SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 41
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การสร้างข้อสอบตามแนวการวัด
ในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA



                          30 กรกฎาคม 2544
การวัดและประเมินผลการเรียน

                 เป้าหมายของการวัดผล

 1. เพื่อประเมินความก้าวหน้าและพัฒนาการของ
     การเรียนการสอน (Formative Assessment)
 2. เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของการเรียนการสอน (Summative
    Assessment)
 3. เพื่อประเมินการจบการศึกษา (Exit Examination)
วิธีการวัดผลการเรียนการสอน



  1. การทดสอบด้วยข้อสอบ
  2. การประเมินผลจากการปฏิบัติงานและผลงานของผู้เรียน

  3. ก่รประเมินจากบริบทอื่น
การทดสอบด้วยข้อสอบ

   องค์ประกอบสาคัญของข้อสอบมี 2 ส่วน ดังนี้
  1. สถานการณ์หรือข้อสนเทศ
  2. คาถามหรือปัญหา
สถานการณ์หรือข้อสนเทศ


        เป็นส่วนของข้อมูลเพื่อใช้ในการตอบคาถาม โดยนาเสนอ
เหตุการณ์ ปรากฏการณ์ หรือการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับเนือหาสาระ
                                                          ้
ของบทเรียน ตามสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร รวมทั้งมีความ
เชื่อมโยงกับความเป็นจริงของชีวิต และสังคม
สถานการณ์หรือข้อสนเทศ

      สถานการณ์หรือข้อสนเทศควรมีลักษณะ ดังนี้
      „ เหตุการณ์จริงหรือสถานการณ์จาลองที่ใกล้เคียงความจริง
        ความรู้ต่างๆ ที่มีผู้อื่นรวบรวมไว้แล้ว
      „ ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน หรือประเด็นที่สังคม
        ให้ความสนใจ
      „ สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน สาระการเรียนรู้
        ในหลักสูตร
      „ เรื่องสมมติที่สามารถนามาวิเคราะห์ แก้ปัญหา
         ให้ความคิดเห็น หรือแสดงความรู้สึก
คาถามหรือปัญหา


เป็นส่วนของคาสั่งที่ระบุให้ทราบว่าต้องการให้ทาอะไร
โดยทั่วไปต้องการให้ตอบสนองโดยการคิดในเชิงวิทยาศาสตร์และ
นาความรู้ ทักษะต่างๆ ไปเพื่อใช้แก้ปัญหา คาถามส่วนใหญ่มี
ลักษณะปลายเปิดที่ให้ผู้เรียนมีอิสระทางความคิด และถ่ายทอด
ความรู้ในรูปแบบของการเขียนตอบได้
คาถามหรือปัญหา

    คาถามหรือปัญหา ควรมีลักษณะ ดังนี้
    „ สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และสถานการณ์
       ที่กาหนด
    „ สื่อสารได้ชัดเจนและใช้ภาษาที่เหมาะสมกับระดับของ
      ผู้เรียน
    „ ส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ อภิปราย แก้ปัญหา
      ตัดสินใจ ประเมินค่า และสร้างคาตอบได้อย่างสมเหตุผล
    „ เนื้อหาของคาถามมีความยุติธรรมสาหรับผู้เรียนทุกคน
ลักษณะข้อสอบ

     1     เลือกตอบ

     2     เลือกตอบแบบเชิงซ้อน

     3     เขียนตอบแบบสั้น/ปิด

     4     เขียนตอบแบบอิสระ
ข้อสอบแบบเขียนตอบ

       การเตรียมข้อสอบแบบเขียนตอบควรมีแนวการ
  ตอบและเกณฑ์การให้คะแนนด้วย เพื่อให้ผู้ตรวจคาตอบ
    สามารถตรวจได้สะดวกและให้คะแนนได้ตรงกัน
    - แนวการตอบ เป็นหลักการหรือแนวคิดที่เป็นไปได้
 ในการตอบคาถาม
    - เกณฑ์การให้คะแนน เป็นเกณฑ์ทกาหนดขึ้น
                                 ี่
 สาหรับการให้คะแนนคาตอบโดยพิจารณาความถูกต้อง
 ครบถ้วนและความสมบูรณ์ของคาตอบเป็นสาคัญ
เกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบแบบเขียนตอบ

 ลักษณะของเกณฑ์การให้คะแนนแบบเขียนตอบมี 2 รูปแบบ

 1. เกณฑ์ให้คะแนนแบบภาพรวม (Holistic Scoring Guideline )

         เป็นการให้คะแนน โดยดูภาพรวมที่แสดงถึงความเข้าใจ การเกิด
 แนวคิดหลัก กระบวนการที่ใช้ และการสื่อความหมาย และแบ่งระดับ
 คุณภาพของงานโดยเขียนอธิบายพฤติกรรมการแสดงออกในแต่ละระดับ
 อย่างชัดเจน
เกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบแบบเขียนตอบ

2. เกณฑ์ให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบ ( Analytic Scoring Guideline )

        เป็นการให้คะแนนผลงานโดยแยกองค์ประกอบของผลงาน
  ออกเป็นด้านต่างๆ และอธิบายพฤติกรรมการแสดงออกในแต่ละ
  องค์ประกอบเป็นระดับ
        ข้อดีของการให้คะแนนแบบนี้ คือ มีความเป็นปรนัยในการ
 ให้คะแนนมากขึ้นและสามารถกาหนดสัดส่วนของคะแนนตาม
  ความสาคัญได้
ตัวอย่างข้อสอบเขียนตอบ: การดูดกลืนแสงของวัตถุ

