SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 5
Downloaden Sie, um offline zu lesen
เมตริกซ์
ความหมายและสัญลักษณ์ของเมตริ กซ์
เมตริกซ์ หมายถึง การนาจานวนมาเขียนในรู ปแถวและหลัก ซึ่งถูกล้อมรอบด้วย ( ) หรื อ [ ]
เช่น
                หลักที่ 1   หลักที่ 2       หลักที่ 3
                                                              
                                                              
แถวที่ 1                                                      
                                                              
แถวที่ 2                                                      
                                                              
                   
                                                              
                                                               
          เมื่อ m, n เป็ นจานวนเต็มบวก เรี ยกเมตริ กซ์ที่มี m แถว n หลัก ว่า m × n เมตริ กซ์ หรื อ
เมตริ กซ์ที่มีมิติ m × n และเรี ยกจานวนแต่ละจานวนในเมตริ กซ์ว่า สมาชิกของเมตริ กซ์ เรานิยมใช้
ตัวอักษรใหญ่ A, B, C, … แทนชื่อของเมตริ กซ์ เรี ยก aij แทนสมาชิกของ A ในแถวที่ i หลักที่ j
หมายเหตุ            1. ตั้งแต่น้ ีในการเขียนเมตริ กซ์ จะใช้วงเล็บ [ ]
                    2. การระบุตาแหน่งของสมาชิกที่ชดเจนและถูกต้องจะต้องระบุว่าอยูในแถวใด
                                                         ั                               ่
และหลักใดทั้ง 2 อย่าง
 โดยทัวไปจะเขียนแทนสมาชิกของเมตริ กซ์ดวยอักษรภาษาอังกฤษตัวเขียนเล็ก และมีเลข
        ่                                           ้
ห้อยระบุตาแหน่ง 2 ตัว เช่น
          a13       หมายถึงสมาชิกซึ่งอยูในแถวที่ 1 และหลักที่ 3
                                              ่
          a25       หมายถึงสมาชิกซึ่งอยูในแถวที่ 2 และหลักที่ 5
                                                ่
          aij       หมายถึงสมาชิกซึ่งอยูในแถวที่ i และหลักที่ j
                                                  ่
          ตัวเลขตัวแรกระบุลาดับที่ของแถว และตัวเลขตัวหลังระบุลาดับที่ของหลัก ในกรณี ทวไป          ั่
นิยมเขียน A = aij mn แทนเมตริ กซ์ซ่ ึงมี m แถว n หลัก และสมาชิกซึ่งอยูแถวที่ i และหลักที่ j
                                                                             ่
คือ aij
 ในกรณี ที่           A เป็ นเมตริ กซ์ซ่ ึงมี m แถว n หลัก อาจเขียน

   a11      a12       a13    ... a1n 
  a         a 22      a 23   ... a 2 n 
   21                                  
   a31      a32       a33    ... a3n 
A .         .         .      .    .      หรื อ     A = [aij]m×n
                                       
   .          .        .      .    . 
   .          .        .      .    . 
                                       
  a m1      am2       a m3   ... a mn 
ในกรณี ที่มิติของ A เป็ นที่ชดเจนหรื อเข้าใจตรงกันอาจเขียน A = [aij]m×n
                                     ั
เช่น กาหนด

              1  1 0 5
           A 2
                  3   4 7 
              3  4  2 9 
                           
จะได้ว่า         A เป็ นเมตริ กซ์ซ่ ึงมี 3 แถว 4 หลัก
                 a11      =           1       a21     =       2         a31      =          -3
                 a12      =           -1      a22     =       3         a32      =          -4
                 a13      =           0       a23     =       4         a33      =          -2
                 a14      =           5       a24     =       7         a34      =          9

บทนิยาม          สาหรับจานวนเต็มบวก m และ n ใด ๆ ถ้า A เป็ นเมตริ กซ์ซ่ึงมี m แถวและ n หลัก
 จะกล่าวว่า                 A เป็ น m × n เมตริ กซ์ (m × n matrix) และกล่าวว่า A มีมิติ (order)
                 เท่ากับ m × n

