตัวตั้งฉำกรับแรงลม มีอุปกรณ์ควบคุมกังหันให้หันไปตำม
5
ทิศทำงของกระแสลม เรียกว่ำ หำงเสือ และมีอุปกรณ์ป้องกันกังหันชำำรุดเสียหำยขณะเกิดลมพัดแรง เช่น ลมพำยุและตั้งอยู่
บนเสำที่แข็งแรง กังหันลมแบบแกนนอน ได้แก่ กังหันลมวินด์มิลล์ ( Windmills) กังหันลมใบเสื่อลำำแพน นิยมใช้กับเครื่อง
ฉุดนำ้ำ กังหันลมแบบกงล้อจักรยำน กังหันลมสำำหรับผลิตไฟฟ้ำแบบพรอบเพลเลอร์ (Propeller)
กังหันลมแนวแกนตั้ง (Vertical Axis Wind Turbine)
เป็นกังหันลมที่มีแกนหมุนและใบพัดตั้งฉำกกับกำรเคลื่อนที่ของลมในแนวรำบ ซึ่งทำำให้สำมำรถรับลมในแนวรำบได้ทุก
ทิศทำง
กำรจำำแนกตำมลักษณะตำมแนวแกนหมุนนิยมมำกเพรำะเด่นชัดที่สุด และเข้ำใจได้ง่ำย ส่วนกำรจำำแนกตำมลักษณะแรง
ขับของกระแสลมนั้นต้องใช้ควำมรู้ทำงอำกำศพลศำสตร์ (Aerodynamic)
กังหันลมแบบแนวแกนนอนเป็นแบบที่นิยมใช้กันอย่ำงแพร่หลำย ส่วนมำกออกแบบให้เป็นชนิดที่ขับใบกังหันด้วยแรงยก
แต่อย่ำงไรก็ตำม กังหันลมแบบแนวแกนตั้ง ซึ่งได้รับกำรพัฒนำมำกในระยะหลังก็ได้รับควำมสนใจมำกขึ้นเช่นกัน ทั้งนี้
เนื่องจำกข้อดีกว่ำแบบแนวแกนนอนคือ ในแบบแนวแกนตั้งนั้นไม่ว่ำลมจะเข้ำมำทิศไหนก็ยังหมุนได้ โดยไม่ต้องมีอุปกรณ์
ควบคุมให้กังหันหันหน้ำเข้ำหำลม นอกจำกนี้แล้วแบบแนวแกนตั้งนั้น เครื่องกำำเนิดไฟฟ้ำและระบบกำรส่งกำำลังวำงไว้ใกล้
พื้นดินมำกกว่ำแบบแกนนอน เวลำเกิดปัญหำแก้ไขง่ำยกว่ำแบบแกนนอนที่ติดอยู่บนหอคอยสูง
ชนิดของกังหันลมผลิตไฟฟ้ำ
1.กังหันลมชนิดแกนหมุนแนวตั้ง (Vertical Axis Wind Turbine) เป็นกังหันลมที่มีแกนหมุนตั้งฉำกกับพื้นรำบหรือตั้งฉำก
รับทิศทำงกำรเคลื่อนที่ของลม โดยมีใบพัดยึดติดขนำนกับแกนหมุน ทำำหน้ำที่รับแรงลมที่เคลื่อนตัวมำกระทบทำำให้เกิดกำร
หมุนของใบพัด โดยสำมำรถรับแรงลมในแนวนอนได้ทุกทิศทำง อย่ำงไรก็ดีกังหันลมชนิดนี้ไม่ค่อยได้รับควำมนิยมใช้ใน
เชิงพำณิชย์ โดยมีกำรใช้งำนอยู่ประมำณร้อยละ 25 ของกังหันลมที่มีใช้งำนอยู่ในปัจจุบัน
2.กังหันลมชนิดแกนหมุนแนวนอน (Horizontal Axis Wind Turbine) เป็นกังหันลมที่มีแกนหมุนขนำนกับพื้นรำบหรือ
ขนำนกับทิศทำงกำรเคลื่อนที่ของลม โดยมีใบพัดยึดติดตั้งฉำกกับแกนหมุน ทำำหน้ำที่รับแรงลมที่เคลื่อนตัวมำกระทบทำำให้
เกิดกำรหมุนของใบพัด โดยกังหันลมชนิดแกนหมุนแนวนอนแบบสำมใบพัดซึ่งมีกำรพัฒนำมำอย่ำงต่อเนื่อง เป็นกังหันลมที่
ได้รับควำมนิยมใช้งำนในเชิงพำณิชย์อย่ำงแพร่มำกที่สุดถึงร้อยละ 75 ของกังหันลมที่มีกำรใช้งำนในปัจจุบัน
รูปแสดงองค์ประกอบของกังหันลมแกนหมุนแนวนอน
1.ชุดแกนหมุนใบพัด (Rotor Blade) [หมำยเลข 2] เป็นส่วนแรกของกังหันลมผลิตไฟฟ้ำที่ทำำหน้ำที่รับหรือปะทะกับแรงลม
โดยประกอบด้วยชิ้นส่วนต่ำง ๆ ดังนี้
- ดุมแกนหมุน (Nose Cone) เป็นตัวครอบแกนหมุนที่อยู่ส่วนหน้ำสุด มีรูปร่ำงเป็นวงรีคล้ำยไข่ เพื่อกำรลู่ลมและมองดู
สวยงำม
- ใบพัด (Blade) [หมำยเลข 1] เป็นส่วนที่ยึดติดกับแกนหมุน (Rotor Hub) ทำำหน้ำที่รับพลังงำนจลน์ (Kinetic Energy)
จำกกำรเคลื่อนที่ของลม และหมุนแกนหมุนเพื่อส่งถ่ำยกำำลังไปยังเพลำแกนหมุนหลัก ถูกออกแบบโดยใช้หลักกำรทำง
พลศำสตร์ของอำกำศ เพื่อให้มีนำ้ำหนักเบำพอเหมำะและเหนียวทนทำนรับกับแรงลมได้ดี ใบกังหันลมถือเป็นหัวใจของ
กังหันลมผลิตไฟฟ้ำและมีควำมละเอียดสูงในกำรออกแบบ เพรำะหำกสำมำรถออกแบบให้เหมำะสมและมีประสิทธิภำพสูง ก็
จะทำำให้กังหันลมสำมำรถทำำงำนได้เป็นอย่ำงดีที่ควำมเร็วเปลี่ยนไป
- จุดปรับหมุนใบพัด (Pitch Drive) [หมำยเลข 3] อยู่ระหว่ำงช่วงรอยต่อระหว่ำงใบพัดกับแกนหมุน ทำำหน้ำที่ในกำรปรับ
ใบพัดให้มีควำมพร้อมและเหมำะสมเมื่อเริ่มรับแรงลมตำ่ำ ๆ เพื่อกำรเริ่มหมุนใบพัด (Cut In) และปรับใบพัดให้ลู่ลมโดย
อัตโนมัติเพื่อช่วยในกำรหยุดหมุนของแกนหมุนเมื่อได้รับแรงลมเกินพิกัด (Cut Out) หรือกรณีซ่อมบำำรุงรักษำ
- ชุดปรับยึดแกนหมุน (Rotor Lock) เป็นจำนหมุนที่ยึดติดส่วนท้ำยของแกนหมุน มีระบบยึดแน่นไม่ให้แกนหมุนมีกำรขับ
เคลื่อนหมุนเมื่อได้รับแรงลมเกินพิกัดหรือกรณีซ่อมบำำรุงรักษำ
2.ชุดห้องเครื่อง (Nacelle) [หมำยเลข 11] เป็นส่วนที่สำำคัญของกังหันลมเพรำะมีองค์ประกอบย่อยมำกที่สุด ถูกออกแบบมำ
ให้มีควำมเหมำะสมเพื่อเป็นตัวป้องกันสภำพอำกำศภำยนอกให้กับอุปกรณ์ที่อยู่ภำยใน และมีพื้นที่ภำยในเพียงพอสำำหรับ
กำรขึ้นไปติดตั้งและบำำรุงรักษำอุปกรณ์ต่ำง ๆ ได้ องค์ประกอบย่อยที่ติดตั้งอยู่ภำยในชุดห้องเครื่องมีดังนี้
- เพลำแกนหมุนหลัก (Main Shaft) [หมำยเลข 5] ทำำหน้ำที่รับแรงจำกแกนหมุนใบพัด และส่งผ่ำนเข้ำสู่ห้องปรับเปลี่ยนทด
6
รอบกำำลัง (Gear Box)
- ห้องทดรอบกำำลัง (Gear Box) [หมำยเลข 6] ทำำหน้ำที่เป็นตัวควบคุมปรับเปลี่ยนทดรอบกำรหมุนและถ่ำยแรงของเพลำ
แกนหมุนหลักที่มีควำมเร็วรอบตำ่ำ ไปยังเพลำแกนหมุนเล็ก (Small Shaft) ของเครื่องกำำเนิดไฟฟ้ำ เพื่อให้มีควำมเร็วรอบที่
สูงขึ้นและมีควำมเร็วสมำ่ำเสมอในกำรหมุนเครื่องกำำเนิดไฟฟ้ำ
- เบรก (Brake) [หมำยเลข 4] เป็นระบบกลไกเพื่อใช้ควบคุมและยึดกำรหยุดหมุนอย่ำงสิ้นเชิงของใบพัดและเพลำแกนหมุน
ของกังหันลม
- เพลำแกนหมุนเล็ก (Small Shaft) [หมำยเลข 12] ทำำหน้ำที่รับแรงที่มีควำมเร็วรอบสูงจำกห้องทดรอบกำำลัง (Gear Box)
เพื่อหมุนเครื่องกำำเนิดไฟฟ้ำ
- เครื่องกำำเนิดไฟฟ้ำ (Generator) [หมำยเลข 7] ทำำหน้ำที่แปลงพลังงำนกลที่ได้รับเป็นพลังงำนไฟฟ้ำ มีใช้ 2 ประเภท คือ
Synchronous Generator เป็นเครื่องกำำเนิดไฟฟ้ำที่หมุนด้วยควำมเร็วคงที่ คือควำมเร็ว Synchronous Speed (50 Hz)
พลังงำนไฟฟ้ำที่ผลิตได้จะมีควำมถี่และแรงดันไฟฟ้ำเท่ำกับควำมถี่และแรงดันไฟฟ้ำของระบบสำยส่ง
Induction Generator เป็นเครื่องกำำเนิดไฟฟ้ำที่มีโครงสร้ำงเหมือน Induction Motor โดยป้อนไฟฟ้ำกระแสสลับเข้ำที่ชุดส
เลเตอร์ ทำำให้เกิดฟลักซ์เป็นขั้วแม่เหล็กหมุนตำมสภำวะกระแสสลับ ไปเหนี่ยวนำำแกนโรเตอร์ให้หมุนตำมในตอนเริ่มต้น
และเมื่อมีแรงมำขับโรเตอร์ให้หมุนเกินกว่ำ Synchronous Speed จะเกิดกำรเหนี่ยวนำำย้อนกลับ ทำำให้เกิดกระแสไหลออก
จำกเครื่องกำำเนิดไฟฟ้ำจ่ำยย้อนกลับเข้ำระบบสำยส่ง
