SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 32
โครงงานวิท ยาศาสตร์
แบบจำา ลองใบพัด กัง หัน ลม
               โดย
        นายอมรเทพ ศรีเมฆ
        นายอัซรอน แก้วสลำา
           ครูท ี่ป รึก ษา
   คุณครูเลิศศักดิ์ ประกอบชัยชนะ
บทคัด ย่อ

         จากปัจจุบันนี้โลกของเราได้ประสบ
ปัญหาภาวะโลกร้อนและได้มีการรณรงค์
ให้ใช้พลังงานทดจากธรรมชาติซึ่ง
พลังงานธรรมชาติเช่นพลังงานลม
พลังงานนำ้า พลังงานแสงอาทิตย์ เป็นต้น
คณะผูจัดทำาได้คำานึงถึงเรื่องพลังงาน
       ้
ธรรมชาติที่ไม่ต้องใช้ต้นทุนอะไรมากและ
ไม่ก่อให้เกิดปัญหาโลกร้อน โดยเฉพาะ
พลังงานลม จึงได้ประดิษฐ์แบบจำาลอง
แบบจำาลองกังหันลมจะประกอบด้วย
ส่วนที่สำาคัญหลัก คือส่วนใบพัดเนื่องจาก
กระแส ส่วนใหญ่แล้วพลังธรรมชาติที่ใช้ก็จะ
เป็น พลังงานนำ้า กับ พลังงานแสงอาทิตย์ ซึง   ่
ใช้พนทีในการติดตั้งอย่างมาก โดยเฉพาะ
       ื้ ่
พลังงานนำ้าที่ต้องตัดต้นไม้ไปมากเพื่อใช้
สร้างเขือน แต่พลังงานลมนันสามารถติดตั้ง
           ่                 ้
ได้ทุกที่ที่มลม คณะผู้จัดทำาเห็นปัญหานี้ จึง
             ี
ได้คดประดิษฐ์ใบพัดกังหันลมที่สามารถให้
     ิ
กระแสไฟฟ้าได้มากที่สด    ุ
ใบพัดกังหันลมที่เราได้ทดลองนั้นมีด้วย
กัน 4 แบบโดยใช้ชอย่อคือแบบA B C และ
                    ื่
D ซึ่งแต่ละแบบเราจะกำาหนดให้ทุกอย่าง
เหมือนกันแตกต่างกันแค่รูปแบบของใบ ที่จะ
เน้นพืนที่ในส่วนปลายหรือส่วนต้น 2 ซึ่งใน
        ้
การทดสอบกระแสไฟฟ้าจะทดสอบชนิดละ
10 รอบ รอบละ 5 วินาที
           การทดสอบกระแสไฟฟ้าของใบพัด
กังหันลมแต่ละรูปแบบปรากฏว่ากระแสไฟฟ้า
ที่ได้ของแต่ละรูปแบบนั้นต่างกัน โดยรูปแบบ
ที่มีรัศมีการหมุนของมวลที่น้อยจะมีคากระแส
                                   ่
ไฟฟ้าที่มาก
                   รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง
แบบจำาลองใบพัดกังหันลม ฉบับนี้สำาเร็จได้ด้วยความ
อนุเคราะห์ของ บุคคลหลายท่าน ซึงได้แก่ครูที่
                                   ่
ปรึกษาโครงงาน ครูเลิศศักดิ์ ประกอบชัยชนะ ที่ได้
ให้คำาปรึกษาในหลายๆเรื่องในการทำาโครงงานรวม
ทัง ตรวจทาน และแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ และ
  ้
เพื่อนๆ ทีได้ให้คำาปรึกษาในเรื่องการทำาโครงงาน
            ่
และครูบุญประภา ช่วยชม ครูผู้สอนวิชาโครงงาน
วิทยาศาสตร์ ทีได้ให้คำาแนะนำาต่าง ๆ รวมถึงผู้
                   ่
ปกครองของพวกเราที่ได้ให้คำาปรึกษาและให้กำาลังใจ
คอยช่วยเหลืออยู่เสมอ
                   ขอขอบคุณโรงเรียนสตูลวิทยาที่
ให้การสนับสนุนในเรื่องงบประมาณในการทำาโครง
งานทำาให้โครงงานนีสำาเร็จลุลวงได้ด้วยดี
                        ้     ่
บทที่ 1
                  บทนำา
      ที่ม าและความสำา คัญ
       ปัจจุบนเกิดวิกฤติทางด้านพลังงานไปทั่วโลก
             ั
สำาหรับพลังงานหลักของประเทศไทย 79% มา
จากนำ้ามันปิโตรเลียม ถ่านหิน และแก๊สธรรมชาติ
ซึ่งเป็นทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดไป ส่วนใหญ่ถูกนำา
ไปใช้ในกิจกรรมขนส่ง ซึ่งเป็นกิจกรรม ที่มีความ
สำาคัญต่อภาคเศรษฐกิจและสังคม ดังนันการ
                                     ้
ขาดแคลนพลังงานดังกล่าวจะส่งผลกระทบต่อชีวิต
ความเป็นอยู่และระบบเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก
ด้วยเหตุนี้ภาครัฐจึงต้องวางแผนงานรองรับการ
จัดหา หรือการผลิตเชือเพลิงเพื่อใช้ในกิจกรรม
                       ้
เหล่านี้ให้เพียงพอ
ลมเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ซึ่งเกิด
จากความแตกต่าง
ของอุณหภูมิ ความกดดันของบรรยากาศและแรง
จากการหมุนของ
โลก สิงเหล่านี้เป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเร็วลม
        ่
และกำาลังลม เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปว่าลมเป็น
พลังงานรูปหนึ่งที่มีอยู่ในตัวเอง ซึ่งในบางครั้งแรง
ที่เกิดจากลมอาจทำาให้บ้านเรือนที่อยู่อาศัยพัง
ทลายต้นไม้ หักโค่นลง สิงของวัตถุต่างๆ ล้มหรือ
                          ่
ปลิวลอยไปตามลม ฯลฯ
ในปัจจุบันมนุษย์จึงได้ให้ความสำาคัญ
และนำาพลังงานจากลมมาใช้ประโยชน์มาก
ขึ้น เนื่องจากพลังงานลมมีอยูโดยทั่วไป ไม่
                              ่
ต้องซื้อหา เป็นพลังงานที่สะอาดไม่ก่อให้เกิด
อันตรายต่อสภาพแวดล้อม และสามารถนำา
มาใช้ประโยชน์ได้อย่างไม่รู้จักหมดสิน ้
      กังหันลม คือ เครื่องจักรกลอย่างหนึ่งที่
สามารถรับพลังงานจลน์จากการเคลื่อนที่
ของลมให้ เป็นพลังงานกลได้ จากนั้นนำา
พลังงานกลมาใช้ประโยชน์โดยตรงหรือใน
ปัจจุบันใช้ผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้า 
การพัฒนากังหันลมเพื่อใช้ประโยชน์มี
มาตั้งแต่ชนชาวอียปต์โบราณและมีความต่อ
                    ิ
เนื่องถึงปัจจุบน โดยการออกแบบกังหันลม
               ั
จะต้องอาศัยความรู้ทางด้านพลศาสตร์ของ
ลมและหลัก วิศวกรรมศาสตร์ในแขนงต่างๆ
เพื่อให้ได้กำาลังงาน พลังงาน และ
ประสิทธิภาพสูงสุด   ดังนั้นกลุ่มของกระผม
จึงมีแนวคิดที่จะผลิตกังหันลมรูปแบบใหม่
ขึ้นมามาเพื่อสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้พอ
ตามความต้องการของมนุษย์ ด้วยการนำารูป
แบบของกังหันลมชนิดแนวแกนนอน ชนิด
ต่างๆเพือมาทดลองแล้วเปรียบเทียบ
         ่
 
