SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 7
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ปราสาทเขาพระวิหารเป็ นของใคร? ปัญหาทางประวัติศาสตร์ และทางออกของไทย/กัมพูชา
บทนา
ความทรงจาทางประวัติศาสตร์ทาหน้าที่สาคัญในการก่อเกิดความเป็ นเอกลักษณ์ของชาติและ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ในหลายยุคหลายสมัย เราได้เห็นผูนาประเทศต่าง ๆ ใช้ความรักชาติ และ
้
ประวัติศาสตร์ ในการปลุกระดมให้ผคนในชาติมีความรู ้สึกหวงแหนและมีความเป็ นชาตินิยมต่อ
ู้
ประวัติศาสตร์ หรื อโบราณสถานที่เกิดข้อพิพาทระหว่างประเทศเพื่อนบ้าน ปราสาทเขาพระวิหารถือว่า
เป็ นอีกหนึ่งกรณี สาคัญที่แสดงให้เห็นถึงการใช้กรณี ทางประวัติศาสตร์มาเป็ นเครื่ องมือทางการเมืองของ
ทั้งสองประเทศมาหลายยุคหลายสมัย ล่าสุ ด กรณี ปราสาทเขาพระวิหารกาลังจะถูกใช้เป็ นเครื่ องมือทาง
การเมืองเพื่อที่จะลดความน่าเชื่อถือและความ ‘รักชาติ’ ของฝ่ ายตรงข้ามอีกหรื อไม่ คาถามสาคัญที่เราควร
วิเคราะห์และหาข้อเท็จจริ ง คือ จริ ง ๆ แล้ว ปราสาทเขาพระวิหารเป็ นของใคร? โดยมองผ่านมุมมองและ
หลักฐานทางภูมิศาสตร์ นิติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และการเมือง หากมองปั ญหาด้วยมิติต่าง ๆ กันแล้ว
ทางออกและวิธีแก้ปัญหาก็จะไม่เป็ นเพียงการเผชิ ญหน้าทางทหารที่จะส่ งผลเสี ยต่อประชาชนและ
ความสัมพันธ์อนดีของประเทศเพื่อนบ้าน นอกจากนี้ กระบวนการเช่นนี้จะทาให้เราสามารถวินิจฉัย
ั
กระบวนการทางานของศาลโลกได้อย่างรอบรู ้และอิงหลักฐานโดยไม่ตดสิ นด้วยอารมณ์และกระแส
ั
ชาตินิยมซึ่ งเคยได้รับการปลุกปั้ นโดยผูมีอานาจของทั้งสองประเทศในอดีต
้
ลาดับเหตุการณ์ ทางประวัติศาสตร์ โดยสั งเขป
ในปี 2447 ฝรั่งเศสซึ่ งเป็ นเจ้าอาณานิคมของกัมพูชาได้เข้าไปสารวจดินแดนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ของสยาม นาไปสู่ การปั กปั นเขตแดนระหว่างสยามกับอินโดจีน ฝรั่งเศสโดยระบุให้ใช้สันปั นน้ าเป็ นเส้น
่
แบ่งพรมแดน ทาให้ดินแดนปราสาทพระวิหารอยูในเขตแดนของสยาม ต่อมาฝรั่งเศสได้จดทาแผนที่ใหม่
ั
่
และหนึ่งในแผ่นที่น้ นคือ แผ่นที่เขาดงรักซึ่ งครอบคลุมเขตเขาพระวิหารอยูและได้ยกเลิกแบ่งตามสันปั น
ั
น้ า ส่ งผลให้เขตเขาพระวิหารเป็ นของประเทศกัมพูชา ภายหลังสงครามอินโดจีนสิ้ นสุ ดในปี 2485 สยาม
ได้เขตดินแดนพระตะบองและเสี ยมราฐคืนมา ทาให้ปราสาทเขาพระวิหารกลับมาเป็ นของไทยอีกครั้ง
โดยความช่วยเหลือของญี่ปุ่น อย่างไรก็ตาม หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2488) สิ้ นสุ ดลงพร้อมกับ
ั
ความพ่ายแพ้ของญี่ปุ่น ประเทศไทยประกาศคืนยินดีคืนดินแดนให้กบกัมพูชา ทาให้เขาพระวิหารตกอยู่
ในพื้นที่ชายแดนไทย – กัมพูชา แต่ในปี 2490 รัฐบาลของจอมพล ป. พิบูลสงครามซึ่งได้รับอานาจคืนมา
จากการทารัฐประหาร พ.ศ. 2490 ภายใต้การนาของพลโทผิน ชุณหะวัณ ได้ส่งกองทหารไทยให้กลับไป
ตั้งมันบริ เวณเขาพระวิหารอีกครั้ง
่
1
ในปี 2497 ฝรั่งเศสแพ้สงครามที่เดียนเบียนฟู เวียดนาม ทาให้รัฐบาลกัมพูชาได้รับเอกราชตามสนธิ สัญญา
เจนีวา โดยที่กษัตริ ยนโรดมสี หนุทวงคืนปราสาทเขาพระวิหารจากไทย ช่วงเวลาหลังฝรั่งเศสแพ้สงคราม
์
นี้เองที่เกิดช่องว่างทางอานาจและการเมืองทัวอินโดจีน และกองทหารไทยได้ข้ ึนไปครอบครองเขาพระ
่
วิหารเอาไว้
ในปี 2502 ทางฝ่ ายกัมพูชาได้มีการยืนต่อศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice)
่
พิจารณาถึงข้อพิพาทดังกล่าว ในวันที่ 15 มิถุนายน 2505 - ศาลโลกได้ตดสิ นให้ปราสาทพระวิหารเป็ น
ั
่
ของกัมพูชา โดยธรรมนูญศาลโลกข้อ 61 บัญญัติไว้วา ไทยสามารถยืนคาร้องประท้วงให้ทบทวนคา
่
พิพากษาได้ในระยะเวลา 10 ปี แต่รัฐบาลไทยก็มิได้ดาเนิ นการแต่อย่างใด
ในเดือนมีนาคม ปี 2548 รัฐบาลกัมพูชาได้เสนอต่อองค์การ UNESCO เพื่อขึ้นทะเบียนปราสาทเขาพระ
วิหารเป็ นมรดกโลก ในวันที่ 14 พฤษภาคม 2551 นายนพดล ปัทมะ รมว.ต่างประเทศของไทยได้ประชุม
ั
และลงนามร่ วมกับนายกรัฐมนตรี ของกัมพูชาว่าไทยสนับสนุนให้กมพูชาขึ้นทะเบียนปราสาทเขาพระ
ั
วิหารแต่เพียงฝ่ ายเดียว ในวันที่ 8 กรกฎาคม 2551 UNESCO ได้ประกาศรับรองให้กมพูชาขึ้นทะเบียนตัว
ปราสาทเขาพระวิหารเป็ นมรดกโลก แต่เป็ นการรับรองเฉพาะตัวปราสาทเท่านั้น ไม่ได้หมายถึงดินแดนที่
เป็ นข้อพิพาทในเวลาต่อมาแต่อย่างใด
ล่าสุ ด คาพิพากษาของศาลโลก กาลังจะกลับมาเป็ นประเด็นร้อนอีกครั้งในปี 2556 ว่าไทยจะสามารถ
แสดงหลักฐานให้ศาลโลกเห็นได้หรื อไม่ ว่าเขาพระวิหารเป็ นของไทย และถ้าหากศาลโลกมีคาสั่งตัดสิ น
อีกว่า เขาพระวิหารเป็ นของกัมพูชา รัฐบาลและประชาชนชาวไทยจะรับมือกับคาตัดสิ นนั้นได้อย่างไร
ข้ อถกเถียง - เขาพระวิหารเป็ นของ “ใคร”?
ั
หากเราจะลองถามคาถามนี้กบคนไทยทัว ๆ ไปว่า เขาพระวิหารเป็ นของใคร การตอบคาถามนี้ เรา
่
สามารถมองได้ใน 3 มิติดวยกัน ดังนี้
้
1) มิติด้านภูมิศาสตร์
่
โดยทางภูมิศาสตร์ในปัจจุบน เขาพระวิหารตั้งอยูบนเทือกเขาพนมดงรักบริ เวณชายแดนไทย – กัมพูชา
ั
ตรงข้ามภูมิซรอล ตาบลบึงมะลู อาเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรี สะเกษ ซึ่ งฝ่ ายชาตินิยมไทยถือว่า ตาม
ขอบเขตที่พดถึงนี้ เขาพระวิหารควรเป็ นของไทย แต่เราต้องไม่ลืมว่า หลักภูมิศาสตร์ น้ น ต่างถูกกาหนด
ู
ั
โดยเงื่อนไขของสถานการณ์ และถูกมองผ่าน vision ของคนแต่ละคนแต่ละฝ่ ายในช่วงเวลานั้นๆ ประเด็น
2
สาคัญที่ควรตั้งคาถามคือ ในช่วงเวลาที่มีการแบ่งเส้นภูมิศาสตร์ อย่างเป็ นทางการนั้น (ในสมัยรัฐบาลของ
รัชกาลที่ 5) มีวธีการและความเห็นด้วยจากทั้งสองฝ่ ายหรื อไม่
ิ
รศ. ดร. สุ รชาติ บารุ งสุ ข ได้ช้ ีให้เห็นว่า ระหว่างที่มีการแบ่งปั กปั นเส้นภูมิศาสตร์ เมื่อปี ค.ศ. 1904 และ
1907 รัฐบาลสยามในสมัยรัชกาลที่ 5 และรัฐบาลฝรั่งเศสได้มีความเห็นชอบร่ วมกันแล้ว โดย
คณะกรรมการที่ต้ งขึ้นมานั้น เป็ นคณะกรรมการผสมระหว่างทั้งสองประเทศ โดยฝ่ ายไทย มี พลเอก
ั
หม่อมชาติเดชอุดม เป็ นประธาน และฝ่ ายฝรั่งเศสมีพนโท แบร์ นา จุดนี้ ต้องยอมรับว่า การปั กปั นทั้งหมด
ั
ตั้งแต่เชียงรายถึงจังหวัดตราด พื้นที่แนวทางบกเป็ นการปั กปั นด้วยคณะกรรมการผสมและสยามมีส่วน
ร่ วมด้วย
่
ซึ่ งจุดนี้ ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ นักประวัติศาสตร์ กล่าวไว้วา การกาหนดพรมแดนดังกล่าว รัฐบาลสยาม
ในสมัยนั้นได้ยอมรับไปโดยปริ ยายโดยมิได้ทวงติงแต่อย่างไร และเหตุผลสาคัญที่ยอมรับว่า เขาพระ
้
วิหารไม่ได้เป็ นของไทย แต่เป็ นของอินโดจีนฝรั่งเศสก็เพือเป็ นหลักประกันในการรักษา ‘เอกราชและ
่
อธิปไตย’ ส่ วนใหญ่ของสยามเอาไว้
เพราะฉะนั้น หากสยามหรื อไทย ยอมรับว่า การกระทาของรัฐบาลในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ามี