-ระบบควบคุมไฟฟ้ำ (Controller System) [หมำยเลข 8] เป็นระบบควบคุมกำรทำำงำนและกำรจ่ำยกระแสไฟฟ้ำออกสู่ระบบ
ด้วยระบบคอมพิวเตอร์
-ระบบระบำยควำมร้อน (Cooling) เป็นระบบเพื่อใช้ระบำยควำมร้อนจำกกำรทำำงำนของกลไกภำยในห้องทดรอบกำำลังและ
เครื่องกำำเนิดไฟฟ้ำที่มีกำรทำำงำนอย่ำงต่อเนื่องตลอดเวลำ
-เครื่องวัดควำมเร็วและทิศทำงลม (Anemometer and Wind Vane) [หมำยเลข 9, 10] เป็นส่วนที่ติดตั้งอยู่ภำยนอกห้อง
เครื่อง โดยเชื่อมต่อสำยสัญญำณเข้ำสู่ระบบคอมพิวเตอร์สำำหรับเป็นตัวชี้วัดปริมำณควำมเร็วและทิศทำงลม เพื่อที่
คอมพิวเตอร์จะได้ควบคุมกลไกกำรทำำงำนอื่น ๆ ของกังหันลมได้อย่ำงถูกต้อง
รูปแสดงเครื่องวัดควำมเร็วและทิศทำงลม
3.ชุดเสำ (Tower) [หมำยเลข 15] เป็นตัวแบกรับส่วนที่เป็นชุดแกนหมุนใบพัดและตัวห้องเครื่องที่อยู่ข้ำงบน ปัจจุบันมีใช้
งำน 2 แบบ คือ แบบเสำกลมกลวง (Tubular) และเสำโครงถัก (Lattice) โดยปัจจุบันนิยมใช้เสำแบบกลมกลวงมำกกว่ำ
ทั้งนี้ชุดเสำดังกล่ำวจะต้องมีกำรออกแบบในเชิงวิศวกรรมมำเป็นอย่ำงดีก่อนกำรติดตั้ง เพื่อให้สำมำรถรับนำ้ำหนักและแรง
ปะทะของลมต่อพื้นที่กวำดใบพัด ขณะที่ควำมสูงของเสำจะมีควำมแตกต่ำงกันขึ้นอยู่กับระยะควำมสูงในกำรรับแรงลม
ขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงใบพัด และขนำดของกังหันลม องค์ประกอบย่อยของชุดเสำมีดังนี้
- แกนคอหมุนรับทิศทำงลม (Yaw Drive) [หมำยเลข 13] เป็นตัวขับเคลื่อนหมุนแกนหมุนใบพัด เพื่อให้ใบพัดรับแรงลมตำม
ทิศทำงกำรเคลื่อนที่ของลม
- ระบบควบคุมกำรหมุน (Yaw Motor หรือ Hydraulic System) [หมำยเลข 14] เป็นตัวบังคับและควบคุมกลไกกำรขับ
เคลื่อนหมุนเพื่อให้ใบพัดรับแรงลมตำมทิศทำงกำรเคลื่อนที่ของลม และชะลอกำรหมุนและหยุดหมุนของใบพัด
รูปแสดงแกนคอหมุนและระบบควบคุมกำรหมุนเพื่อรับแรงลมตำมทิศทำงลม
- บันไดหรือลิฟต์ (Stair or Lift) ใช้ในกำรขึ้นลงสำำหรับกำรตรวจหรือซ่อมบำำรุงรักษำอุปกรณ์ที่อยู่ด้ำนบนเสำ
- ระบบอุปกรณ์ควบคุมและจอภำพ ติดตั้งอยู่ด้ำนล่ำงสุดของเสำเพื่อให้เจ้ำหน้ำที่ใช้ในกำรติดต่อ ตรวจสอบ และตรวจดู
ข้อมูลระบบกำรทำำงำนต่ำง ๆ ของกังหันลมผลิตไฟฟ้ำ
4.ฐำนรำก (Foundation) เป็นส่วนที่รับนำ้ำหนักทั้งหมดของชุดกังหันลม ทำำเป็นฐำนคอนกรีตเสริมเหล็กตั้งอยู่บนเสำเข็มที่
ได้รับกำรคำำนวณออกแบบ และทำำกำรก่อสร้ำงอย่ำงถูกวิธีตำมหลักวิศวกรรมโยธำ
7
ขนาดของกังหันลมผลิตไฟฟ้า
ขนาดของกังหันลมผลิตไฟฟ้าถูกพัฒนาขึ้นเพื่อให้มีความสามารถในการผลิตไฟฟ้าได้ตามความต้องการใช้งาน ซึ่งจะขึ้น
อยู่กับขนาดกำาลังผลิตไฟฟ้า (Capacity) เส้นผ่านศูนย์กลางใบพัด (Rotor Diameter) และพื้นที่กวาดของใบพัด (Swept
Area) ของกังหันลมผลิตไฟฟ้ารุ่นนั้น
1.กังหันลมขนาดจิ๋ว (Micro Wind Turbine) มีขนาดกำาลังผลิตไฟฟ้าน้อยกว่า 1.5 กิโลวัตต์ เหมาะสำาหรับติดตั้งผลิตไฟฟ้า
ในพื้นที่ห่างไกลเพื่อจัดเก็บกระแสไฟฟ้าลงในแบตเตอรี่ และมีภาระทางไฟฟ้าไม่มากนัก เช่น การใช้กับเครื่องมือสื่อสาร
หรือแสงสว่างในบางเวลา
2.กังหันลมขนาดเล็ก (Small Wind Turbine) มีขนาดกำาลังผลิตไฟฟ้าอยู่ระหว่าง 1.5-20 กิโลวัตต์ เหมาะสำาหรับติดตั้ง
ผลิตไฟฟ้าในพื้นที่ห่างไกลเพื่อจัดเก็บกระแสไฟฟ้าลงในแบตเตอรี่ และมีภาระทางไฟฟ้าไม่มากนัก เช่น ใช้ตามครัวเรือน
หรือสำานักงานขนาดเล็กที่อยู่ห่างไกล
3.กังหันลมขนาดกลาง (Medium Wind Turbine) มีขนาดกำาลังผลิตไฟฟ้าอยู่ระหว่าง 20-200 กิโลวัตต์ เหมาะสำาหรับติด
ตั้งผลิตไฟฟ้าในระบบผสมผสานกับการผลิตไฟฟ้าชนิดอื่น เช่น ระบบผสมผสานดีเซล-เซลล์แสงอาทิตย์-กังหันลม เพื่อใช้
ในระบบ Minigrid ตามชุมชนห่างไกล
4.กังหันลมขนาดใหญ่ (Large Wind Turbine) มีขนาดกำาลังผลิตไฟฟ้าอยู่ระหว่าง 200-1,500 กิโลวัตต์ เหมาะสำาหรับติด
ตั้งผลิตไฟฟ้าแบบทุ่งกังหันลมบนฝั่ง เพื่อเชื่อมต่อไฟฟ้าเข้ากับระบบสายส่ง (Grid Connection)
5.กังหันลมขนาดใหญ่มาก (Very Large Wind Turbine) มีขนาดกำาลังผลิตมากกว่า 1,500 กิโลวัตต์ เหมาะสำาหรับติดตั้ง
ผลิตไฟฟ้าแบบทุ่งกังหันลมบนฝั่งและนอกชายฝั่ง เพื่อเชื่อมต่อไฟฟ้าเข้ากับระบบสายส่ง (Grid Connection)
เครื่องกำาเนิดไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นของเครื่องกำาเนิดไฟฟ้า
เครื่องกำาเนิดไฟฟ้า (Generator) หรือ ไดนาโม (Dynamo) เป็นเครื่องกลไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า
แรงเคลื่อนไฟฟ้า
แรงเคลื่อนไฟฟ้า คือแรงดันไฟฟ้าเหนึ่ยวนำา (Induced Emf.) ที่เกิดขึ้นจากการเหนี่ยวนำาแม่เหล็กไฟฟ้า ด้วยการทำาให้เส้น
แรงแม่เหล็กเกิดการเปลี่ยนค่าในหนึ่งหน่วยตามสมการไฟฟ้าต่อไปนี้
ดังนั้นถ้าทำาให้เส้นแรงแม่เหล็ก จำานวน 1 เวเบอร์ เกิดการเปลี่ยนค่าในเวลา 1 นาที จะให้กำาเนิดแรงเคลื่อนไฟฟ้า 1 โวลต์
การเปลี่ยนค่าสนามแม่เหล็ก ด้วยการเหนี่ยวนำาแม่เหล็กไฟฟ้า (Electro Magnetec Induction) นั้น กระทำาได้ 2 วิธี คือ ให้
ขดลวดในสนามแม่เหล็ก (Moving Coil) และสนามแม่เหล็กหมุนในขดลวด (Rotating Field หรือ Moving Field)
ขดลวดหมุนในสนามแม่เหล็ก
ตัวนำาเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก จะให้กำาเนิดแรงเคลื่อนไฟฟ้า ตามกฎมือขวาของเฟลมมิง
1 วางตัวนำาในสนามแม่เหล็ก N - S 2 ทำาให้ตัวเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็กจะให้กำาเนิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าบนตัวนำา มีทิศทาง
เป็นไปตามกฏมือขวาของเฟลมมิง และ 3 แสดงให้เห็นถึงการให้กำาเนิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าบนตัวนำา เมื่อให้ตัวนำาเคลื่อนที่ตัด
สนามแม่เหล็ก ขณะเดียวกันจะให้กำาเนิดแรงผลักตัวนำาเล็กน้อย ตามกฎมือซ้ายของเฟลมมิงในทิศทางตรงกันข้าม
การเหนี่ยวนำาแม่เหล็กไฟฟ้าลักษณะนี้ เป็นหลักการเบื้องต้นของเครื่องกำาเนิดไฟฟ้าทั้งกระแสตรง (D.C Genertator) และ
กระแสสลับ (A.C Tenerator : Alternator) ขนาดเล็กให้กำาเนิดแรงดันและกำาลังค่อนข้างตำ่า
สนามแม่เหล็กหมุนในขดลวด
8
ให้ขดลวดอยู่กับที่ ต่อปลายทั้งสองเข้ากับขั้วของกัลวานอมิเตอร์ เมื่อทำาให้แท่งแม่เหล็กเคลื่อนที่กลับไปกลับมาภายในขด