เพื่อศึกษารูปร่างของกังหันลมที่มีผลต่อ กระแส
ไฟฟ้าที่ผลิตได้
     สมมติฐ าน
กังหันลมที่มีรูปแบบใบพัดที่ต่างกัน จะส่งผลให้
กระแสไฟฟ้าที่ได้ต่างกัน
     ตัว แปรที่เ กี่ย วข้อ ง
ตัว แปรต้น          รูปแบบใบกังหัดลมชนิด
ต่างๆ ของกังหันลมชนิด
   แนวแกนนอนและรูปแบบใบของกังหันลมที่ผลิต
ขึ้นเอง
ตัว แปรตาม         กระแสไฟฟ้าที่ผลิตได้จาก
กังหันลม
ตัว แปรที่ค วบคุม ความเร็วลม,สถานที่,ขนาด
ของเครื่องกำาเนิดไฟฟ้า,ขนาด
บทที่ 2
               เอกสารและทฤษฎีท ี่
เกี่ย วข้อ ง
     ในการศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาได้ศึกษาเอกสาร
และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง และได้นำาเสนอตามหัวข้อ
ต่อไปนี้
         1.ความรู้เกี่ยวกับเรื่องพลังงานลม
         2.ความรู้เกี่ยวกับเรื่องกังหันลม
         3.หลักการของไดนาโม
         4.โมเมนต์ความเฉื่อย
         5.กระแสไฟฟ้า

 
บทที่ 3
          วิธ ีด ำา เนิน การทดลอง
วัส ดุอ ป กรณ์
        ุ
  1.ไม้กระดานอัด        9.เครื่องเจียร์(ลูกหมู)
  2. ฟิวเจอร์บอร์ด
  3. เลื่อย              10.มีดคัตเตอร์
  4. แกนเพลาของ          11.สว่าน
  ไดนาโม
  5. ดินสอตีเส้น         12.ไม้ขนาด 2 x 1.5
  6. น็อต               นิ้ว
  7. กาวร้อน             13.เครื่องวัดกระแส
   8. เครื่องกำาเนิด    ไฟฟ้าแบบดิจตอลิ
  ไฟฟ้า (ไดนาโม)        (AC/DC Digital
                        Multitester)
ขั้น ตอนการดำา เนิน งาน
 ขัน ตอนที่ 1 การประดิษ ฐ์ใ บพัด
    ้
 กัง หัน ลมและตัว กัง หัน ลม
         1.1 ทำาการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับหลัก
 การของไดนาโม
            1.2 ออกแบบใบพัดของกังหันลม
 โดยทำาจากฟิวเจอร์บอร์ด
            1.3 นำาใบพัดกังหันลมชนิดต่างๆ
 และตัวกังหันลมมาปรึกษากับครูที่ปรึกษา
            1.4 ลงมือประดิษฐ์โดยนำาไม้มาส
 ร้างเป็นฐานของกันหันลมจากนั้นนำาไดนาโมมา
ชนิด A   ชนิด B   ชนิด C
ชนิด D
ภาพที่ 3.1 การออกแบบใบพัดกังหันลม
               ภาพที่ 3.2 การทำาฐานของกังหันลม




