SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 18
Downloaden Sie, um offline zu lesen
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2558
ชื่อโครงงาน การละเล่นพื้นบ้านภาคเหนือ
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาวศิริรัตน์ คาแสง เลขที่ 32 ชั้น ม.6 ห้อง 3
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาวศิริรัตน์ คาแสง เลขที่ 32
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) : การละเล่นพื้นบ้านภาคเหนือ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) : North Regional performance
ประเภทโครงงาน : โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน : นางสาวศิริรัตน์ คาแสง
ชื่อที่ปรึกษา : ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เนื่องจากวัฒนธรรมเป็นสิ่งที่สาคัญในการดารงชีวิตของมนุษย์ไม่ว่าจะเป็น วัฒนธรรมทางศาสนา ภูมิ
ปัญญา ประเพณี รวมไปถึงวัฒนธรรมการละเล่นต่างๆด้วย แต่ในประเทศไทยนั้นมีวัฒนธรรมที่ไม่
เหมือนกันของแต่ละภาค ผู้จัดทาจึงได้นาการละเล่นของบางภาคได้แก่ ภาคเหนือ มานาเสนอ ซึ่งภาคเหนือก็
เป็นภาคที่มีการละเล่นที่หลากหลาย อย่างเช่น อีหึ่ม หมากข่าง เล่นตากระโดด ฯ เพื่อเป็นความรู้ให้แก่ผู้อ่าน
หรือผู้สนใจได้ศึกษาวัฒนธรรมการละเล่นของเรา และนาไปประยุคใช้ในชีวิตประจาวัน
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อให้คนไทยได้ตระหนักถึงการละเล่นพื้นบ้านภาคเหนือ
2. เพื่อให้คนไทยรุ่นใหม่หันมาอนุรักษ์การละเล่นพื้นบ้านภาคเหนือ
3. เพื่อให้การละเล่นพื้นบ้านภาคเหนือไม่สูญหายไป
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1. ความสาคัญของการละเล่นพื้นบ้านภาคเหนือ
2. ที่มาของการละเล่นพื้นบ้านภาคเหนือ
3. การละเล่นพื้นบ้านภาคเหนือ
4. ประโยชน์ของการละเล่น
5. วิธีการอนุรักวัฒนธรรมไทย
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
การละเล่นพื้นบ้านภาคเหนือ
ความหมาย การละเล่น คาว่า “การละเล่น” หมายถึง การกระทาหรือกิจกรรมใด ๆ ที่ก่อให้เกิดความ
สนุกสนานรื่นเริงบันเทิงใจ ซึ่งมักมีกติกาการเล่นหรือการแข่งขันง่าย ๆ ไม่สลับซับซ้อนมากนัก จุดประสงค์
ส่วนใหญ่ มุ่งเพื่อให้เกิดความสนุกสนาน เพื่อออกกาลังกาย และก่อให้เกิดความสามัคคีทั้งระหว่างผู้เล่นและ
ผู้ชม กติกาอาจกาหนดขึ้นไว้ก่อนและเคยปฏิบัติมาแล้วหรือ ตกลงกันตั้งขึ้นขณะจะเริ่มเล่นก็ได้คือ ไม่ค่อย
พิถีพิถันในเรื่องกติกามากนัก
การละเล่นพื้นบ้าน หมายถึง กิจกรรมที่ประชาชนร่วมกันทาขึ้นเพื่อให้สนุกสนานและอื่น ๆ ในแต่
ละท้องถิ่นหรือตาบลหมู่บ้าน บางอย่างอาจเหมือนกันกับท้องถิ่นอื่น และบางอย่างอาจแตกต่างกันไปบ้าง
ตามความนิยมของท้องถิ่นนั้น ๆ การละเล่นต่างกับกีฬา การละเล่นแตกต่างจากกีฬาตรงที่การละเล่น จัดทา
เพื่อมุ่งความสนุกสนานเป็นใหญ่ ไม่มุ่งที่จะเอาชนะกันอย่างจริงจัง ทั้งผู้เล่นก็ไม่จาเป็นต้องได้ฝึกซ้อมเตรียม
ตัวมาก่อนแต่อย่างใด คือ จะเล่นเมื่อไรก็อาจเข้าร่วมกิจกรรมเลยก็ได้ส่วนกีฬา หมายถึง การละเล่นที่ต้องใช้
กาลังพอสมควร การแข่งก็มีกติกาวางไว้แน่นอน และเป็นการกระทาที่ สลับซับซ้อน มีกลวิธีการเล่นและผู้
เล่นซึ่งเรียกว่า นักกีฬา ก็ต้องได้รับการฝึกฝนมาก่อนพอสมควร ทั้งมีเทคนิคหรือกลวิธีการเล่นต่าง ๆ
มากมาย เพื่อหวังให้ได้ชัยชนะ และการเล่นกีฬา ไม่ว่าจะไปเล่นที่ไหน ก็ต้องเล่นแบบนั้น เหมือนกัน เพราะ
มีกติกากาหนดไว้เป็นการแน่นอนตายตัวอยู่แล้ว การละเล่นพื้นบ้านจึงแตกต่างไปจากกีฬา ตรงที่เป็นการเล่น
แบบง่าย ๆ เพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลิน มากกว่าหวังแพ้ชนะเช่นการเล่นกีฬา แต่การละเล่นบางอย่างก็
อาจอนุโลมเข้าเป็น นักกีฬา โดยยากที่แยกจากกันอย่างเด็ดขาดคืออาจเป็นกึ่งกีฬากึ่งการละเล่น แต่คน
โบราณ ภาคอีสาน นิยมเรียกการละเล่นว่า การเล่นกันทั้งนั้น ไม่นิยมเรียกว่า กีฬาแม้จะมีการแข่งขันกัน
เหมือนกับการเล่นกีฬาก็ตาม ความสาคัญของการละเล่น ได้กล่าวแล้วข้างต้นว่า ธรรมชาติของมนุษย์เกิด
มาย่อมมีการเคลื่อนไหว จะอยู่นิ่งไม่ได้ยิ่งเป็นเด็กแล้วจะต้องมีการเคลื่อนไหวบ่อย ๆ ทั้งนี้ เพื่อบริหาร
ร่างกายให้มีการเจริญเติบโต การเคลื่อนไหวหรือออกกาลังกายนับเป็นสิ่งจาเป็นอย่างหนึ่งของมนุษย์ทั้งเด็ก
และผู้ใหญ่ตลอดถึงผู้สูงอายุและมนุษย์มีนิสัยชอบสังคม คือ ชอบอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่ม จึงต้องมีการคบหา
สมาคมกัน และมีการระบายออกทางจิตใจ เพื่อให้มีความสบายทั้งกายและใจด้วย การละเล่นจึงเป็นการ
แสดงออกของการเชื่อมความสามัคคีของคน ทาให้คนคบหากันได้อย่างสนิทสนมจึงนับเป็นนันทนาการ
อย่างหนึ่ง นอกจากนี้การละเล่นเมื่อมีการจัดเป็นระบบหรือแบบแผน มีกติกาให้คนในกลุ่มปฏิบัติ ย่อมเป็น
การแสดงถึงความเจริญงอกงามของคนในกลุ่มนั้น และเป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งด้วย อันแสดงถึงความเป็นผู้
มีวัฒนธรรมของคนกุ่มนั้นด้วย การละเล่นจึงเป็นเครื่องช่วยส่งเสริมให้มีการพัฒนา ทั้งกายและจิตใจของคน
ทาให้คนได้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และความสามัคคีกลมเกลียวก้าวหน้านับเป็นวัฒนธรรมได้อย่างหนึ่ง
ดังนั้นหากได้มีการฟื้นฟู แก้ไขเปลี่ยนแปลงและส่งเสริมการละเล่นของคนในกลุ่ม ในแต่ละหมู่บ้านให้คงมี
อยู่ ผลที่ตามมาก็คือ นอกจากประชาชนได้ออกกาลังกายและทาให้จิตใจสบายแล้ว ยังทาให้คนในกลุ่มอยู่
ด้วยกันด้วยความรักใคร่กลมเกลียวกัน และมีความสุขด้วย การละเล่นพื้นบ้านจึงนับมีความสาคัญ ซึ้งเราควร
จะได้มีการอนุรักษ์ให้คงมีอยู่ และหาทางส่งเสริมหรือพัฒนาให้เจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้น ประโยชน์ของ
การละเล่น เนื่องจากการละเล่นมีความสาคัญดังกล่าวแล้ว การละเล่นจึงมีประโยชน์สรุปได้ดังนี้
1. เป็นการช่วยบริหารร่างกายให้สมบูรณ์แข็งแรง ในขณะที่แสดงการละเล่นร่างกายได้เคลื่อนไหว
การละเล่นบางอย่างได้มีการออกแรงและแข่งขันกันด้วย จึงทาให้ผู้เล่นได้บริหารร่างกาย ผู้ร่วมกิจกรรมได้
ออกกาลังกายได้ด้วย อันเป็นผลให้ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรงจึงมี สุขภาพพลานามัยดี มีอานาจต้านทานโรค
ช่วยทาให้สุขภาพจิตดีเพลิดเพลิน เนื่องจากการละเล่นเป็นนันทนาการส่วนหนึ่ง ทาให้ผู้เล่นรู้สึกสนุกสนาน
เพลิดเพลิน จิตใจร่าเริงแจ่มใส จึงทาให้จิตใจสบาย มีอารมณ์ดี เป็นการช่วยรักษาสุขภาพจิตของผู้แสดง
การละเล่น และคลายความตึงเครียดของประสาทได้เป็นอย่างดีด้วย
2. เป็นการส่งเสริมให้เกิดความสามัคคี รักหมู่คณะ การละเล่นพื้นบ้านแทบทุกอย่าง จะมีคนร่วมกัน
เล่นคราวละหลาย ๆ คน นอกจากนี้ ยังมีผู้ร่วมชมและการสนับสนุนการแสดงการละเล่นด้วย บุคคลเหล่านี้
จะร่วมกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ทาให้ได้มีส่วนร่วมการแข่งขัน การแสดงหรือร่วมสนุกสนานกับกลุ่มคน
เหล่านี้ เมื่อได้ร่วมกิจกรรมกัน ความรักใคร่กลมเกลียว ความคุ้นเคยเป็นกันเอง ย่อมมีขึ้นดุจญาติพี่น้องอัน
แท้จริง ย่อมก่อให้เกิดความรักใคร่สามัคคีในหมู่คณะ บางโอกาสเมื่อผู้ใดมีธุระการงาน ได้รับความ
เดือดร้อน หรือมีความจาเป็นอะไรบางอย่าง ก็จะได้รับความช่วยเหลือจากผู้สนิทคุ้นเคยเหล่านั้นเป็นอย่างดี
ฝึกให้เป็นผู้มีน้าใจต่อสู้กล้าหาญและมีน้าใจนักกีฬา การละเล่นบางอย่างย่อมจะมีการต่อสู้และแข่งขันกัน
ระหว่างบุคคลต่อบุคคลและหมู่คณะต่อหมู่คณะ การต่อสู้นี้ย่อมต้องอาศัยความสามารรถทั้งด้านกาลังกาย
และกาลังใจ ผู้ใดได้แข่งขันบ่อย ๆ ย่อมทาให้ร่างกายและจิตใจเข้มแข็งพร้อมที่จะเผชิญปัญหาอุปสรรคต่าง
ๆ เป็นการฝึกคนให้รู้จักต่อสู้และกล้าหาญ ทั้งเป็น การอบรมให้เป็นผู้มีน้าใจนักกีฬา รู้แพ้รู้ชนะ รู้อภัย เป็น
ต้น นับเป็นการสร้างเสริมนิสัยที่ดีแก่ผู้แสดงการละเล่น
3. เป็นการส่งเสริมการริเริ่มสร้างสรรค์ ก่อนแสดงการละเล่น ย่อมมีการปรึกษาหารือ และตกลงกัน
ถึงวิธีการเล่นหรือกติกา การจัดหาอุปกรณ์ และค้นหาดัดแปลงวิธีการละเล่นแปลก ๆ ที่เหมาะสมเพิ่มเติม
เป็นการฝึกให้บุคคลเหล่านั้น รู้จักคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในสิ่งที่ดีงาม ซึ่งการริเริ่มสร้างสรรค์นี้ควรฝึกให้มีขึ้น
โดยเฉพาะเด็ก ๆ และเยาวชน ควรได้มีการฝึกให้มาก ช่วยสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต นาไปใช้ใน
ชีวิตประจาวัน การละเล่นบางอย่าง เช่น การละเล่นของเด็ก เป็นการเลียนแบบของผู้ใหญ่ ทาให้เด็กมี
จินตนาการและได้ฝึกปฏิบัติตามอย่างผู้ใหญ่ เป็นการฝึกให้มีปฏิญาณไหวพริบ ช่วยให้เกิดความรอบรู้
บางอย่าง เป็นการส่งเสริมประสบการณ์ชีวิต โดยครูอาจารย์อาจ นาไปใช้ประกอบการเรียนการสอนใน
โรงเรียน และผลที่ได้จากการแสดงการละเล่น อาจนาไปใช้ เป็นประโยชน์ในชีวิตประจาวันต่อไปด้วย
4. เป็นการฝึกปฏิญาณไหวพริบ เพราะการละเล่นต่าง ๆ ส่วนมากมักจะมีการแข่งขันกัน การแข่งขัน
กันจะมีชัยชนะได้จะต้องอาศัยปฏิญาณไหวพริบของผู้เล่นแต่ละคนประกอบด้วยหากผู้เล่นมีปฏิญาณไหว
พริบดี ย่อมมีส่วนช่วยให้ผู้เล่นมีชัยชนะในที่สุด ในขณะเล่นผู้เล่นทุกคน ต้องพยายามใช้สมองหรือไหวพริบ
ของตนเอง เมื่อมีการฝึกใช้สมองหรือไหวพริบบ่อย ๆ เข้า ย่อมจะช่วยให้ผู้ช่วยให้ผู้นั้นมีปฏิญาณไหวพริบดี
ขึ้น นอกนี้การละเล่นบางอย่างอาจช่วยฝึกการสังเกต และฝึกความจาด้วย ฝึกระเบียบวินัย การเชื่อฟัง และ
รู้จักหน้าที่ ธรรมดาการละเล่นย่อมมีกติกา ผู้เล่นต้องอยู่ในขอบข่ายของกติกา และจะต้องถือระเบียบวินัย
แห่งการเล่นและปกติการละเล่นย่อมมักมีผู้ตัดสิน บางทีมีหัวหน้าทีม ผู้เล่นจะต้องเชื่อฟังผู้ตัดสิน และ
จะต้องเชื่อฟังหัวหน้าทีมด้วย จึงจะทาให้การเล่นดาเนินไปด้วยความเรียบร้อย และการเล่นถ้าจะให้ได้ชัย
ชนะข้อสาคัญอย่างหนึ่ง คือ ผู้เล่นจะต้องรู้จักหน้าที่ของตน และพยายามทาหน้าที่ของตนให้ดีที่สุด