ลวด จะพบว่าเข็มของกัลวานอมิเตอร์แกว่ง (กระดิก) กลับไปกลับมาเช่นเดียวกันแสดงว่ามีกระแสสลับเกิดขึ้นนแล้วบนขด
ลวด การเหนี่ยวนำาแม่เหล็กด้วยวิธีนี้ตรงกันข้ามกับวิธีแรก (ขดลวดหมุน) คือขดลวดอยู่กับที่ ให้สนามแม่เหล็กเป็นตัวหมุน
ตัดขดลวด แรงเคลื่อนไฟฟ้ากระแสสลับจะเกิดขึ้นบนขดลวดซึ่งอยู่กับที่ การเหนี่ยวนำาแม่เหล็กไฟฟ้าลักษณะนี้ เป็นหลัก
การเบื้องต้นของเครื่องกำาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternator) ขนาดใหญ่ที่ให้กำาเนิดแรงดัน (Voltage) และกำาลังไฟฟ้าสูง
พลังงานไฟฟ้าที่มีใช้กันอยู่อย่างแพร่หลายในโลกปัจจุบัน ให้กำาเนินจาการเหนี่ยวนำาแม่เหล็ก หมุนในขดลวด (Rotating
Field หรือ Moving Field) วิธีนี้ทั้งนั้น
ต่อไปนี้เป็นตัวอย่างของเครื่องกำาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ระบบไฟ 3 - เฟส ชนิดสนามแม่เหล็กหมุน
เครื่องกำาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง
เป็นหลักการเบื้องต้นของเครื่องกำาเนิดไฟฟ้ากระแสตรงที่ประกอบด้วยขดลวดเพียงขดเดียว (2 - ตัวนำา) ซึ่งปลายทั้งสองต่อ
เข้ากับซี่ทองแดงของคอมมิวเตเตอร์ เมื่อทำาให้หมุนในสนามแม่เหล็ก N - S จะให้กำาเนิดแรงเคลื่อนไฟฟ้ากระแสสลับบน
ตัวนำาทั้งสองของขดลวด ตามกฎมือขวาของเฟลมมิง และจะเปลี่ยนเป็นกระแสตรงเมื่อต่อผ่านซี่ทองแดงของคอมิวเตอร์
หลักการเบื้องต้นของเครื่องกำาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง
เครื่องกำาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
ลักษณะเดียวกับเครื่องกำาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง ต่างกันตรงที่ปลายสายทั้งสองของขดลวดต่อเข้ากับแหวนทองแดง หรือสลิป
ริง (Slip Ring) จึงนำากระแสสลับที่ให้กำาเนิดบนตัวนำาไปใช้งานโดยตรง ด้วยการต่อผ่านสลิปริง
หลักการเบื้องต้นของเครื่องกำาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
โครงสร้างและส่วนประกอบของเครื่องกำาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง
1.โครง(เปลือกหุ้ม) (Yoke)
มีรูปร่างเป็นรูปทรงกระบอกกลวง ทำาด้วยเหล็กมีขนาดและรูปร่างตามที่ต้องการ ภายในมีขั้วแม่เหล็กติดอยู่ หน้าที่หลักของ
เปลือกหุ้มหรือโครง คือ ให้เป็นทางเดินของเส้นแรงแม่เหล็กหรือให้เป็นส่วนหนึ่งของวงจรแม่เหล็ก
2.ขดลวดสนามแม่เหล็ก(Field Windings)
เป็นขดลวดทองแดงท่พันบนแกนขั้วแม่เหล็ก เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน จะสร้างขั้วแม่เหล็กให้เกิดขึ้นบนแกนขั้วแม่เหล็ก มี
ขั้วเหนือและขั้วใต้เพื่อให้เส้นแรงแม่เหล็กออกจากขั้วแม่เหล็กผ่านช่องว่างอากาศไปยังขั้วใต้ผ่านเปลือกหุ้มหรือโครงแล้ว
ย้อนกลับมายังขั้วเหนือ
3.แกนขั้วแม่เหล็ก(Pole shoes)
ทำาด้วยแผ่นเหล็กไฟฟ้าแผ่นบางๆชนิดที่เคลือบผิวทั้งสองด้านด้วยวัสดุฉนวน แต่ล่ะแผ่นปั้มให้เป็นรูปและมีขนาดตามที่
ต้องการ ใช้หลายๆแผ่นมาเรียงซ้อนกัน(เพื่อลดความสูญเสียในแกนเหล็กให้น้อยลง) ให้ได้ขนาดของความหนาหรือความ
ยาวตามต้องการ หน้าที่หลักของแกนขั้วแม่เหล็ก คือ ให้กำาเนิดเส้นแรงแม่เหล็ก ไหลจากขั้วเหนือผ่านช่องอากาศไปยังขั้ว
ใต้ ผ่านเปลือกหุ้มหรือโครงแล้วย้อนกลับมายังขั้วเหนือ
4.อาร์เมเจอร์(Armature)
ทำาด้วยแผ่นเหล็กไฟฟ้าแผ่นบางๆ ที่วางเรียงซ้อนกันกับแกนขั้วแม่เหล็ก มีขนาดและรูปร่างเป็นทรงกระบอกตัน รอบๆเซาะ
เป็นร่องสล็อต สำาหรับใส่ตัวนำาที่ต้องการให้เกิดพลังงานไฟฟ้า เมื่ออาเมเจอร์หมุนในสนามแม่เหล็ก อาร์เมเจอร์ที่ใช้กันอยู่
ในปัจจุบัน เรียกว่า ดรัมอาร์เมเจอร์ หรือ อาร์เมเจอร์แบบกลอง
5.คอมมิวเตเตอร์(Commutator)
9
เป็นส่วนที่รองรับปลายสายทั้งหมดของขดลวดอาร์เมเจอร์ ประกอบด้วย แท่งทองแดงหลายๆแท่ง แต่ล่ะแท่งเรียกว่า ซี่
ทองแดง อัดรวมกันอยู่บนแกนเดียวกันระหว่างซี่ต่อซี่ทองแดง คั่นด้วยฉนวน โดยทั่วไปใช้แผ่น ไมก้า มีหน้าที่หลัก คือ
เปลี่ยนกระแสไฟฟ้าสลับที่เกิดขึ้นบนขดลวดอาร์เมเจอร์ให้กลายเป็นไฟฟ้ากระแสตรง
6.แปรงถ่าน(Brushes)
ทำาด้วยแท่งคาร์บอน ปกติวางให้สัมผัสอยู่กับหน้าสัมผัสของซี่ทองแดงของคอมมิวเตเตอร์หรือหน้าสัมผัสของสลิปริง เพื่อนำา
กระแสออกไปจ่ายโหลด หรือนำากลับเข้าไปยังขดลวดของอาร์เมเจอร์
7.ฝาปิดครอบท้าย
ใช้สำาหรับปิดท้ายและยึดอกนอาร์เมเจอร์ให้อยู่กับที่ พร้อมทั้งป้องกันสิ่งแปลกปลอมเข้าไปในตัวเครื่องกำาเนิดไฟฟ้า.....
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.แม่เหล็กแรงสูง 12 คู่ (Neodymiam 40x25x10mm) 6,000
2.Bearing Hub 4,500
3.ลวดทองแดงอาบนำ้ายาวานิช 10 ขด ขนาด 13-18 300
4.เรซิ่น (Polyester resin) 300
5.เหล็กฉาก,เหล็กตัวซี,เหล็กกลม 500
6.น็อตตัวเมีย 60 ตัว 180
7.ไดโอดบริดจ์เร็คติฟายด์ 35 A 600 v 2,500
8.อุปกรณ์เชื่อมเหล็ก ตัด เจียร เลื่อย สิ่ว กบ กระดาษทราย วัดระดับ วงเวียน ดินสอ กระดาษเขียนแบบ 500
9.ไม้ขนาด กว้าง 6 นิ้ว ยาว 48 นิ้ว หนา 1.5 นิ้ว จำานวน 3 ชิ้น ( 150 x 1200 x 37 mm ) 1,200
10.ค่าจัดทำาคู่มือการใช้งาน (UserManual) 2,000
11.ค่าเอกสาร 2,000
งบประมาณ
20000 บาท
10
ขั้นตอนและแผนดำำเนินงำน
ลำำ
ดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดำห์ที่ ผู้รับผิด
ชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
17
1 คิดหัวข้อโครงงำน
2 ศึกษำและค้นคว้ำ
ข้อมูล
3 จัดทำำโครงร่ำงงำน
4 ปฏิบัติกำรสร้ำง
โครงงำน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 กำรทำำเอกสำร
รำยงำน
7 ประเมินผลงำน
8 นำำเสนอโครงงำน
ผลที่คำดว่ำจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องกำรให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดกำรทำำ
โครงงำน)
คำดว่ำจะได้ผลิตไฟฟ้ำมำกขึ้นและถูกขึ้นหลังจำกกำรทำำสำำเร็จ
สถำนที่ดำำเนินกำร
ที่โล่งกลำงแจ้งที่มีลมผ่ำนมำกๆ หน้ำบ้ำนตัวเอง
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
วิทย์ศำสตร์ สังคมศำสตร์ คณิตศำสตร์
11
แหล่งอ้ำงอิง (เอกสำร หรือแหล่งข้อมูลต่ำง ๆ ที่นำำมำใช้กำรทำำโครง
งำน)
https://www.gotoknow.org/posts/381950