                          ภาพที่ 3.3 การทำา
                          แกนเสีย บใบพัด กัง หัน
                          ลม
จอร์บอร์ดเพื่อนำามา                                  ภาพที่ 3.5 การปร
                                                      เสียบ
ขั้น ตอนที่ 2 การทดสอบประสิท ธิภ าพ
การทำา งานของ
       2.1การนำาใบพัดที่ได้ประดิษฐ์ขึ้นประกอบ
เข้ากับแกนเสียบใบพัด โดยใช้ใบพัดทั้งหมด 8
ใบ ในแต่ละชนิดต่อการทดสอบ
       2.2ทำาการทดสอบเพื่อวัดค่ากระแสไฟฟ้า
โดยจะเริ่มวัดกระแสไฟฟ้าเมื่อใบพัดหมุนคงที่
       2.3ถ่ายวิดีโอขณะทำาการทดลองเพี่อนำามา
อ่านค่ากระแสไฟฟ้า โดยถ่ายครั้งละ 5 วินาที
       2.4ทำาการทดลองซำ้าจำานวน 10 ครั้ง ต่อ
แต่ละชนิดของใบพัด
ขั้น ตอนที่ 3 การบัน ทึก ผลการ
ทดลอง
      3.1นำาวีดีโอที่ถ่ายไว้มาดูเพืออ่านค่า
                                    ่
กระแสไฟฟ้า
      3.2บันทึกค่ากระแสไฟฟ้าที่อ่านค่าได้
ลงในตาราง
      3.3นำาค่ากระแสไฟฟ้าที่อ่านค่าได้ใน
แต่ละค่ามาหาค่าเฉลี่ยและนำามาสร้างกราฟ
      3.4นำาค่าเฉลี่ยที่หาค่าได้ทั้งหมด 10
ครั้งของใบพัดแต่ละชนิด มาหาค่าเฉลี่ยรวม
      3.5นำาค่าเฉลี่ยรวมของใบพัดทั้ง 4
ชนิดมาเปรียบเทียบกันโดยใช้แผนถูมิแท่ง
บทที่ 4
                           ผลการทดลอง  
          จากการดำาเนินการในการออกแบบใบพัดกังหันลม โดย
เริ่มตั้งแต่กระบวนการสร้างอุปกรณ์ที่เป็นส่วนประกอบต่างๆของ
กังหันลม จนกระทั่งทดสอบกระแสไฟฟ้าที่ได้จากใบพัดแต่ละชนิด
ผลการทดลอง ดังนี้
ตารางที่ 1 ผลการทดสอบกระแสไฟฟ้าที่ได้จากใบพัดรูปแบบ A
จำานวน ครั้ง ทีครั้ง ผลการทดลองวิ(mA)
          10 ่        ครั้งละ 5 นาที
                   14.72
        1
        2          14.32
                           *จากตารางที่ 1 ได้ค่าเฉลี่ยรวมทั้ง 10 คร
        3          13.88                   เท่ากับ 14.41 mA
        4          13.95
        5          14.18
        6          14.20
        7          15.15
        8          15.13
        9          14.73
       10          13.82
      เฉลี่ย       14.41
กราฟที่ 1 ผลการทดลองใบพัดรูปแบบ A
ตารางที่ 2 ผลการทดสอบกระแสไฟฟ้าทีได้จาก
                                          ่
    ใบพัดรูปแบบ B จำานวน 10 ครั้ง ครั้งละ 5 วินาที
              ครั้ง ที่   ผลการทดลอง (mA)
                 1             14.43
                 2             14.64
                 3             14.57
                 4             14.52
                 5             14.35
                 6             14.28
                 7             14.57
                 8             14.34
                 9             14.66
                10             14.85
               เฉลี่ย          14.52


ากตารางที่ 2 ได้ค่าเฉลี่ยรวมทัง 10 ครั้ง เท่ากับ 14.52 mA
                              ้
กราฟที่ 2 ผลการทดลองใบพัดรูป
           แบบ B
ผลการทดสอบกระแสไฟฟ้าทีได้จากใบพัดรูปแบบ C จำานวน 10
                        ่
นาที
                ครั้ง ที่   ผลการทดลอง (mA)
                   1             15.06
                   2             14.96
                   3             14.81
                   4             15.34
                   5             15.67
                   6             15.39
                   7             15.35
                   8             15.29
                   9             15.36
                  10             15.40
                เฉลี่ย           15.27


จากตารางที่ 3 ได้ค่าเฉลี่ยรวมทั้ง 10 ครั้ง เท่ากับ 15.27 mA
กราฟที่ 3 ผลการทดลองใบพัดรูปแบบ C
4 ผลการทดสอบกระแสไฟฟ้าทีได้จากใบพัดรูปแบบ D จำานวน 1
                        ่
 นาที
              ครั้ง ที่       ผลการทดลอง (mA)
                 1                 16.36
                 2                 16.22
                 3                 14.79
                 4                 16.12
                 5                 16.80
                 6                 17.42
                 7                 16.89
                 8                 16.96
                 9                 16.73
                10                 16.38
              เฉลี่ย               16.47


 จากตารางที่ 4 ได้ค่าเฉลี่ยรวมทั้ง 10 ครั้ง เท่ากับ 16.47 mA
กราฟที่ 4 ผลการทดลองใบพัดรูปแบบ D
แสดงผลการเปรียบเทียบ ค่าเฉลี่ยรวมของค่ากระแสไฟฟ้าที่ได้จา
                             A B C และ D
       รูปแบบของ          ค่าเฉลี่ยทั้ง 10 ครั้ง
          ใบพัด
            A                    14.41