          ช่วงชั้นที่ 3 สาระที่ 5
          ทดลองและอธิบายการดูดกลืนแสง และการคายความร้อนของวัตถุต่างๆ
สืบค้นข้อมูล รวมทั้งการนาความรู้ไปใช้ออกแบบเพื่อประโยชน์ในกิจกรรมต่างๆ
           สถานการณ์
                                                 เวลา 8.00 นาฬิกา
          นักเรียนกลุ่มหนึ่งทาการทดลอง
                                                     25 O C          25 O C
นาถังโลหะ 2 ใบขนาดเท่ากัน ใบที่ 1
ทาสีดาและใบที่ 2 ทาสีขาว ใส่น้าปริมาณ
ที่เท่ากัน ตากแดดในวันที่อากาศร้อนจัด           เวลา 12.00 นาฬิกา
และสังเกตอุณหภูมิของน้าในตอนเริ่มต้น                  38 O C          33 O C
เวลา 8.00 น. และหลังจากตากแดดที่
ร้อนจัดถึงเวลา 12.00 น. ได้ผลดังภาพ
ตัวอย่างข้อสอบเขียนตอบ: การดูดกลืนแสงของวัตถุ

        คาถาม
  ผลของการทดลองนี้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนัน
                                                                  ้

           แนวคาตอบ
  ผู้ตอบมีความเข้าใจการดูดกลืนและการคายพลังงานความร้อนของวัตถุสีเข้มและ
  สีอ่อนได้ โดยมีแนวการตอบดังนี้ “อุณหภูมิของน้าในถังทังสองสูงขึ้น อุณหภูมิ
                                                         ้
  ของน้าในถังสีดาสูงขึ้นมากกว่าน้าในถังสีขาว เนื่องจากวัตถุสีดาดูดกลืนแสงและ
  คายความร้อนได้ดีกว่าวัตถุสีขาว จึงทาให้น้าในถังสีดามีอุณหภูมิสูงขึ้นมากกว่า”
ตัวอย่างข้อสอบเขียนตอบ: การประเมินนแสงของวัตถุ
                   เกณฑ์ การดูดกลื แบบภาพรวม

                       รายการประเมิน                         ระดับคุณภาพ
   „ อธิบายการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ แต่ไม่สามารถอธิบาย
                                                             ต้องปรับปรุง
   เหตุผลได้

   „ อธิบายการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้โดยเปรียบเทียบ
   อุณหภูมิที่แตกต่างกันระหว่างถังทั้งสอง และ อธิบายเหตุผล      พอใช้
   ที่อุณหภูมิของถังทั้งสองเพิ่มขึ้นได้บางส่วน
    „ อธิบายการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้ โดยเปรียบเทียบ
    อุณหภูมิที่แตกต่างกันระหว่างถังทั้งสอง และ อธิบาย
    เหตุผลที่อุณหภูมิของถังทั้งสองเพิ่มขึ้นโดยเปรียบเทียบ         ดี
    สมบัติการดูดกลืนแสงและคายความร้อนของวัตถุสีขาวและ
    สีดา
ตัวอย่างข้อสอบเขีเกณฑ์การประเมินแบบแยกองค์ประกอบ
                 ยนตอบ: การดูดกลืนแสงของวัตถุ
                        รายการประเมิน                        คะแนน

   „ อุณหภูมิของน้าในถังทั้งสองเพิ่มขึ้น                       1


   „ อุณหภูมิของน้าในถังสีดาเพิ่มขึ้นมากกว่าถังสีขาว           1


   „ อธิบายว่าวัตถุสีดาสามารถดูดกลืนแสงได้ดีกว่าวัตถุสีขาว     1

   „ อธิบายว่าวัตถุสีดาสามารถคายพลังงานความร้อน
                                                               1
     ได้ดีกว่าวัตถุสีขาว
                                                       รวม   4 คะแนน
ตัวอย่างข้อสอบ: การจมหรือลอย


                     พิจารณารูปต่อไปนี้
                                  วัตถุ x


                                            น้า
ตัวอย่างข้อสอบ: การจมหรือลอย

   1. ถ้าตัดวัตถุ x ซึ่งมีเนื้อสม่าเสมอออกเป็น 2 ส่วน และนาไปลอยในน้า
      จะได้ผลดังรูปใด

       ก.                                ข.



        ค.                                ง.
ตัวอย่างข้อสอบ: การจมหรือลอย

 2. ถ้าตัดวัตถุ x ออกเป็น 2 ส่วน และนาไปลอยน้าจะได้ผลดังรูปใด

       ก.                          ข.



       ค.                           ง.



            จงอธิบาย?
ตัวอย่างข้อสอบ: การจมหรือลอย
  3. ถ้าตัดวัตถุ x ออกเป็น 2 ส่วน และนาไปลอยสารละลายชนิดอื่น
      จะได้ผลดังรูปใด


       ก.                              ข.



        ค.                              ง.