                     1  1 0 5
เช่น     1.       A 2
                         3   4 7             เป็ น     34 เมตริ กซ์ และมีมิติเท่ากับ 34
                     3  4  2 9 
                                  
         2.       1     0 2 3     เป็ น                 14 เมตริ กซ์ และมีมิติเท่ากับ 14
                  0 
         3.       1     เป็ น                           31 เมตริ กซ์ และมีมิติเท่ากับ 31
                   
                  0 
                   
         4.     [5]                                     เป็ น 11 เมตริ กซ์ และมีมิติเท่ากับ 11
ข้ อสังเกต      1) เรากล่าวว่าเมตริ กซ์ใน ข้อ 1 เป็ น “สามคูณสี่เมตริ กซ์” มีมิติเท่ากับ “สามคูณสี่ ”
                2) เมตริ กซ์ [5] เป็ นเมตริ กซ์ที่มี 1 แถวและ 1 หลัก
                3) จากมิติของเมตริ กซ์สามารถระบุจานวนแถว และจานวนหลักของเมตริ กซ์ เช่น
A มีมิติ 75 แสดงว่า A มี 7 แถว และ 5 หลัก

บทนิยาม          1. เรี ยกเมตริ กซ์ซ่ ึงมีจานวนแถวเท่ากับจานวนหลักว่า เมตริ กซ์จตุรัส  ั
                 (square matrix)
                 2. เรี ยกเมตริ กซ์ซ่ ึงสมาชิกทุกตัวเป็ น 0 ว่า เมตริ กซ์ 0 (zero matrix)
บทนิยาม           กาหนด A = [aij]m×n เป็ นเมตริ กซ์จตุรัส จะกล่าวว่า A เป็ นเมตริ กซ์เอกลักษณ์
                                                     ั
        ก็ต่อเมื่อ
        1) aij = 1 สาหรับทุก i = 1, 2, 3, . . ., m และ
        2) ถ้า i  j แล้ว aij = 0


        ถ้า A = [aij]m×m เป็ นเมตริ กซ์เอกลักษณ์ นิยมเขียนแทน A ด้วย Im
ตัวอย่าง เมตริ กซ์เอกลักษณ์

                 1 0
                 0 1   I 2
                     
                 1 0 0
                 0 1 0   I
                            3

                 0 0 1 
                         


การเท่ากันของเมตริ กซ์

 บทนิยาม           กาหนดเมตริ กซ์ A = [aij]m×n และ B = [bij]m×n ; A = B ก็ต่อเมื่อ aij = bij สาหรับทุก ๆ
                   J = 1, 2, 3, . . ., n


        จากบทนิยามนี้จะเห็นว่าเมตริ กซ์ A จะเท่ากับเมตริ กซ์ B ก็ต่อเมื่อเมตริ กซ์ท้งสองมีมิติ
                                                                                    ั
เท่ากันและสมาชิกในตาแหน่งเดียวกันเท่ากัน
                                                             4      
                    1 2 0                         1          3  3
เช่น             A                  และ       B          2
                                                                     
                     1 2 3                      
                                                      2
                                                              2 2  1
                                                    2               
        จะได้ว่า A = B เพราะว่า A และ B มีมิติเท่ากันคือ 23 และ
                 b11     =       1      =         a11
                                   4
                 b12      =                  =      2        =        a12
                                   2
                 b13      =       3-3        =      0        =        a13
                                       2
                 b21      =                 =      -1       =        a21
                                       2
                 b22      =       2          =      a22
                 b23      =       2+1        =      3        =        a23
การบวกลบเมตริ กซ์