ความสาคัญที่ทาให้ไทยไม่เสี ยเอกราชให้แก่ชาติอื่น เราก็ควรยอมรับว่า การทีเ่ รายอมรับว่าเขาพระวิหาร
เป็ นของกัมพูชาในช่ วงเวลานั้น ก็เพราะว่าเรามีเอกราชและอธิปไตยซึ่งยิงใหญ่กว่ามากเป็ นสิ่ งแลกเปลียน
่
่
กลับมาแทน
2) มิติด้านนิติศาสตร์
ด้วยหลักฐานทางภูมิศาสตร์ อย่างที่กล่าวมาข้างต้น ศาลโลกซึ่งใช้หลักการสนธิสัญญาปี ค.ศ. 1904 และ
่
1907 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 ที่ฝรั่งเศสได้ขีดพรมแดนให้เขาพระวิหารอยูในอินโดจีน (หรื อที่เรี ยกกัน
ทัวไปว่า แผนที่ 1:200,000) เป็ นหลักฐานสาคัญ และศาลได้มีคาพิพากษามีมติเป็ น 9:3 ว่า “ปราสาทพระ
่
่
วิหารตั้งอยูในอาณาเขตภายใต้อธิ ปไตยของกัมพูชา”
นอกจากนี้ ยังมีคาตัดสิ นเพิ่มอีก 2 ส่ วน ได้แก่
- "ประเทศไทยมีพนธะต้องถอนกาลังทหารหรื อตารวจ ผูเ้ ฝ้ ารักษาหรื อผูดูแลซึ่ งประเทศไทยส่ งไป
ั
้
่
ประจาอยูที่ปราสาทพระวิหาร หรื อในบริ เวณใกล้เคียงบนอาณาเขตของกัมพูชา" (เสี ยง 9 ต่อ 3)
3
ั
- "ประเทศไทยมีพนธะที่จะต้องคืนให้แก่กมพูชา บรรดาวัตถุชนิดที่ได้ระบุไว้ในคาแถลงสรุ ปข้อห้าของ
ั
กัมพูชา ซึ่งเจ้าหน้าที่ไทยอาจจะได้โยกย้ายออกไปจากปราสาทหรื อบริ เวณพระวิหาร นับตั้งแต่วนที่
ั
ประเทศไทยเข้าครอบครองพระวิหาร เมื่อ ค.ศ.1954" (เสี ยง 7 ต่อ 5)
ซึ่ งหลังจากการตัดสิ นนี้ รัฐบาลไทยได้มีมติ ครม. เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 ให้การลากเส้นตาม
่
คาสั่งศาลโลกและไม่ได้มีคาแย้งต่อคาพิพากษาเป็ นเวลา 10 ปี ตามสิ ทธิ ที่ระบุไว้ในคาพิพากษา ถึงแม้วา
นายกรัฐมนตรี จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์จะมีแถลงการณ์ต่อประชาชนว่า “ในวันหนึ่งข้างหน้า เราจะต้อง
เอาปราสาทพระวิหารกลับคืนมาเป็ นของชาติไทยให้จงได้” ซึ่งเปรี ยบเสมือนการฝังระเบิดเวลาของ
ั
ชาตินิยมให้กบสังคมไทย ที่ยอมรับคาตัดสิ นของศาลโลกด้วยพันธะคาพิพากษา แต่ไม่สามารถทาใจยอม
รับคาพิพากษานี้ได้จริ ง
3) ข้ อถกเถียงในด้ านการเมือง
ั
จากมิติทางด้านภูมิศาสตร์ และนิติศาสตร์ ที่ผกพันธ์กนมาด้วยประวัติศาสตร์ กว่า 100 ปี นักวิชาการใน
ู
ประเทศไทยได้ถกเถียงกันถึงประเด็นเหล่านี้มากมาย โดยนักวิชาการทางด้านภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์
และนิติศาสตร์ มีทศนะต่อประเด็นการเมือง ดังนี้
ั
3.1) ฝ่ ายที่เคลือนไหวในแนวทางการตรวจสอบอานาจรัฐ เช่น ม.ล.วัลย์วภา จรู ญโรจน์ นักวิจย สถาบัน
่
ิ
ั
ไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ชี้ให้เห็นว่า เรื่ องดังกล่าว “เป็ นความพยายามร่ วมกันของกัมพูชา
และคนไทยบางกลุ่มที่ตองการเปลี่ยนเส้นเขตแดนของประเทศ แลกกับผลประโยชน์ของตน โดยอาศัย
้
การขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็ นสื่ อบังหน้า” ซึ่ งชี้ให้เห็นว่า รัฐพยายามปกปิ ดข้อมูลแก่ประชาชน
ในเรื่ องการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเพื่อประโยชน์ส่วนตน ในส่ วนของ ดร.สมปอง สุ จริ ตกุล
คณบดีคณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยรังสิ ต อดีตเอกอัครราชทูตไทย และอดีตทนายความผูประสานงานทีม
้
ทนายฝ่ ายไทยในคดีปราสาทพระวิหาร(พ.ศ.2502-2505) ได้กล่าวไว้ในเอกสาร “คดีปราสาทพระวิหาร”
่
กล่าวโดยสรุ ปได้วา แม้ศาลโลกจะได้ตดสิ นให้ปราสาทพระวิหาร (อาจตีความรวมถึงพื้นที่ที่ตวปราสาท
ั
ั
่
ตั้งอยู) รวมถึงโบราณวัตถุต่างๆจากปราสาทเป็ นของกัมพูชา แต่ดวยเหตุที่ศาลมิได้ให้การรับรองสถานะ
้
ั
ของแผนที่และความถูกต้องของเส้นเขตแดนตามแผนที่ของฝรั่งเศสตามที่กมพูชาร้องขอต่อศาล
ดังนั้น กัมพูชาจึงไม่มีสิทธิ ใดๆในดินแดนนอกเหนื อจากพื้นดินที่ตวปราสาทตั้งอยู่ โดย ดร. สมปอง ได้
ั
ั
กล่าวอีกว่า ประเทศไทยได้ปฎิบติตามคาพิพากษาของศาลโลกแล้วโดยสมบูรณ์ ได้ให้กมพูชาครอบครอง
ั
ตัวปราสาทพร้อมทั้งกาหนดเขตปฎิบติการและทารั้วหนามอย่างชัดเจน แต่รัฐบาลไทยได้ปล่อยปละ
ั
4
ละเลยให้สถานะของไทยย่าแย่กว่าในอดีต กัมพูชาทาการขยายขอบเขตของคาพิพากษาและอ้างสิ ทธิ ใน
การรุ กล้ าเข้ามาในดินแดนไทยอย่างต่อเนื่องและถาวร
3.2) ฝ่ ายที่เคลือนไหวต่ อต้ านการเมืองชาตินิยม นอกจากกลุ่มข้างต้นซึ่ งย้าให้รัฐบาล (ในขั้ วของ พตท.
่
ทักษิณ ชินวัตร) เปิ ดเผยข้อมูลของปราสาทเขาพระวิหารและหยุดนาเอาอธิปไตยและผลประโยชน์ของ
ชาติไปแลกกับผลประโยชน์ส่วนตัว มีกลุ่มนักวิชาการอีกฟากที่เคลื่อนไหวสนับสนุนรัฐบาลและต่อต้าน
การเมืองที่นาเอาชาตินิยมมาเป็ นเครื่ องมือทางการเมือง โดยสรุ ปประเด็นแล้ว นักวิชาการในกลุ่มนี้ เช่น
ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ดร.สุ รชาติ บารุ งสุ ข ดร.นิธิ เอียวศรี วงศ์ และกลุ่มมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน เห็นว่า
ประเด็นเขาพระวิหารถูกปลุกขึ้นมาโดยใช้กระแสชาตินิยมเพื่อล้มรัฐบาลฝ่ ายตรงข้าม ซึ่ งกระแสชาตินิยม
นี้เป็ นผลผลิตของผูนาไทยในสมัยเผด็จการเช่น จอมพล ป. พิบูลสงคราม และจอมพล สฤษฎิ์ ธนะรัชต์
้
ดร.ชาญวิทย์เรี ยกว่ากรณี ปราสาทเขาพระวิหารว่าเป็ น ประวัติศาสตร์ แผลเก่าที่ลทธิชาตินิยมสกุล อา
ั
มาตยาเสนาธิ ปไตยเป็ นคนปลุกขึ้นสมัยที่จอมพลสฤษฎิ์ ธนะรัชต์เป็ นนายกรัฐมนตรี ส่ วนดร. สุ รชาติ
บารุ งสุ ข เห็นว่าเป็ น ‘อารมณ์คางของลูกหลานอามาตย์ชาตินิยม 2484’ และทาง ดร.นิธิ เอียวศรี วงศ์ ได้
้
เขียนบทความลงในมติชนสุ ดสัปดาห์ (ฉบับวันที่ 13-14 พฤษภาคม 2554) ว่า สมเด็จกรมพระยาดารงรา
ชานุภาพได้เคยเสร็ จตรวจโบราณวัตถุที่โคราชเมื่อปี พ.ศ. 2472 และได้เสด็จไปถึงปราสาทเขาพระวิหาร
่
โดยได้รับการต้อนรับจากทางฝ่ ายฝรั่งเศสเป็ นอย่างดี อีกทั้งยังทรงเห็นธงชาติฝรั่งเศสอยูบนยอดปราสาท
และได้ทรงประทับค้างคืนอีกด้วย ทั้งนี้ เนื่ องจากมีการยอมรับแล้วว่า ปราสาทเขาพระวิหารเป็ นอธิ ปไตย
ของฝรั่งเศสอินโดจีนจากสนธิ สัญญาที่ได้ตกลงกันในสมัย พ.ศ. 2447 เพราะฉะนั้น กรณี เขาพระวิหารจึง
ถูกใช้เป็ นเพียงเครื่ องมือสร้างความชอบธรรม (legitimacy) ในการแย่งพื้นที่ทางการเมือง
โดยสรุ ปแล้ว ฝ่ ายต่อต้านกระแสชาตินิยม มีประเด็นสาคัญดังนี้
- มองปั ญหาดังกล่าวเป็ นเรื่ องการปลุกปั่ นกระแสชาตินิยม เรี ยกร้องเอาปราสาทพระวิหารคืน โดย
ใช้กรณี เขาพระวิหารเป็ นเครื่ องมือทางการเมืองเพื่อทาลายฝ่ ายตรงข้าม
- มองว่าเป็ นการคัดค้านการขึ้นทะเบียนในสมบัติที่เราหมดกรรมสิ ทธิ์ แล้ว ถือว่า เราได้ยอมรับ
ในทางนิติศาสตร์ แล้วว่า เขาพระวิหารเป็ นของกัมพูชา
ั
- ทั้งนี้ นักวิชาการเหล่านี้ได้เสนอว่า ควรให้ความสาคัญกับการักษาความสัมพันธ์กบประเทศเพื่อน
บ้าน และผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจเป็ นหลัก โดยเฉพาะอย่างยิงกับเพื่อนบ้านอาเซี ยน
่