            จงอธิบาย?
ตัวอย่างข้อสอบ: การจมหรือลอย


  4. ถ้าตัดวัตถุ x ออกเป็น 2 ส่วน และนาไป ลอยใน
     ของเหลว y จะได้ผลเป็นอย่างไร

                      จงอธิบาย
ตัวอย่างข้อสอบ: การจมหรือลอย



  5. ถ้าต้องการทดสอบว่าวัตถุ x มีเนื้อเดียวกัน ตลอดทัง
                                                     ้
     ก้อนหรือไม่

              มีวิธีการทดสอบได้อย่างไร?
                                   งไร?
ตัวอย่างข้อสอบ: การจมหรือลอย
  6. อัตราส่วนของปริมาตรส่วนที่จมต่อ
     ปริมาตรรวมของวัตถุ x เป็นอย่างไร

           ก.
              1                  ข.
                                        1
              4                         3

           ค.
              1                   ง.
                                     3
              2                      4
ตัวอย่างคาถามวัดเนื้อหาและสมรรถนะหลายกลุ่ม

           นักวิจัยต้องการสร้างทุ่นทรงกระบอกจากแผ่นโลหะผสมแล้วนาไปลอยในทะเล
 เพื่อวัดความหนาแน่นของน้าทะเลบริเวณนั้นได้ค่าระหว่าง 1020 kg/m3 ถึง 1029 kg/m3
 นักวิจัยรู้ว่าแผ่นโลหะที่ซื้อมาหนัก M กิโลกรัม และเศษโลหะที่เหลือจากการสร้างทุ่น
 หนักน้อยมากเมื่อเทียบกับน้าหนักของทุ่น เ
           พื่อให้ทุ่นลอยในทะเลได้ จะต้องสร้างทุ่นให้มีปริมาตรมากหรือน้อยเพียงใดเมื่อ
 เทียบกับน้าหนักของแผ่นโลหะ
 จงอธิบายคาตอบ ………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………..
 ………………………………………………………………………………………….
 ………………………………………………………………………………………….
ทุ่นทรงกระบอก

แนวคาตอบ Vทรงกระบอก > M ÷1029 พร้อมแสดงที่มาของอสมการ เช่น
ทุ่นทรงกระบอก

 สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ตามหลักสูตร 51:
 สาระที่ 2 การวัด / มาตรฐาน ค 2.1, ค 2.2
          ตัวชี้วัด
           - ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ พืนที่ผิว และปริมาตรแก้ปัญหา
                                          ้
 ในสถานการณ์ต่าง ๆ
           - คาดคะเนเวลา ระยะทาง พื้นที่ ปริมาตร และน้้าหนักได้
 อย่างใกล้เคียงและอธิบายวิธีการที่ใช้ในการคาดคะเน
 สาระที่ 4 พีชคณิต / มาตรฐาน ค 4.2
          ตัวชี้วัด
           - ใช้ความรู้เกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวในการแก้
 ปัญหา พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของค้าตอบ
 สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ตัวอย่างสถานการณ์ 1

           น้ามันที่ใช้ในการประกอบอาหารโดยทั่วไป จะมีทั้งกรดไขมัน
 อิ่มตัวและไม่อิ่มตัวรวมอยู่ด้วยกัน แต่จะมีสัดส่วนที่แตกต่างกัน บางชนิดมี
 กรดไขมันอิ่มตัวเป็นองค์ประกอบมาก เช่น น้ามันหรือไขมันที่ได้จากสัตว์ทุก
 ชนิด น้ามันมะพร้าว เป็นต้น สาหรับกรดไขมันไม่อิ่มตัวหลายตาแหน่งพบ
 มากในน้ามันถั่วเหลือง น้ามันดอกทานตะวัน เป็นต้น
           ไขมันแต่ละชนิดจะมีผลต่อร่างกายต่างกันโดยเฉพาะการ
 เปลี่ยนแปลงของระดับคอเลสเตอรอลในเลือด การกินกรดไขมันอิ่มตัวมาก
 จะทาให้คอเลสเตอรอลที่ดี (HDL) และไม่ดี (LDL) สูงขึ้น ขณะที่กรดไขมัน
 ไม่อิ่มตัวจะทาให้ทั้งคอเลสเตอรอลที่ดีและไม่ดีกับร่างกายลดลง

 ที่มา : หมอชาวบ้าน ปีที่ 33 ฉบับที่ 387
ตัวอย่างสถานการณ์ 1
ตัวอย่างสถานการณ์ 1
คาถาม 1.1

         นักวิชาการคนหนึ่งกล่าวว่า “การโฆษณาของน้ามันพืชที่ไม่มี
  คอเลสเตอรอล อาจทาให้เข้าใจผิดว่าสามารถกินน้ามันพืชเท่าไรก็ได้”
          คากล่าวของนักวิชาการเป็นจริงหรือไม่ พร้อมอธิบายเหตุผล
  ของนักเรียน
  ..................................................................................................................
  ......................
เกณฑ์การให้คะแนน คาถาม 1.1
  จุดประสงค์ของคาถาม
  เพื่ออธิบายผลจากการได้รับไขมันในปริมาณที่มากเกินไป

  เกณฑ์การให้คะแนน
  เป็นจริง โดยให้เหตุผลถึงผลเสียหรืออันตรายของการบริโภคไขมันในปริมาณที่มากเกินความจาเป็น
  เช่น ทาให้ไขมันส่วนเกินสะสมเป็นโรคอ้วน ปริมาณไขมันในเส้นเลือดสูงขึ้น ไขมันอุดตันในเส้นเลือด
  ไขมันส่วนเกินอาจถูกเปลี่ยนเป็นคลอเรสเตอรอล

  สาระมาตรฐาน/ตัวชี้วัดตามหลักสูตร 2551
  สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตและกระบวนการดารงชีวิต / มาตรฐาน ว1.1
  ตัวชี้วัด ทดลอง วิเคราะห์ และอธิบายสารอาหารในอาหารมีปริมาณพลังงานและสัดส่วนที่เหมาะสม
            กับเพศและวัย
คาถาม 1.2