การละเล่นจึงนับเป็นการฝึกสิ่งดีงามดังกล่าวไปในตัว ช่วยแก้ปัญหาเรื่องเด็กซุกซนหรือเล่นเป็นโทษ ตาม
ธรรมชาติของเด็ก ย่อมไม่ชอบอยู่นิ่ง ๆ บางทีการไม่อยู่นิ่งของเด็กอาจเล่นเป็นโทษ เช่น ทาให้เกิดเสียหาย
หรืออันตรายต่อ ตนเองหรือผู้อื่น ตลอดทรัพย์สิ่งของด้วย เมื่อมีการละเล่นขึ้น เด็กย่อมมีโอกาสระบายออก
ซึ่ง ความอัดอั้นใน ด้านกาลังกายและจิตใจ ทั้งการละเล่นส่วนมากย่อมมีผู้ควบคุมและอยู่ในกรอบแห่งกติกา
การละเล่นจึงช่วยให้ผู้เล่นได้แสดงออกในทางที่เหมาะที่ควรทั้งเป็นการแก้ปัญหาในด้าน ความซุกซนหรือ
การเล่นเป็นโทษของเด็กได้เป็นอย่างดี ช่วยทาให้งานประเพณีสนุกสนานครึกครื้น ในงานเทศกาลตาม
ประเพณี เช่น งานบุญตรุษสงกรานต์ งานบุญเข้าพรรษา บุญข้าวสาก บุญออกพรรษา เป็นต้น นอกจากมี การ
คบงันและจัดกิจกรรมต่าง ๆ แล้ว เมื่อมีการละเล่นประกอบด้วย ก็จะทาให้งานนั้น ๆ สนุกสนาน ครึกครื้น
เป็นการส่งเสริมให้งานมีชีวิต ชีวา ช่วยทาให้มีผู้มาร่วมงานมากขึ้น ทาให้ผู้ร่วมงาน รู้จัก คุ้นเคย และรักใคร่
สามัคคี มีความรื่นเริงบันเทิงใจ
5. เป็นการสร้างเสริมในด้านขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมและเอกลักษณ์ของท้องถิ่น
เนื่องจากการละเล่นพื้นบ้านบางอย่าง ประชาชนได้นามาเล่นในงานประเพณี ช่วยให้งานนั้นสนุกสนาน
ยิ่งขึ้น การละเล่นจึงนับมีส่วนส่งเสริมขนบธรรมเนียมประเพณีด้วย นอกจากนี้การละเล่นยังเป็นมาดกตก
ทอด ลอกเลียนแบบต่อ ๆ กันมาแต่โบราณ เป็นเครื่องบอกถึง ความเจริญก้าวหน้า ของบรรพบุรุษเป็นการ
แสดงออกของวิถีชีวิต การพัฒนาสังคม ความสามัคคี กลมเกลียวก้าวหน้า จึงนับเป็นส่วนหนึ่งของ
วัฒนธรรม และการละเล่นของบางท้องถิ่นก็แตกต่าง กันไปจึงนับเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นด้วย ที่กล่าวมา
นี้ จะเห็นได้ว่า การละเล่นพื้นบ้านนับว่า เป็นสิ่งที่มีประโยชน์เป็นอย่างมากควรจะได้มีการอนุรักษ์และ
ส่งเสริมให้คงมีอยู่ต่อไป และควรจะได้มีการดัดแปลงแก้ไขการละเล่น บางอย่างให้เหมาะสมยิ่งขึ้น ก็เชื่อว่า
การละเล่นพื้นบ้าน คงจะอานวยประโยชน์แก่ประชาชน ทั้งเด็กและผู้ใหญ่เป็นอย่างมาก ข้อควรปฏิบัติการ
แสดงการละเล่น การแสดงการละเล่นพื้นบ้าน มีข้อควรปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
- ก่อนแสดงการละเล่น ก่อนแสดงการละเล่น ควรนะได้มีการเตรียมบางอย่างไว้ให้พร้อม เพื่อให้การละเล่น
เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และเป็นไปตามเป้ าหมายที่ตั้งไว้เป็นต้นว่าจัดสถานที่ ที่เหมาะสม เตรียมอุปกรณ์
ต่าง ๆ ไว้ให้พร้อมเรียบร้อย หากจาเป็นต้องมีอุปกรณ์ ก็ควรเตรียมจัดหาให้พร้อม มีสภาพเรียบร้อย
ครบถ้วนและปลอดภัย จัดสถานที่เล่นให้เหมาะสมแก่การเล่นแต่ละอย่าง ก่อนลงมือเล่นควรซักซ้อมวิธีการ
เล่น ตลอดจนกติกาให้เข้าใจ เพื่อมิให้มีปัญหา ถกเถียงกันภายหลัง จัดแบ่งผู้เล่นตามกาลังความสามารถพอ
เหมาะสมกันทุกฝ่าย เพื่อความเป็นธรรม
- ขณะแสดงการละเล่น ในขณะดาเนินการละเล่น ผู้ควบคุมหรือผู้เป็นหัวหน้าควรดูแลอย่างใกล้ชิด ให้ผู้เล่น
ได้รับความเป็นธรรม และปลอดภัยมิให้ผู้เล่นเอาเปรียบซึ่งกันและกัน แก้ปัญหาเมื่อเกิดขึ้น และพยายามดูแล
การละเล่น ให้ดาเนินไปตามกติกาหรือข้อตกลงให้เป็นที่สนุกสนานและพอใจของทุกฝ่าย เป็นต้น ภายหลัง
การละเล่น ควรเสนอแนะผู้เล่นให้มีใจกว้าง รู้แพ้รู้ชนะ รู้อภัย ร่วมมือกันด้วยความยินดีสนุกสนาน หากมี
ข้อบกพร่องอะไรก็เสนอแนะ เพื่อจะได้แก้ไข หากจะมีการเล่นในโอกาสหน้า จัดเก็บอุปกรณ์และความ
สะอาดของสถานที่เล่นให้เรียบร้อย นัดหมายผู้เล่น หากจะมีการเล่นอีกในวันต่อไป เป็นต้น ส่งเสริมการวิธี
การละเล่น การละเล่นพื้นบ้านมีความสาคัญและให้ประโยชน์อย่างไรท่านก็ทราบแล้ว ซึ่งเราควรหาทาง
ส่งเสริมให้คงมีอยู่ พยายามพัฒนาให้ก้าวหน้าและเผยแพร่ให้เป็นที่ทราบอย่างแพร่หลาย ตลอดจนการนาไป
ปฏิบัติกันอย่างกว้างขวาง และจริงจังยิ่งขึ้นกว่าเท่าที่เป็นอยู่ทุกวันนี้ การส่งเสริมการละเล่นที่ควรดาเนินการ
ได้แก่ มีการฟื้นฟูการละเล่นพื้นบ้านที่มีอยู่แต่เดิม ซึ่งกาลังจะสูญหายไปให้คงมีอยู่ โดยให้คิดว่าการละเล่น
เป็นมรดกของบรรพบุรุษที่ได้สร้างสรรค์ขึ้น ถือว่าเป็นวัฒนธรรมที่มีคุณค่า ซึ่งอนุชนรุ่นหลังควรจะต้อง
อนุรักษ์ให้คงมีอยู่ตลอดต่อไป ให้มีการค้นคว้าบันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับการละเล่นพื้นบ้านขึ้นไว้เป็นหลักฐาน
ให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาและปฏิบัติ พยายามเผยแพร่ผลงานที่ค้นคว้า ให้เป็นที่แพร่หลายโดยทั่วกัน ผู้ใหญ่
หรือคนเฒ่าคนแก่ที่มี่ความรู้เกี่ยวกับการละเล่นพื้นบ้าน ควรให้ความร่วมมือ ชี้แจงแนะนาและถ่ายทอดวิธี
การละเล่นที่เคยและเคยปฏิบัติมา ให้คนรุ่นหลังได้ทราบ โดยการชี้แจงให้เข้าใจหรือสาธิตวิธีการละเล่นให้ผู้
ที่สนใจได้ทราบ ผู้นาท้องถิ่น เช่น กานัน ผู้ใหญ่บ้าน พระสงฆ์ และผู้ที่ประชาชนเชื่อถือ ฯลฯ ควรจะได้เป็น
ความสาคัญและหาทางสนับสนุน ให้มีการฟื้นฟูการละเล่นพื้นบ้านขึ้น แนะนาคนอื่นให้เป็นความสาคัญของ
การละเล่น และร่วมจัดกิจกรรมการละเล่นในโอกาสต่าง ๆ เช่น ในงานทาบุญตามประเพณี ได้แก บุญตรุษ
สงกรานต์บุญเข้าพรรษา บุญข้าวสาก บุญออกพรรษา เป็นต้น สถานศึกษาหรือโรงเรียนควรเห็นความสาคัญ
ของการละเล่นพื้นบ้าน ครูอาจารย์ควรจะได้สนใจศึกษา ไม่ควรมองไปว่า การละเล่นพื้นบ้านที่เรามีอยู่เป็น
ของล้าสมัย และควรพยายามนาเอาการละเล่นพื้นบ้านไปฝึกให้เด็กได้เล่นกัน และการละเล่นบางอย่างครู
อาจารย์อาจนาไปใช้ประกอบการเรียน การสอน ให้เกิดประโยชน์แก่เด็กให้มากที่สุดเท่าที่จะทาได้เมื่อทาง
ราชการหรือหน่วยงานของรัฐจัดงานอย่างใดอย่างหนึ่งขึ้น ควรจะได้จัดให้มีการละเล่นพื้นบ้าน ในงาน
เทศกาล หรืองานประเพณีนั้น ๆ ควรพยายามนาการละเล่นไปเสริมกิจกรรมของงาน หากสามารถจัดทาได้
เป็นประจา จนให้ประชาชนมองเห็นความสาคัญของการละเล่นและจัดให้มีการละเล่นในงานที่จัดขึ้นโดย
สม่าเสมอได้ยิ่งดี
การละเล่นพื้นบ้านของภาคเหนือ
1. เตยหรือหลิ่น
ภาค ภาคเหนือ
จังหวัด ตาก
สถานที่เล่น ลานกว้าง ที่โล่งแจ้ง
อุปกรณ์์ ไม่มี
์านวนผู้เล่น ๖-๑๒ คน
วิธีเล่น
ขีด เส้นเป็นตารางจานวนเท่ากับผู้เล่น (สมมติว่ามี ๖ คน) แล้วแบ่งผู้เล่นออกเป็น ๒ ฝ่าย ฝ่ายหนึ่งยืนประจา
เส้น (ตามขวาง) อีกฝ่ายจะวิ่งผ่านแต่ละเส้นไปโดยไม่ให้เจ้าของเส้นแตะได้เมื่อเริ่มเล่นคนที่ยืนประจาเส้น
แรก พูดว่า ไหล หรือ หลิ่น ฝ่ายตรงข้ามก็เริ่มวิ่งผ่านเส้นแรกไปจนถึงเส้นสุดท้ายแล้ววิ่งกลับ ถ้าวิ่งกลับถึง
เส้นแรกโดยไม่ถูกฝ่ายตรงข้ามแตะได้ก็พูดว่า เตย ก็จะเป็นฝ่ายชนะ
โอกาส
เป็นการละเล่นพื้นบ้านที่เด็ก ๆ เล่นกันโดยทั่วไป
2. ม้าจกคอก
ภาค ภาคเหนือ
จังหวัด กาแพงเพชร
การเล่นม้าจกคอก ภาคกลางเรียก ลาวกระทบไม้การเล่นชนิดนี้เข้าใจว่าอาจจะได้รับอิทธิพลมาจาก
การละเล่นของชาวลัวะ
อุปกรณ์และวิธีเล่น
จานวนผู้เล่น ตั้งแต่ ๓ คนขึ้นไป
อุปกรณ์
๑. ไม้กลมขนาดการอบ ยาวประมาณ ๕ ศอก จานวน ๒ ท่อน
๒. ขอนไม้สูงประมาณ ๑ คืบ ยาวประมาณ ๑-๒ ศอก จานวน ๒ ท่อน
สถานที่เล่น เล่นบริเวณที่เป็นลานกว้าง
วิธีการเล่น
๑. แบ่งผู้เล่นออกเป็น ๒ ฝ่าย ฝ่ายแรกมี ๒ คน สาหรับถือท่อนไม้ที่วางขนานบนขอนไม้แล้วกระทบกันเป็น
จังหวะ ส่วนฝ่ายที่ ๒ มี ๒ คนขึ้นไป สาหรับเป็นผู้เต้น
๒. ให้ผู้เล่นเข้าไปอยู่ระหว่างคาน ผู้ถือไม้คานทั้งคู่ก็ทาสัญญาณ โดยยกคานไม้ทั้งคู่กระแทกลงบนไม้หมอน
ระหว่างที่เคาะจังหวะอยู่นั้นผู้เล่นต้องเต้นไปด้วย เมื่อให้สัญญาณเคาะ ๓ ครั้งแล้ว ครั้งที่ ๔ ผู้ถือจะเอาคาน
ทั้งสองเข้าชิดกัน ผู้เต้นจะต้องกระโดดให้สูงกว่าครั้งแรกของจังหวะและแยกขาออกให้พ้นไม้ถ้าถูกหนีบ
เรียกว่า ม้าขาคอก หรือม้าติดคอก คู่ที่ถูกไม้หนีบจะต้องออกไปเปลี่ยนให้ผู้ที่ถือคานอยู่เดิมนั้นเข้ามาเต้น ใน
ระหว่างคานนั้นบ้าง
โอกาสหรือเวลาที่เล่น
การเล่นม้าจกคอกนิยมเล่นในวันขึ้นปีใหม่ (สงกรานต์) ของล้านนา
สาระ
การเล่นม้าจกคอก เป็นการละเล่นเพื่อให้ความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ทาให้เกิดความสามัคคีภายในกลุ่มและ
ความมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
3.การละเล่นไม้หึ่ง หรืออีหึ่ง
ภาค ภาคเหนือ
จังหวัด กาแพงเพชร
อุปกรณ์และวิธีการเล่น
อุปกรณ์ ใช้ไม้๒ ชิ้น คือ ไม้แม่ ทาด้วยกิ่งไม้ที่หาง่ายและเหนียว มีขนาด เส้น ผ่าศูนย์กลางประมาณ ๑นิ้ว
หรือใกล้เคียง ยาวประมาณ ๑ ศอก และ ไม้ลูก อาจนาจากไม้ท่อนเดียวกันด้านปลายของไม้แม่ยาวประมาณ
๑ คืบ ไม้ที่สามารถทาได้เช่น ไม้มะขาม ไม้ฝรั่ง หรือไม้ไผ่ลาเล็ก ตัน คือ เป็นไม้ที่สามารถหาได้ง่ายใน
ท้องถิ่น นิยมใช้ไม้สดด้วยเป็นไม้ที่ยังมีน้าหนักและเหนียวไม่เปราะเหมาะสมกับกระบวน การเล่น
วิธีการเล่น โดยการแบ่งฝ่ายละเท่า ๆ กัน เช่น ๒ ต่อ ๒ หรือ ๓ ต่อ ๓ ฝ่ายได้เล่นก่อนจะทาการขุดร่องที่
พื้นดินแข็งให้เป็นร่องยาวประมาณ ๑ คืบ ลึก ๑ นิ้วครึ่ง เป็นรางคล้ายเรือ หรือ พอเพียงกับการงัดไม้ลูกได้
จากนั้นฝ่ายเริ่มจะวางไม้ลูกขวางร่องหลุมที่ขุด ไว้แล้วใช้ไม้แม่งัดออกไปข้างหน้าให้ได้ระยะไกลที่สุดเท่าที่
จะทาได้เพื่อให้ฝ่ายตรงข้ามรับยากหรือโต้กลับยาก ขณะที่งัดไม้ลูกออกไปนั้น ฝ่ายรับสามารถใช้อุปกรณ์ใด
ก็ได้ปกป้ องหรือตีโต้กลับไปยังหลุมงัด หรือใช้มือรับ จากนั้นฝ่ายเริ่มต้องวางไม้แม่ไว้ที่หลุม ฝ่ายรับจะโยน
ไม้ลูกให้กลับมาให้ถูกหรือปะทะให้ไม้แม่ที่วางอยู่เพื่อการชนะ ถ้าสามารถโยนลูกปะทะไม้แม่ก็จะได้
กลับมาเป็นผู้เริ่มหรือผู้เสริฟ แต่ถ้าโยนไม่ถูกไม้แม่ฝ่ายเริ่มก็จะได้ดาเนินการขั้นตอนต่อไป คือ นาไม้ลูก
ขึ้นมาเดาะโดยใช้ไม้แม่เดาะไม้ลูกให้ได้จานวนครั้งให้ได้มากที่สุด ถ้าเดาะได้ถึง ๓ ครั้งก็จะได้ตีลูกออกไป
ถึง ๓ ครั้ง การตีจะ
พยายามตีลูกออกไปยังฝ่าย ตรงข้ามให้ได้ระยะไกลที่สุดและไม่ให้ฝ่ายตรงข้ามรับได้ เพราะถ้ารับได้ก็