5
ทางออกของปัญหาข้ อพิพาท:
การแก้ปัญหาของข้อพิพาทปราสาทเขาพระวิหารคงจะต้องอาศัยจากหลายปั จจัยในส่ วนของไทยและ
กัมพูชา รวมไปถึงบทบาทขององค์กรระหว่างประเทศและทวิภาคีที่จะมีหน้าที่ในการเชื่ อมต่อและเจรจา
กันระหว่าง 2 ประเทศ
ในระยะสั้ นที่จะมาถึงนี้ ไทยและกัมพูชาเองคงจะต้องมีการเปิ ดใจพิจารณาคาพิพากษาของศาลโลกอีก
ครั้ง และเปิ ดใจเจรจาพูดเคยเพื่อหาข้อยุติให้แก่ขอพิพาทดังกล่าว เพื่อที่ประชาชนของทั้งสองประเทศและ
้
ประชาชนในภูมิภาคจะสามารถเชื่อมโยงกันได้ทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมต่อไป ทั้งสองประเทศควร
คานึงถึงประเด็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและโดยเฉพาะเมื่อทั้งไทยและกัมพูชาต่างก็เป็ นประเทศ
สมาชิก ASEAN และจะมีการร่ วมกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจ วัฒนธรรมและสังคมในปี พ.ศ. 2558
ในระยะกลางและระยะยาว ดร. สุ รชาติ เห็นว่า ควรมีแนวทางรัฐศาสตร์ ในการแก้ไขปั ญหาพรมแดน โดย
ใช้ Joint Development Area (JDA) หรื อการร่ วมมือพัฒนาพื้นที่เป็ นเครื่ องมือ โดยตัวอย่างที่ได้มีการ
แก้ปัญหานี้ได้แก่ JDA ระหว่างไทยกับมาเลเซี ย ซึ่ งในกรณี เขาพระวิหารซึ่ งเป็ นโบราณสถานมี
ความสาคัญทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ โดยเฉพาะเมื่อประวัติศาสตร์ ของไทยและกัมพูชามีความ
ั
ผูกพันธ์กนมาอย่างช้านาน อาจจะมีการจัดตั้ง Joint Culture Development Area เพื่อเชื่อมโยงการ
ท่องเที่ยวและการพัฒนาเชิงวัฒนธรรมให้มากขึ้น
นอกจากนี้ อ. ชาญวิทย์ เกษตรศิริได้เสนอให้มีการจัดตั้ง ASEAN Eco-cultural World Heritage เป็ นการ
จัดตั้งให้ปราสาท ภูเขา แม่น้ าพนมดงรัก เป็ นมรดกโลกร่ วมกันของอาเซี ยนระหว่างลาว ไทย และกัมพูชา
เป็ นระบบนิ เวศน์อาเซี ยนร่ วมกัน
ส่ วนในระยะยาวและเพื่อเป็ นการรวมกลุ่มอาเซี ยนกันมากขึ้นในอนาคต ไทยเองคงจะต้องทบทวน
บทเรี ยนประวัติศาสตร์ ที่เราสอนกันในปั จจุบน ว่า ประวัติศาสตร์ ไทยสอนให้คนไทยเราคิดว่า ประเทศ
ั
เพื่อนบ้านเป็ นบ้านพี่เมืองน้องจริ งหรื อ? หรื อเป็ นเพียงผูชนะและผูแพ้ของสงครามในอดีตเท่านั้น และเรา
้
้
ควรจะมีการเขียนประวัติศาสตร์ อาเซี ยนใหม่หรื อไม่ เป็ นประวัติศาสตร์ ของประชาชน แห่งความเข้าอก
เข้าใจและพึ่งพาอาศัยกันเพื่อต่อต้านการกดขี่ข่มเหงของยุคอาณานิคมและยุคเผด็จการในอดีต ซึ่งการ
เปลี่ยนทัศนคติดงกล่าวถือเป็ นเรื่ องท้าทายแต่จาเป็ นอย่างยิง หากไทยและประเทศอื่น ๆ ต้องการจะเป็ น
ั
่
ส่ วนหนึ่งของประชาคมอาเซี ยนที่สามัคคีและมีประสิ ทธิ ภาพ
6
ข้ อถกเถียงในรายการ
1) สรุ ปแล้ว ท่านคิดว่า เขาพระวิหารเป็ นของใคร ทั้งในแง่นิติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์ ?
ทางออกที่เหมาะสมที่สุดของกรณี เขาพระวิหารคืออะไร?
2) หากผลคาตัดสิ นออกมาว่า เขาพระวิหารยังเป็ นของกัมพูชา ปฎิกิริยาภายนอกและภายในประเทศ
คงจะมีสูงมากอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ รัฐบาลไทยควรมีการเตรี ยมพร้อมอย่างไรบ้าง และควรจะมี
วิธีจดการกับความคิดเห็นที่แตกต่างอย่างไร?
ั
3) ท่านคิดว่า ศาลโลกมีอานาจหน้าที่ในการตัดสิ นคดีดงกล่าวหรื อไม่ และไทยควรยอมรับต่อคา
ั
ตัดสิ นนี้มากน้อยเพียงใด เราควรจะมีกระบวนการอย่างไรในการเตรี ยมตัวไปนาเสนอหลักฐาน
และข้อเท็จจริ งต่อศาลโลกในครั้งนี้
4) การแก้ปัญหาข้อพิพาทควรจะมาจากการเจรจาผ่านประชาคมอาเซี ยน และผ่านกระบวนการ
ยุติธรรมที่เป็ นที่ยอมรับของทั้งสองฝ่ าย มากกว่าการแสดงแสนยานุภาพของกองทัพหรื อไม่ ใคร
ควรจะเป็ นตัวประสานในการเจรจาเพื่อเพิ่มน้ าหนักและความน่าเชื่อถือต่อทั้งสองฝ่ าย
5) การเมืองและประวัติศาสตร์ แบบชาตินิยมสร้างความเสี ยหายมามากแล้ว ส่ วนหนึ่งมาจากการ
สอนประวัติศาสตร์ แบบชาตินิยม เราจะมีแนวทางอย่างไรในการแก้ปัญหาตรงนี้ โดยเฉพาะอย่าง
ยิงเมื่อเราจะก้าวสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยนที่ตองติดต่อและแลกเปลี่ยนกับเพื่อนบ้านอาเซี ยน
้
่
อย่างใกล้ชิดมากขึ้น