           องค์การอนามัยโลก (WHO) และองค์การอาหารและเกษตรแห่ง
  สหประชาชาติ (FAO) แนะนาว่า “การกินไขมันเพื่อสุขภาพที่ดีควรได้
  พลังงานจากไขมันไม่เกินร้อยละ 30 ของพลังงานทั้งหมด โดยได้กรด
  ไขมันอิ่มตัวไม่เกินร้อยละ 10 ในคนปกติ ส่วนที่เหลือเป็นกรดไขมันไม่
  อิ่มตัว”
           ไขมัน 1 กรัม ให้พลังงาน 9 กิโลแคลอรี
           สมชายต้องการพลังงานวันละ 2,000 กิโลแคลอรี
  เพื่อสุขภาพที่ดี ควรรับประทานไขมันไม่อิ่มตัวมากที่สุดวันละกี่กรัม
  ..................................................................................................................
  ......................
เกณฑ์การให้คะแนน คาถาม 1.2
  จุดประสงค์ของคาถาม
  เพื่อคานวณร้อยละของพลังงาน และแปลงพลังงานให้เป็นกรัม

  เกณฑ์การให้คะแนน
  60 กรัม




  สาระมาตรฐาน/ตัวชี้วัดตามหลักสูตร 2551
  สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ / มาตรฐาน ค1.2
  ตัวชี้วัด วิเคราะห์และแสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาและโจทย์ปัญหาระคนของจานวนนับ เศษส่วน
            จานวนคละ ทศนิยม และร้อยละ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบ และสร้าง
            โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับจานวนนับได้
คาถาม 1.3

          นักเรียนคนหนึงอ่านข้อมูลในตารางแล้วสรุปว่า “น้ามันพืช
                       ่
  เหมาะกับการบริโภคมากกว่าน้ามันหมู”

                นักเรียนเห็นด้วยกับคากล่าวนี้หรือไม่ จงใช้ข้อมูลในตาราง
  สนับสนุนเหตุผลของนักเรียน
  ..................................................................................................................
  ......................
เกณฑ์การให้คะแนน คาถาม 1.3
  จุดประสงค์ของคาถาม
  ตีความข้อมูลปริมาณไขมันอิ่มตัวและไม่อิ่มตัวในตาราง

  เกณฑ์การให้คะแนน
  เห็นด้วย เพราะน้ามันพืชส่วนใหญ่มีกรดไขมันอิ่มตัวต่ากว่าน้ามันหมู

  ไม่เห็นด้วย เพราะน้ามันหมูมีไขมันอิ่มตัวน้อยกว่าน้ามันพืชบางชนิด เช่น น้ามันปาล์มและน้ามันมะพร้าว

  สาระมาตรฐาน/ตัวชี้วัดตามหลักสูตร 2551
  สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตและกระบวนการดารงชีวิต / มาตรฐาน ว1.1
  ตัวชี้วัด ทดลอง วิเคราะห์ และอธิบายสารอาหารในอาหารมีปริมาณพลังงานและสัดส่วนที่เหมาะสม
            กับเพศและวัย
ใบงานที่ 1
สาหรับวันที่ 30 กรกฎาคม 2554
ใบงานที่ 1 - ออกข้อสอบตามสถานการณ์ที่กาหนดให้

      ให้แต่ละกลุ่ม ออกข้อสอบตามสถานการณ์ที่ให้
       เป็นข้อสอบวัด (1)วิทยาศาสตร์ (2)คณิตศาสตร์
       และ(3)การอ่าน หรือแบบบูรณาการ พร้อมแนว
       คาตอบ และเกณฑ์การให้คะแนน
      ในแต่ละวิชาออกข้อสอบจานวน 3 ข้อ โดยให้มี
       รูปแบบข้อสอบดังนี้
       - แบบเลือกตอบ 1 ข้อ
       - แบบเขียนตอบสั้น 1 ข้อ
       - แบบเขียนตอบให้เหตุผล 1 ข้อ
ใบงานที่ 1 - ออกข้อสอบตามสถานการณ์ที่กาหนดให้

      แต่ละคาถามให้เชื่อมโยงกับจุดประสงค์การเรียนรู้
      เกณฑ์การให้คะแนนให้มีทั้งแบบ Analytic และ
       Holistic
      ให้แต่ละกลุ่มนาเสนอเมื่อเสร็จแล้ว
ใบงานที่ 2
สาหรับวันที่ 31 กรกฎาคม 2554
ใบงานที่ 2 - ออกข้อสอบตามสถานการณ์ที่เลือก

       ให้อาจารย์แต่ละท่าน ออกข้อสอบตามสถานการณ์
        ที่ท่านเลือก เป็นข้อสอบในวิชาที่สอน/ถนัด
        (วิทยาศาสตร์/ คณิตศาสตร์/การอ่าน หรือบูรณา
        การ) พร้อมแนวคาตอบ และเกณฑ์การให้คะแนน
       ในแต่ละวิชาออกข้อสอบจานวน 3 ข้อ โดยให้มี
        รูปแบบข้อสอบดังนี้
        - แบบเลือกตอบ 1 ข้อ
        - แบบเขียนตอบสั้น 1 ข้อ
        - แบบเขียนตอบให้เหตุผล 1 ข้อ
ใบงานที่ 2 - ออกข้อสอบตามสถานการณ์ที่เลือก

       แต่ละคาถามให้เชื่อมโยงกับจุดประสงค์การเรียนรู้
       เกณฑ์การให้คะแนนให้มีทั้งแบบ Analytic และ
        Holistic

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfบทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfssusera0c3361
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3ทศพล พรหมภักดี
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชลธิกาญจน์ จินาจันทร์
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556dnavaroj
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2Weerachat Martluplao
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1sripayom
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่Apirak Potpipit
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1Niwat Yod
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04Prachoom Rangkasikorn
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนatunya2530
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์Dnavaroj Dnaka
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7ekroojaja
 

Was ist angesagt? (20)

บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfบทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 