 บทนิยาม          ถ้า A = [aij]m×n และ B = [bij]m×n แล้ว A+B =[aij+bij]mn

         จากบทนิยามจะเห็นว่าเมตริ กซ์ 2 เมตริ กซ์ จะบวกกันได้ก็ต่อเมื่อมีมิติเท่ากัน และผลบวก
จะเป็ นเมตริ กซ์มิติเดิมซึ่งได้จากการเอาสมาชิกตาแหน่งเดียวกันบวกกัน
ตัวอย่าง          กาหนดให้
                   0 1  1                        1 0 1 
                 A                และ         B        
                   1 0 2                          2 0  2
จงหา          A+B
                        0  (1) 1  0  1  1   1 1 0
วิธีทา           A B                          
                         1 2    0  0 2  (2)  3 0 0
                                                        



 บทนิยาม          ถ้า A = [aij]m×n และ B = [bij]m×n แล้ว A-B =[aij+(-bij)]mn หรื อ A-B =[aij-bij)]mn


ตัวอย่าง        กาหนดให้
                   0 1  1                        1 0 1 
                 A                และ         B        
                   1 0 2                          2 0  2
จงหา          A-B
                        0 1  1  1             0  1
วิธีทา           A B            
                        1 0 2   2               0  2
                                                        
                          0  (1) 1  0          11 
                       
                           1 2    00           2  (2)
                                                          
                           1 1  2
                                 
                           1 0 4 


สมบัติการบวกเมตริ กซ์
กาหนด         A, B, C เป็ นเมตริ กซ์ที่มี m × n
              1. สมบัติปิดการบวก A และ B เป็ นเมตริ กซ์ A+B เป็ นเมตริ กซ์ดวย
                                                                           ้
              2. สมบัติสลับที่ A+B=B+A
              3. สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มได้ A+(B+C) =(A+B)+C
4. สมบัติการมีเอกลักษณ์การบวก
      A+0 = A = 0 + A
      เรี ยก 0 ว่า เอกลักษณ์การบวก
5. สมบัติการมีอินเวอร์สการบวก
      A+(-A) = 0 = (-A)+A
      เรี ยก –A ว่า อินเวอร์สการบวกของ A

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1
krutew Sudarat
 
สรุปสูตร ม.2
สรุปสูตร ม.2สรุปสูตร ม.2
สรุปสูตร ม.2
krutew Sudarat
 
รากที่สอง
รากที่สองรากที่สอง
รากที่สอง
lekho
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
Thidarat Termphon
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
Beer Aksornsart
 
คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32
krookay2012
 

Was ist angesagt? (20)

Matrix1
Matrix1Matrix1
Matrix1
 
สิ่งพิมพ์ เรื่อง เมทริกซ์
สิ่งพิมพ์ เรื่อง เมทริกซ์สิ่งพิมพ์ เรื่อง เมทริกซ์
สิ่งพิมพ์ เรื่อง เมทริกซ์
 
การคูณระหว่างเมทริกซ์
การคูณระหว่างเมทริกซ์การคูณระหว่างเมทริกซ์
การคูณระหว่างเมทริกซ์
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
 
Unit 1 matrix
Unit 1 matrixUnit 1 matrix
Unit 1 matrix
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1
 
1.1 matrix
1.1 matrix1.1 matrix
1.1 matrix
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
สรุปสูตร ม.2
สรุปสูตร ม.2สรุปสูตร ม.2
สรุปสูตร ม.2
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2
 
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
 
รากที่สอง
รากที่สองรากที่สอง
รากที่สอง
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
 
รากที่สอง..
รากที่สอง..รากที่สอง..
รากที่สอง..
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
 
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560 เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
 
สมการของเส้นตรง
สมการของเส้นตรงสมการของเส้นตรง
สมการของเส้นตรง
 
Addition matrix
Addition matrixAddition matrix
Addition matrix
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
 
คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32
 

Andere mochten auch

Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรม
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรมLecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรม
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรม
Aon Narinchoti
 
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้นตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
Aon Narinchoti
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
Aon Narinchoti
 