7

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

Andere mochten auch (14)

เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
 
แนวข้อสอบ ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2541
แนวข้อสอบ ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  พ.ศ. 2541แนวข้อสอบ ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  พ.ศ. 2541
แนวข้อสอบ ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2541
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
 
เตรียมสอบท้องถิ่น (เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแผน ระดับ 3)
เตรียมสอบท้องถิ่น (เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแผน ระดับ 3)เตรียมสอบท้องถิ่น (เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแผน ระดับ 3)
เตรียมสอบท้องถิ่น (เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแผน ระดับ 3)
 
แนวข้อสอบเจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ 51 ข้อ สมบูรณ์
แนวข้อสอบเจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ 51 ข้อ สมบูรณ์แนวข้อสอบเจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ 51 ข้อ สมบูรณ์
แนวข้อสอบเจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ 51 ข้อ สมบูรณ์
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
 
แนวข้อสอบ ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2541
แนวข้อสอบ ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  พ.ศ. 2541แนวข้อสอบ ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  พ.ศ. 2541
แนวข้อสอบ ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2541
 
เตรียมสอบท้องถิ่น (เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแผน ระดับ 3)
เตรียมสอบท้องถิ่น (เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแผน ระดับ 3)เตรียมสอบท้องถิ่น (เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแผน ระดับ 3)
เตรียมสอบท้องถิ่น (เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแผน ระดับ 3)
 
ระเบียบงานสารบรรณ ฉบับพิเศษ
ระเบียบงานสารบรรณ ฉบับพิเศษระเบียบงานสารบรรณ ฉบับพิเศษ
ระเบียบงานสารบรรณ ฉบับพิเศษ
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1) 2
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1) 2แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1) 2
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1) 2
 
เจ้าหน้าที่บริหารงานคอมพิวเตอร์
เจ้าหน้าที่บริหารงานคอมพิวเตอร์เจ้าหน้าที่บริหารงานคอมพิวเตอร์
เจ้าหน้าที่บริหารงานคอมพิวเตอร์
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...
 