จะต้องแพ้และกลับมาเป็น ผู้เริ่ม แต่ถ้ารับไม่ได้ฝ่ายเริ่มเดิมก็จะให้ตีไม้ต่อไปจนให้ครบ ๓ ครั้ง และฝ่ายรับก็
จะนาไม้ลูกนั้นวิ่งกลับมายังหลุมโดยกลั้นหายใจและออกเสียงมาทาง จมูกให้มีเสียง หึ่ม มาตลอดระยะการ
วิ่ง ถ้าเล่นฝ่ายละหลายคนก็สามารถส่งต่อไม้กันได้และผู้รับต่อก็จะต้องหึ่มต่อ เช่นกัน ห้ามขาดเสียงหึ่ม
ในขณะวิ่งกลับถ้าขาดเสียงหึ่มก็ถือว่าฟาวล์หรือแพ้ในเกม นั้น ผู้เริ่มเดิมก็จะได้เล่น แต่ถ้าผู้หึ่มสามารถวิ่ง
หึ่มมาถึงหลุมได้ก็จะชนะได้เป็นผู้เริ่มเล่นใหม่โดย ใช้วิธีเดิม (การเล่นอาจแตกต่างกันไปบ้างในแต่ละ
ท้องถิ่นได้)
โอกาสหรือเวลาที่เล่น
เป็นการเล่นของเด็กเล็กและเด็กโตประมาณ ๗ – ๑๕ ขวบ สามารถเล่นได้ทั้งเด็กหญิงและเด็กชายเล่นในยาม
ว่างเพื่อสันทนาการ ความสนุกสนาน และแข่งขันกันในหมู่เล็ก สถานที่ใช้เล่นจะต้องมีบริเวณลานกว้างพอ
เช่น สนามหน้าโรงเรียน ลานบ้านในหมู่บ้าน หรือลานวัด
คุณค่า / แนวคิด / สาระ
เป็นการเล่นที่ง่ายไม่ต้องลงทุนซื้ออุปกรณ์และการเก็บรักษาอุปกรณ์ เนื่องด้วยไม้ที่ ใช้เล่นนิยมใช้ไม้สด
เนื่องจากมีน้าหนักในการใช้โยนหรือตีได้ไกล และเป็นการเล่นที่ต้องใช้ทักษะการงัด ให้ได้ไกล ดังนั้น
จะต้องวางไม้ลูกให้ได้จุดกึ่งกลาง วางมุมไม้แม่ให้ได้องศาการดีดขึ้น ฝ่ายรับจะต้องมีทักษะการรับประสาท
สั่งการความสัมพันธ์ของสายตาและอันตรายที่ อาจเกิดขึ้น แต่ละช่วงของการเล่นจะมีเทคนิคการเล่นที่ต้อง
ใช้ความสังเกต และฝึกความชานาญในโอกาสต่อไป เช่น คนที่เล่นได้ดีคือจะงัดให้ไกลหรือเดาะได้จานวน
ครั้งได้มาก และเวลาไม้ตีลูกก็จะได้ไกลเนื่องจากในขณะตีนั้นจะต้อง ให้มีความสัมพันธ์กันระหว่างการ
ปล่อยมือไม้ลูกและไม้แม่ให้ตรงจุดกึ่งกลาง ศูนย์กลางของน้าหนัก เช่นเดียวกับการตีเทนนิส หรือ
แบดมินตัน หรือเบสบอลและฝึกความแม่นยาในการโยนกลับ หรือพัดลูกกอล์ฟบนกรีนหรือเปตอง
4.โพงพาง
ภาค : ภาคเหนือ
จังหวัด : ตาก
สถานที่เล่น : สนาม,ลานกว้าง
อุปกรณ์ : ผ้าปิดตา
จานวนผู้เล่น : ไม่จากัดจานวน
วิธีเล่น : ยิ้งฉุ บกันว่าใครจะเป็นผู้แพ้ต้องปิดตาเป็นโพงพางตาบอด ผู้เล่นคนอื่นๆจับมือเป็นวงกลม
ร้องเพลง “โพงพางเอ๋ย โพงพางตาบอด รอดเข้ารอดออก โพงพางตาบอด ปล่อยลูกช้างเข้าในวง” ขณะเดิน
วนรอบๆโพงพางตาบอดร้องเพลง1-3จบ แล้วนั่งลงโพงพางจะเดินมาคลาคนอื่นๆ ซึ่งต้องพยายามหนี และ
จะต้องเงียบสนิท หากโพงพางจาเสียงหัวเราะ รูปลักษณะได้จะเรียกชื่อ ถ้าเรียกคนถูกต้องออกมาปิดตาเป็น
โพงพางต่อไป ถ้าไม่ถูกก็ต้องเป็นโพงพางต่อไปอีกเรื่อยๆ
โอกาส : เป็นการละเล่นพื้นบ้านที่เด็กๆเล่นกันโดยทั่วไป
5.เบี้ยขี่โก่ง
อุปกรณ์และวิธีการเล่น
อุปกรณ์
-เบี้ย (ก้อนหินที่มีลักษณะแบน) วิธีการเล่น
๑.ขุดหลุมให้พอเหมาะกับเบี้ย ๑ หลุม และขีดเส้นใต้ห่างจากหลุมให้พอเหมาะ
๒.ถ้าผู้เล่นมีไม่ครบคู่ให้เล่นคี่ก็ได้
๓.จุดโยนเบี้ยต้องห่างจากหลุมไม่ต่ากว่า ๕ เมตร
๔.ผู้เล่นต้องโยนหินให้ใกล้หลุมมากที่สุดหรือลงหลุมเลยก็ได้
๕.ผู้ที่โยนเบี้ยไกลที่สุดจะถูกคนที่ใกล้หลุมมากที่สุดเก็บเบี้ยขึ้นมาแล้ว โยนจากหลุมให้ข้ามเขต ๕ เมตร
แล้วโยนเบี้ยให้ถูกคนที่อยู่ไกลหลุม
๖.ถ้าถูกคนนั้นก็จะขี่หลังของคนที่ตีเบี้ยโดนนั้น แล้วโยนหินบนหลังนั้นให้เข้าหลุมก็ได้หรือไม่เข้าก็ต้องตี
โดนเบี้ยนั้นให้ได้
๗.ถ้าโยนไม่ถูก คนที่ได้ขี่หลังก็จะถูกคนที่ขี่หลังเก็บเบี้ยของตนแล้วมาตีให้ถูกเบี้ยของคน นั้นให้ได้ถ้ายังไม่
ถูกคนที่เหลือก็จะต้องตีให้ถูกหินของใครก็ได้แล้วคนที่ขี่หลังโยน หินต่อ แต่ถ้าไม่โดนสักคนก็เริ่มต้นใหม่
6.เล่นตากระโดด
อุปกรณ์และวิธีการเล่น
อุปกรณ์
-ก้อนหิน หรือกระเบื้อง
จานวนผู้เล่น ๔ คนขึ้นไป
วิธีการเล่น
๑.ขีดช่องสาหรับกระโดดเป็น ๖ ช่อง ขนาดโตพอที่จะกระโดดเข้าไปยืนได้แล้วแบ่งครึ่งช่องที่ ๓ ที่ ๕
สาหรับที่พัก และกลับหลังหัน จึงมีช่องทั้งหมด ๘ ช่อง แล้วเขียนหัวกระโหลกเล็ก ๆ ในช่องบนสุด
๒.ใช้อะไรเป็นเบี้ยก็ได้แต่ควรเป็นของที่มีน้าหนัก ถ้าใครโยนเข้าหัวกระโหลกที่เล็ก ๆ นั้น ก็จะได้เล่นก่อน
๓.โยนเบี้ยลงช่องที่ ๑ แล้วกระโดดขาเดียวข้ามช่องที่ ๑ เข้าไปยังช่องที่ ๒ แล้วกระโดด ๒ ขา เข้าไปในช่อง
ที่ ๓ และ ๔ ให้เท้าข้างหนึ่งอยู่ช่องที่ ๓ อีกข้างหนึ่งอยู่ที่ช่องที่ ๔ จากนั้นกระโดดขาเดียว ต่อไปยังช่องที่ ๕
และ ๒ ขา ที่ช่องที่ ๖ และ ๗ ตามลาดับ กระโดดตัวกลับ หันหน้ากลับมาทางเดิม กระโดดขาเดียวมายังช่อง
ที่ ๕ สองขาที่ช่องที่ ๓ และ ๔ ขาเดียวที่ช่องที่ ๒ และช่องที่ ๑ พร้อมกับก้มลงเก็บเบี้ยที่ช่องที่ ๑ จากนั้นก็
กระโดดออกมา
๔.ถ้าเกิดเล่นช่องที่ ๑ แล้วก็เล่นช่องที่ ๒ โดยโยนเบี้ยให้อยู่ในช่องที่ ๒ แล้วกระโดดขาเดียวไปยังช่องที่ ๑
ข้ามช่องที่ ๒ ไปยืน ๒ ขาที่ช่องที่ ๓ และ ๔ กระโดดไปยืนขาเดียวที่ช่องที่ ๕ และ ๒ ขา ที่ช่องที่ ๖ และ ๗
แล้วหันตัวกลับทาอย่างเดียวกับตาแรก คือ ต้องกระโดดกลับมาเก็บเบี้ยแล้วจึงกระโดดออกไป ถ้าเกิดเล่นถึง
ช่องหัวกระโหลกบนสุด ให้กระโดดกลับตัวในช่องที่ ๖ และ ๗ แล้วก้มลงใช้มือลอดระหว่างขา เก็บเบี้ยใน
ช่องกระโหลก เมื่อเก็บได้จึงกระโดดออกมาอย่างเดิม หากว่าเล่นทุกช่องหมดแล้วจะได้บ้าน ๑ หลัง จึงขีด
กากบาทไว้กลางช่องต่อไป ใครจะเหยียบบ้านนี้ไม่ได้
7. อีหึ่ม
อุปกรณ์และวิธีการเล่น
อุปกรณ์
-ไม้ยาวประมาณ ๕๐ เซ็นติเมตร
-ไม้ยาวประมาณ ๒๐ เซ็นติเมตร เรียกว่า ลูก อาจใช้ตะเกียบแทนก็ได้
จานวนผู้เล่น ตั้งแต่ ๔ คนขึ้นไป ควรจะเป็นคู่กันด้วย
วิธีการเล่น
แบ่งผู้เล่นเป็น ๒ ฝ่าย ๆ ละเท่ากัน เป่ายิงฉุบกันใครชนะเล่นก่อน ขุดหลุมน้อย ๆ เอาลูกพาดกลางหลุมไว้ใช้
ไม้ยาว ๕๐ เซ็นติเมตร (ไม้วุด) งัดไม้ที่เป็นลูกหรือที่ยาว ๒๐ เซ็นติเมตรไปให้ไกลที่สุด แล้ววางไม้วุดปาก
หลุม ให้อีกฝ่ายที่ไม่ได้งัดโดยไม้ที่วุดไปให้มาถูกที่พาดไว้บนปากหลุม ถ้าวุดไม่ถูกก็ให้วุดไม้อีกครั้งจนกว่า
จะถูก ถ้าถูกให้ผู้ที่เป็นฝ่ายโยนไม้มาปากหลุมแทน
8. ซิกโก๋งเก๋ง
อุปกรณ์และวิธีการเล่น
อุปกรณ์
-ไม้ไผ่ ท่อนปลายของไม้รวก หรือไม้ซาง ตัดให้สูง ประมาณ ๒-๒.๕ เมตร
-ปล้องไม้ไผ่ที่ใหญ่กว่า ๒ ท่อนแรก ตัดให้เหลือข้อปล้องไว้ด้านหนึ่งยาวประมาณ๑๕-๓๐ เซนติเมตร
จานวน ๒ ท่อน
วิธีการประดิษฐ์
๑.เอาไม้ไผ่ ท่อนปลายของไม้รวก หรือไม้ซาง ตัดให้สูง ประมาณ ๒-๒.๕ เมตร
๒.ใช้มีดตัดเจาะกิ่งไผ่ที่เป็นปมอยู่ข้อตาไผ่ออกให้หมด แต่ต้องเหลือไว้ตรงข้อแรกของไม้ไผ่ให้เป็นปมอยู่
เหลาข้ออื่นๆ ให้เรียบเพื่อสะดวกในการจับถือ
๓.หาปล้องไม้ไผ่ที่ใหญ่กว่า ๒ ท่อนแรก ตัดให้เหลือข้อปล้องไว้ด้านหนึ่งยาวประมาณ๑๕-๓๐ เซนติเมตร
จานวน ๒ ท่อน เจาะรู ๒ ด้าน เสร็จแล้วนาไปสวมเข้ากับไม้๒ ท่อนแรก โดยให้ไม้ที่สวมนั้นไปค้างติดอยู่
กับข้อตาไผ่ที่เหลือไว้แล้วใช้ผ้าพันตรงไม้๒ ท่อนประกบกันให้แน่น
วิธีการเล่น
ใช้มือถือไม้โก๋งเก๋งตั้งขึ้นให้ตรง แล้วค่อยก้าวเท้าใดเท้าหนึ่ง ขึ้นเหยียบบนไม้โก๋งเก๋ง ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้เท้า
ซ้ายขึ้นก่อน แล้วก้าวเท้าขวาตามตั้งตัวให้สมดุลแล้วค่อย ๆ ก้าวเท้าใดเท้าหนึ่งออกไป ถ้าล้มก็ขึ้นใหม่เดิน
ใหม่จนคล่อง
9.หมากล้อกลิ้ง
อุปกรณ์และวิธีการเล่น
อุปกรณ์
-หมากล้อกลิ้ง
วิธีการประดิษฐ์
๑.นาไม้แผ่นมาถากหรือฉลุเป็นวงกลมขนาด ๑๐ – ๑๒ เซนติเมตร เพื่อทาเป็นล้อไม้
๒.เจาะรูตรงกลาง
๓.นาไม้ไผ่ขนาดพอมือจับ ยาวประมาณ ๑ – ๑.๒๐ เมตร มาผ่าส่วนปลายไม้ให้เป็นง่ามคล้ายหนังสะติ๊ก แล้ว
เจาะรูทาเป็นด้ามจับ
๔.นาล้อไม้มาประกอบติดกับด้ามจับสอดตะปูหรือเหลาไม้ทาแกนล้อ
วิธีการเล่น
นิยมเล่นคนเดียวหรือเป็นกลุ่ม โดยนาหมากล้อกลิ้งมาวิ่งเล่นกันไปตามท้องถนนหรือลานบ้าน ลานวัดอาจมี
การแข่งขันว่าใครจะวิ่งเร็วกว่ากัน
10.หมากข่าง
อุปกรณ์และวิธีการเล่น
อุปกรณ์
-ไม้ที่กลึงเกลาให้กลมแล้ว ขนาดกามือ จานวน ๒๐-๓๐ ลูก
-สะบ้า ๑๐ ลูก
-ลานดินกว้างขนาด ๕x๑๐ เมตร
วิธีการเล่น
การเล่นจะแบ่งผู้เล่นออกเป็น ๒ ข้าง แต่ละข้างไม่จากัดว่าจะเป็นหญิงหรือชาย หรือทั้งหญิงและชายปนกัน
ขอให้มีข้างละเท่ากันเท่านั้น แต่ละข้างจะมีอุปกรณ์ในการเล่น คือ หมากข่าง หรือลูกทอยข้างละ ๕-๑๐ ลูก
เท่านั้น และมีลูกสะบ้า ๕ ลูก ตั้งเป็นรูปกากบาทให้ห่าง จากอีกข้างแล้วแต่จะตกลงกัน
เมื่อเริ่มเล่น จะมีการเสี่ยงว่าข้างไหนจะได้เป็นข้างที่จะโยนก่อน จากนั้นข้างที่ได้โยนก่อนจะไปยืนหลังเส้น
ที่ตั้งลูกสะบ้า แล้วโยนลูกให้กลิ้งไปโดยสะบ้าที่ตั้งเป็นรูปกากบาทของข้างตรงข้าม ถ้าฝ่ายใดสามารถโยน
ไปโดนลูกสะบ้าได้มากที่สุด ก็จะเป็นฝ่ายชนะการแข่งขัน
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. เลือกหัวข้อที่สนใจ
2. หาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. คอมพิวเตอร์
2. หนังสือ
3. อุปกรณ์การเรียน
งบประมาณ : ไม่มี
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
ศิริรัตน์
1 คิดหัวข้อโครงงาน / ศิริรัตน์
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / ศิริรัตน์
3 จัดทาโครงร่างงาน / ศิริรัตน์
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน / ศิริรัตน์
5 ปรับปรุงทดสอบ / ศิริรัตน์
6 การทาเอกสารรายงาน / ศิริรัตน์
7 ประเมินผลงาน / ศิริรัตน์
8 นาเสนอโครงงาน / ศิริรัตน์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1. เป็นสื่อในการเรียนการสอน
2. เป็นแหล่งการเรียนรู้
3. ทาให้ผู้คนที่สนใจเรื่องการละเล่นพื้นบ้านภาคเหนือ และเข้าใจมากยิ่งขึ้น
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จ.เชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
กลุ่มสาระการเรียนรู้เทคโนโลยีและสารสนเทศ
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
http://thirapanlovelove.blogspot.com/
http://pirun.ku.ac.th/~b5410302206/Page4.html
https://noolalida.wordpress.com/?p=19&preview=true