            B                    14.52

            C                    15.27

            D                    16.47

ผลการเปรียบเทียบแสดงให้เห็นว่า ใบพัดรูปแบบที่ D ให้ค่ากระแ
 มากทีสุด
      ่
ผลการทดสอบกระแสไฟฟ้าโดยเฉลี่ยทีได้จากใบพัดรูปแบบ A B C
                               ่
บทที่ 5
      สรุป และอภิป รายผลการทดลอง
       จากการทดสอบกระแสไฟฟ้าของใบพัดกังหัน
ลมทัง 4 ชนิด พบว่ากระแสไฟฟ้าทีได้จากใบพัดใน
     ้                         ่
แต่ละรูปแบบ มีผลออกมาต่างกัน เนื่องจากใบพัด
กังหันลมมีรูปร่างทีต่างกัน
                   ่
สรุป ผล
    จากผลการทดลองของใบพัดรูปแบบ A ได้ค่าเฉลี่ย
รวมทั้ง 10 ครั้ง เท่ากับ 14.41 mA
       จากผลการทดลองของใบพัดรูปแบบ B ได้ค่าเฉลี่ย
รวมทั้ง 10 ครั้ง เท่ากับ 14.52 mA
       จากผลการทดลองของใบพัดรูปแบบ C ได้ค่าเฉลี่ย
รวมทั้ง 10 ครั้ง เท่ากับ 15.28 mA
       จากผลการทดลองของใบพัดรูปแบบ D ได้ค่าเฉลีย่
รวมทั้ง 10 ครั้ง เท่ากับ 16.47 mA
จากผลการทดลองของใบพัดรูปแบบ A B C และ
D ซึ่งเห็นได้ว่าใบพัดทีรูปแบบต่างกันจะให้กระแสไฟฟ้า
                       ่
ทีต่างกันด้วย ซึ่งผลการทดลองตรงกับสมมติฐานทีตั้งไว้
  ่                                           ่
และสามารถหารูปแบบใบพัดกังหันลมที่สามารถให้กระแส
ไฟฟ้าทีดีทสุดซึ่งให้กระแสไฟฟ้าได้มากกว่ารูปแบบอื่น
        ่ ี่
นันก็คือใบพัดกังหันลมรูปแบบ D ซึ่งเป็นไปตามจุด
    ้
ประสงค์ของโครงงานนี้
อภิป รายผลการทดลอง
       ในการทดลองครั้งนีเราได้ใบพัดกังหันลมรูปแบบ
                           ้
D ทีให้กระแสไฟฟ้ามากทีสุด เนื่องจากมีรัศมีการหมุน
    ่                    ่
ของมวล น้อยที่สด ซึ่งทำาให้โมเมนต์ความเฉื่อยลดลง ส่ง
                  ุ
ผลให้ความเร็วเชิงมุมมีค่ามากกว่าใบพัดกังหันลมรูปแบบ
A B และ C โดยกระแสไฟฟ้าทีได้จะเพิ่มขึ้นตามรัศมีการ
                             ่
หมุนของมวลทีลดลง่
       ถึงแม้ว่าในกระบวนการดำาเนินงานแต่ละขั้นตอนจะ
เกิดปัญหาขึ้น ทางผู้ทำาโครงงานก็สามารถใช้วิธีการทาง
วิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ รวมถึง
ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์แก้ปัญหาทีเกิดขึ้นได้ ทำาให้
                                     ่
สามารถทำาการทดลองกระแสไฟฟ้าทีได้จากกังหันลมทีมี
                                   ่               ่
ใบพัดต่างชนิดกันจนสำาเร็จไปได้
อุป สรรคและข้อ เสนอ
แนะ
       จากการสร้างชุดกังหันลมจำาลอง เพือทำาการ
                                          ่
ทดสอบกระแสไฟฟ้าทีได้จากใบพัดกังหันลมทีมรูปแบบ
                       ่                    ่ ี
ต่างกัน ยังมีส่วนทีจะต้องปรับปรุงแก้ไขในบางส่วน ได้แก่
                   ่
แกนของไดนาโมและแกนเสียบใบพัดกังหันลม มีการหมุน
ทีไม่สมำ่าเสมอ ทำาให้ค่าของกระแสไฟฟ้าทีได้ไม่คงทีเกิด
  ่                                     ่        ่
ดารกระชากในบางครั้งซึ่งเห็นได้จากกราฟแสดงผลการ
ทดลอง ซึ่งหากสามารถแก้ปัญหาข้างต้นนี้ได้ก็จะทำาให้
ค่าของกระแสไฟฟ้ามีความคงที่ และสามารถเห็นความ
แตกต่างของใบพัดในแต่ละรูปแบบได้อย่างชัดเจนและผล
การทดลองนี้สามารถนำาไปเป็นต้นแบบใบพัดของกังหัน
ลมทีสามารถใช้ได้จริง
     ่
เอกสารอ้า งอิง
พลังงานลม (ออนไลน์).(2553).สืบค้นจาก:

http://www.thaitap.com/ewtadmin85/ewt/th
aitap_web/ewt_news.php?nid=402
       [15 พฤษภาคม 2555 ]
กังหันลม (ออนไลน์).(2553).สืบค้นจาก:
       http://www.dede.go.th [28 พฤษภาคม
2555 ]
หลักของไดนาโม (ออนไลน์).(2552).สืบค้นจาก:

http://www.trueplookpanya.com/true/knowle
dge_detail.php [20 ตุลาคม 2555 ]