Ähnlich wie เขาพระวิหาร

การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
วรรณา ไชยศรี
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
วรรณา ไชยศรี
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
pentanino
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
pentanino
 

Ähnlich wie เขาพระวิหาร (6)

การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
 
Ppt16 (1)
Ppt16 (1)Ppt16 (1)
Ppt16 (1)
 
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
 

Mehr von ประพันธ์ เวารัมย์ แบ่งปันความรู้ส่ความก้าวหน้า

Mehr von ประพันธ์ เวารัมย์ แบ่งปันความรู้ส่ความก้าวหน้า (20)

แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการตรวจสอบภายในขององค์กรปกครองส่วนท้องถ...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการตรวจสอบภายในขององค์กรปกครองส่วนท้องถ...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการตรวจสอบภายในขององค์กรปกครองส่วนท้องถ...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการตรวจสอบภายในขององค์กรปกครองส่วนท้องถ...
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุ 2535...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุ 2535...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุ 2535...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุ 2535...
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. 254...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. 254...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. 254...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. 254...
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อ...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อ...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อ...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อ...
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเต...
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเต...แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเต...
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเต...
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1) 2
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1) 2แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1) 2
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1) 2
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1)
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1)แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1)
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1)
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 แก้ไขถึงฉบับที่ 10 ...
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 แก้ไขถึงฉบับที่ 10 ...แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 แก้ไขถึงฉบับที่ 10 ...
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 แก้ไขถึงฉบับที่ 10 ...
 
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
 
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารแนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
 
แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549 4...
แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549  4...แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549  4...
แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549 4...
 
แนวข้อสอบ ตำแหน่งบุคลากร นักทรัพยากรบุคคล
แนวข้อสอบ ตำแหน่งบุคลากร นักทรัพยากรบุคคลแนวข้อสอบ ตำแหน่งบุคลากร นักทรัพยากรบุคคล
แนวข้อสอบ ตำแหน่งบุคลากร นักทรัพยากรบุคคล
 
แนวข้อสอบ ด้านการเงินหรือการคลังของท้องถิ่น (เจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงาน-นักวิชาก...
แนวข้อสอบ ด้านการเงินหรือการคลังของท้องถิ่น (เจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงาน-นักวิชาก...แนวข้อสอบ ด้านการเงินหรือการคลังของท้องถิ่น (เจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงาน-นักวิชาก...
แนวข้อสอบ ด้านการเงินหรือการคลังของท้องถิ่น (เจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงาน-นักวิชาก...
 
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 2
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 2แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 2
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 2
 