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แบบริบบิ้น - Peterfineart.com
แบบริบบิ้น - Peterfineart.comแบบริบบิ้น - Peterfineart.com
แบบริบบิ้น - Peterfineart.competer dontoom
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงานChamp Wachwittayakhang
 
โครงการจัดทำเว็บไซต์
โครงการจัดทำเว็บไซต์โครงการจัดทำเว็บไซต์
โครงการจัดทำเว็บไซต์Sonasung
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sornnarin Wuthifuey
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
โครงงานเบื้องต้น
โครงงานเบื้องต้นโครงงานเบื้องต้น
โครงงานเบื้องต้นPat Pholla
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับบุญรักษา ของฉัน
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานAriyaporn Suaekong
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupationsเล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง OccupationsChamchuree88
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2พงศธร ภักดี
 
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยการอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยThana Chirapiwat
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4Janova Kknd
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2supap6259
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3ทศพล พรหมภักดี
 

Was ist angesagt? (20)

แบบริบบิ้น - Peterfineart.com
แบบริบบิ้น - Peterfineart.comแบบริบบิ้น - Peterfineart.com
แบบริบบิ้น - Peterfineart.com
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
โครงการจัดทำเว็บไซต์
โครงการจัดทำเว็บไซต์โครงการจัดทำเว็บไซต์
โครงการจัดทำเว็บไซต์
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
08 ma
08 ma08 ma
08 ma
 
โครงงานเบื้องต้น
โครงงานเบื้องต้นโครงงานเบื้องต้น
โครงงานเบื้องต้น
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงาน
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupationsเล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
 
แผนการสอนการสร้างเว็บเพจ
แผนการสอนการสร้างเว็บเพจแผนการสอนการสร้างเว็บเพจ
แผนการสอนการสร้างเว็บเพจ
 
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยการอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
 
พละ ม.1
พละ ม.1พละ ม.1
พละ ม.1
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
 

Ähnlich wie แบบเสนอ

โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Thanwarath Khemthong
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Daranpop Doungdetch
 
2560 project -4
2560 project -42560 project -4
2560 project -4sinekkn
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.bamhattamanee
 
เค้าโครงร่างงานคู่
เค้าโครงร่างงานคู่เค้าโครงร่างงานคู่
เค้าโครงร่างงานคู่Jah Jadeite
 
2562 final-project 605-10
2562 final-project 605-102562 final-project 605-10
2562 final-project 605-10buakhamlungkham
 
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์bamhattamanee
 
โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์bamhattamanee
 
Pathological gamers
Pathological gamersPathological gamers
Pathological gamersssuserab0e2b
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5aye_supawan
 

Ähnlich wie แบบเสนอ (20)

โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Boonyisa612
Boonyisa612Boonyisa612
Boonyisa612
 
Project com no.38 (1)
Project com no.38 (1)Project com no.38 (1)
Project com no.38 (1)
 
2560 project -4
2560 project -42560 project -4
2560 project -4
 
Great
GreatGreat
Great
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
Comdaniel
ComdanielComdaniel
Comdaniel
 
at1
at1at1
at1
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.
 