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อเรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อCherry Lay
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีKawinTheSinestron
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์Kan Pan
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์Attapon Phonkamchon
 
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์Beerza Kub
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้าtanakit pintong
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)Pongpan Pairojana
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงานTanyarad Chansawang
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 

Was ist angesagt? (20)

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อเรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงานบทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้า
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 

Ähnlich wie โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์

บทที่ 7 E D M Total Station
บทที่ 7  E D M  Total  Stationบทที่ 7  E D M  Total  Station
บทที่ 7 E D M Total StationChattichai
 
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย  3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56Slโครงสร้างวิชา หน่วย  3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56krupornpana55
 
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งWp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งkrupornpana55
 

Ähnlich wie โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์ (9)

บทที่ 7 E D M Total Station
บทที่ 7  E D M  Total  Stationบทที่ 7  E D M  Total  Station
บทที่ 7 E D M Total Station
 
Lecture 6 aft
Lecture 6 aftLecture 6 aft
Lecture 6 aft
 
คอนไทย
คอนไทยคอนไทย
คอนไทย
 
Lesson01
Lesson01Lesson01
Lesson01
 
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย  3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56Slโครงสร้างวิชา หน่วย  3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
 
Rain chain 609
Rain chain 609Rain chain 609
Rain chain 609
 
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งWp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์