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
Kanistha Chudchum
 
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
kand-2539
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
Aus2537
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
chaipalat
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
พัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
Aphinya Tantikhom
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
amixdouble
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
พัน พัน
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทย
Poppy Nana
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
Samorn Tara
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
Jiraporn
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
KawinTheSinestron
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
Guntima NaLove
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
ssuser858855
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
พัน พัน
 

Was ist angesagt? (20)

ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทย
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
สบู่จากกากกาแฟ
สบู่จากกากกาแฟสบู่จากกากกาแฟ
สบู่จากกากกาแฟ
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะ
 

Ähnlich wie โครงงานกังหันลมผลิตไฟฟ้า

โครงร่างโครงงาน ปั้น
โครงร่างโครงงาน ปั้นโครงร่างโครงงาน ปั้น
โครงร่างโครงงาน ปั้น
chris stephen
 
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อกแบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
Sendai' Toktak
 
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์
Sendai' Toktak
 
2562 final-project 605-02
2562 final-project 605-022562 final-project 605-02
2562 final-project 605-02
ssuser00a92d
 

Ähnlich wie โครงงานกังหันลมผลิตไฟฟ้า (20)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
Save wolrd , save energy com58project
Save wolrd , save energy   com58projectSave wolrd , save energy   com58project
Save wolrd , save energy com58project
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
โครงร่างโครงงาน ปั้น
โครงร่างโครงงาน ปั้นโครงร่างโครงงาน ปั้น
โครงร่างโครงงาน ปั้น
 
Save wolrd, save energy com58project1
Save wolrd,  save energy   com58project1Save wolrd,  save energy   com58project1
Save wolrd, save energy com58project1
 
Gameproject
GameprojectGameproject
Gameproject
 
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อกแบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 37-609_pornchita
2562 final-project 37-609_pornchita2562 final-project 37-609_pornchita
2562 final-project 37-609_pornchita
 
2559 project com
2559 project com2559 project com
2559 project com
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
Com
ComCom
Com
 
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
2562 final-project 605-02
2562 final-project 605-022562 final-project 605-02
2562 final-project 605-02
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
2562 final-project 605-02
2562 final-project 605-022562 final-project 605-02
2562 final-project 605-02
 
Save wolrd , save energy com58 - project
Save wolrd , save energy   com58 - projectSave wolrd , save energy   com58 - project
Save wolrd , save energy com58 - project
 