เค้าโครงร่างงานคู่
เค้าโครงร่างงานคู่เค้าโครงร่างงานคู่
เค้าโครงร่างงานคู่
 
2562 final-project 605-10
2562 final-project 605-102562 final-project 605-10
2562 final-project 605-10
 
2561 project (21)
2561 project  (21)2561 project  (21)
2561 project (21)
 
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
 
โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
 
Do you-know-green-tea
Do you-know-green-teaDo you-know-green-tea
Do you-know-green-tea
 
Pathological gamers
Pathological gamersPathological gamers
Pathological gamers
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 

แบบเสนอ

  • 1. แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2558 ชื่อโครงงาน การละเล่นพื้นบ้านภาคเหนือ ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวศิริรัตน์ คาแสง เลขที่ 32 ชั้น ม.6 ห้อง 3 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นางสาวศิริรัตน์ คาแสง เลขที่ 32 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) : การละเล่นพื้นบ้านภาคเหนือ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) : North Regional performance ประเภทโครงงาน : โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน : นางสาวศิริรัตน์ คาแสง ชื่อที่ปรึกษา : ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เนื่องจากวัฒนธรรมเป็นสิ่งที่สาคัญในการดารงชีวิตของมนุษย์ไม่ว่าจะเป็น วัฒนธรรมทางศาสนา ภูมิ ปัญญา ประเพณี รวมไปถึงวัฒนธรรมการละเล่นต่างๆด้วย แต่ในประเทศไทยนั้นมีวัฒนธรรมที่ไม่ เหมือนกันของแต่ละภาค ผู้จัดทาจึงได้นาการละเล่นของบางภาคได้แก่ ภาคเหนือ มานาเสนอ ซึ่งภาคเหนือก็ เป็นภาคที่มีการละเล่นที่หลากหลาย อย่างเช่น อีหึ่ม หมากข่าง เล่นตากระโดด ฯ เพื่อเป็นความรู้ให้แก่ผู้อ่าน หรือผู้สนใจได้ศึกษาวัฒนธรรมการละเล่นของเรา และนาไปประยุคใช้ในชีวิตประจาวัน วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อให้คนไทยได้ตระหนักถึงการละเล่นพื้นบ้านภาคเหนือ 2. เพื่อให้คนไทยรุ่นใหม่หันมาอนุรักษ์การละเล่นพื้นบ้านภาคเหนือ 3. เพื่อให้การละเล่นพื้นบ้านภาคเหนือไม่สูญหายไป
  • 3. ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1. ความสาคัญของการละเล่นพื้นบ้านภาคเหนือ 2. ที่มาของการละเล่นพื้นบ้านภาคเหนือ 3. การละเล่นพื้นบ้านภาคเหนือ 4. ประโยชน์ของการละเล่น 5. วิธีการอนุรักวัฒนธรรมไทย หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) การละเล่นพื้นบ้านภาคเหนือ ความหมาย การละเล่น คาว่า “การละเล่น” หมายถึง การกระทาหรือกิจกรรมใด ๆ ที่ก่อให้เกิดความ สนุกสนานรื่นเริงบันเทิงใจ ซึ่งมักมีกติกาการเล่นหรือการแข่งขันง่าย ๆ ไม่สลับซับซ้อนมากนัก จุดประสงค์ ส่วนใหญ่ มุ่งเพื่อให้เกิดความสนุกสนาน เพื่อออกกาลังกาย และก่อให้เกิดความสามัคคีทั้งระหว่างผู้เล่นและ ผู้ชม กติกาอาจกาหนดขึ้นไว้ก่อนและเคยปฏิบัติมาแล้วหรือ ตกลงกันตั้งขึ้นขณะจะเริ่มเล่นก็ได้คือ ไม่ค่อย พิถีพิถันในเรื่องกติกามากนัก การละเล่นพื้นบ้าน หมายถึง กิจกรรมที่ประชาชนร่วมกันทาขึ้นเพื่อให้สนุกสนานและอื่น ๆ ในแต่ ละท้องถิ่นหรือตาบลหมู่บ้าน บางอย่างอาจเหมือนกันกับท้องถิ่นอื่น และบางอย่างอาจแตกต่างกันไปบ้าง ตามความนิยมของท้องถิ่นนั้น ๆ การละเล่นต่างกับกีฬา การละเล่นแตกต่างจากกีฬาตรงที่การละเล่น จัดทา เพื่อมุ่งความสนุกสนานเป็นใหญ่ ไม่มุ่งที่จะเอาชนะกันอย่างจริงจัง ทั้งผู้เล่นก็ไม่จาเป็นต้องได้ฝึกซ้อมเตรียม ตัวมาก่อนแต่อย่างใด คือ จะเล่นเมื่อไรก็อาจเข้าร่วมกิจกรรมเลยก็ได้ส่วนกีฬา หมายถึง การละเล่นที่ต้องใช้ กาลังพอสมควร การแข่งก็มีกติกาวางไว้แน่นอน และเป็นการกระทาที่ สลับซับซ้อน มีกลวิธีการเล่นและผู้ เล่นซึ่งเรียกว่า นักกีฬา ก็ต้องได้รับการฝึกฝนมาก่อนพอสมควร ทั้งมีเทคนิคหรือกลวิธีการเล่นต่าง ๆ มากมาย เพื่อหวังให้ได้ชัยชนะ และการเล่นกีฬา ไม่ว่าจะไปเล่นที่ไหน ก็ต้องเล่นแบบนั้น เหมือนกัน เพราะ มีกติกากาหนดไว้เป็นการแน่นอนตายตัวอยู่แล้ว การละเล่นพื้นบ้านจึงแตกต่างไปจากกีฬา ตรงที่เป็นการเล่น แบบง่าย ๆ เพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลิน มากกว่าหวังแพ้ชนะเช่นการเล่นกีฬา แต่การละเล่นบางอย่างก็ อาจอนุโลมเข้าเป็น นักกีฬา โดยยากที่แยกจากกันอย่างเด็ดขาดคืออาจเป็นกึ่งกีฬากึ่งการละเล่น แต่คน โบราณ ภาคอีสาน นิยมเรียกการละเล่นว่า การเล่นกันทั้งนั้น ไม่นิยมเรียกว่า กีฬาแม้จะมีการแข่งขันกัน เหมือนกับการเล่นกีฬาก็ตาม ความสาคัญของการละเล่น ได้กล่าวแล้วข้างต้นว่า ธรรมชาติของมนุษย์เกิด มาย่อมมีการเคลื่อนไหว จะอยู่นิ่งไม่ได้ยิ่งเป็นเด็กแล้วจะต้องมีการเคลื่อนไหวบ่อย ๆ ทั้งนี้ เพื่อบริหาร
  • 4. ร่างกายให้มีการเจริญเติบโต การเคลื่อนไหวหรือออกกาลังกายนับเป็นสิ่งจาเป็นอย่างหนึ่งของมนุษย์ทั้งเด็ก และผู้ใหญ่ตลอดถึงผู้สูงอายุและมนุษย์มีนิสัยชอบสังคม คือ ชอบอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่ม จึงต้องมีการคบหา สมาคมกัน และมีการระบายออกทางจิตใจ เพื่อให้มีความสบายทั้งกายและใจด้วย การละเล่นจึงเป็นการ แสดงออกของการเชื่อมความสามัคคีของคน ทาให้คนคบหากันได้อย่างสนิทสนมจึงนับเป็นนันทนาการ อย่างหนึ่ง นอกจากนี้การละเล่นเมื่อมีการจัดเป็นระบบหรือแบบแผน มีกติกาให้คนในกลุ่มปฏิบัติ ย่อมเป็น การแสดงถึงความเจริญงอกงามของคนในกลุ่มนั้น และเป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งด้วย อันแสดงถึงความเป็นผู้ มีวัฒนธรรมของคนกุ่มนั้นด้วย การละเล่นจึงเป็นเครื่องช่วยส่งเสริมให้มีการพัฒนา ทั้งกายและจิตใจของคน ทาให้คนได้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และความสามัคคีกลมเกลียวก้าวหน้านับเป็นวัฒนธรรมได้อย่างหนึ่ง ดังนั้นหากได้มีการฟื้นฟู แก้ไขเปลี่ยนแปลงและส่งเสริมการละเล่นของคนในกลุ่ม ในแต่ละหมู่บ้านให้คงมี อยู่ ผลที่ตามมาก็คือ นอกจากประชาชนได้ออกกาลังกายและทาให้จิตใจสบายแล้ว ยังทาให้คนในกลุ่มอยู่ ด้วยกันด้วยความรักใคร่กลมเกลียวกัน และมีความสุขด้วย การละเล่นพื้นบ้านจึงนับมีความสาคัญ ซึ้งเราควร จะได้มีการอนุรักษ์ให้คงมีอยู่ และหาทางส่งเสริมหรือพัฒนาให้เจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้น ประโยชน์ของ การละเล่น เนื่องจากการละเล่นมีความสาคัญดังกล่าวแล้ว การละเล่นจึงมีประโยชน์สรุปได้ดังนี้ 1. เป็นการช่วยบริหารร่างกายให้สมบูรณ์แข็งแรง ในขณะที่แสดงการละเล่นร่างกายได้เคลื่อนไหว การละเล่นบางอย่างได้มีการออกแรงและแข่งขันกันด้วย จึงทาให้ผู้เล่นได้บริหารร่างกาย ผู้ร่วมกิจกรรมได้ ออกกาลังกายได้ด้วย อันเป็นผลให้ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรงจึงมี สุขภาพพลานามัยดี มีอานาจต้านทานโรค ช่วยทาให้สุขภาพจิตดีเพลิดเพลิน เนื่องจากการละเล่นเป็นนันทนาการส่วนหนึ่ง ทาให้ผู้เล่นรู้สึกสนุกสนาน เพลิดเพลิน จิตใจร่าเริงแจ่มใส จึงทาให้จิตใจสบาย มีอารมณ์ดี เป็นการช่วยรักษาสุขภาพจิตของผู้แสดง การละเล่น และคลายความตึงเครียดของประสาทได้เป็นอย่างดีด้วย 2. เป็นการส่งเสริมให้เกิดความสามัคคี รักหมู่คณะ การละเล่นพื้นบ้านแทบทุกอย่าง จะมีคนร่วมกัน เล่นคราวละหลาย ๆ คน นอกจากนี้ ยังมีผู้ร่วมชมและการสนับสนุนการแสดงการละเล่นด้วย บุคคลเหล่านี้ จะร่วมกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ทาให้ได้มีส่วนร่วมการแข่งขัน การแสดงหรือร่วมสนุกสนานกับกลุ่มคน เหล่านี้ เมื่อได้ร่วมกิจกรรมกัน ความรักใคร่กลมเกลียว ความคุ้นเคยเป็นกันเอง ย่อมมีขึ้นดุจญาติพี่น้องอัน แท้จริง ย่อมก่อให้เกิดความรักใคร่สามัคคีในหมู่คณะ บางโอกาสเมื่อผู้ใดมีธุระการงาน ได้รับความ เดือดร้อน หรือมีความจาเป็นอะไรบางอย่าง ก็จะได้รับความช่วยเหลือจากผู้สนิทคุ้นเคยเหล่านั้นเป็นอย่างดี ฝึกให้เป็นผู้มีน้าใจต่อสู้กล้าหาญและมีน้าใจนักกีฬา การละเล่นบางอย่างย่อมจะมีการต่อสู้และแข่งขันกัน ระหว่างบุคคลต่อบุคคลและหมู่คณะต่อหมู่คณะ การต่อสู้นี้ย่อมต้องอาศัยความสามารรถทั้งด้านกาลังกาย และกาลังใจ ผู้ใดได้แข่งขันบ่อย ๆ ย่อมทาให้ร่างกายและจิตใจเข้มแข็งพร้อมที่จะเผชิญปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ เป็นการฝึกคนให้รู้จักต่อสู้และกล้าหาญ ทั้งเป็น การอบรมให้เป็นผู้มีน้าใจนักกีฬา รู้แพ้รู้ชนะ รู้อภัย เป็น ต้น นับเป็นการสร้างเสริมนิสัยที่ดีแก่ผู้แสดงการละเล่น