Ähnlich wie การสร้างแนวข้อสอบ Pisa

แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3srkschool
 
การเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบการเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบNona Khet
 
การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ เดชศรี
การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA  โดย ดร.ปรีชาญ  เดชศรีการสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA  โดย ดร.ปรีชาญ  เดชศรี
การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ เดชศรีจักรพงษ์ แผ่นทอง
 
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3srkschool
 
05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิกkruannchem
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียkrupornpana55
 
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก 06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก kruannchem
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึมkrookay2012
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...Sirirat Faiubon
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรทับทิม เจริญตา
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีSutisa Tantikulwijit
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์Jirathorn Buenglee
 
คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่ 1
คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่  1คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่  1
คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่ 1ธนกฤต แม่นผล
 
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่npapak74
 

Ähnlich wie การสร้างแนวข้อสอบ Pisa (20)

แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
 
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 
การเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบการเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบ
 
การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ เดชศรี
การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA  โดย ดร.ปรีชาญ  เดชศรีการสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA  โดย ดร.ปรีชาญ  เดชศรี
การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ เดชศรี
 
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 
05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
 
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก 06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
Plan10
Plan10Plan10
Plan10
 
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่ 1
คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่  1คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่  1
คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่ 1
 
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
 

Mehr von Biobiome

หน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้นหน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้นBiobiome
 
หน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากหน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากBiobiome
 
หน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบหน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบBiobiome
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากBiobiome
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบBiobiome
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบBiobiome
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตBiobiome
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำBiobiome
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์Biobiome
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทยBiobiome
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
BiodiversityBiobiome
 
Science m6
Science m6Science m6
Science m6Biobiome
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์Biobiome
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์Biobiome
 

Mehr von Biobiome (20)

หน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้นหน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้น
 
หน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากหน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของราก
 
หน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบหน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบ
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
Pisa
PisaPisa
Pisa
 
Onet 05
Onet 05Onet 05
Onet 05
 
Science m6
Science m6Science m6
Science m6
 
Science50
Science50Science50
Science50
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
05 e
05 e05 e
05 e
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
Science50
Science50Science50
Science50
 