เขาพระวิหาร

  • 1. ปราสาทเขาพระวิหารเป็ นของใคร? ปัญหาทางประวัติศาสตร์ และทางออกของไทย/กัมพูชา บทนา ความทรงจาทางประวัติศาสตร์ทาหน้าที่สาคัญในการก่อเกิดความเป็ นเอกลักษณ์ของชาติและ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ในหลายยุคหลายสมัย เราได้เห็นผูนาประเทศต่าง ๆ ใช้ความรักชาติ และ ้ ประวัติศาสตร์ ในการปลุกระดมให้ผคนในชาติมีความรู ้สึกหวงแหนและมีความเป็ นชาตินิยมต่อ ู้ ประวัติศาสตร์ หรื อโบราณสถานที่เกิดข้อพิพาทระหว่างประเทศเพื่อนบ้าน ปราสาทเขาพระวิหารถือว่า เป็ นอีกหนึ่งกรณี สาคัญที่แสดงให้เห็นถึงการใช้กรณี ทางประวัติศาสตร์มาเป็ นเครื่ องมือทางการเมืองของ ทั้งสองประเทศมาหลายยุคหลายสมัย ล่าสุ ด กรณี ปราสาทเขาพระวิหารกาลังจะถูกใช้เป็ นเครื่ องมือทาง การเมืองเพื่อที่จะลดความน่าเชื่อถือและความ ‘รักชาติ’ ของฝ่ ายตรงข้ามอีกหรื อไม่ คาถามสาคัญที่เราควร วิเคราะห์และหาข้อเท็จจริ ง คือ จริ ง ๆ แล้ว ปราสาทเขาพระวิหารเป็ นของใคร? โดยมองผ่านมุมมองและ หลักฐานทางภูมิศาสตร์ นิติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และการเมือง หากมองปั ญหาด้วยมิติต่าง ๆ กันแล้ว ทางออกและวิธีแก้ปัญหาก็จะไม่เป็ นเพียงการเผชิ ญหน้าทางทหารที่จะส่ งผลเสี ยต่อประชาชนและ ความสัมพันธ์อนดีของประเทศเพื่อนบ้าน นอกจากนี้ กระบวนการเช่นนี้จะทาให้เราสามารถวินิจฉัย ั กระบวนการทางานของศาลโลกได้อย่างรอบรู ้และอิงหลักฐานโดยไม่ตดสิ นด้วยอารมณ์และกระแส ั ชาตินิยมซึ่ งเคยได้รับการปลุกปั้ นโดยผูมีอานาจของทั้งสองประเทศในอดีต ้ ลาดับเหตุการณ์ ทางประวัติศาสตร์ โดยสั งเขป ในปี 2447 ฝรั่งเศสซึ่ งเป็ นเจ้าอาณานิคมของกัมพูชาได้เข้าไปสารวจดินแดนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของสยาม นาไปสู่ การปั กปั นเขตแดนระหว่างสยามกับอินโดจีน ฝรั่งเศสโดยระบุให้ใช้สันปั นน้ าเป็ นเส้น ่ แบ่งพรมแดน ทาให้ดินแดนปราสาทพระวิหารอยูในเขตแดนของสยาม ต่อมาฝรั่งเศสได้จดทาแผนที่ใหม่ ั ่ และหนึ่งในแผ่นที่น้ นคือ แผ่นที่เขาดงรักซึ่ งครอบคลุมเขตเขาพระวิหารอยูและได้ยกเลิกแบ่งตามสันปั น ั น้ า ส่ งผลให้เขตเขาพระวิหารเป็ นของประเทศกัมพูชา ภายหลังสงครามอินโดจีนสิ้ นสุ ดในปี 2485 สยาม ได้เขตดินแดนพระตะบองและเสี ยมราฐคืนมา ทาให้ปราสาทเขาพระวิหารกลับมาเป็ นของไทยอีกครั้ง โดยความช่วยเหลือของญี่ปุ่น อย่างไรก็ตาม หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2488) สิ้ นสุ ดลงพร้อมกับ ั ความพ่ายแพ้ของญี่ปุ่น ประเทศไทยประกาศคืนยินดีคืนดินแดนให้กบกัมพูชา ทาให้เขาพระวิหารตกอยู่ ในพื้นที่ชายแดนไทย – กัมพูชา แต่ในปี 2490 รัฐบาลของจอมพล ป. พิบูลสงครามซึ่งได้รับอานาจคืนมา จากการทารัฐประหาร พ.ศ. 2490 ภายใต้การนาของพลโทผิน ชุณหะวัณ ได้ส่งกองทหารไทยให้กลับไป ตั้งมันบริ เวณเขาพระวิหารอีกครั้ง ่ 1
  • 2. ในปี 2497 ฝรั่งเศสแพ้สงครามที่เดียนเบียนฟู เวียดนาม ทาให้รัฐบาลกัมพูชาได้รับเอกราชตามสนธิ สัญญา เจนีวา โดยที่กษัตริ ยนโรดมสี หนุทวงคืนปราสาทเขาพระวิหารจากไทย ช่วงเวลาหลังฝรั่งเศสแพ้สงคราม ์ นี้เองที่เกิดช่องว่างทางอานาจและการเมืองทัวอินโดจีน และกองทหารไทยได้ข้ ึนไปครอบครองเขาพระ ่ วิหารเอาไว้ ในปี 2502 ทางฝ่ ายกัมพูชาได้มีการยืนต่อศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice) ่ พิจารณาถึงข้อพิพาทดังกล่าว ในวันที่ 15 มิถุนายน 2505 - ศาลโลกได้ตดสิ นให้ปราสาทพระวิหารเป็ น ั ่ ของกัมพูชา โดยธรรมนูญศาลโลกข้อ 61 บัญญัติไว้วา ไทยสามารถยืนคาร้องประท้วงให้ทบทวนคา ่ พิพากษาได้ในระยะเวลา 10 ปี แต่รัฐบาลไทยก็มิได้ดาเนิ นการแต่อย่างใด ในเดือนมีนาคม ปี 2548 รัฐบาลกัมพูชาได้เสนอต่อองค์การ UNESCO เพื่อขึ้นทะเบียนปราสาทเขาพระ วิหารเป็ นมรดกโลก ในวันที่ 14 พฤษภาคม 2551 นายนพดล ปัทมะ รมว.ต่างประเทศของไทยได้ประชุม ั และลงนามร่ วมกับนายกรัฐมนตรี ของกัมพูชาว่าไทยสนับสนุนให้กมพูชาขึ้นทะเบียนปราสาทเขาพระ ั วิหารแต่เพียงฝ่ ายเดียว ในวันที่ 8 กรกฎาคม 2551 UNESCO ได้ประกาศรับรองให้กมพูชาขึ้นทะเบียนตัว ปราสาทเขาพระวิหารเป็ นมรดกโลก แต่เป็ นการรับรองเฉพาะตัวปราสาทเท่านั้น ไม่ได้หมายถึงดินแดนที่ เป็ นข้อพิพาทในเวลาต่อมาแต่อย่างใด ล่าสุ ด คาพิพากษาของศาลโลก กาลังจะกลับมาเป็ นประเด็นร้อนอีกครั้งในปี 2556 ว่าไทยจะสามารถ แสดงหลักฐานให้ศาลโลกเห็นได้หรื อไม่ ว่าเขาพระวิหารเป็ นของไทย และถ้าหากศาลโลกมีคาสั่งตัดสิ น อีกว่า เขาพระวิหารเป็ นของกัมพูชา รัฐบาลและประชาชนชาวไทยจะรับมือกับคาตัดสิ นนั้นได้อย่างไร ข้ อถกเถียง - เขาพระวิหารเป็ นของ “ใคร”? ั หากเราจะลองถามคาถามนี้กบคนไทยทัว ๆ ไปว่า เขาพระวิหารเป็ นของใคร การตอบคาถามนี้ เรา ่ สามารถมองได้ใน 3 มิติดวยกัน ดังนี้ ้ 1) มิติด้านภูมิศาสตร์ ่ โดยทางภูมิศาสตร์ในปัจจุบน เขาพระวิหารตั้งอยูบนเทือกเขาพนมดงรักบริ เวณชายแดนไทย – กัมพูชา ั ตรงข้ามภูมิซรอล ตาบลบึงมะลู อาเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรี สะเกษ ซึ่ งฝ่ ายชาตินิยมไทยถือว่า ตาม ขอบเขตที่พดถึงนี้ เขาพระวิหารควรเป็ นของไทย แต่เราต้องไม่ลืมว่า หลักภูมิศาสตร์ น้ น ต่างถูกกาหนด ู ั โดยเงื่อนไขของสถานการณ์ และถูกมองผ่าน vision ของคนแต่ละคนแต่ละฝ่ ายในช่วงเวลานั้นๆ ประเด็น 2