  • 5. 3. เป็นการส่งเสริมการริเริ่มสร้างสรรค์ ก่อนแสดงการละเล่น ย่อมมีการปรึกษาหารือ และตกลงกัน ถึงวิธีการเล่นหรือกติกา การจัดหาอุปกรณ์ และค้นหาดัดแปลงวิธีการละเล่นแปลก ๆ ที่เหมาะสมเพิ่มเติม เป็นการฝึกให้บุคคลเหล่านั้น รู้จักคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในสิ่งที่ดีงาม ซึ่งการริเริ่มสร้างสรรค์นี้ควรฝึกให้มีขึ้น โดยเฉพาะเด็ก ๆ และเยาวชน ควรได้มีการฝึกให้มาก ช่วยสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต นาไปใช้ใน ชีวิตประจาวัน การละเล่นบางอย่าง เช่น การละเล่นของเด็ก เป็นการเลียนแบบของผู้ใหญ่ ทาให้เด็กมี จินตนาการและได้ฝึกปฏิบัติตามอย่างผู้ใหญ่ เป็นการฝึกให้มีปฏิญาณไหวพริบ ช่วยให้เกิดความรอบรู้ บางอย่าง เป็นการส่งเสริมประสบการณ์ชีวิต โดยครูอาจารย์อาจ นาไปใช้ประกอบการเรียนการสอนใน โรงเรียน และผลที่ได้จากการแสดงการละเล่น อาจนาไปใช้ เป็นประโยชน์ในชีวิตประจาวันต่อไปด้วย 4. เป็นการฝึกปฏิญาณไหวพริบ เพราะการละเล่นต่าง ๆ ส่วนมากมักจะมีการแข่งขันกัน การแข่งขัน กันจะมีชัยชนะได้จะต้องอาศัยปฏิญาณไหวพริบของผู้เล่นแต่ละคนประกอบด้วยหากผู้เล่นมีปฏิญาณไหว พริบดี ย่อมมีส่วนช่วยให้ผู้เล่นมีชัยชนะในที่สุด ในขณะเล่นผู้เล่นทุกคน ต้องพยายามใช้สมองหรือไหวพริบ ของตนเอง เมื่อมีการฝึกใช้สมองหรือไหวพริบบ่อย ๆ เข้า ย่อมจะช่วยให้ผู้ช่วยให้ผู้นั้นมีปฏิญาณไหวพริบดี ขึ้น นอกนี้การละเล่นบางอย่างอาจช่วยฝึกการสังเกต และฝึกความจาด้วย ฝึกระเบียบวินัย การเชื่อฟัง และ รู้จักหน้าที่ ธรรมดาการละเล่นย่อมมีกติกา ผู้เล่นต้องอยู่ในขอบข่ายของกติกา และจะต้องถือระเบียบวินัย แห่งการเล่นและปกติการละเล่นย่อมมักมีผู้ตัดสิน บางทีมีหัวหน้าทีม ผู้เล่นจะต้องเชื่อฟังผู้ตัดสิน และ จะต้องเชื่อฟังหัวหน้าทีมด้วย จึงจะทาให้การเล่นดาเนินไปด้วยความเรียบร้อย และการเล่นถ้าจะให้ได้ชัย ชนะข้อสาคัญอย่างหนึ่ง คือ ผู้เล่นจะต้องรู้จักหน้าที่ของตน และพยายามทาหน้าที่ของตนให้ดีที่สุด การละเล่นจึงนับเป็นการฝึกสิ่งดีงามดังกล่าวไปในตัว ช่วยแก้ปัญหาเรื่องเด็กซุกซนหรือเล่นเป็นโทษ ตาม ธรรมชาติของเด็ก ย่อมไม่ชอบอยู่นิ่ง ๆ บางทีการไม่อยู่นิ่งของเด็กอาจเล่นเป็นโทษ เช่น ทาให้เกิดเสียหาย หรืออันตรายต่อ ตนเองหรือผู้อื่น ตลอดทรัพย์สิ่งของด้วย เมื่อมีการละเล่นขึ้น เด็กย่อมมีโอกาสระบายออก ซึ่ง ความอัดอั้นใน ด้านกาลังกายและจิตใจ ทั้งการละเล่นส่วนมากย่อมมีผู้ควบคุมและอยู่ในกรอบแห่งกติกา การละเล่นจึงช่วยให้ผู้เล่นได้แสดงออกในทางที่เหมาะที่ควรทั้งเป็นการแก้ปัญหาในด้าน ความซุกซนหรือ การเล่นเป็นโทษของเด็กได้เป็นอย่างดี ช่วยทาให้งานประเพณีสนุกสนานครึกครื้น ในงานเทศกาลตาม ประเพณี เช่น งานบุญตรุษสงกรานต์ งานบุญเข้าพรรษา บุญข้าวสาก บุญออกพรรษา เป็นต้น นอกจากมี การ คบงันและจัดกิจกรรมต่าง ๆ แล้ว เมื่อมีการละเล่นประกอบด้วย ก็จะทาให้งานนั้น ๆ สนุกสนาน ครึกครื้น เป็นการส่งเสริมให้งานมีชีวิต ชีวา ช่วยทาให้มีผู้มาร่วมงานมากขึ้น ทาให้ผู้ร่วมงาน รู้จัก คุ้นเคย และรักใคร่ สามัคคี มีความรื่นเริงบันเทิงใจ 5. เป็นการสร้างเสริมในด้านขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมและเอกลักษณ์ของท้องถิ่น เนื่องจากการละเล่นพื้นบ้านบางอย่าง ประชาชนได้นามาเล่นในงานประเพณี ช่วยให้งานนั้นสนุกสนาน ยิ่งขึ้น การละเล่นจึงนับมีส่วนส่งเสริมขนบธรรมเนียมประเพณีด้วย นอกจากนี้การละเล่นยังเป็นมาดกตก ทอด ลอกเลียนแบบต่อ ๆ กันมาแต่โบราณ เป็นเครื่องบอกถึง ความเจริญก้าวหน้า ของบรรพบุรุษเป็นการ แสดงออกของวิถีชีวิต การพัฒนาสังคม ความสามัคคี กลมเกลียวก้าวหน้า จึงนับเป็นส่วนหนึ่งของ
  • 6. วัฒนธรรม และการละเล่นของบางท้องถิ่นก็แตกต่าง กันไปจึงนับเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นด้วย ที่กล่าวมา นี้ จะเห็นได้ว่า การละเล่นพื้นบ้านนับว่า เป็นสิ่งที่มีประโยชน์เป็นอย่างมากควรจะได้มีการอนุรักษ์และ ส่งเสริมให้คงมีอยู่ต่อไป และควรจะได้มีการดัดแปลงแก้ไขการละเล่น บางอย่างให้เหมาะสมยิ่งขึ้น ก็เชื่อว่า การละเล่นพื้นบ้าน คงจะอานวยประโยชน์แก่ประชาชน ทั้งเด็กและผู้ใหญ่เป็นอย่างมาก ข้อควรปฏิบัติการ แสดงการละเล่น การแสดงการละเล่นพื้นบ้าน มีข้อควรปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ - ก่อนแสดงการละเล่น ก่อนแสดงการละเล่น ควรนะได้มีการเตรียมบางอย่างไว้ให้พร้อม เพื่อให้การละเล่น เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และเป็นไปตามเป้ าหมายที่ตั้งไว้เป็นต้นว่าจัดสถานที่ ที่เหมาะสม เตรียมอุปกรณ์ ต่าง ๆ ไว้ให้พร้อมเรียบร้อย หากจาเป็นต้องมีอุปกรณ์ ก็ควรเตรียมจัดหาให้พร้อม มีสภาพเรียบร้อย ครบถ้วนและปลอดภัย จัดสถานที่เล่นให้เหมาะสมแก่การเล่นแต่ละอย่าง ก่อนลงมือเล่นควรซักซ้อมวิธีการ เล่น ตลอดจนกติกาให้เข้าใจ เพื่อมิให้มีปัญหา ถกเถียงกันภายหลัง จัดแบ่งผู้เล่นตามกาลังความสามารถพอ เหมาะสมกันทุกฝ่าย เพื่อความเป็นธรรม - ขณะแสดงการละเล่น ในขณะดาเนินการละเล่น ผู้ควบคุมหรือผู้เป็นหัวหน้าควรดูแลอย่างใกล้ชิด ให้ผู้เล่น ได้รับความเป็นธรรม และปลอดภัยมิให้ผู้เล่นเอาเปรียบซึ่งกันและกัน แก้ปัญหาเมื่อเกิดขึ้น และพยายามดูแล การละเล่น ให้ดาเนินไปตามกติกาหรือข้อตกลงให้เป็นที่สนุกสนานและพอใจของทุกฝ่าย เป็นต้น ภายหลัง การละเล่น ควรเสนอแนะผู้เล่นให้มีใจกว้าง รู้แพ้รู้ชนะ รู้อภัย ร่วมมือกันด้วยความยินดีสนุกสนาน หากมี ข้อบกพร่องอะไรก็เสนอแนะ เพื่อจะได้แก้ไข หากจะมีการเล่นในโอกาสหน้า จัดเก็บอุปกรณ์และความ สะอาดของสถานที่เล่นให้เรียบร้อย นัดหมายผู้เล่น หากจะมีการเล่นอีกในวันต่อไป เป็นต้น ส่งเสริมการวิธี การละเล่น การละเล่นพื้นบ้านมีความสาคัญและให้ประโยชน์อย่างไรท่านก็ทราบแล้ว ซึ่งเราควรหาทาง ส่งเสริมให้คงมีอยู่ พยายามพัฒนาให้ก้าวหน้าและเผยแพร่ให้เป็นที่ทราบอย่างแพร่หลาย ตลอดจนการนาไป ปฏิบัติกันอย่างกว้างขวาง และจริงจังยิ่งขึ้นกว่าเท่าที่เป็นอยู่ทุกวันนี้ การส่งเสริมการละเล่นที่ควรดาเนินการ ได้แก่ มีการฟื้นฟูการละเล่นพื้นบ้านที่มีอยู่แต่เดิม ซึ่งกาลังจะสูญหายไปให้คงมีอยู่ โดยให้คิดว่าการละเล่น เป็นมรดกของบรรพบุรุษที่ได้สร้างสรรค์ขึ้น ถือว่าเป็นวัฒนธรรมที่มีคุณค่า ซึ่งอนุชนรุ่นหลังควรจะต้อง อนุรักษ์ให้คงมีอยู่ตลอดต่อไป ให้มีการค้นคว้าบันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับการละเล่นพื้นบ้านขึ้นไว้เป็นหลักฐาน ให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาและปฏิบัติ พยายามเผยแพร่ผลงานที่ค้นคว้า ให้เป็นที่แพร่หลายโดยทั่วกัน ผู้ใหญ่ หรือคนเฒ่าคนแก่ที่มี่ความรู้เกี่ยวกับการละเล่นพื้นบ้าน ควรให้ความร่วมมือ ชี้แจงแนะนาและถ่ายทอดวิธี การละเล่นที่เคยและเคยปฏิบัติมา ให้คนรุ่นหลังได้ทราบ โดยการชี้แจงให้เข้าใจหรือสาธิตวิธีการละเล่นให้ผู้ ที่สนใจได้ทราบ ผู้นาท้องถิ่น เช่น กานัน ผู้ใหญ่บ้าน พระสงฆ์ และผู้ที่ประชาชนเชื่อถือ ฯลฯ ควรจะได้เป็น ความสาคัญและหาทางสนับสนุน ให้มีการฟื้นฟูการละเล่นพื้นบ้านขึ้น แนะนาคนอื่นให้เป็นความสาคัญของ การละเล่น และร่วมจัดกิจกรรมการละเล่นในโอกาสต่าง ๆ เช่น ในงานทาบุญตามประเพณี ได้แก บุญตรุษ สงกรานต์บุญเข้าพรรษา บุญข้าวสาก บุญออกพรรษา เป็นต้น สถานศึกษาหรือโรงเรียนควรเห็นความสาคัญ ของการละเล่นพื้นบ้าน ครูอาจารย์ควรจะได้สนใจศึกษา ไม่ควรมองไปว่า การละเล่นพื้นบ้านที่เรามีอยู่เป็น ของล้าสมัย และควรพยายามนาเอาการละเล่นพื้นบ้านไปฝึกให้เด็กได้เล่นกัน และการละเล่นบางอย่างครู