Pat2 52-1
Pat2 52-1Pat2 52-1
Pat2 52-1
 

การสร้างแนวข้อสอบ Pisa

  • 2. การวัดและประเมินผลการเรียน เป้าหมายของการวัดผล 1. เพื่อประเมินความก้าวหน้าและพัฒนาการของ การเรียนการสอน (Formative Assessment) 2. เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของการเรียนการสอน (Summative Assessment) 3. เพื่อประเมินการจบการศึกษา (Exit Examination)
  • 3. วิธีการวัดผลการเรียนการสอน 1. การทดสอบด้วยข้อสอบ 2. การประเมินผลจากการปฏิบัติงานและผลงานของผู้เรียน 3. ก่รประเมินจากบริบทอื่น
  • 4. การทดสอบด้วยข้อสอบ องค์ประกอบสาคัญของข้อสอบมี 2 ส่วน ดังนี้ 1. สถานการณ์หรือข้อสนเทศ 2. คาถามหรือปัญหา
  • 5. สถานการณ์หรือข้อสนเทศ เป็นส่วนของข้อมูลเพื่อใช้ในการตอบคาถาม โดยนาเสนอ เหตุการณ์ ปรากฏการณ์ หรือการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับเนือหาสาระ ้ ของบทเรียน ตามสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร รวมทั้งมีความ เชื่อมโยงกับความเป็นจริงของชีวิต และสังคม
  • 6. สถานการณ์หรือข้อสนเทศ สถานการณ์หรือข้อสนเทศควรมีลักษณะ ดังนี้ „ เหตุการณ์จริงหรือสถานการณ์จาลองที่ใกล้เคียงความจริง ความรู้ต่างๆ ที่มีผู้อื่นรวบรวมไว้แล้ว „ ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน หรือประเด็นที่สังคม ให้ความสนใจ „ สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน สาระการเรียนรู้ ในหลักสูตร „ เรื่องสมมติที่สามารถนามาวิเคราะห์ แก้ปัญหา ให้ความคิดเห็น หรือแสดงความรู้สึก
  • 8. คาถามหรือปัญหา คาถามหรือปัญหา ควรมีลักษณะ ดังนี้ „ สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และสถานการณ์ ที่กาหนด „ สื่อสารได้ชัดเจนและใช้ภาษาที่เหมาะสมกับระดับของ ผู้เรียน „ ส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ อภิปราย แก้ปัญหา ตัดสินใจ ประเมินค่า และสร้างคาตอบได้อย่างสมเหตุผล „ เนื้อหาของคาถามมีความยุติธรรมสาหรับผู้เรียนทุกคน
  • 9. ลักษณะข้อสอบ 1 เลือกตอบ 2 เลือกตอบแบบเชิงซ้อน 3 เขียนตอบแบบสั้น/ปิด 4 เขียนตอบแบบอิสระ
  • 10. ข้อสอบแบบเขียนตอบ การเตรียมข้อสอบแบบเขียนตอบควรมีแนวการ ตอบและเกณฑ์การให้คะแนนด้วย เพื่อให้ผู้ตรวจคาตอบ สามารถตรวจได้สะดวกและให้คะแนนได้ตรงกัน - แนวการตอบ เป็นหลักการหรือแนวคิดที่เป็นไปได้ ในการตอบคาถาม - เกณฑ์การให้คะแนน เป็นเกณฑ์ทกาหนดขึ้น ี่ สาหรับการให้คะแนนคาตอบโดยพิจารณาความถูกต้อง ครบถ้วนและความสมบูรณ์ของคาตอบเป็นสาคัญ
  • 11. เกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบแบบเขียนตอบ ลักษณะของเกณฑ์การให้คะแนนแบบเขียนตอบมี 2 รูปแบบ 1. เกณฑ์ให้คะแนนแบบภาพรวม (Holistic Scoring Guideline ) เป็นการให้คะแนน โดยดูภาพรวมที่แสดงถึงความเข้าใจ การเกิด แนวคิดหลัก กระบวนการที่ใช้ และการสื่อความหมาย และแบ่งระดับ คุณภาพของงานโดยเขียนอธิบายพฤติกรรมการแสดงออกในแต่ละระดับ อย่างชัดเจน
  • 12. เกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบแบบเขียนตอบ 2. เกณฑ์ให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบ ( Analytic Scoring Guideline ) เป็นการให้คะแนนผลงานโดยแยกองค์ประกอบของผลงาน ออกเป็นด้านต่างๆ และอธิบายพฤติกรรมการแสดงออกในแต่ละ องค์ประกอบเป็นระดับ ข้อดีของการให้คะแนนแบบนี้ คือ มีความเป็นปรนัยในการ ให้คะแนนมากขึ้นและสามารถกาหนดสัดส่วนของคะแนนตาม ความสาคัญได้
  • 13. ตัวอย่างข้อสอบเขียนตอบ: การดูดกลืนแสงของวัตถุ ช่วงชั้นที่ 3 สาระที่ 5 ทดลองและอธิบายการดูดกลืนแสง และการคายความร้อนของวัตถุต่างๆ สืบค้นข้อมูล รวมทั้งการนาความรู้ไปใช้ออกแบบเพื่อประโยชน์ในกิจกรรมต่างๆ สถานการณ์ เวลา 8.00 นาฬิกา นักเรียนกลุ่มหนึ่งทาการทดลอง 25 O C 25 O C นาถังโลหะ 2 ใบขนาดเท่ากัน ใบที่ 1 ทาสีดาและใบที่ 2 ทาสีขาว ใส่น้าปริมาณ ที่เท่ากัน ตากแดดในวันที่อากาศร้อนจัด เวลา 12.00 นาฬิกา และสังเกตอุณหภูมิของน้าในตอนเริ่มต้น 38 O C 33 O C เวลา 8.00 น. และหลังจากตากแดดที่ ร้อนจัดถึงเวลา 12.00 น. ได้ผลดังภาพ
  • 14. ตัวอย่างข้อสอบเขียนตอบ: การดูดกลืนแสงของวัตถุ คาถาม ผลของการทดลองนี้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนัน ้ แนวคาตอบ ผู้ตอบมีความเข้าใจการดูดกลืนและการคายพลังงานความร้อนของวัตถุสีเข้มและ สีอ่อนได้ โดยมีแนวการตอบดังนี้ “อุณหภูมิของน้าในถังทังสองสูงขึ้น อุณหภูมิ ้ ของน้าในถังสีดาสูงขึ้นมากกว่าน้าในถังสีขาว เนื่องจากวัตถุสีดาดูดกลืนแสงและ คายความร้อนได้ดีกว่าวัตถุสีขาว จึงทาให้น้าในถังสีดามีอุณหภูมิสูงขึ้นมากกว่า”