โครงงานกังหันลมผลิตไฟฟ้า

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง 33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2558 ชื่อโครงงาน กังหันลมผลิตไฟฟ้า ชื่อผู้ทำาโครงงาน 1.โชติวัฒน์ เลิศภาสนวัฒน์ ม 6/13 เลขที่ 20 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี) ………………………………………………… ระยะเวลาดำาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการ ศึกษา 2558 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทำาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1 1.นายโชติวัฒน์ เลิศภาสนวัฒน์ ม 6/13 เลขที่ 20 คำาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อ ไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) กังหันลมผลิตไฟฟ้า ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Wind Turbine ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทงานค้นค้วา ชื่อผู้ทำาโครงงาน โชติวัฒน์ เลิศภาสนวัฒน์ ชื่อที่ปรึกษา ____________________________________________________________ ____ ชื่อที่ปรึกษาร่วม ____________________________________________________________ _ ระยะเวลาดำาเนินงาน 1 เดือน ที่มาและความสำาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และ เหตุผล ของการทำาโครงงาน) เนื่องจากปัจจุบันประเทศไทยได้ให้ความสำาคัญและสนใจในการพัฒนาด้านพลังงานทดแทนและพลังงานหมุนเวียนมากขึ้น เพื่อทดแทนการนำาเข้านำ้ามันเชื้อเพลิงที่ต้องซื้อหาจากต่างประเทศ ที่นับวันมีราคาแพงขึ้น การผลิตพลังงานทดแทนอื่นๆ และพลังงานลมเป็นพลังงานทางเลือกหนึ่งในการสนับสนุนพัฒนาให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ความมั่นคงด้านพลังงานของ ประเทศ เทคโนโลยีกังหันลมจึงเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความสำาคัญ เพื่อการเลือกหาผลิตขึ้นมาใช้งานให้มีความเหมาะสมกับ ความเร็วลมที่มีอยู่ในพื้นที่ ด้วยประเทศไทยอยู่ใกล้เขตเส้นศูนย์สูตรทำาให้ได้รับแรงลมเฉลี่ยทั้งปีตำ่าถึงปานกลาง การที่จะ พัฒนาพลังงานลมเพื่อใช้ประโยชน์จึงจำาเป็นต้องศึกษารูปแบบกังหันลมผลิตไฟฟ้าให้มีความเหมาะสมกับความเร็วลมที่มีอยู่ จึงได้เริ่มดำาเนินการวิจัย จัดหา สาธิต การใช้ประโยชน์จากกังหันลมความเร็วลมตำ่า และสามารถผลิตชิ้นส่วนเพื่อประกอบ
  • 3. 3 ระบบกังหันลมผลิตไฟฟ้าขึ้นมาใช้งานในประเทศ เพื่อลดต้นทุนและสร้างความเชื่อมั่นในการใช้ประโยชน์จากกังหันลม ผลิตไฟฟ้า ด้วยแต่ละพื้นที่ ที่มีความเร็วลมแตกต่างกัน หากได้ต้นแบบกังหันลมผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่ไม่ ซับซ้อน ติดตั้งง่ายและสามารถขยายผลโดยการส่งเสริมให้มีการใช้ในครัวเรือน ชุมชนขนาดเล็ก ผู้ประกอบการ ครัวเรือน ที่ต้องการใช้พลังงานลมในการผลิตไฟฟ้าใช้ในกิจกรรมต่างๆ ของตนเอง เพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืน ในการจัดหา พลังงานให้กับตนเอง อีกทั้งจะทำาให้กังหันลมผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กที่ผลิตได้ในประเทศมีราคาถูกลง เป็นการสร้างแรงจูงใจ ในการเลือกหามาติดตั้งใช้งานในพื้นที่ที่ห่างไกลหรือในพื้นที่บริเวณเกาะของผู้ประกอบการมากขึ้น อีกทั้งยังจะช่วยรักษา สภาพแวดล้อม ไม่ทำาให้เกิดสภาวะโลกร้อน เนื่องจากเป็นพลังงานจากธรรมชาติ ไม่ต้องซื้อหา และเป็นการส่งเสริมให้เกิด การพัฒนาระบบการผลิตไฟฟ้าจากกังหันลมในอนาคตได้อย่างยั่งยืนและมีความมั่นคงด้านพลังงานได้ในระยะยาว วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทำาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อสร้างกังหันลมผลิตพลังงานไฟฟ้า 2. เพื่อสาธิตการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลม . ขอบเขตของการศึกษา 2.ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการใช้กังหันลม 2.แนวทางการแก้ปัญหาเพื่อลดการใช้พลังงานที่ก่อให้เกิดมลพิษที่ เกี่ยวข้องกับกังหันลม 3.พลังงานที่สะอาดไร้มลพิษ ที่สามารถนำามาใช้ในชีวิตประจำาวันได้ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจำากัดของการ ทำาโครงงาน) 1.การที่ทำาโครงงานชิ้นนี้ต้องใช้ทุนงบประมาณสูงมากทำาให้ยาก แก่การผลิต 2.ต้องใช้งบประมาณสูงมากๆ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทำา โครงงาน) 1.ปัจจุบันไฟฟ้าเริ่มพลิตยากมากขึ้นจึงหาทางใช้วิธีธรรมชาติใน การผลิตไฟฟ้า วิธีดำาเนินงาน แนวทางการดำาเนินงาน พลังงานลม ลม เป็นการเคลื่อนไหวของอากาศจากบริเวณที่มีความกดอากาศสูงไปสู่บริเวณที่มีความกดอากาศตำ่าในแนวนอน โดยลมที่ เกี่ยวข้องกับความเป็นอยู่ของคนเรานั้นคือ ลมระดับพื้นผิว ซึ่งแบ่งออกเป็นประเภทตามเหตุที่เกิดและบริเวณที่เกิด คือลม
  • 4. 4 ประจำำปี ลมประจำำฤดู ลมประจำำเวลำ และลมประจำำถิ่น ส่วนลมที่จะไม่พูดถึงเลย คือลมพำยุก็เป็นลมระดับพื้นผิวด้วยเช่นกัน ซึ่งลมแต่ละประเภทที่จะกล่ำวถึงในที่นี้คือ ลมประจำำปี เป็นลมที่พัดอยู่เป็นประจำำตลอดทั้งปีในส่วนต่ำงๆ ของโลกแตกต่ำงกันไปในแต่ละเขตละติจูดของโลกเนื่องจำกประเทศไทย อยู่ในบริเวณเขตศูนย์สูตร อิทธิพลของลมประจำำปีจึงไม่มีประโยชน์ในกำรนำำมำใช้ ซึงคุณเกียรติชัยถึงกับบ่นเสียดำยมำก ลมประจำำฤดู เป็นลมที่พัดเปลี่ยนทิศทำงตำมฤดูกำล เรียกว่ำ ลมมรสุม เมื่อพูดถึงลมในบทควำมนี้จะพูดถึงเฉพำะลมพื้นผิวที่ผ่ำน ประเทศไทยเท่ำนั้น ลมมรสุมที่มีควำมสำำคัญมำกก็คือ 1. ลมมรสุมฤดูร้อน พัดในแนวทิศใต้ และตะวันตกเฉียงใต้ ในช่วงเดือนมิถุนำยน-สิงหำคม 2. ลมมรสุมฤดูหนำว พัดในแนวทิศเหนือ และตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่วงเดือนธันวำคม-กุมภำพันธ์ ลมประจำำเวลำ เป็นลมที่เกิดขึ้นเนื่องจำกกำรเปลี่ยนแปลงควำมกดอำกำศระหว่ำง 2 บริเวณในระยะเวลำสั้นๆ ได้แก่ ลมบก ลมทะเล ลม ภูเขำ และลมหุบเขำ บริเวณที่อยู่ตำมชำยฝั่งอิทธิพลของลมบก ลมทะเลมีสูงมำก ยังจำำกันได้ไหมว่ำลมบกพัดจำกบกสู่ ทะเลในตอนกลำงคืน ส่วนลมทะเลพัดจำกทะเลเข้ำหำฝั่งในตอนกลำงวัน พลังงำนลม เป็นพลังงำนธรรมชำติที่สะอำดและบริสุทธิ์ ใช้แล้วไม่มีวันหมดสิ้นไปจำกโลก จึงทำำให้พลังงำนลมได้รับควำม สนใจในกำรศึกษำและพัฒนำให้เกิดประโยชน์กันอย่ำงกว้ำงขวำง ในขณะเดียวกัน กังหันลม ก็เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที สำมำรถนำำพลังงำนลมมำใช้ให้เป็นประโยชน์ได้โดยเฉพำะในกำรผลิตกระแสไฟฟ้ำและกำรสูบนำ้ำ ซึ่งมีกำรใช้งำนกันมำ แล้วอย่ำงแพร่หลำยในอดีตที่ผ่ำนมำ ในประเทศไทย หน่วยงำนที่ทำำกำรศึกษำเกี่ยวกับกำรใช้ประโยชน์จำกพลังงำนลมยังมีไม่มำกนัก ซึ่งอำจเนื่องมำจำกอัตรำ ควำมเร็วลมในประเทศที่ไม่สูงนัก