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตรเอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
krookay2012
 

Andere mochten auch (20)

02
0202
02
 
Cross
CrossCross
Cross
 
Reasoning
ReasoningReasoning
Reasoning
 
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรม
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรมLecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรม
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรม
 
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้นตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
 
Function
FunctionFunction
Function
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
Function3
Function3Function3
Function3
 
Inverse of relation
Inverse of relationInverse of relation
Inverse of relation
 
Relations
RelationsRelations
Relations
 
Final 31201 53
Final 31201 53Final 31201 53
Final 31201 53
 
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตรเอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
 
Set
SetSet
Set
 
Statistics 04
Statistics 04Statistics 04
Statistics 04
 
6 statistic
6 statistic6 statistic
6 statistic
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอนเอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
 
Test of relation
Test of relationTest of relation
Test of relation
 
O-NET ม.6- การให้เหตุผล
O-NET ม.6- การให้เหตุผลO-NET ม.6- การให้เหตุผล
O-NET ม.6- การให้เหตุผล
 
Fb alopecia in a bulldog
Fb alopecia in a bulldogFb alopecia in a bulldog
Fb alopecia in a bulldog
 

Ähnlich wie Matrix

46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
Krudodo Banjetjet
 
แผนที่
แผนที่แผนที่
แผนที่
Cha Rat
 
Pre 7 วิชา ครั้งที่ 1
Pre  7 วิชา ครั้งที่ 1Pre  7 วิชา ครั้งที่ 1
Pre 7 วิชา ครั้งที่ 1
Wanutchai Janplung
 
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
ทับทิม เจริญตา
 

Ähnlich wie Matrix (20)

46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
 
31201-01-03 Type
31201-01-03 Type31201-01-03 Type
31201-01-03 Type
 
เมทริกซ์...
เมทริกซ์...เมทริกซ์...
เมทริกซ์...
 
Expo panom2
Expo panom2Expo panom2
Expo panom2
 
เมทริกซ์
เมทริกซ์เมทริกซ์
เมทริกซ์
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4
 
สมการและอสมการ
สมการและอสมการสมการและอสมการ
สมการและอสมการ
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
 
แผนที่
แผนที่แผนที่
แผนที่
 
31202 final512
31202 final51231202 final512
31202 final512
 
Pre 7 วิชา ครั้งที่ 1
Pre  7 วิชา ครั้งที่ 1Pre  7 วิชา ครั้งที่ 1
Pre 7 วิชา ครั้งที่ 1
 
เวกเตอร์
เวกเตอร์เวกเตอร์
เวกเตอร์
 
งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8
 
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
 
31202 final522
31202 final52231202 final522
31202 final522
 
งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8
 
งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
Chap5 3
Chap5 3Chap5 3
Chap5 3
 