  • 15. ตัวอย่างข้อสอบเขียนตอบ: การประเมินนแสงของวัตถุ เกณฑ์ การดูดกลื แบบภาพรวม รายการประเมิน ระดับคุณภาพ „ อธิบายการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ แต่ไม่สามารถอธิบาย ต้องปรับปรุง เหตุผลได้ „ อธิบายการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้โดยเปรียบเทียบ อุณหภูมิที่แตกต่างกันระหว่างถังทั้งสอง และ อธิบายเหตุผล พอใช้ ที่อุณหภูมิของถังทั้งสองเพิ่มขึ้นได้บางส่วน „ อธิบายการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้ โดยเปรียบเทียบ อุณหภูมิที่แตกต่างกันระหว่างถังทั้งสอง และ อธิบาย เหตุผลที่อุณหภูมิของถังทั้งสองเพิ่มขึ้นโดยเปรียบเทียบ ดี สมบัติการดูดกลืนแสงและคายความร้อนของวัตถุสีขาวและ สีดา
  • 16. ตัวอย่างข้อสอบเขีเกณฑ์การประเมินแบบแยกองค์ประกอบ ยนตอบ: การดูดกลืนแสงของวัตถุ รายการประเมิน คะแนน „ อุณหภูมิของน้าในถังทั้งสองเพิ่มขึ้น 1 „ อุณหภูมิของน้าในถังสีดาเพิ่มขึ้นมากกว่าถังสีขาว 1 „ อธิบายว่าวัตถุสีดาสามารถดูดกลืนแสงได้ดีกว่าวัตถุสีขาว 1 „ อธิบายว่าวัตถุสีดาสามารถคายพลังงานความร้อน 1 ได้ดีกว่าวัตถุสีขาว รวม 4 คะแนน
  • 17. ตัวอย่างข้อสอบ: การจมหรือลอย พิจารณารูปต่อไปนี้ วัตถุ x น้า
  • 18. ตัวอย่างข้อสอบ: การจมหรือลอย 1. ถ้าตัดวัตถุ x ซึ่งมีเนื้อสม่าเสมอออกเป็น 2 ส่วน และนาไปลอยในน้า จะได้ผลดังรูปใด ก. ข. ค. ง.
  • 19. ตัวอย่างข้อสอบ: การจมหรือลอย 2. ถ้าตัดวัตถุ x ออกเป็น 2 ส่วน และนาไปลอยน้าจะได้ผลดังรูปใด ก. ข. ค. ง. จงอธิบาย?
  • 20. ตัวอย่างข้อสอบ: การจมหรือลอย 3. ถ้าตัดวัตถุ x ออกเป็น 2 ส่วน และนาไปลอยสารละลายชนิดอื่น จะได้ผลดังรูปใด ก. ข. ค. ง. จงอธิบาย?
  • 21. ตัวอย่างข้อสอบ: การจมหรือลอย 4. ถ้าตัดวัตถุ x ออกเป็น 2 ส่วน และนาไป ลอยใน ของเหลว y จะได้ผลเป็นอย่างไร จงอธิบาย
  • 22. ตัวอย่างข้อสอบ: การจมหรือลอย 5. ถ้าต้องการทดสอบว่าวัตถุ x มีเนื้อเดียวกัน ตลอดทัง ้ ก้อนหรือไม่ มีวิธีการทดสอบได้อย่างไร? งไร?
  • 23. ตัวอย่างข้อสอบ: การจมหรือลอย 6. อัตราส่วนของปริมาตรส่วนที่จมต่อ ปริมาตรรวมของวัตถุ x เป็นอย่างไร ก. 1 ข. 1 4 3 ค. 1 ง. 3 2 4
  • 24. ตัวอย่างคาถามวัดเนื้อหาและสมรรถนะหลายกลุ่ม นักวิจัยต้องการสร้างทุ่นทรงกระบอกจากแผ่นโลหะผสมแล้วนาไปลอยในทะเล เพื่อวัดความหนาแน่นของน้าทะเลบริเวณนั้นได้ค่าระหว่าง 1020 kg/m3 ถึง 1029 kg/m3 นักวิจัยรู้ว่าแผ่นโลหะที่ซื้อมาหนัก M กิโลกรัม และเศษโลหะที่เหลือจากการสร้างทุ่น หนักน้อยมากเมื่อเทียบกับน้าหนักของทุ่น เ พื่อให้ทุ่นลอยในทะเลได้ จะต้องสร้างทุ่นให้มีปริมาตรมากหรือน้อยเพียงใดเมื่อ เทียบกับน้าหนักของแผ่นโลหะ จงอธิบายคาตอบ ……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………….
  • 25. ทุ่นทรงกระบอก แนวคาตอบ Vทรงกระบอก > M ÷1029 พร้อมแสดงที่มาของอสมการ เช่น
  • 26. ทุ่นทรงกระบอก สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ตามหลักสูตร 51: สาระที่ 2 การวัด / มาตรฐาน ค 2.1, ค 2.2 ตัวชี้วัด - ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ พืนที่ผิว และปริมาตรแก้ปัญหา ้ ในสถานการณ์ต่าง ๆ - คาดคะเนเวลา ระยะทาง พื้นที่ ปริมาตร และน้้าหนักได้ อย่างใกล้เคียงและอธิบายวิธีการที่ใช้ในการคาดคะเน สาระที่ 4 พีชคณิต / มาตรฐาน ค 4.2 ตัวชี้วัด - ใช้ความรู้เกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวในการแก้ ปัญหา พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของค้าตอบ สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
  • 27. ตัวอย่างสถานการณ์ 1 น้ามันที่ใช้ในการประกอบอาหารโดยทั่วไป จะมีทั้งกรดไขมัน อิ่มตัวและไม่อิ่มตัวรวมอยู่ด้วยกัน แต่จะมีสัดส่วนที่แตกต่างกัน บางชนิดมี กรดไขมันอิ่มตัวเป็นองค์ประกอบมาก เช่น น้ามันหรือไขมันที่ได้จากสัตว์ทุก ชนิด น้ามันมะพร้าว เป็นต้น สาหรับกรดไขมันไม่อิ่มตัวหลายตาแหน่งพบ มากในน้ามันถั่วเหลือง น้ามันดอกทานตะวัน เป็นต้น ไขมันแต่ละชนิดจะมีผลต่อร่างกายต่างกันโดยเฉพาะการ เปลี่ยนแปลงของระดับคอเลสเตอรอลในเลือด การกินกรดไขมันอิ่มตัวมาก จะทาให้คอเลสเตอรอลที่ดี (HDL) และไม่ดี (LDL) สูงขึ้น ขณะที่กรดไขมัน ไม่อิ่มตัวจะทาให้ทั้งคอเลสเตอรอลที่ดีและไม่ดีกับร่างกายลดลง ที่มา : หมอชาวบ้าน ปีที่ 33 ฉบับที่ 387