  • 7. อาจารย์อาจนาไปใช้ประกอบการเรียน การสอน ให้เกิดประโยชน์แก่เด็กให้มากที่สุดเท่าที่จะทาได้เมื่อทาง ราชการหรือหน่วยงานของรัฐจัดงานอย่างใดอย่างหนึ่งขึ้น ควรจะได้จัดให้มีการละเล่นพื้นบ้าน ในงาน เทศกาล หรืองานประเพณีนั้น ๆ ควรพยายามนาการละเล่นไปเสริมกิจกรรมของงาน หากสามารถจัดทาได้ เป็นประจา จนให้ประชาชนมองเห็นความสาคัญของการละเล่นและจัดให้มีการละเล่นในงานที่จัดขึ้นโดย สม่าเสมอได้ยิ่งดี การละเล่นพื้นบ้านของภาคเหนือ 1. เตยหรือหลิ่น ภาค ภาคเหนือ จังหวัด ตาก สถานที่เล่น ลานกว้าง ที่โล่งแจ้ง อุปกรณ์์ ไม่มี ์านวนผู้เล่น ๖-๑๒ คน วิธีเล่น ขีด เส้นเป็นตารางจานวนเท่ากับผู้เล่น (สมมติว่ามี ๖ คน) แล้วแบ่งผู้เล่นออกเป็น ๒ ฝ่าย ฝ่ายหนึ่งยืนประจา เส้น (ตามขวาง) อีกฝ่ายจะวิ่งผ่านแต่ละเส้นไปโดยไม่ให้เจ้าของเส้นแตะได้เมื่อเริ่มเล่นคนที่ยืนประจาเส้น แรก พูดว่า ไหล หรือ หลิ่น ฝ่ายตรงข้ามก็เริ่มวิ่งผ่านเส้นแรกไปจนถึงเส้นสุดท้ายแล้ววิ่งกลับ ถ้าวิ่งกลับถึง เส้นแรกโดยไม่ถูกฝ่ายตรงข้ามแตะได้ก็พูดว่า เตย ก็จะเป็นฝ่ายชนะ โอกาส เป็นการละเล่นพื้นบ้านที่เด็ก ๆ เล่นกันโดยทั่วไป
  • 8. 2. ม้าจกคอก ภาค ภาคเหนือ จังหวัด กาแพงเพชร การเล่นม้าจกคอก ภาคกลางเรียก ลาวกระทบไม้การเล่นชนิดนี้เข้าใจว่าอาจจะได้รับอิทธิพลมาจาก การละเล่นของชาวลัวะ อุปกรณ์และวิธีเล่น จานวนผู้เล่น ตั้งแต่ ๓ คนขึ้นไป อุปกรณ์ ๑. ไม้กลมขนาดการอบ ยาวประมาณ ๕ ศอก จานวน ๒ ท่อน ๒. ขอนไม้สูงประมาณ ๑ คืบ ยาวประมาณ ๑-๒ ศอก จานวน ๒ ท่อน สถานที่เล่น เล่นบริเวณที่เป็นลานกว้าง วิธีการเล่น ๑. แบ่งผู้เล่นออกเป็น ๒ ฝ่าย ฝ่ายแรกมี ๒ คน สาหรับถือท่อนไม้ที่วางขนานบนขอนไม้แล้วกระทบกันเป็น จังหวะ ส่วนฝ่ายที่ ๒ มี ๒ คนขึ้นไป สาหรับเป็นผู้เต้น ๒. ให้ผู้เล่นเข้าไปอยู่ระหว่างคาน ผู้ถือไม้คานทั้งคู่ก็ทาสัญญาณ โดยยกคานไม้ทั้งคู่กระแทกลงบนไม้หมอน ระหว่างที่เคาะจังหวะอยู่นั้นผู้เล่นต้องเต้นไปด้วย เมื่อให้สัญญาณเคาะ ๓ ครั้งแล้ว ครั้งที่ ๔ ผู้ถือจะเอาคาน ทั้งสองเข้าชิดกัน ผู้เต้นจะต้องกระโดดให้สูงกว่าครั้งแรกของจังหวะและแยกขาออกให้พ้นไม้ถ้าถูกหนีบ เรียกว่า ม้าขาคอก หรือม้าติดคอก คู่ที่ถูกไม้หนีบจะต้องออกไปเปลี่ยนให้ผู้ที่ถือคานอยู่เดิมนั้นเข้ามาเต้น ใน ระหว่างคานนั้นบ้าง โอกาสหรือเวลาที่เล่น การเล่นม้าจกคอกนิยมเล่นในวันขึ้นปีใหม่ (สงกรานต์) ของล้านนา
  • 9. สาระ การเล่นม้าจกคอก เป็นการละเล่นเพื่อให้ความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ทาให้เกิดความสามัคคีภายในกลุ่มและ ความมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน 3.การละเล่นไม้หึ่ง หรืออีหึ่ง ภาค ภาคเหนือ จังหวัด กาแพงเพชร อุปกรณ์และวิธีการเล่น อุปกรณ์ ใช้ไม้๒ ชิ้น คือ ไม้แม่ ทาด้วยกิ่งไม้ที่หาง่ายและเหนียว มีขนาด เส้น ผ่าศูนย์กลางประมาณ ๑นิ้ว หรือใกล้เคียง ยาวประมาณ ๑ ศอก และ ไม้ลูก อาจนาจากไม้ท่อนเดียวกันด้านปลายของไม้แม่ยาวประมาณ ๑ คืบ ไม้ที่สามารถทาได้เช่น ไม้มะขาม ไม้ฝรั่ง หรือไม้ไผ่ลาเล็ก ตัน คือ เป็นไม้ที่สามารถหาได้ง่ายใน ท้องถิ่น นิยมใช้ไม้สดด้วยเป็นไม้ที่ยังมีน้าหนักและเหนียวไม่เปราะเหมาะสมกับกระบวน การเล่น วิธีการเล่น โดยการแบ่งฝ่ายละเท่า ๆ กัน เช่น ๒ ต่อ ๒ หรือ ๓ ต่อ ๓ ฝ่ายได้เล่นก่อนจะทาการขุดร่องที่ พื้นดินแข็งให้เป็นร่องยาวประมาณ ๑ คืบ ลึก ๑ นิ้วครึ่ง เป็นรางคล้ายเรือ หรือ พอเพียงกับการงัดไม้ลูกได้ จากนั้นฝ่ายเริ่มจะวางไม้ลูกขวางร่องหลุมที่ขุด ไว้แล้วใช้ไม้แม่งัดออกไปข้างหน้าให้ได้ระยะไกลที่สุดเท่าที่ จะทาได้เพื่อให้ฝ่ายตรงข้ามรับยากหรือโต้กลับยาก ขณะที่งัดไม้ลูกออกไปนั้น ฝ่ายรับสามารถใช้อุปกรณ์ใด ก็ได้ปกป้ องหรือตีโต้กลับไปยังหลุมงัด หรือใช้มือรับ จากนั้นฝ่ายเริ่มต้องวางไม้แม่ไว้ที่หลุม ฝ่ายรับจะโยน ไม้ลูกให้กลับมาให้ถูกหรือปะทะให้ไม้แม่ที่วางอยู่เพื่อการชนะ ถ้าสามารถโยนลูกปะทะไม้แม่ก็จะได้ กลับมาเป็นผู้เริ่มหรือผู้เสริฟ แต่ถ้าโยนไม่ถูกไม้แม่ฝ่ายเริ่มก็จะได้ดาเนินการขั้นตอนต่อไป คือ นาไม้ลูก ขึ้นมาเดาะโดยใช้ไม้แม่เดาะไม้ลูกให้ได้จานวนครั้งให้ได้มากที่สุด ถ้าเดาะได้ถึง ๓ ครั้งก็จะได้ตีลูกออกไป ถึง ๓ ครั้ง การตีจะ พยายามตีลูกออกไปยังฝ่าย ตรงข้ามให้ได้ระยะไกลที่สุดและไม่ให้ฝ่ายตรงข้ามรับได้ เพราะถ้ารับได้ก็ จะต้องแพ้และกลับมาเป็น ผู้เริ่ม แต่ถ้ารับไม่ได้ฝ่ายเริ่มเดิมก็จะให้ตีไม้ต่อไปจนให้ครบ ๓ ครั้ง และฝ่ายรับก็ จะนาไม้ลูกนั้นวิ่งกลับมายังหลุมโดยกลั้นหายใจและออกเสียงมาทาง จมูกให้มีเสียง หึ่ม มาตลอดระยะการ
  • 10. วิ่ง ถ้าเล่นฝ่ายละหลายคนก็สามารถส่งต่อไม้กันได้และผู้รับต่อก็จะต้องหึ่มต่อ เช่นกัน ห้ามขาดเสียงหึ่ม ในขณะวิ่งกลับถ้าขาดเสียงหึ่มก็ถือว่าฟาวล์หรือแพ้ในเกม นั้น ผู้เริ่มเดิมก็จะได้เล่น แต่ถ้าผู้หึ่มสามารถวิ่ง หึ่มมาถึงหลุมได้ก็จะชนะได้เป็นผู้เริ่มเล่นใหม่โดย ใช้วิธีเดิม (การเล่นอาจแตกต่างกันไปบ้างในแต่ละ ท้องถิ่นได้) โอกาสหรือเวลาที่เล่น เป็นการเล่นของเด็กเล็กและเด็กโตประมาณ ๗ – ๑๕ ขวบ สามารถเล่นได้ทั้งเด็กหญิงและเด็กชายเล่นในยาม ว่างเพื่อสันทนาการ ความสนุกสนาน และแข่งขันกันในหมู่เล็ก สถานที่ใช้เล่นจะต้องมีบริเวณลานกว้างพอ เช่น สนามหน้าโรงเรียน ลานบ้านในหมู่บ้าน หรือลานวัด คุณค่า / แนวคิด / สาระ เป็นการเล่นที่ง่ายไม่ต้องลงทุนซื้ออุปกรณ์และการเก็บรักษาอุปกรณ์ เนื่องด้วยไม้ที่ ใช้เล่นนิยมใช้ไม้สด เนื่องจากมีน้าหนักในการใช้โยนหรือตีได้ไกล และเป็นการเล่นที่ต้องใช้ทักษะการงัด ให้ได้ไกล ดังนั้น จะต้องวางไม้ลูกให้ได้จุดกึ่งกลาง วางมุมไม้แม่ให้ได้องศาการดีดขึ้น ฝ่ายรับจะต้องมีทักษะการรับประสาท สั่งการความสัมพันธ์ของสายตาและอันตรายที่ อาจเกิดขึ้น แต่ละช่วงของการเล่นจะมีเทคนิคการเล่นที่ต้อง ใช้ความสังเกต และฝึกความชานาญในโอกาสต่อไป เช่น คนที่เล่นได้ดีคือจะงัดให้ไกลหรือเดาะได้จานวน ครั้งได้มาก และเวลาไม้ตีลูกก็จะได้ไกลเนื่องจากในขณะตีนั้นจะต้อง ให้มีความสัมพันธ์กันระหว่างการ ปล่อยมือไม้ลูกและไม้แม่ให้ตรงจุดกึ่งกลาง ศูนย์กลางของน้าหนัก เช่นเดียวกับการตีเทนนิส หรือ แบดมินตัน หรือเบสบอลและฝึกความแม่นยาในการโยนกลับ หรือพัดลูกกอล์ฟบนกรีนหรือเปตอง 4.โพงพาง ภาค : ภาคเหนือ จังหวัด : ตาก สถานที่เล่น : สนาม,ลานกว้าง อุปกรณ์ : ผ้าปิดตา จานวนผู้เล่น : ไม่จากัดจานวน วิธีเล่น : ยิ้งฉุ บกันว่าใครจะเป็นผู้แพ้ต้องปิดตาเป็นโพงพางตาบอด ผู้เล่นคนอื่นๆจับมือเป็นวงกลม ร้องเพลง “โพงพางเอ๋ย โพงพางตาบอด รอดเข้ารอดออก โพงพางตาบอด ปล่อยลูกช้างเข้าในวง” ขณะเดิน