รวมทั้งมีข้อจำำกัดทำงด้ำนงบประมำณ อย่ำงไรก็ดี กำรไฟฟ้ำฝ่ำยผลิตแห่งประเทศไทย ( กฟผ.) ได้ติดตำมศึกษำเรื่องนี้มำตลอดระยะเวลำกว่ำ 17 ปี ผลที่ได้ในขณะนี้นับว่ำประสบควำมสำำเร็จไปขั้นหนึ่งแล้ว คือ สำมำรถจ่ำยไฟฟ้ำจำกพลังงำนลมที่ผลิตได้ไปใช้งำนจริง แม้ว่ำจะมีกำำลังผลิตน้อยเมื่อเทียบกับพลังงำนชนิดอื่น ๆ แต่ กฟผ. ก็ได้ตั้งเป้ำหมำยที่จะพัฒนำพลังงำนชนิดนี้ต่อไปให้มำกที่สุดเท่ำที่จะเป็นไปได้ในขอบเขตศักยภำพของพลังงำนลมที่ มีอยู่ในประเทศ เทคโนโลยีกังหันลม พลังงำนลม เป็นพลังงำนจำกธรรมชำติที่สำมำรถนำำมำใช้ประโยชน์ ได้ โดยอำศัยเครื่องมือที่เรียกว่ำ “ กังหันลม ” เป็นตัว สกัดกั้นพลังงำนจลน์ของกระแสลม แล้วเปลี่ยนเป็นพลังงำนกล จำกนั้นจึงนำำพลังงำนกลที่ได้ไปใช้ประโยชน์ เช่น สูบนำ้ำ หรือใช้ผลิตไฟฟ้ำ เป็นต้น กังหันลมที่ใช้กันมำกในประเทศไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ได้แก่ กังหันลมแบบใบกังหันไม้ ใช้ สำำหรับวิดนำ้ำเข้ำนำข้ำวบริเวณจังหวัดฉะเชิงเทรำ กังหันใบเสื่อลำำแพนใช้วิดนำ้ำเค็มเข้ำนำเกลือบริเวณจังหวัด สมุทรสงครำม และกังหันลมแบบใบกังหันหลำยใบทำำด้วยแผ่นเหล็กใช้สำำหรับสูบนำ้ำลึก เช่น นำ้ำบำดำล นำ้ำบ่อ ขึ้นไปเก็บใน ถังกักเก็บ ชนิดของกังหันลม กำรจำำแนกชนิดของกังหันลม มี 2 วิธี กล่ำวคือ 1.กำรจำำแนกตำมลักษณะแนวแกนหมุนของกังหัน จำำแนกได้ 2 ประเภท ได้แก่ กังหันลมที่มีแกนหมุนในแนวแกนนอน และ กังหันลมที่มีแกนหมุนใน แกนแนวตั้ง 2.กำรจำำแนกตำมลักษณะแรงขับที่กระแสลมกระทำำต่อใบกังหัน มี 2 แบบ คือ กำรขับด้วยแรงยก (Lift force) และ กำรขับ ด้วยแรงฉุดหรือแรงหน่วง (Drag force) กังหันลมแนวแกนนอน (Horizontal Axis Wind Turbine) เป็นกังหันลมที่มีแกนหมุนขนำนกับทิศทำงของลมโดยมีใบพัดเป็นตัวตั้งฉำกรับแรงลม มีอุปกรณ์ควบคุมกังหันให้หันไปตำม
  • 5. 5 ทิศทำงของกระแสลม เรียกว่ำ หำงเสือ และมีอุปกรณ์ป้องกันกังหันชำำรุดเสียหำยขณะเกิดลมพัดแรง เช่น ลมพำยุและตั้งอยู่ บนเสำที่แข็งแรง กังหันลมแบบแกนนอน ได้แก่ กังหันลมวินด์มิลล์ ( Windmills) กังหันลมใบเสื่อลำำแพน นิยมใช้กับเครื่อง ฉุดนำ้ำ กังหันลมแบบกงล้อจักรยำน กังหันลมสำำหรับผลิตไฟฟ้ำแบบพรอบเพลเลอร์ (Propeller) กังหันลมแนวแกนตั้ง (Vertical Axis Wind Turbine) เป็นกังหันลมที่มีแกนหมุนและใบพัดตั้งฉำกกับกำรเคลื่อนที่ของลมในแนวรำบ ซึ่งทำำให้สำมำรถรับลมในแนวรำบได้ทุก ทิศทำง กำรจำำแนกตำมลักษณะตำมแนวแกนหมุนนิยมมำกเพรำะเด่นชัดที่สุด และเข้ำใจได้ง่ำย ส่วนกำรจำำแนกตำมลักษณะแรง ขับของกระแสลมนั้นต้องใช้ควำมรู้ทำงอำกำศพลศำสตร์ (Aerodynamic) กังหันลมแบบแนวแกนนอนเป็นแบบที่นิยมใช้กันอย่ำงแพร่หลำย ส่วนมำกออกแบบให้เป็นชนิดที่ขับใบกังหันด้วยแรงยก แต่อย่ำงไรก็ตำม กังหันลมแบบแนวแกนตั้ง ซึ่งได้รับกำรพัฒนำมำกในระยะหลังก็ได้รับควำมสนใจมำกขึ้นเช่นกัน ทั้งนี้ เนื่องจำกข้อดีกว่ำแบบแนวแกนนอนคือ ในแบบแนวแกนตั้งนั้นไม่ว่ำลมจะเข้ำมำทิศไหนก็ยังหมุนได้ โดยไม่ต้องมีอุปกรณ์ ควบคุมให้กังหันหันหน้ำเข้ำหำลม นอกจำกนี้แล้วแบบแนวแกนตั้งนั้น เครื่องกำำเนิดไฟฟ้ำและระบบกำรส่งกำำลังวำงไว้ใกล้ พื้นดินมำกกว่ำแบบแกนนอน เวลำเกิดปัญหำแก้ไขง่ำยกว่ำแบบแกนนอนที่ติดอยู่บนหอคอยสูง ชนิดของกังหันลมผลิตไฟฟ้ำ 1.กังหันลมชนิดแกนหมุนแนวตั้ง (Vertical Axis Wind Turbine) เป็นกังหันลมที่มีแกนหมุนตั้งฉำกกับพื้นรำบหรือตั้งฉำก รับทิศทำงกำรเคลื่อนที่ของลม โดยมีใบพัดยึดติดขนำนกับแกนหมุน ทำำหน้ำที่รับแรงลมที่เคลื่อนตัวมำกระทบทำำให้เกิดกำร หมุนของใบพัด โดยสำมำรถรับแรงลมในแนวนอนได้ทุกทิศทำง อย่ำงไรก็ดีกังหันลมชนิดนี้ไม่ค่อยได้รับควำมนิยมใช้ใน เชิงพำณิชย์ โดยมีกำรใช้งำนอยู่ประมำณร้อยละ 25 ของกังหันลมที่มีใช้งำนอยู่ในปัจจุบัน 2.กังหันลมชนิดแกนหมุนแนวนอน (Horizontal Axis Wind Turbine) เป็นกังหันลมที่มีแกนหมุนขนำนกับพื้นรำบหรือ ขนำนกับทิศทำงกำรเคลื่อนที่ของลม โดยมีใบพัดยึดติดตั้งฉำกกับแกนหมุน ทำำหน้ำที่รับแรงลมที่เคลื่อนตัวมำกระทบทำำให้ เกิดกำรหมุนของใบพัด โดยกังหันลมชนิดแกนหมุนแนวนอนแบบสำมใบพัดซึ่งมีกำรพัฒนำมำอย่ำงต่อเนื่อง เป็นกังหันลมที่ ได้รับควำมนิยมใช้งำนในเชิงพำณิชย์อย่ำงแพร่มำกที่สุดถึงร้อยละ 75 ของกังหันลมที่มีกำรใช้งำนในปัจจุบัน รูปแสดงองค์ประกอบของกังหันลมแกนหมุนแนวนอน 1.ชุดแกนหมุนใบพัด (Rotor Blade) [หมำยเลข 2] เป็นส่วนแรกของกังหันลมผลิตไฟฟ้ำที่ทำำหน้ำที่รับหรือปะทะกับแรงลม โดยประกอบด้วยชิ้นส่วนต่ำง ๆ ดังนี้ - ดุมแกนหมุน (Nose Cone) เป็นตัวครอบแกนหมุนที่อยู่ส่วนหน้ำสุด มีรูปร่ำงเป็นวงรีคล้ำยไข่ เพื่อกำรลู่ลมและมองดู สวยงำม - ใบพัด (Blade) [หมำยเลข 1] เป็นส่วนที่ยึดติดกับแกนหมุน (Rotor Hub) ทำำหน้ำที่รับพลังงำนจลน์ (Kinetic Energy) จำกกำรเคลื่อนที่ของลม และหมุนแกนหมุนเพื่อส่งถ่ำยกำำลังไปยังเพลำแกนหมุนหลัก ถูกออกแบบโดยใช้หลักกำรทำง พลศำสตร์ของอำกำศ เพื่อให้มีนำ้ำหนักเบำพอเหมำะและเหนียวทนทำนรับกับแรงลมได้ดี ใบกังหันลมถือเป็นหัวใจของ กังหันลมผลิตไฟฟ้ำและมีควำมละเอียดสูงในกำรออกแบบ เพรำะหำกสำมำรถออกแบบให้เหมำะสมและมีประสิทธิภำพสูง ก็ จะทำำให้กังหันลมสำมำรถทำำงำนได้เป็นอย่ำงดีที่ควำมเร็วเปลี่ยนไป - จุดปรับหมุนใบพัด (Pitch Drive) [หมำยเลข 3] อยู่ระหว่ำงช่วงรอยต่อระหว่ำงใบพัดกับแกนหมุน ทำำหน้ำที่ในกำรปรับ ใบพัดให้มีควำมพร้อมและเหมำะสมเมื่อเริ่มรับแรงลมตำ่ำ ๆ เพื่อกำรเริ่มหมุนใบพัด (Cut In) และปรับใบพัดให้ลู่ลมโดย อัตโนมัติเพื่อช่วยในกำรหยุดหมุนของแกนหมุนเมื่อได้รับแรงลมเกินพิกัด (Cut Out) หรือกรณีซ่อมบำำรุงรักษำ - ชุดปรับยึดแกนหมุน (Rotor Lock) เป็นจำนหมุนที่ยึดติดส่วนท้ำยของแกนหมุน มีระบบยึดแน่นไม่ให้แกนหมุนมีกำรขับ เคลื่อนหมุนเมื่อได้รับแรงลมเกินพิกัดหรือกรณีซ่อมบำำรุงรักษำ 2.ชุดห้องเครื่อง (Nacelle) [หมำยเลข 11] เป็นส่วนที่สำำคัญของกังหันลมเพรำะมีองค์ประกอบย่อยมำกที่สุด ถูกออกแบบมำ ให้มีควำมเหมำะสมเพื่อเป็นตัวป้องกันสภำพอำกำศภำยนอกให้กับอุปกรณ์ที่อยู่ภำยใน และมีพื้นที่ภำยในเพียงพอสำำหรับ กำรขึ้นไปติดตั้งและบำำรุงรักษำอุปกรณ์ต่ำง ๆ ได้ องค์ประกอบย่อยที่ติดตั้งอยู่ภำยในชุดห้องเครื่องมีดังนี้ - เพลำแกนหมุนหลัก (Main Shaft) [หมำยเลข 5] ทำำหน้ำที่รับแรงจำกแกนหมุนใบพัด และส่งผ่ำนเข้ำสู่ห้องปรับเปลี่ยนทด