01
0101
01
 

Mehr von Aon Narinchoti

Mehr von Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

Matrix

  • 1. เมตริกซ์ ความหมายและสัญลักษณ์ของเมตริ กซ์ เมตริกซ์ หมายถึง การนาจานวนมาเขียนในรู ปแถวและหลัก ซึ่งถูกล้อมรอบด้วย ( ) หรื อ [ ] เช่น หลักที่ 1 หลักที่ 2 หลักที่ 3     แถวที่ 1     แถวที่ 2         เมื่อ m, n เป็ นจานวนเต็มบวก เรี ยกเมตริ กซ์ที่มี m แถว n หลัก ว่า m × n เมตริ กซ์ หรื อ เมตริ กซ์ที่มีมิติ m × n และเรี ยกจานวนแต่ละจานวนในเมตริ กซ์ว่า สมาชิกของเมตริ กซ์ เรานิยมใช้ ตัวอักษรใหญ่ A, B, C, … แทนชื่อของเมตริ กซ์ เรี ยก aij แทนสมาชิกของ A ในแถวที่ i หลักที่ j หมายเหตุ 1. ตั้งแต่น้ ีในการเขียนเมตริ กซ์ จะใช้วงเล็บ [ ] 2. การระบุตาแหน่งของสมาชิกที่ชดเจนและถูกต้องจะต้องระบุว่าอยูในแถวใด ั ่ และหลักใดทั้ง 2 อย่าง โดยทัวไปจะเขียนแทนสมาชิกของเมตริ กซ์ดวยอักษรภาษาอังกฤษตัวเขียนเล็ก และมีเลข ่ ้ ห้อยระบุตาแหน่ง 2 ตัว เช่น a13 หมายถึงสมาชิกซึ่งอยูในแถวที่ 1 และหลักที่ 3 ่ a25 หมายถึงสมาชิกซึ่งอยูในแถวที่ 2 และหลักที่ 5 ่ aij หมายถึงสมาชิกซึ่งอยูในแถวที่ i และหลักที่ j ่ ตัวเลขตัวแรกระบุลาดับที่ของแถว และตัวเลขตัวหลังระบุลาดับที่ของหลัก ในกรณี ทวไป ั่ นิยมเขียน A = aij mn แทนเมตริ กซ์ซ่ ึงมี m แถว n หลัก และสมาชิกซึ่งอยูแถวที่ i และหลักที่ j ่ คือ aij ในกรณี ที่ A เป็ นเมตริ กซ์ซ่ ึงมี m แถว n หลัก อาจเขียน  a11 a12 a13 ... a1n  a a 22 a 23 ... a 2 n   21   a31 a32 a33 ... a3n  A . . . . .  หรื อ A = [aij]m×n    . . . . .   . . . . .    a m1 am2 a m3 ... a mn 
  • 2. ในกรณี ที่มิติของ A เป็ นที่ชดเจนหรื อเข้าใจตรงกันอาจเขียน A = [aij]m×n ั เช่น กาหนด  1  1 0 5 A 2  3 4 7   3  4  2 9    จะได้ว่า A เป็ นเมตริ กซ์ซ่ ึงมี 3 แถว 4 หลัก a11 = 1 a21 = 2 a31 = -3 a12 = -1 a22 = 3 a32 = -4 a13 = 0 a23 = 4 a33 = -2 a14 = 5 a24 = 7 a34 = 9 บทนิยาม สาหรับจานวนเต็มบวก m และ n ใด ๆ ถ้า A เป็ นเมตริ กซ์ซ่ึงมี m แถวและ n หลัก จะกล่าวว่า A เป็ น m × n เมตริ กซ์ (m × n matrix) และกล่าวว่า A มีมิติ (order) เท่ากับ m × n  1  1 0 5 เช่น 1. A 2  3 4 7  เป็ น 34 เมตริ กซ์ และมีมิติเท่ากับ 34  3  4  2 9    2. 1 0 2 3 เป็ น 14 เมตริ กซ์ และมีมิติเท่ากับ 14 0  3. 