  • 11. วนรอบๆโพงพางตาบอดร้องเพลง1-3จบ แล้วนั่งลงโพงพางจะเดินมาคลาคนอื่นๆ ซึ่งต้องพยายามหนี และ จะต้องเงียบสนิท หากโพงพางจาเสียงหัวเราะ รูปลักษณะได้จะเรียกชื่อ ถ้าเรียกคนถูกต้องออกมาปิดตาเป็น โพงพางต่อไป ถ้าไม่ถูกก็ต้องเป็นโพงพางต่อไปอีกเรื่อยๆ โอกาส : เป็นการละเล่นพื้นบ้านที่เด็กๆเล่นกันโดยทั่วไป 5.เบี้ยขี่โก่ง อุปกรณ์และวิธีการเล่น อุปกรณ์ -เบี้ย (ก้อนหินที่มีลักษณะแบน) วิธีการเล่น ๑.ขุดหลุมให้พอเหมาะกับเบี้ย ๑ หลุม และขีดเส้นใต้ห่างจากหลุมให้พอเหมาะ ๒.ถ้าผู้เล่นมีไม่ครบคู่ให้เล่นคี่ก็ได้ ๓.จุดโยนเบี้ยต้องห่างจากหลุมไม่ต่ากว่า ๕ เมตร ๔.ผู้เล่นต้องโยนหินให้ใกล้หลุมมากที่สุดหรือลงหลุมเลยก็ได้ ๕.ผู้ที่โยนเบี้ยไกลที่สุดจะถูกคนที่ใกล้หลุมมากที่สุดเก็บเบี้ยขึ้นมาแล้ว โยนจากหลุมให้ข้ามเขต ๕ เมตร แล้วโยนเบี้ยให้ถูกคนที่อยู่ไกลหลุม ๖.ถ้าถูกคนนั้นก็จะขี่หลังของคนที่ตีเบี้ยโดนนั้น แล้วโยนหินบนหลังนั้นให้เข้าหลุมก็ได้หรือไม่เข้าก็ต้องตี โดนเบี้ยนั้นให้ได้ ๗.ถ้าโยนไม่ถูก คนที่ได้ขี่หลังก็จะถูกคนที่ขี่หลังเก็บเบี้ยของตนแล้วมาตีให้ถูกเบี้ยของคน นั้นให้ได้ถ้ายังไม่ ถูกคนที่เหลือก็จะต้องตีให้ถูกหินของใครก็ได้แล้วคนที่ขี่หลังโยน หินต่อ แต่ถ้าไม่โดนสักคนก็เริ่มต้นใหม่
  • 12. 6.เล่นตากระโดด อุปกรณ์และวิธีการเล่น อุปกรณ์ -ก้อนหิน หรือกระเบื้อง จานวนผู้เล่น ๔ คนขึ้นไป วิธีการเล่น ๑.ขีดช่องสาหรับกระโดดเป็น ๖ ช่อง ขนาดโตพอที่จะกระโดดเข้าไปยืนได้แล้วแบ่งครึ่งช่องที่ ๓ ที่ ๕ สาหรับที่พัก และกลับหลังหัน จึงมีช่องทั้งหมด ๘ ช่อง แล้วเขียนหัวกระโหลกเล็ก ๆ ในช่องบนสุด ๒.ใช้อะไรเป็นเบี้ยก็ได้แต่ควรเป็นของที่มีน้าหนัก ถ้าใครโยนเข้าหัวกระโหลกที่เล็ก ๆ นั้น ก็จะได้เล่นก่อน ๓.โยนเบี้ยลงช่องที่ ๑ แล้วกระโดดขาเดียวข้ามช่องที่ ๑ เข้าไปยังช่องที่ ๒ แล้วกระโดด ๒ ขา เข้าไปในช่อง ที่ ๓ และ ๔ ให้เท้าข้างหนึ่งอยู่ช่องที่ ๓ อีกข้างหนึ่งอยู่ที่ช่องที่ ๔ จากนั้นกระโดดขาเดียว ต่อไปยังช่องที่ ๕ และ ๒ ขา ที่ช่องที่ ๖ และ ๗ ตามลาดับ กระโดดตัวกลับ หันหน้ากลับมาทางเดิม กระโดดขาเดียวมายังช่อง ที่ ๕ สองขาที่ช่องที่ ๓ และ ๔ ขาเดียวที่ช่องที่ ๒ และช่องที่ ๑ พร้อมกับก้มลงเก็บเบี้ยที่ช่องที่ ๑ จากนั้นก็ กระโดดออกมา ๔.ถ้าเกิดเล่นช่องที่ ๑ แล้วก็เล่นช่องที่ ๒ โดยโยนเบี้ยให้อยู่ในช่องที่ ๒ แล้วกระโดดขาเดียวไปยังช่องที่ ๑ ข้ามช่องที่ ๒ ไปยืน ๒ ขาที่ช่องที่ ๓ และ ๔ กระโดดไปยืนขาเดียวที่ช่องที่ ๕ และ ๒ ขา ที่ช่องที่ ๖ และ ๗ แล้วหันตัวกลับทาอย่างเดียวกับตาแรก คือ ต้องกระโดดกลับมาเก็บเบี้ยแล้วจึงกระโดดออกไป ถ้าเกิดเล่นถึง ช่องหัวกระโหลกบนสุด ให้กระโดดกลับตัวในช่องที่ ๖ และ ๗ แล้วก้มลงใช้มือลอดระหว่างขา เก็บเบี้ยใน ช่องกระโหลก เมื่อเก็บได้จึงกระโดดออกมาอย่างเดิม หากว่าเล่นทุกช่องหมดแล้วจะได้บ้าน ๑ หลัง จึงขีด กากบาทไว้กลางช่องต่อไป ใครจะเหยียบบ้านนี้ไม่ได้
  • 13. 7. อีหึ่ม อุปกรณ์และวิธีการเล่น อุปกรณ์ -ไม้ยาวประมาณ ๕๐ เซ็นติเมตร -ไม้ยาวประมาณ ๒๐ เซ็นติเมตร เรียกว่า ลูก อาจใช้ตะเกียบแทนก็ได้ จานวนผู้เล่น ตั้งแต่ ๔ คนขึ้นไป ควรจะเป็นคู่กันด้วย วิธีการเล่น แบ่งผู้เล่นเป็น ๒ ฝ่าย ๆ ละเท่ากัน เป่ายิงฉุบกันใครชนะเล่นก่อน ขุดหลุมน้อย ๆ เอาลูกพาดกลางหลุมไว้ใช้ ไม้ยาว ๕๐ เซ็นติเมตร (ไม้วุด) งัดไม้ที่เป็นลูกหรือที่ยาว ๒๐ เซ็นติเมตรไปให้ไกลที่สุด แล้ววางไม้วุดปาก หลุม ให้อีกฝ่ายที่ไม่ได้งัดโดยไม้ที่วุดไปให้มาถูกที่พาดไว้บนปากหลุม ถ้าวุดไม่ถูกก็ให้วุดไม้อีกครั้งจนกว่า จะถูก ถ้าถูกให้ผู้ที่เป็นฝ่ายโยนไม้มาปากหลุมแทน
  • 14. 8. ซิกโก๋งเก๋ง อุปกรณ์และวิธีการเล่น อุปกรณ์ -ไม้ไผ่ ท่อนปลายของไม้รวก หรือไม้ซาง ตัดให้สูง ประมาณ ๒-๒.๕ เมตร -ปล้องไม้ไผ่ที่ใหญ่กว่า ๒ ท่อนแรก ตัดให้เหลือข้อปล้องไว้ด้านหนึ่งยาวประมาณ๑๕-๓๐ เซนติเมตร จานวน ๒ ท่อน วิธีการประดิษฐ์ ๑.เอาไม้ไผ่ ท่อนปลายของไม้รวก หรือไม้ซาง ตัดให้สูง ประมาณ ๒-๒.๕ เมตร ๒.ใช้มีดตัดเจาะกิ่งไผ่ที่เป็นปมอยู่ข้อตาไผ่ออกให้หมด แต่ต้องเหลือไว้ตรงข้อแรกของไม้ไผ่ให้เป็นปมอยู่ เหลาข้ออื่นๆ ให้เรียบเพื่อสะดวกในการจับถือ ๓.หาปล้องไม้ไผ่ที่ใหญ่กว่า ๒ ท่อนแรก ตัดให้เหลือข้อปล้องไว้ด้านหนึ่งยาวประมาณ๑๕-๓๐ เซนติเมตร จานวน ๒ ท่อน เจาะรู ๒ ด้าน เสร็จแล้วนาไปสวมเข้ากับไม้๒ ท่อนแรก โดยให้ไม้ที่สวมนั้นไปค้างติดอยู่ กับข้อตาไผ่ที่เหลือไว้แล้วใช้ผ้าพันตรงไม้๒ ท่อนประกบกันให้แน่น วิธีการเล่น ใช้มือถือไม้โก๋งเก๋งตั้งขึ้นให้ตรง แล้วค่อยก้าวเท้าใดเท้าหนึ่ง ขึ้นเหยียบบนไม้โก๋งเก๋ง ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้เท้า ซ้ายขึ้นก่อน แล้วก้าวเท้าขวาตามตั้งตัวให้สมดุลแล้วค่อย ๆ ก้าวเท้าใดเท้าหนึ่งออกไป ถ้าล้มก็ขึ้นใหม่เดิน ใหม่จนคล่อง
  • 15. 9.หมากล้อกลิ้ง อุปกรณ์และวิธีการเล่น อุปกรณ์ -หมากล้อกลิ้ง วิธีการประดิษฐ์ ๑.นาไม้แผ่นมาถากหรือฉลุเป็นวงกลมขนาด ๑๐ – ๑๒ เซนติเมตร เพื่อทาเป็นล้อไม้ ๒.เจาะรูตรงกลาง ๓.นาไม้ไผ่ขนาดพอมือจับ ยาวประมาณ ๑ – ๑.๒๐ เมตร มาผ่าส่วนปลายไม้ให้เป็นง่ามคล้ายหนังสะติ๊ก แล้ว เจาะรูทาเป็นด้ามจับ ๔.นาล้อไม้มาประกอบติดกับด้ามจับสอดตะปูหรือเหลาไม้ทาแกนล้อ วิธีการเล่น นิยมเล่นคนเดียวหรือเป็นกลุ่ม โดยนาหมากล้อกลิ้งมาวิ่งเล่นกันไปตามท้องถนนหรือลานบ้าน ลานวัดอาจมี การแข่งขันว่าใครจะวิ่งเร็วกว่ากัน
  • 16. 10.หมากข่าง อุปกรณ์และวิธีการเล่น อุปกรณ์ -ไม้ที่กลึงเกลาให้กลมแล้ว ขนาดกามือ จานวน ๒๐-๓๐ ลูก -สะบ้า ๑๐ ลูก -ลานดินกว้างขนาด ๕x๑๐ เมตร วิธีการเล่น การเล่นจะแบ่งผู้เล่นออกเป็น ๒ ข้าง แต่ละข้างไม่จากัดว่าจะเป็นหญิงหรือชาย หรือทั้งหญิงและชายปนกัน ขอให้มีข้างละเท่ากันเท่านั้น แต่ละข้างจะมีอุปกรณ์ในการเล่น คือ หมากข่าง หรือลูกทอยข้างละ ๕-๑๐ ลูก เท่านั้น และมีลูกสะบ้า ๕ ลูก ตั้งเป็นรูปกากบาทให้ห่าง จากอีกข้างแล้วแต่จะตกลงกัน เมื่อเริ่มเล่น จะมีการเสี่ยงว่าข้างไหนจะได้เป็นข้างที่จะโยนก่อน จากนั้นข้างที่ได้โยนก่อนจะไปยืนหลังเส้น ที่ตั้งลูกสะบ้า แล้วโยนลูกให้กลิ้งไปโดยสะบ้าที่ตั้งเป็นรูปกากบาทของข้างตรงข้าม ถ้าฝ่ายใดสามารถโยน ไปโดนลูกสะบ้าได้มากที่สุด ก็จะเป็นฝ่ายชนะการแข่งขัน
  • 17. วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. เลือกหัวข้อที่สนใจ 2. หาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์ 2. หนังสือ 3. อุปกรณ์การเรียน งบประมาณ : ไม่มี ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ศิริรัตน์ 1 คิดหัวข้อโครงงาน / ศิริรัตน์ 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / ศิริรัตน์ 3 จัดทาโครงร่างงาน / ศิริรัตน์ 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน / ศิริรัตน์ 5 ปรับปรุงทดสอบ / ศิริรัตน์ 6 การทาเอกสารรายงาน / ศิริรัตน์ 7 ประเมินผลงาน / ศิริรัตน์ 8 นาเสนอโครงงาน / ศิริรัตน์
  • 18. ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1. เป็นสื่อในการเรียนการสอน 2. เป็นแหล่งการเรียนรู้ 3. ทาให้ผู้คนที่สนใจเรื่องการละเล่นพื้นบ้านภาคเหนือ และเข้าใจมากยิ่งขึ้น สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จ.เชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้เทคโนโลยีและสารสนเทศ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) http://thirapanlovelove.blogspot.com/ http://pirun.ku.ac.th/~b5410302206/Page4.html https://noolalida.wordpress.com/?p=19&preview=true