  • 3. สาคัญที่ควรตั้งคาถามคือ ในช่วงเวลาที่มีการแบ่งเส้นภูมิศาสตร์ อย่างเป็ นทางการนั้น (ในสมัยรัฐบาลของ รัชกาลที่ 5) มีวธีการและความเห็นด้วยจากทั้งสองฝ่ ายหรื อไม่ ิ รศ. ดร. สุ รชาติ บารุ งสุ ข ได้ช้ ีให้เห็นว่า ระหว่างที่มีการแบ่งปั กปั นเส้นภูมิศาสตร์ เมื่อปี ค.ศ. 1904 และ 1907 รัฐบาลสยามในสมัยรัชกาลที่ 5 และรัฐบาลฝรั่งเศสได้มีความเห็นชอบร่ วมกันแล้ว โดย คณะกรรมการที่ต้ งขึ้นมานั้น เป็ นคณะกรรมการผสมระหว่างทั้งสองประเทศ โดยฝ่ ายไทย มี พลเอก ั หม่อมชาติเดชอุดม เป็ นประธาน และฝ่ ายฝรั่งเศสมีพนโท แบร์ นา จุดนี้ ต้องยอมรับว่า การปั กปั นทั้งหมด ั ตั้งแต่เชียงรายถึงจังหวัดตราด พื้นที่แนวทางบกเป็ นการปั กปั นด้วยคณะกรรมการผสมและสยามมีส่วน ร่ วมด้วย ่ ซึ่ งจุดนี้ ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ นักประวัติศาสตร์ กล่าวไว้วา การกาหนดพรมแดนดังกล่าว รัฐบาลสยาม ในสมัยนั้นได้ยอมรับไปโดยปริ ยายโดยมิได้ทวงติงแต่อย่างไร และเหตุผลสาคัญที่ยอมรับว่า เขาพระ ้ วิหารไม่ได้เป็ นของไทย แต่เป็ นของอินโดจีนฝรั่งเศสก็เพือเป็ นหลักประกันในการรักษา ‘เอกราชและ ่ อธิปไตย’ ส่ วนใหญ่ของสยามเอาไว้ เพราะฉะนั้น หากสยามหรื อไทย ยอมรับว่า การกระทาของรัฐบาลในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ามี ความสาคัญที่ทาให้ไทยไม่เสี ยเอกราชให้แก่ชาติอื่น เราก็ควรยอมรับว่า การทีเ่ รายอมรับว่าเขาพระวิหาร เป็ นของกัมพูชาในช่ วงเวลานั้น ก็เพราะว่าเรามีเอกราชและอธิปไตยซึ่งยิงใหญ่กว่ามากเป็ นสิ่ งแลกเปลียน ่ ่ กลับมาแทน 2) มิติด้านนิติศาสตร์ ด้วยหลักฐานทางภูมิศาสตร์ อย่างที่กล่าวมาข้างต้น ศาลโลกซึ่งใช้หลักการสนธิสัญญาปี ค.ศ. 1904 และ ่ 1907 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 ที่ฝรั่งเศสได้ขีดพรมแดนให้เขาพระวิหารอยูในอินโดจีน (หรื อที่เรี ยกกัน ทัวไปว่า แผนที่ 1:200,000) เป็ นหลักฐานสาคัญ และศาลได้มีคาพิพากษามีมติเป็ น 9:3 ว่า “ปราสาทพระ ่ ่ วิหารตั้งอยูในอาณาเขตภายใต้อธิ ปไตยของกัมพูชา” นอกจากนี้ ยังมีคาตัดสิ นเพิ่มอีก 2 ส่ วน ได้แก่ - "ประเทศไทยมีพนธะต้องถอนกาลังทหารหรื อตารวจ ผูเ้ ฝ้ ารักษาหรื อผูดูแลซึ่ งประเทศไทยส่ งไป ั ้ ่ ประจาอยูที่ปราสาทพระวิหาร หรื อในบริ เวณใกล้เคียงบนอาณาเขตของกัมพูชา" (เสี ยง 9 ต่อ 3) 3
  • 4. ั - "ประเทศไทยมีพนธะที่จะต้องคืนให้แก่กมพูชา บรรดาวัตถุชนิดที่ได้ระบุไว้ในคาแถลงสรุ ปข้อห้าของ ั กัมพูชา ซึ่งเจ้าหน้าที่ไทยอาจจะได้โยกย้ายออกไปจากปราสาทหรื อบริ เวณพระวิหาร นับตั้งแต่วนที่ ั ประเทศไทยเข้าครอบครองพระวิหาร เมื่อ ค.ศ.1954" (เสี ยง 7 ต่อ 5) ซึ่ งหลังจากการตัดสิ นนี้ รัฐบาลไทยได้มีมติ ครม. เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 ให้การลากเส้นตาม ่ คาสั่งศาลโลกและไม่ได้มีคาแย้งต่อคาพิพากษาเป็ นเวลา 10 ปี ตามสิ ทธิ ที่ระบุไว้ในคาพิพากษา ถึงแม้วา นายกรัฐมนตรี จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์จะมีแถลงการณ์ต่อประชาชนว่า “ในวันหนึ่งข้างหน้า เราจะต้อง เอาปราสาทพระวิหารกลับคืนมาเป็ นของชาติไทยให้จงได้” ซึ่งเปรี ยบเสมือนการฝังระเบิดเวลาของ ั ชาตินิยมให้กบสังคมไทย ที่ยอมรับคาตัดสิ นของศาลโลกด้วยพันธะคาพิพากษา แต่ไม่สามารถทาใจยอม รับคาพิพากษานี้ได้จริ ง 3) ข้ อถกเถียงในด้ านการเมือง ั จากมิติทางด้านภูมิศาสตร์ และนิติศาสตร์ ที่ผกพันธ์กนมาด้วยประวัติศาสตร์ กว่า 100 ปี นักวิชาการใน ู ประเทศไทยได้ถกเถียงกันถึงประเด็นเหล่านี้มากมาย โดยนักวิชาการทางด้านภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และนิติศาสตร์ มีทศนะต่อประเด็นการเมือง ดังนี้ ั 3.1) ฝ่ ายที่เคลือนไหวในแนวทางการตรวจสอบอานาจรัฐ เช่น ม.ล.วัลย์วภา จรู ญโรจน์ นักวิจย สถาบัน ่ ิ ั ไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ชี้ให้เห็นว่า เรื่ องดังกล่าว “เป็ นความพยายามร่ วมกันของกัมพูชา และคนไทยบางกลุ่มที่ตองการเปลี่ยนเส้นเขตแดนของประเทศ แลกกับผลประโยชน์ของตน โดยอาศัย ้ การขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็ นสื่ อบังหน้า” ซึ่ งชี้ให้เห็นว่า รัฐพยายามปกปิ ดข้อมูลแก่ประชาชน ในเรื่ องการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเพื่อประโยชน์ส่วนตน ในส่ วนของ ดร.สมปอง สุ จริ ตกุล คณบดีคณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยรังสิ ต อดีตเอกอัครราชทูตไทย และอดีตทนายความผูประสานงานทีม ้ ทนายฝ่ ายไทยในคดีปราสาทพระวิหาร(พ.ศ.2502-2505) ได้กล่าวไว้ในเอกสาร “คดีปราสาทพระวิหาร” ่ กล่าวโดยสรุ ปได้วา แม้ศาลโลกจะได้ตดสิ นให้ปราสาทพระวิหาร (อาจตีความรวมถึงพื้นที่ที่ตวปราสาท ั ั ่ ตั้งอยู) รวมถึงโบราณวัตถุต่างๆจากปราสาทเป็ นของกัมพูชา แต่ดวยเหตุที่ศาลมิได้ให้การรับรองสถานะ ้ ั ของแผนที่และความถูกต้องของเส้นเขตแดนตามแผนที่ของฝรั่งเศสตามที่กมพูชาร้องขอต่อศาล ดังนั้น กัมพูชาจึงไม่มีสิทธิ ใดๆในดินแดนนอกเหนื อจากพื้นดินที่ตวปราสาทตั้งอยู่ โดย ดร. สมปอง ได้ ั ั กล่าวอีกว่า ประเทศไทยได้ปฎิบติตามคาพิพากษาของศาลโลกแล้วโดยสมบูรณ์ ได้ให้กมพูชาครอบครอง ั ตัวปราสาทพร้อมทั้งกาหนดเขตปฎิบติการและทารั้วหนามอย่างชัดเจน แต่รัฐบาลไทยได้ปล่อยปละ ั 4
  • 5. ละเลยให้สถานะของไทยย่าแย่กว่าในอดีต กัมพูชาทาการขยายขอบเขตของคาพิพากษาและอ้างสิ ทธิ ใน การรุ กล้ าเข้ามาในดินแดนไทยอย่างต่อเนื่องและถาวร 3.2) ฝ่ ายที่เคลือนไหวต่ อต้ านการเมืองชาตินิยม นอกจากกลุ่มข้างต้นซึ่ งย้าให้รัฐบาล (ในขั้ วของ พตท. ่ ทักษิณ ชินวัตร) เปิ ดเผยข้อมูลของปราสาทเขาพระวิหารและหยุดนาเอาอธิปไตยและผลประโยชน์ของ ชาติไปแลกกับผลประโยชน์ส่วนตัว มีกลุ่มนักวิชาการอีกฟากที่เคลื่อนไหวสนับสนุนรัฐบาลและต่อต้าน การเมืองที่นาเอาชาตินิยมมาเป็ นเครื่ องมือทางการเมือง โดยสรุ ปประเด็นแล้ว นักวิชาการในกลุ่มนี้ เช่น ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ดร.สุ รชาติ บารุ งสุ ข ดร.นิธิ เอียวศรี วงศ์ และกลุ่มมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน เห็นว่า ประเด็นเขาพระวิหารถูกปลุกขึ้นมาโดยใช้กระแสชาตินิยมเพื่อล้มรัฐบาลฝ่ ายตรงข้าม ซึ่ งกระแสชาตินิยม นี้เป็ นผลผลิตของผูนาไทยในสมัยเผด็จการเช่น จอมพล ป. พิบูลสงคราม และจอมพล สฤษฎิ์ ธนะรัชต์ ้ ดร.