1  เป็ น 31 เมตริ กซ์ และมีมิติเท่ากับ 31   0    4. [5] เป็ น 11 เมตริ กซ์ และมีมิติเท่ากับ 11 ข้ อสังเกต 1) เรากล่าวว่าเมตริ กซ์ใน ข้อ 1 เป็ น “สามคูณสี่เมตริ กซ์” มีมิติเท่ากับ “สามคูณสี่ ” 2) เมตริ กซ์ [5] เป็ นเมตริ กซ์ที่มี 1 แถวและ 1 หลัก 3) จากมิติของเมตริ กซ์สามารถระบุจานวนแถว และจานวนหลักของเมตริ กซ์ เช่น A มีมิติ 75 แสดงว่า A มี 7 แถว และ 5 หลัก บทนิยาม 1. เรี ยกเมตริ กซ์ซ่ ึงมีจานวนแถวเท่ากับจานวนหลักว่า เมตริ กซ์จตุรัส ั (square matrix) 2. เรี ยกเมตริ กซ์ซ่ ึงสมาชิกทุกตัวเป็ น 0 ว่า เมตริ กซ์ 0 (zero matrix)
  • 3. บทนิยาม กาหนด A = [aij]m×n เป็ นเมตริ กซ์จตุรัส จะกล่าวว่า A เป็ นเมตริ กซ์เอกลักษณ์ ั ก็ต่อเมื่อ 1) aij = 1 สาหรับทุก i = 1, 2, 3, . . ., m และ 2) ถ้า i  j แล้ว aij = 0 ถ้า A = [aij]m×m เป็ นเมตริ กซ์เอกลักษณ์ นิยมเขียนแทน A ด้วย Im ตัวอย่าง เมตริ กซ์เอกลักษณ์ 1 0 0 1   I 2   1 0 0 0 1 0   I   3 0 0 1    การเท่ากันของเมตริ กซ์ บทนิยาม กาหนดเมตริ กซ์ A = [aij]m×n และ B = [bij]m×n ; A = B ก็ต่อเมื่อ aij = bij สาหรับทุก ๆ J = 1, 2, 3, . . ., n จากบทนิยามนี้จะเห็นว่าเมตริ กซ์ A จะเท่ากับเมตริ กซ์ B ก็ต่อเมื่อเมตริ กซ์ท้งสองมีมิติ ั เท่ากันและสมาชิกในตาแหน่งเดียวกันเท่ากัน  4   1 2 0  1 3  3 เช่น A  และ B 2    1 2 3  2 2 2  1  2  จะได้ว่า A = B เพราะว่า A และ B มีมิติเท่ากันคือ 23 และ b11 = 1 = a11 4 b12 = = 2 = a12 2 b13 = 3-3 = 0 = a13 2 b21 =  = -1 = a21 2 b22 = 2 = a22 b23 = 2+1 = 3 = a23
  • 4. การบวกลบเมตริ กซ์ บทนิยาม ถ้า A = [aij]m×n และ B = [bij]m×n แล้ว A+B =[aij+bij]mn จากบทนิยามจะเห็นว่าเมตริ กซ์ 2 เมตริ กซ์ จะบวกกันได้ก็ต่อเมื่อมีมิติเท่ากัน และผลบวก จะเป็ นเมตริ กซ์มิติเดิมซึ่งได้จากการเอาสมาชิกตาแหน่งเดียวกันบวกกัน ตัวอย่าง กาหนดให้ 0 1  1  1 0 1  A  และ B  1 0 2   2 0  2 จงหา A+B 0  (1) 1  0  1  1   1 1 0 วิธีทา A B     1 2 0  0 2  (2)  3 0 0    บทนิยาม ถ้า A = [aij]m×n และ B = [bij]m×n แล้ว A-B =[aij+(-bij)]mn หรื อ A-B =[aij-bij)]mn ตัวอย่าง กาหนดให้ 0 1  1  1 0 1  A  และ B  1 0 2   2 0  2 จงหา A-B 0 1  1  1 0 1 วิธีทา A B    1 0 2   2 0  2  0  (1) 1  0 11    1 2 00 2  (2)   1 1  2    1 0 4  สมบัติการบวกเมตริ กซ์ กาหนด A, B, C เป็ นเมตริ กซ์ที่มี m × n 1. สมบัติปิดการบวก A และ B เป็ นเมตริ กซ์ A+B เป็ นเมตริ กซ์ดวย ้ 2. สมบัติสลับที่ A+B=B+A 3. สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มได้ A+(B+C) =(A+B)+C
  • 5. 4. สมบัติการมีเอกลักษณ์การบวก A+0 = A = 0 + A เรี ยก 0 ว่า เอกลักษณ์การบวก 5. สมบัติการมีอินเวอร์สการบวก A+(-A) = 0 = (-A)+A เรี ยก –A ว่า อินเวอร์สการบวกของ A