  • 1. โครงงานวิท ยาศาสตร์ แบบจำา ลองใบพัด กัง หัน ลม โดย นายอมรเทพ ศรีเมฆ นายอัซรอน แก้วสลำา ครูท ี่ป รึก ษา คุณครูเลิศศักดิ์ ประกอบชัยชนะ
  • 2. บทคัด ย่อ จากปัจจุบันนี้โลกของเราได้ประสบ ปัญหาภาวะโลกร้อนและได้มีการรณรงค์ ให้ใช้พลังงานทดจากธรรมชาติซึ่ง พลังงานธรรมชาติเช่นพลังงานลม พลังงานนำ้า พลังงานแสงอาทิตย์ เป็นต้น คณะผูจัดทำาได้คำานึงถึงเรื่องพลังงาน ้ ธรรมชาติที่ไม่ต้องใช้ต้นทุนอะไรมากและ ไม่ก่อให้เกิดปัญหาโลกร้อน โดยเฉพาะ พลังงานลม จึงได้ประดิษฐ์แบบจำาลอง
  • 3. แบบจำาลองกังหันลมจะประกอบด้วย ส่วนที่สำาคัญหลัก คือส่วนใบพัดเนื่องจาก กระแส ส่วนใหญ่แล้วพลังธรรมชาติที่ใช้ก็จะ เป็น พลังงานนำ้า กับ พลังงานแสงอาทิตย์ ซึง ่ ใช้พนทีในการติดตั้งอย่างมาก โดยเฉพาะ ื้ ่ พลังงานนำ้าที่ต้องตัดต้นไม้ไปมากเพื่อใช้ สร้างเขือน แต่พลังงานลมนันสามารถติดตั้ง ่ ้ ได้ทุกที่ที่มลม คณะผู้จัดทำาเห็นปัญหานี้ จึง ี ได้คดประดิษฐ์ใบพัดกังหันลมที่สามารถให้ ิ กระแสไฟฟ้าได้มากที่สด ุ
  • 4. ใบพัดกังหันลมที่เราได้ทดลองนั้นมีด้วย กัน 4 แบบโดยใช้ชอย่อคือแบบA B C และ ื่ D ซึ่งแต่ละแบบเราจะกำาหนดให้ทุกอย่าง เหมือนกันแตกต่างกันแค่รูปแบบของใบ ที่จะ เน้นพืนที่ในส่วนปลายหรือส่วนต้น 2 ซึ่งใน ้ การทดสอบกระแสไฟฟ้าจะทดสอบชนิดละ 10 รอบ รอบละ 5 วินาที การทดสอบกระแสไฟฟ้าของใบพัด กังหันลมแต่ละรูปแบบปรากฏว่ากระแสไฟฟ้า ที่ได้ของแต่ละรูปแบบนั้นต่างกัน โดยรูปแบบ ที่มีรัศมีการหมุนของมวลที่น้อยจะมีคากระแส ่ ไฟฟ้าที่มาก
  • 5.   รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง แบบจำาลองใบพัดกังหันลม ฉบับนี้สำาเร็จได้ด้วยความ อนุเคราะห์ของ บุคคลหลายท่าน ซึงได้แก่ครูที่ ่ ปรึกษาโครงงาน ครูเลิศศักดิ์ ประกอบชัยชนะ ที่ได้ ให้คำาปรึกษาในหลายๆเรื่องในการทำาโครงงานรวม ทัง ตรวจทาน และแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ และ ้ เพื่อนๆ ทีได้ให้คำาปรึกษาในเรื่องการทำาโครงงาน ่ และครูบุญประภา ช่วยชม ครูผู้สอนวิชาโครงงาน วิทยาศาสตร์ ทีได้ให้คำาแนะนำาต่าง ๆ รวมถึงผู้ ่ ปกครองของพวกเราที่ได้ให้คำาปรึกษาและให้กำาลังใจ คอยช่วยเหลืออยู่เสมอ                    ขอขอบคุณโรงเรียนสตูลวิทยาที่ ให้การสนับสนุนในเรื่องงบประมาณในการทำาโครง งานทำาให้โครงงานนีสำาเร็จลุลวงได้ด้วยดี ้ ่
  • 6. บทที่ 1 บทนำา ที่ม าและความสำา คัญ ปัจจุบนเกิดวิกฤติทางด้านพลังงานไปทั่วโลก ั สำาหรับพลังงานหลักของประเทศไทย 79% มา จากนำ้ามันปิโตรเลียม ถ่านหิน และแก๊สธรรมชาติ ซึ่งเป็นทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดไป ส่วนใหญ่ถูกนำา ไปใช้ในกิจกรรมขนส่ง ซึ่งเป็นกิจกรรม ที่มีความ สำาคัญต่อภาคเศรษฐกิจและสังคม ดังนันการ ้ ขาดแคลนพลังงานดังกล่าวจะส่งผลกระทบต่อชีวิต ความเป็นอยู่และระบบเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก ด้วยเหตุนี้ภาครัฐจึงต้องวางแผนงานรองรับการ จัดหา หรือการผลิตเชือเพลิงเพื่อใช้ในกิจกรรม ้ เหล่านี้ให้เพียงพอ
  • 7. ลมเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ซึ่งเกิด จากความแตกต่าง ของอุณหภูมิ ความกดดันของบรรยากาศและแรง จากการหมุนของ โลก สิงเหล่านี้เป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเร็วลม ่ และกำาลังลม เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปว่าลมเป็น พลังงานรูปหนึ่งที่มีอยู่ในตัวเอง ซึ่งในบางครั้งแรง ที่เกิดจากลมอาจทำาให้บ้านเรือนที่อยู่อาศัยพัง ทลายต้นไม้ หักโค่นลง สิงของวัตถุต่างๆ ล้มหรือ ่ ปลิวลอยไปตามลม ฯลฯ
  • 8. ในปัจจุบันมนุษย์จึงได้ให้ความสำาคัญ และนำาพลังงานจากลมมาใช้ประโยชน์มาก ขึ้น เนื่องจากพลังงานลมมีอยูโดยทั่วไป ไม่ ่ ต้องซื้อหา เป็นพลังงานที่สะอาดไม่ก่อให้เกิด อันตรายต่อสภาพแวดล้อม และสามารถนำา มาใช้ประโยชน์ได้อย่างไม่รู้จักหมดสิน ้ กังหันลม คือ เครื่องจักรกลอย่างหนึ่งที่ สามารถรับพลังงานจลน์จากการเคลื่อนที่ ของลมให้ เป็นพลังงานกลได้ จากนั้นนำา พลังงานกลมาใช้ประโยชน์โดยตรงหรือใน ปัจจุบันใช้ผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้า 