  • 30. คาถาม 1.1 นักวิชาการคนหนึ่งกล่าวว่า “การโฆษณาของน้ามันพืชที่ไม่มี คอเลสเตอรอล อาจทาให้เข้าใจผิดว่าสามารถกินน้ามันพืชเท่าไรก็ได้” คากล่าวของนักวิชาการเป็นจริงหรือไม่ พร้อมอธิบายเหตุผล ของนักเรียน .................................................................................................................. ......................
  • 31. เกณฑ์การให้คะแนน คาถาม 1.1 จุดประสงค์ของคาถาม เพื่ออธิบายผลจากการได้รับไขมันในปริมาณที่มากเกินไป เกณฑ์การให้คะแนน เป็นจริง โดยให้เหตุผลถึงผลเสียหรืออันตรายของการบริโภคไขมันในปริมาณที่มากเกินความจาเป็น เช่น ทาให้ไขมันส่วนเกินสะสมเป็นโรคอ้วน ปริมาณไขมันในเส้นเลือดสูงขึ้น ไขมันอุดตันในเส้นเลือด ไขมันส่วนเกินอาจถูกเปลี่ยนเป็นคลอเรสเตอรอล สาระมาตรฐาน/ตัวชี้วัดตามหลักสูตร 2551 สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตและกระบวนการดารงชีวิต / มาตรฐาน ว1.1 ตัวชี้วัด ทดลอง วิเคราะห์ และอธิบายสารอาหารในอาหารมีปริมาณพลังงานและสัดส่วนที่เหมาะสม กับเพศและวัย
  • 32. คาถาม 1.2 องค์การอนามัยโลก (WHO) และองค์การอาหารและเกษตรแห่ง สหประชาชาติ (FAO) แนะนาว่า “การกินไขมันเพื่อสุขภาพที่ดีควรได้ พลังงานจากไขมันไม่เกินร้อยละ 30 ของพลังงานทั้งหมด โดยได้กรด ไขมันอิ่มตัวไม่เกินร้อยละ 10 ในคนปกติ ส่วนที่เหลือเป็นกรดไขมันไม่ อิ่มตัว” ไขมัน 1 กรัม ให้พลังงาน 9 กิโลแคลอรี สมชายต้องการพลังงานวันละ 2,000 กิโลแคลอรี เพื่อสุขภาพที่ดี ควรรับประทานไขมันไม่อิ่มตัวมากที่สุดวันละกี่กรัม .................................................................................................................. ......................
  • 33. เกณฑ์การให้คะแนน คาถาม 1.2 จุดประสงค์ของคาถาม เพื่อคานวณร้อยละของพลังงาน และแปลงพลังงานให้เป็นกรัม เกณฑ์การให้คะแนน 60 กรัม สาระมาตรฐาน/ตัวชี้วัดตามหลักสูตร 2551 สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ / มาตรฐาน ค1.2 ตัวชี้วัด วิเคราะห์และแสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาและโจทย์ปัญหาระคนของจานวนนับ เศษส่วน จานวนคละ ทศนิยม และร้อยละ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบ และสร้าง โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับจานวนนับได้
  • 34. คาถาม 1.3 นักเรียนคนหนึงอ่านข้อมูลในตารางแล้วสรุปว่า “น้ามันพืช ่ เหมาะกับการบริโภคมากกว่าน้ามันหมู” นักเรียนเห็นด้วยกับคากล่าวนี้หรือไม่ จงใช้ข้อมูลในตาราง สนับสนุนเหตุผลของนักเรียน .................................................................................................................. ......................
  • 35. เกณฑ์การให้คะแนน คาถาม 1.3 จุดประสงค์ของคาถาม ตีความข้อมูลปริมาณไขมันอิ่มตัวและไม่อิ่มตัวในตาราง เกณฑ์การให้คะแนน เห็นด้วย เพราะน้ามันพืชส่วนใหญ่มีกรดไขมันอิ่มตัวต่ากว่าน้ามันหมู ไม่เห็นด้วย เพราะน้ามันหมูมีไขมันอิ่มตัวน้อยกว่าน้ามันพืชบางชนิด เช่น น้ามันปาล์มและน้ามันมะพร้าว สาระมาตรฐาน/ตัวชี้วัดตามหลักสูตร 2551 สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตและกระบวนการดารงชีวิต / มาตรฐาน ว1.1 ตัวชี้วัด ทดลอง วิเคราะห์ และอธิบายสารอาหารในอาหารมีปริมาณพลังงานและสัดส่วนที่เหมาะสม กับเพศและวัย
  • 37. ใบงานที่ 1 - ออกข้อสอบตามสถานการณ์ที่กาหนดให้  ให้แต่ละกลุ่ม ออกข้อสอบตามสถานการณ์ที่ให้ เป็นข้อสอบวัด (1)วิทยาศาสตร์ (2)คณิตศาสตร์ และ(3)การอ่าน หรือแบบบูรณาการ พร้อมแนว คาตอบ และเกณฑ์การให้คะแนน  ในแต่ละวิชาออกข้อสอบจานวน 3 ข้อ โดยให้มี รูปแบบข้อสอบดังนี้ - แบบเลือกตอบ 1 ข้อ - แบบเขียนตอบสั้น 1 ข้อ - แบบเขียนตอบให้เหตุผล 1 ข้อ
  • 38. ใบงานที่ 1 - ออกข้อสอบตามสถานการณ์ที่กาหนดให้  แต่ละคาถามให้เชื่อมโยงกับจุดประสงค์การเรียนรู้  เกณฑ์การให้คะแนนให้มีทั้งแบบ Analytic และ Holistic  ให้แต่ละกลุ่มนาเสนอเมื่อเสร็จแล้ว
  • 40. ใบงานที่ 2 - ออกข้อสอบตามสถานการณ์ที่เลือก  ให้อาจารย์แต่ละท่าน ออกข้อสอบตามสถานการณ์ ที่ท่านเลือก เป็นข้อสอบในวิชาที่สอน/ถนัด (วิทยาศาสตร์/ คณิตศาสตร์/การอ่าน หรือบูรณา การ) พร้อมแนวคาตอบ และเกณฑ์การให้คะแนน  ในแต่ละวิชาออกข้อสอบจานวน 3 ข้อ โดยให้มี รูปแบบข้อสอบดังนี้ - แบบเลือกตอบ 1 ข้อ - แบบเขียนตอบสั้น 1 ข้อ - แบบเขียนตอบให้เหตุผล 1 ข้อ
  • 41. ใบงานที่ 2 - ออกข้อสอบตามสถานการณ์ที่เลือก  แต่ละคาถามให้เชื่อมโยงกับจุดประสงค์การเรียนรู้  เกณฑ์การให้คะแนนให้มีทั้งแบบ Analytic และ Holistic