ชาญวิทย์เรี ยกว่ากรณี ปราสาทเขาพระวิหารว่าเป็ น ประวัติศาสตร์ แผลเก่าที่ลทธิชาตินิยมสกุล อา ั มาตยาเสนาธิ ปไตยเป็ นคนปลุกขึ้นสมัยที่จอมพลสฤษฎิ์ ธนะรัชต์เป็ นนายกรัฐมนตรี ส่ วนดร. สุ รชาติ บารุ งสุ ข เห็นว่าเป็ น ‘อารมณ์คางของลูกหลานอามาตย์ชาตินิยม 2484’ และทาง ดร.นิธิ เอียวศรี วงศ์ ได้ ้ เขียนบทความลงในมติชนสุ ดสัปดาห์ (ฉบับวันที่ 13-14 พฤษภาคม 2554) ว่า สมเด็จกรมพระยาดารงรา ชานุภาพได้เคยเสร็ จตรวจโบราณวัตถุที่โคราชเมื่อปี พ.ศ. 2472 และได้เสด็จไปถึงปราสาทเขาพระวิหาร ่ โดยได้รับการต้อนรับจากทางฝ่ ายฝรั่งเศสเป็ นอย่างดี อีกทั้งยังทรงเห็นธงชาติฝรั่งเศสอยูบนยอดปราสาท และได้ทรงประทับค้างคืนอีกด้วย ทั้งนี้ เนื่ องจากมีการยอมรับแล้วว่า ปราสาทเขาพระวิหารเป็ นอธิ ปไตย ของฝรั่งเศสอินโดจีนจากสนธิ สัญญาที่ได้ตกลงกันในสมัย พ.ศ. 2447 เพราะฉะนั้น กรณี เขาพระวิหารจึง ถูกใช้เป็ นเพียงเครื่ องมือสร้างความชอบธรรม (legitimacy) ในการแย่งพื้นที่ทางการเมือง โดยสรุ ปแล้ว ฝ่ ายต่อต้านกระแสชาตินิยม มีประเด็นสาคัญดังนี้ - มองปั ญหาดังกล่าวเป็ นเรื่ องการปลุกปั่ นกระแสชาตินิยม เรี ยกร้องเอาปราสาทพระวิหารคืน โดย ใช้กรณี เขาพระวิหารเป็ นเครื่ องมือทางการเมืองเพื่อทาลายฝ่ ายตรงข้าม - มองว่าเป็ นการคัดค้านการขึ้นทะเบียนในสมบัติที่เราหมดกรรมสิ ทธิ์ แล้ว ถือว่า เราได้ยอมรับ ในทางนิติศาสตร์ แล้วว่า เขาพระวิหารเป็ นของกัมพูชา ั - ทั้งนี้ นักวิชาการเหล่านี้ได้เสนอว่า ควรให้ความสาคัญกับการักษาความสัมพันธ์กบประเทศเพื่อน บ้าน และผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจเป็ นหลัก โดยเฉพาะอย่างยิงกับเพื่อนบ้านอาเซี ยน ่ 5
  • 6. ทางออกของปัญหาข้ อพิพาท: การแก้ปัญหาของข้อพิพาทปราสาทเขาพระวิหารคงจะต้องอาศัยจากหลายปั จจัยในส่ วนของไทยและ กัมพูชา รวมไปถึงบทบาทขององค์กรระหว่างประเทศและทวิภาคีที่จะมีหน้าที่ในการเชื่ อมต่อและเจรจา กันระหว่าง 2 ประเทศ ในระยะสั้ นที่จะมาถึงนี้ ไทยและกัมพูชาเองคงจะต้องมีการเปิ ดใจพิจารณาคาพิพากษาของศาลโลกอีก ครั้ง และเปิ ดใจเจรจาพูดเคยเพื่อหาข้อยุติให้แก่ขอพิพาทดังกล่าว เพื่อที่ประชาชนของทั้งสองประเทศและ ้ ประชาชนในภูมิภาคจะสามารถเชื่อมโยงกันได้ทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมต่อไป ทั้งสองประเทศควร คานึงถึงประเด็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและโดยเฉพาะเมื่อทั้งไทยและกัมพูชาต่างก็เป็ นประเทศ สมาชิก ASEAN และจะมีการร่ วมกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจ วัฒนธรรมและสังคมในปี พ.ศ. 2558 ในระยะกลางและระยะยาว ดร. สุ รชาติ เห็นว่า ควรมีแนวทางรัฐศาสตร์ ในการแก้ไขปั ญหาพรมแดน โดย ใช้ Joint Development Area (JDA) หรื อการร่ วมมือพัฒนาพื้นที่เป็ นเครื่ องมือ โดยตัวอย่างที่ได้มีการ แก้ปัญหานี้ได้แก่ JDA ระหว่างไทยกับมาเลเซี ย ซึ่ งในกรณี เขาพระวิหารซึ่ งเป็ นโบราณสถานมี ความสาคัญทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ โดยเฉพาะเมื่อประวัติศาสตร์ ของไทยและกัมพูชามีความ ั ผูกพันธ์กนมาอย่างช้านาน อาจจะมีการจัดตั้ง Joint Culture Development Area เพื่อเชื่อมโยงการ ท่องเที่ยวและการพัฒนาเชิงวัฒนธรรมให้มากขึ้น นอกจากนี้ อ. ชาญวิทย์ เกษตรศิริได้เสนอให้มีการจัดตั้ง ASEAN Eco-cultural World Heritage เป็ นการ จัดตั้งให้ปราสาท ภูเขา แม่น้ าพนมดงรัก เป็ นมรดกโลกร่ วมกันของอาเซี ยนระหว่างลาว ไทย และกัมพูชา เป็ นระบบนิ เวศน์อาเซี ยนร่ วมกัน ส่ วนในระยะยาวและเพื่อเป็ นการรวมกลุ่มอาเซี ยนกันมากขึ้นในอนาคต ไทยเองคงจะต้องทบทวน บทเรี ยนประวัติศาสตร์ ที่เราสอนกันในปั จจุบน ว่า ประวัติศาสตร์ ไทยสอนให้คนไทยเราคิดว่า ประเทศ ั เพื่อนบ้านเป็ นบ้านพี่เมืองน้องจริ งหรื อ? หรื อเป็ นเพียงผูชนะและผูแพ้ของสงครามในอดีตเท่านั้น และเรา ้ ้ ควรจะมีการเขียนประวัติศาสตร์ อาเซี ยนใหม่หรื อไม่ เป็ นประวัติศาสตร์ ของประชาชน แห่งความเข้าอก เข้าใจและพึ่งพาอาศัยกันเพื่อต่อต้านการกดขี่ข่มเหงของยุคอาณานิคมและยุคเผด็จการในอดีต ซึ่งการ เปลี่ยนทัศนคติดงกล่าวถือเป็ นเรื่ องท้าทายแต่จาเป็ นอย่างยิง หากไทยและประเทศอื่น ๆ ต้องการจะเป็ น ั ่ ส่ วนหนึ่งของประชาคมอาเซี ยนที่สามัคคีและมีประสิ ทธิ ภาพ 6
  • 7. ข้ อถกเถียงในรายการ 1) สรุ ปแล้ว ท่านคิดว่า เขาพระวิหารเป็ นของใคร ทั้งในแง่นิติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์ ? ทางออกที่เหมาะสมที่สุดของกรณี เขาพระวิหารคืออะไร? 2) หากผลคาตัดสิ นออกมาว่า เขาพระวิหารยังเป็ นของกัมพูชา ปฎิกิริยาภายนอกและภายในประเทศ คงจะมีสูงมากอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ รัฐบาลไทยควรมีการเตรี ยมพร้อมอย่างไรบ้าง และควรจะมี วิธีจดการกับความคิดเห็นที่แตกต่างอย่างไร? ั 3) ท่านคิดว่า ศาลโลกมีอานาจหน้าที่ในการตัดสิ นคดีดงกล่าวหรื อไม่ และไทยควรยอมรับต่อคา ั ตัดสิ นนี้มากน้อยเพียงใด เราควรจะมีกระบวนการอย่างไรในการเตรี ยมตัวไปนาเสนอหลักฐาน และข้อเท็จจริ งต่อศาลโลกในครั้งนี้ 4) การแก้ปัญหาข้อพิพาทควรจะมาจากการเจรจาผ่านประชาคมอาเซี ยน และผ่านกระบวนการ ยุติธรรมที่เป็ นที่ยอมรับของทั้งสองฝ่ าย มากกว่าการแสดงแสนยานุภาพของกองทัพหรื อไม่ ใคร ควรจะเป็ นตัวประสานในการเจรจาเพื่อเพิ่มน้ าหนักและความน่าเชื่อถือต่อทั้งสองฝ่ าย 5) การเมืองและประวัติศาสตร์ แบบชาตินิยมสร้างความเสี ยหายมามากแล้ว ส่ วนหนึ่งมาจากการ สอนประวัติศาสตร์ แบบชาตินิยม เราจะมีแนวทางอย่างไรในการแก้ปัญหาตรงนี้ โดยเฉพาะอย่าง ยิงเมื่อเราจะก้าวสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยนที่ตองติดต่อและแลกเปลี่ยนกับเพื่อนบ้านอาเซี ยน ้ ่ อย่างใกล้ชิดมากขึ้น 7