  • 9. การพัฒนากังหันลมเพื่อใช้ประโยชน์มี มาตั้งแต่ชนชาวอียปต์โบราณและมีความต่อ ิ เนื่องถึงปัจจุบน โดยการออกแบบกังหันลม ั จะต้องอาศัยความรู้ทางด้านพลศาสตร์ของ ลมและหลัก วิศวกรรมศาสตร์ในแขนงต่างๆ เพื่อให้ได้กำาลังงาน พลังงาน และ ประสิทธิภาพสูงสุด   ดังนั้นกลุ่มของกระผม จึงมีแนวคิดที่จะผลิตกังหันลมรูปแบบใหม่ ขึ้นมามาเพื่อสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้พอ ตามความต้องการของมนุษย์ ด้วยการนำารูป แบบของกังหันลมชนิดแนวแกนนอน ชนิด ต่างๆเพือมาทดลองแล้วเปรียบเทียบ ่  
  • 10. เพื่อศึกษารูปร่างของกังหันลมที่มีผลต่อ กระแส ไฟฟ้าที่ผลิตได้ สมมติฐ าน กังหันลมที่มีรูปแบบใบพัดที่ต่างกัน จะส่งผลให้ กระแสไฟฟ้าที่ได้ต่างกัน ตัว แปรที่เ กี่ย วข้อ ง ตัว แปรต้น รูปแบบใบกังหัดลมชนิด ต่างๆ ของกังหันลมชนิด แนวแกนนอนและรูปแบบใบของกังหันลมที่ผลิต ขึ้นเอง ตัว แปรตาม กระแสไฟฟ้าที่ผลิตได้จาก กังหันลม ตัว แปรที่ค วบคุม ความเร็วลม,สถานที่,ขนาด ของเครื่องกำาเนิดไฟฟ้า,ขนาด
  • 11. บทที่ 2 เอกสารและทฤษฎีท ี่ เกี่ย วข้อ ง ในการศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาได้ศึกษาเอกสาร และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง และได้นำาเสนอตามหัวข้อ ต่อไปนี้ 1.ความรู้เกี่ยวกับเรื่องพลังงานลม 2.ความรู้เกี่ยวกับเรื่องกังหันลม 3.หลักการของไดนาโม 4.โมเมนต์ความเฉื่อย 5.กระแสไฟฟ้า  
  • 12. บทที่ 3 วิธ ีด ำา เนิน การทดลอง วัส ดุอ ป กรณ์ ุ 1.ไม้กระดานอัด 9.เครื่องเจียร์(ลูกหมู) 2. ฟิวเจอร์บอร์ด 3. เลื่อย 10.มีดคัตเตอร์ 4. แกนเพลาของ 11.สว่าน ไดนาโม 5. ดินสอตีเส้น 12.ไม้ขนาด 2 x 1.5 6. น็อต นิ้ว 7. กาวร้อน 13.เครื่องวัดกระแส 8. เครื่องกำาเนิด ไฟฟ้าแบบดิจตอลิ ไฟฟ้า (ไดนาโม) (AC/DC Digital Multitester)
  • 13. ขั้น ตอนการดำา เนิน งาน ขัน ตอนที่ 1 การประดิษ ฐ์ใ บพัด ้ กัง หัน ลมและตัว กัง หัน ลม 1.1 ทำาการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับหลัก การของไดนาโม 1.2 ออกแบบใบพัดของกังหันลม โดยทำาจากฟิวเจอร์บอร์ด 1.3 นำาใบพัดกังหันลมชนิดต่างๆ และตัวกังหันลมมาปรึกษากับครูที่ปรึกษา 1.4 ลงมือประดิษฐ์โดยนำาไม้มาส ร้างเป็นฐานของกันหันลมจากนั้นนำาไดนาโมมา
  • 14. ชนิด A ชนิด B ชนิด C ชนิด D
  • 15. ภาพที่ 3.1 การออกแบบใบพัดกังหันลม ภาพที่ 3.2 การทำาฐานของกังหันลม ภาพที่ 3.3 การทำา แกนเสีย บใบพัด กัง หัน ลม จอร์บอร์ดเพื่อนำามา ภาพที่ 3.5 การปร เสียบ
  • 16. ขั้น ตอนที่ 2 การทดสอบประสิท ธิภ าพ การทำา งานของ 2.1การนำาใบพัดที่ได้ประดิษฐ์ขึ้นประกอบ เข้ากับแกนเสียบใบพัด โดยใช้ใบพัดทั้งหมด 8 ใบ ในแต่ละชนิดต่อการทดสอบ 2.2ทำาการทดสอบเพื่อวัดค่ากระแสไฟฟ้า โดยจะเริ่มวัดกระแสไฟฟ้าเมื่อใบพัดหมุนคงที่ 2.3ถ่ายวิดีโอขณะทำาการทดลองเพี่อนำามา อ่านค่ากระแสไฟฟ้า โดยถ่ายครั้งละ 5 วินาที 2.4ทำาการทดลองซำ้าจำานวน 10 ครั้ง ต่อ แต่ละชนิดของใบพัด
  • 17. ขั้น ตอนที่ 3 การบัน ทึก ผลการ ทดลอง 3.1นำาวีดีโอที่ถ่ายไว้มาดูเพืออ่านค่า ่ กระแสไฟฟ้า 3.2บันทึกค่ากระแสไฟฟ้าที่อ่านค่าได้ ลงในตาราง 3.3นำาค่ากระแสไฟฟ้าที่อ่านค่าได้ใน แต่ละค่ามาหาค่าเฉลี่ยและนำามาสร้างกราฟ 3.4นำาค่าเฉลี่ยที่หาค่าได้ทั้งหมด 10 ครั้งของใบพัดแต่ละชนิด มาหาค่าเฉลี่ยรวม 3.5นำาค่าเฉลี่ยรวมของใบพัดทั้ง 4 ชนิดมาเปรียบเทียบกันโดยใช้แผนถูมิแท่ง
  • 18. บทที่ 4 ผลการทดลอง   จากการดำาเนินการในการออกแบบใบพัดกังหันลม โดย เริ่มตั้งแต่กระบวนการสร้างอุปกรณ์ที่เป็นส่วนประกอบต่างๆของ กังหันลม จนกระทั่งทดสอบกระแสไฟฟ้าที่ได้จากใบพัดแต่ละชนิด ผลการทดลอง ดังนี้ ตารางที่ 1 ผลการทดสอบกระแสไฟฟ้าที่ได้จากใบพัดรูปแบบ A จำานวน ครั้ง ทีครั้ง ผลการทดลองวิ(mA) 10 ่ ครั้งละ 5 นาที 14.72   1 2 14.32 *จากตารางที่ 1 ได้ค่าเฉลี่ยรวมทั้ง 10 คร 3 13.88 เท่ากับ 14.41 mA 4 13.95 5 14.18 6 14.20 7 15.15 8 15.13 9 14.73 10 13.82 เฉลี่ย 14.41