  • 6. 6 รอบกำำลัง (Gear Box) - ห้องทดรอบกำำลัง (Gear Box) [หมำยเลข 6] ทำำหน้ำที่เป็นตัวควบคุมปรับเปลี่ยนทดรอบกำรหมุนและถ่ำยแรงของเพลำ แกนหมุนหลักที่มีควำมเร็วรอบตำ่ำ ไปยังเพลำแกนหมุนเล็ก (Small Shaft) ของเครื่องกำำเนิดไฟฟ้ำ เพื่อให้มีควำมเร็วรอบที่ สูงขึ้นและมีควำมเร็วสมำ่ำเสมอในกำรหมุนเครื่องกำำเนิดไฟฟ้ำ - เบรก (Brake) [หมำยเลข 4] เป็นระบบกลไกเพื่อใช้ควบคุมและยึดกำรหยุดหมุนอย่ำงสิ้นเชิงของใบพัดและเพลำแกนหมุน ของกังหันลม - เพลำแกนหมุนเล็ก (Small Shaft) [หมำยเลข 12] ทำำหน้ำที่รับแรงที่มีควำมเร็วรอบสูงจำกห้องทดรอบกำำลัง (Gear Box) เพื่อหมุนเครื่องกำำเนิดไฟฟ้ำ - เครื่องกำำเนิดไฟฟ้ำ (Generator) [หมำยเลข 7] ทำำหน้ำที่แปลงพลังงำนกลที่ได้รับเป็นพลังงำนไฟฟ้ำ มีใช้ 2 ประเภท คือ Synchronous Generator เป็นเครื่องกำำเนิดไฟฟ้ำที่หมุนด้วยควำมเร็วคงที่ คือควำมเร็ว Synchronous Speed (50 Hz) พลังงำนไฟฟ้ำที่ผลิตได้จะมีควำมถี่และแรงดันไฟฟ้ำเท่ำกับควำมถี่และแรงดันไฟฟ้ำของระบบสำยส่ง Induction Generator เป็นเครื่องกำำเนิดไฟฟ้ำที่มีโครงสร้ำงเหมือน Induction Motor โดยป้อนไฟฟ้ำกระแสสลับเข้ำที่ชุดส เลเตอร์ ทำำให้เกิดฟลักซ์เป็นขั้วแม่เหล็กหมุนตำมสภำวะกระแสสลับ ไปเหนี่ยวนำำแกนโรเตอร์ให้หมุนตำมในตอนเริ่มต้น และเมื่อมีแรงมำขับโรเตอร์ให้หมุนเกินกว่ำ Synchronous Speed จะเกิดกำรเหนี่ยวนำำย้อนกลับ ทำำให้เกิดกระแสไหลออก จำกเครื่องกำำเนิดไฟฟ้ำจ่ำยย้อนกลับเข้ำระบบสำยส่ง -ระบบควบคุมไฟฟ้ำ (Controller System) [หมำยเลข 8] เป็นระบบควบคุมกำรทำำงำนและกำรจ่ำยกระแสไฟฟ้ำออกสู่ระบบ ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ -ระบบระบำยควำมร้อน (Cooling) เป็นระบบเพื่อใช้ระบำยควำมร้อนจำกกำรทำำงำนของกลไกภำยในห้องทดรอบกำำลังและ เครื่องกำำเนิดไฟฟ้ำที่มีกำรทำำงำนอย่ำงต่อเนื่องตลอดเวลำ -เครื่องวัดควำมเร็วและทิศทำงลม (Anemometer and Wind Vane) [หมำยเลข 9, 10] เป็นส่วนที่ติดตั้งอยู่ภำยนอกห้อง เครื่อง โดยเชื่อมต่อสำยสัญญำณเข้ำสู่ระบบคอมพิวเตอร์สำำหรับเป็นตัวชี้วัดปริมำณควำมเร็วและทิศทำงลม เพื่อที่ คอมพิวเตอร์จะได้ควบคุมกลไกกำรทำำงำนอื่น ๆ ของกังหันลมได้อย่ำงถูกต้อง รูปแสดงเครื่องวัดควำมเร็วและทิศทำงลม 3.ชุดเสำ (Tower) [หมำยเลข 15] เป็นตัวแบกรับส่วนที่เป็นชุดแกนหมุนใบพัดและตัวห้องเครื่องที่อยู่ข้ำงบน ปัจจุบันมีใช้ งำน 2 แบบ คือ แบบเสำกลมกลวง (Tubular) และเสำโครงถัก (Lattice) โดยปัจจุบันนิยมใช้เสำแบบกลมกลวงมำกกว่ำ ทั้งนี้ชุดเสำดังกล่ำวจะต้องมีกำรออกแบบในเชิงวิศวกรรมมำเป็นอย่ำงดีก่อนกำรติดตั้ง เพื่อให้สำมำรถรับนำ้ำหนักและแรง ปะทะของลมต่อพื้นที่กวำดใบพัด ขณะที่ควำมสูงของเสำจะมีควำมแตกต่ำงกันขึ้นอยู่กับระยะควำมสูงในกำรรับแรงลม ขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงใบพัด และขนำดของกังหันลม องค์ประกอบย่อยของชุดเสำมีดังนี้ - แกนคอหมุนรับทิศทำงลม (Yaw Drive) [หมำยเลข 13] เป็นตัวขับเคลื่อนหมุนแกนหมุนใบพัด เพื่อให้ใบพัดรับแรงลมตำม ทิศทำงกำรเคลื่อนที่ของลม - ระบบควบคุมกำรหมุน (Yaw Motor หรือ Hydraulic System) [หมำยเลข 14] เป็นตัวบังคับและควบคุมกลไกกำรขับ เคลื่อนหมุนเพื่อให้ใบพัดรับแรงลมตำมทิศทำงกำรเคลื่อนที่ของลม และชะลอกำรหมุนและหยุดหมุนของใบพัด รูปแสดงแกนคอหมุนและระบบควบคุมกำรหมุนเพื่อรับแรงลมตำมทิศทำงลม - บันไดหรือลิฟต์ (Stair or Lift) ใช้ในกำรขึ้นลงสำำหรับกำรตรวจหรือซ่อมบำำรุงรักษำอุปกรณ์ที่อยู่ด้ำนบนเสำ - ระบบอุปกรณ์ควบคุมและจอภำพ ติดตั้งอยู่ด้ำนล่ำงสุดของเสำเพื่อให้เจ้ำหน้ำที่ใช้ในกำรติดต่อ ตรวจสอบ และตรวจดู ข้อมูลระบบกำรทำำงำนต่ำง ๆ ของกังหันลมผลิตไฟฟ้ำ 4.ฐำนรำก (Foundation) เป็นส่วนที่รับนำ้ำหนักทั้งหมดของชุดกังหันลม ทำำเป็นฐำนคอนกรีตเสริมเหล็กตั้งอยู่บนเสำเข็มที่ ได้รับกำรคำำนวณออกแบบ และทำำกำรก่อสร้ำงอย่ำงถูกวิธีตำมหลักวิศวกรรมโยธำ
  • 7. 7 ขนาดของกังหันลมผลิตไฟฟ้า ขนาดของกังหันลมผลิตไฟฟ้าถูกพัฒนาขึ้นเพื่อให้มีความสามารถในการผลิตไฟฟ้าได้ตามความต้องการใช้งาน ซึ่งจะขึ้น อยู่กับขนาดกำาลังผลิตไฟฟ้า (Capacity) เส้นผ่านศูนย์กลางใบพัด (Rotor Diameter) และพื้นที่กวาดของใบพัด (Swept Area) ของกังหันลมผลิตไฟฟ้ารุ่นนั้น 1.กังหันลมขนาดจิ๋ว (Micro Wind Turbine) มีขนาดกำาลังผลิตไฟฟ้าน้อยกว่า 1.5 กิโลวัตต์ เหมาะสำาหรับติดตั้งผลิตไฟฟ้า ในพื้นที่ห่างไกลเพื่อจัดเก็บกระแสไฟฟ้าลงในแบตเตอรี่ และมีภาระทางไฟฟ้าไม่มากนัก เช่น การใช้กับเครื่องมือสื่อสาร หรือแสงสว่างในบางเวลา 2.กังหันลมขนาดเล็ก (Small Wind Turbine) มีขนาดกำาลังผลิตไฟฟ้าอยู่ระหว่าง 1.5-20 กิโลวัตต์ เหมาะสำาหรับติดตั้ง ผลิตไฟฟ้าในพื้นที่ห่างไกลเพื่อจัดเก็บกระแสไฟฟ้าลงในแบตเตอรี่ และมีภาระทางไฟฟ้าไม่มากนัก เช่น ใช้ตามครัวเรือน หรือสำานักงานขนาดเล็กที่อยู่ห่างไกล 3.กังหันลมขนาดกลาง (Medium Wind Turbine) มีขนาดกำาลังผลิตไฟฟ้าอยู่ระหว่าง 20-200 กิโลวัตต์ เหมาะสำาหรับติด ตั้งผลิตไฟฟ้าในระบบผสมผสานกับการผลิตไฟฟ้าชนิดอื่น เช่น ระบบผสมผสานดีเซล-เซลล์แสงอาทิตย์-กังหันลม เพื่อใช้ ในระบบ Minigrid ตามชุมชนห่างไกล 4.กังหันลมขนาดใหญ่ (Large Wind Turbine) มีขนาดกำาลังผลิตไฟฟ้าอยู่ระหว่าง 200-1,500 กิโลวัตต์ เหมาะสำาหรับติด ตั้งผลิตไฟฟ้าแบบทุ่งกังหันลมบนฝั่ง เพื่อเชื่อมต่อไฟฟ้าเข้ากับระบบสายส่ง (Grid Connection) 5.กังหันลมขนาดใหญ่มาก (Very Large Wind Turbine) มีขนาดกำาลังผลิตมากกว่า 1,500 กิโลวัตต์ เหมาะสำาหรับติดตั้ง ผลิตไฟฟ้าแบบทุ่งกังหันลมบนฝั่งและนอกชายฝั่ง เพื่อเชื่อมต่อไฟฟ้าเข้ากับระบบสายส่ง (Grid Connection) เครื่องกำาเนิดไฟฟ้า หลักการเบื้องต้นของเครื่องกำาเนิดไฟฟ้า เครื่องกำาเนิดไฟฟ้า (Generator) หรือ ไดนาโม (Dynamo) เป็นเครื่องกลไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า แรงเคลื่อนไฟฟ้า แรงเคลื่อนไฟฟ้า คือแรงดันไฟฟ้าเหนึ่ยวนำา (Induced Emf.) ที่เกิดขึ้นจากการเหนี่ยวนำาแม่เหล็กไฟฟ้า ด้วยการทำาให้เส้น แรงแม่เหล็กเกิดการเปลี่ยนค่าในหนึ่งหน่วยตามสมการไฟฟ้าต่อไปนี้ ดังนั้นถ้าทำาให้เส้นแรงแม่เหล็ก จำานวน 1 เวเบอร์ เกิดการเปลี่ยนค่าในเวลา 1 นาที จะให้กำาเนิดแรงเคลื่อนไฟฟ้า 1 โวลต์ การเปลี่ยนค่าสนามแม่เหล็ก ด้วยการเหนี่ยวนำาแม่เหล็กไฟฟ้า (Electro Magnetec Induction) นั้น กระทำาได้ 2 วิธี คือ ให้ ขดลวดในสนามแม่เหล็ก (Moving Coil) และสนามแม่เหล็กหมุนในขดลวด (Rotating Field หรือ Moving Field) ขดลวดหมุนในสนามแม่เหล็ก ตัวนำาเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก จะให้กำาเนิดแรงเคลื่อนไฟฟ้า ตามกฎมือขวาของเฟลมมิง 1 วางตัวนำาในสนามแม่เหล็ก N - S 2 ทำาให้ตัวเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็กจะให้กำาเนิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าบนตัวนำา มีทิศทาง เป็นไปตามกฏมือขวาของเฟลมมิง และ 3 แสดงให้เห็นถึงการให้กำาเนิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าบนตัวนำา เมื่อให้ตัวนำาเคลื่อนที่ตัด สนามแม่เหล็ก ขณะเดียวกันจะให้กำาเนิดแรงผลักตัวนำาเล็กน้อย ตามกฎมือซ้ายของเฟลมมิงในทิศทางตรงกันข้าม การเหนี่ยวนำาแม่เหล็กไฟฟ้าลักษณะนี้ เป็นหลักการเบื้องต้นของเครื่องกำาเนิดไฟฟ้าทั้งกระแสตรง (D.C Genertator) และ กระแสสลับ (A.C Tenerator : Alternator) ขนาดเล็กให้กำาเนิดแรงดันและกำาลังค่อนข้างตำ่า สนามแม่เหล็กหมุนในขดลวด