  • 20. ตารางที่ 2 ผลการทดสอบกระแสไฟฟ้าทีได้จาก ่ ใบพัดรูปแบบ B จำานวน 10 ครั้ง ครั้งละ 5 วินาที ครั้ง ที่ ผลการทดลอง (mA) 1 14.43 2 14.64 3 14.57 4 14.52 5 14.35 6 14.28 7 14.57 8 14.34 9 14.66 10 14.85 เฉลี่ย 14.52 ากตารางที่ 2 ได้ค่าเฉลี่ยรวมทัง 10 ครั้ง เท่ากับ 14.52 mA ้
  • 22. ผลการทดสอบกระแสไฟฟ้าทีได้จากใบพัดรูปแบบ C จำานวน 10 ่ นาที ครั้ง ที่ ผลการทดลอง (mA) 1 15.06 2 14.96 3 14.81 4 15.34 5 15.67 6 15.39 7 15.35 8 15.29 9 15.36 10 15.40 เฉลี่ย 15.27 จากตารางที่ 3 ได้ค่าเฉลี่ยรวมทั้ง 10 ครั้ง เท่ากับ 15.27 mA
  • 24. 4 ผลการทดสอบกระแสไฟฟ้าทีได้จากใบพัดรูปแบบ D จำานวน 1 ่ นาที ครั้ง ที่ ผลการทดลอง (mA) 1 16.36 2 16.22 3 14.79 4 16.12 5 16.80 6 17.42 7 16.89 8 16.96 9 16.73 10 16.38 เฉลี่ย 16.47 จากตารางที่ 4 ได้ค่าเฉลี่ยรวมทั้ง 10 ครั้ง เท่ากับ 16.47 mA
  • 26. แสดงผลการเปรียบเทียบ ค่าเฉลี่ยรวมของค่ากระแสไฟฟ้าที่ได้จา A B C และ D รูปแบบของ ค่าเฉลี่ยทั้ง 10 ครั้ง ใบพัด A 14.41 B 14.52 C 15.27 D 16.47 ผลการเปรียบเทียบแสดงให้เห็นว่า ใบพัดรูปแบบที่ D ให้ค่ากระแ มากทีสุด ่
  • 28. บทที่ 5 สรุป และอภิป รายผลการทดลอง จากการทดสอบกระแสไฟฟ้าของใบพัดกังหัน ลมทัง 4 ชนิด พบว่ากระแสไฟฟ้าทีได้จากใบพัดใน ้ ่ แต่ละรูปแบบ มีผลออกมาต่างกัน เนื่องจากใบพัด กังหันลมมีรูปร่างทีต่างกัน ่ สรุป ผล จากผลการทดลองของใบพัดรูปแบบ A ได้ค่าเฉลี่ย รวมทั้ง 10 ครั้ง เท่ากับ 14.41 mA จากผลการทดลองของใบพัดรูปแบบ B ได้ค่าเฉลี่ย รวมทั้ง 10 ครั้ง เท่ากับ 14.52 mA จากผลการทดลองของใบพัดรูปแบบ C ได้ค่าเฉลี่ย รวมทั้ง 10 ครั้ง เท่ากับ 15.28 mA จากผลการทดลองของใบพัดรูปแบบ D ได้ค่าเฉลีย่ รวมทั้ง 10 ครั้ง เท่ากับ 16.47 mA
  • 29. จากผลการทดลองของใบพัดรูปแบบ A B C และ D ซึ่งเห็นได้ว่าใบพัดทีรูปแบบต่างกันจะให้กระแสไฟฟ้า ่ ทีต่างกันด้วย ซึ่งผลการทดลองตรงกับสมมติฐานทีตั้งไว้ ่ ่ และสามารถหารูปแบบใบพัดกังหันลมที่สามารถให้กระแส ไฟฟ้าทีดีทสุดซึ่งให้กระแสไฟฟ้าได้มากกว่ารูปแบบอื่น ่ ี่ นันก็คือใบพัดกังหันลมรูปแบบ D ซึ่งเป็นไปตามจุด ้ ประสงค์ของโครงงานนี้
  • 30. อภิป รายผลการทดลอง ในการทดลองครั้งนีเราได้ใบพัดกังหันลมรูปแบบ ้ D ทีให้กระแสไฟฟ้ามากทีสุด เนื่องจากมีรัศมีการหมุน ่ ่ ของมวล น้อยที่สด ซึ่งทำาให้โมเมนต์ความเฉื่อยลดลง ส่ง ุ ผลให้ความเร็วเชิงมุมมีค่ามากกว่าใบพัดกังหันลมรูปแบบ A B และ C โดยกระแสไฟฟ้าทีได้จะเพิ่มขึ้นตามรัศมีการ ่ หมุนของมวลทีลดลง่ ถึงแม้ว่าในกระบวนการดำาเนินงานแต่ละขั้นตอนจะ เกิดปัญหาขึ้น ทางผู้ทำาโครงงานก็สามารถใช้วิธีการทาง วิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ รวมถึง ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์แก้ปัญหาทีเกิดขึ้นได้ ทำาให้ ่ สามารถทำาการทดลองกระแสไฟฟ้าทีได้จากกังหันลมทีมี ่ ่ ใบพัดต่างชนิดกันจนสำาเร็จไปได้
  • 31. อุป สรรคและข้อ เสนอ แนะ จากการสร้างชุดกังหันลมจำาลอง เพือทำาการ ่ ทดสอบกระแสไฟฟ้าทีได้จากใบพัดกังหันลมทีมรูปแบบ ่ ่ ี ต่างกัน ยังมีส่วนทีจะต้องปรับปรุงแก้ไขในบางส่วน ได้แก่ ่ แกนของไดนาโมและแกนเสียบใบพัดกังหันลม มีการหมุน ทีไม่สมำ่าเสมอ ทำาให้ค่าของกระแสไฟฟ้าทีได้ไม่คงทีเกิด ่ ่ ่ ดารกระชากในบางครั้งซึ่งเห็นได้จากกราฟแสดงผลการ ทดลอง ซึ่งหากสามารถแก้ปัญหาข้างต้นนี้ได้ก็จะทำาให้ ค่าของกระแสไฟฟ้ามีความคงที่ และสามารถเห็นความ แตกต่างของใบพัดในแต่ละรูปแบบได้อย่างชัดเจนและผล การทดลองนี้สามารถนำาไปเป็นต้นแบบใบพัดของกังหัน ลมทีสามารถใช้ได้จริง ่
  • 32. เอกสารอ้า งอิง พลังงานลม (ออนไลน์).(2553).สืบค้นจาก: http://www.thaitap.com/ewtadmin85/ewt/th aitap_web/ewt_news.php?nid=402 [15 พฤษภาคม 2555 ] กังหันลม (ออนไลน์).(2553).สืบค้นจาก: http://www.dede.go.th [28 พฤษภาคม 2555 ] หลักของไดนาโม (ออนไลน์).(2552).สืบค้นจาก: http://www.trueplookpanya.com/true/knowle dge_detail.php [20 ตุลาคม 2555 ]