  • 8. 8 ให้ขดลวดอยู่กับที่ ต่อปลายทั้งสองเข้ากับขั้วของกัลวานอมิเตอร์ เมื่อทำาให้แท่งแม่เหล็กเคลื่อนที่กลับไปกลับมาภายในขด ลวด จะพบว่าเข็มของกัลวานอมิเตอร์แกว่ง (กระดิก) กลับไปกลับมาเช่นเดียวกันแสดงว่ามีกระแสสลับเกิดขึ้นนแล้วบนขด ลวด การเหนี่ยวนำาแม่เหล็กด้วยวิธีนี้ตรงกันข้ามกับวิธีแรก (ขดลวดหมุน) คือขดลวดอยู่กับที่ ให้สนามแม่เหล็กเป็นตัวหมุน ตัดขดลวด แรงเคลื่อนไฟฟ้ากระแสสลับจะเกิดขึ้นบนขดลวดซึ่งอยู่กับที่ การเหนี่ยวนำาแม่เหล็กไฟฟ้าลักษณะนี้ เป็นหลัก การเบื้องต้นของเครื่องกำาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternator) ขนาดใหญ่ที่ให้กำาเนิดแรงดัน (Voltage) และกำาลังไฟฟ้าสูง พลังงานไฟฟ้าที่มีใช้กันอยู่อย่างแพร่หลายในโลกปัจจุบัน ให้กำาเนินจาการเหนี่ยวนำาแม่เหล็ก หมุนในขดลวด (Rotating Field หรือ Moving Field) วิธีนี้ทั้งนั้น ต่อไปนี้เป็นตัวอย่างของเครื่องกำาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ระบบไฟ 3 - เฟส ชนิดสนามแม่เหล็กหมุน เครื่องกำาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง เป็นหลักการเบื้องต้นของเครื่องกำาเนิดไฟฟ้ากระแสตรงที่ประกอบด้วยขดลวดเพียงขดเดียว (2 - ตัวนำา) ซึ่งปลายทั้งสองต่อ เข้ากับซี่ทองแดงของคอมมิวเตเตอร์ เมื่อทำาให้หมุนในสนามแม่เหล็ก N - S จะให้กำาเนิดแรงเคลื่อนไฟฟ้ากระแสสลับบน ตัวนำาทั้งสองของขดลวด ตามกฎมือขวาของเฟลมมิง และจะเปลี่ยนเป็นกระแสตรงเมื่อต่อผ่านซี่ทองแดงของคอมิวเตอร์ หลักการเบื้องต้นของเครื่องกำาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง เครื่องกำาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ลักษณะเดียวกับเครื่องกำาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง ต่างกันตรงที่ปลายสายทั้งสองของขดลวดต่อเข้ากับแหวนทองแดง หรือสลิป ริง (Slip Ring) จึงนำากระแสสลับที่ให้กำาเนิดบนตัวนำาไปใช้งานโดยตรง ด้วยการต่อผ่านสลิปริง หลักการเบื้องต้นของเครื่องกำาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ โครงสร้างและส่วนประกอบของเครื่องกำาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง 1.โครง(เปลือกหุ้ม) (Yoke) มีรูปร่างเป็นรูปทรงกระบอกกลวง ทำาด้วยเหล็กมีขนาดและรูปร่างตามที่ต้องการ ภายในมีขั้วแม่เหล็กติดอยู่ หน้าที่หลักของ เปลือกหุ้มหรือโครง คือ ให้เป็นทางเดินของเส้นแรงแม่เหล็กหรือให้เป็นส่วนหนึ่งของวงจรแม่เหล็ก 2.ขดลวดสนามแม่เหล็ก(Field Windings) เป็นขดลวดทองแดงท่พันบนแกนขั้วแม่เหล็ก เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน จะสร้างขั้วแม่เหล็กให้เกิดขึ้นบนแกนขั้วแม่เหล็ก มี ขั้วเหนือและขั้วใต้เพื่อให้เส้นแรงแม่เหล็กออกจากขั้วแม่เหล็กผ่านช่องว่างอากาศไปยังขั้วใต้ผ่านเปลือกหุ้มหรือโครงแล้ว ย้อนกลับมายังขั้วเหนือ 3.แกนขั้วแม่เหล็ก(Pole shoes) ทำาด้วยแผ่นเหล็กไฟฟ้าแผ่นบางๆชนิดที่เคลือบผิวทั้งสองด้านด้วยวัสดุฉนวน แต่ล่ะแผ่นปั้มให้เป็นรูปและมีขนาดตามที่ ต้องการ ใช้หลายๆแผ่นมาเรียงซ้อนกัน(เพื่อลดความสูญเสียในแกนเหล็กให้น้อยลง) ให้ได้ขนาดของความหนาหรือความ ยาวตามต้องการ หน้าที่หลักของแกนขั้วแม่เหล็ก คือ ให้กำาเนิดเส้นแรงแม่เหล็ก ไหลจากขั้วเหนือผ่านช่องอากาศไปยังขั้ว ใต้ ผ่านเปลือกหุ้มหรือโครงแล้วย้อนกลับมายังขั้วเหนือ 4.อาร์เมเจอร์(Armature) ทำาด้วยแผ่นเหล็กไฟฟ้าแผ่นบางๆ ที่วางเรียงซ้อนกันกับแกนขั้วแม่เหล็ก มีขนาดและรูปร่างเป็นทรงกระบอกตัน รอบๆเซาะ เป็นร่องสล็อต สำาหรับใส่ตัวนำาที่ต้องการให้เกิดพลังงานไฟฟ้า เมื่ออาเมเจอร์หมุนในสนามแม่เหล็ก อาร์เมเจอร์ที่ใช้กันอยู่ ในปัจจุบัน เรียกว่า ดรัมอาร์เมเจอร์ หรือ อาร์เมเจอร์แบบกลอง 5.คอมมิวเตเตอร์(Commutator)
  • 9. 9 เป็นส่วนที่รองรับปลายสายทั้งหมดของขดลวดอาร์เมเจอร์ ประกอบด้วย แท่งทองแดงหลายๆแท่ง แต่ล่ะแท่งเรียกว่า ซี่ ทองแดง อัดรวมกันอยู่บนแกนเดียวกันระหว่างซี่ต่อซี่ทองแดง คั่นด้วยฉนวน โดยทั่วไปใช้แผ่น ไมก้า มีหน้าที่หลัก คือ เปลี่ยนกระแสไฟฟ้าสลับที่เกิดขึ้นบนขดลวดอาร์เมเจอร์ให้กลายเป็นไฟฟ้ากระแสตรง 6.แปรงถ่าน(Brushes) ทำาด้วยแท่งคาร์บอน ปกติวางให้สัมผัสอยู่กับหน้าสัมผัสของซี่ทองแดงของคอมมิวเตเตอร์หรือหน้าสัมผัสของสลิปริง เพื่อนำา กระแสออกไปจ่ายโหลด หรือนำากลับเข้าไปยังขดลวดของอาร์เมเจอร์ 7.ฝาปิดครอบท้าย ใช้สำาหรับปิดท้ายและยึดอกนอาร์เมเจอร์ให้อยู่กับที่ พร้อมทั้งป้องกันสิ่งแปลกปลอมเข้าไปในตัวเครื่องกำาเนิดไฟฟ้า..... เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.แม่เหล็กแรงสูง 12 คู่ (Neodymiam 40x25x10mm) 6,000 2.Bearing Hub 4,500 3.ลวดทองแดงอาบนำ้ายาวานิช 10 ขด ขนาด 13-18 300 4.เรซิ่น (Polyester resin) 300 5.เหล็กฉาก,เหล็กตัวซี,เหล็กกลม 500 6.น็อตตัวเมีย 60 ตัว 180 7.ไดโอดบริดจ์เร็คติฟายด์ 35 A 600 v 2,500 8.อุปกรณ์เชื่อมเหล็ก ตัด เจียร เลื่อย สิ่ว กบ กระดาษทราย วัดระดับ วงเวียน ดินสอ กระดาษเขียนแบบ 500 9.ไม้ขนาด กว้าง 6 นิ้ว ยาว 48 นิ้ว หนา 1.5 นิ้ว จำานวน 3 ชิ้น ( 150 x 1200 x 37 mm ) 1,200 10.ค่าจัดทำาคู่มือการใช้งาน (UserManual) 2,000 11.ค่าเอกสาร 2,000 งบประมาณ 20000 บาท
  • 10. 10 ขั้นตอนและแผนดำำเนินงำน ลำำ ดับ ที่ ขั้นตอน สัปดำห์ที่ ผู้รับผิด ชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 17 1 คิดหัวข้อโครงงำน 2 ศึกษำและค้นคว้ำ ข้อมูล 3 จัดทำำโครงร่ำงงำน 4 ปฏิบัติกำรสร้ำง โครงงำน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 กำรทำำเอกสำร รำยงำน 7 ประเมินผลงำน 8 นำำเสนอโครงงำน ผลที่คำดว่ำจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องกำรให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดกำรทำำ โครงงำน) คำดว่ำจะได้ผลิตไฟฟ้ำมำกขึ้นและถูกขึ้นหลังจำกกำรทำำสำำเร็จ สถำนที่ดำำเนินกำร ที่โล่งกลำงแจ้งที่มีลมผ่ำนมำกๆ หน้ำบ้ำนตัวเอง กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง วิทย์ศำสตร์ สังคมศำสตร์ คณิตศำสตร์
  • 11. 11 แหล่งอ้ำงอิง (เอกสำร หรือแหล่งข้อมูลต่ำง ๆ ที่นำำมำใช้กำรทำำโครง งำน) https://www.gotoknow.org/posts/381950