SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 34
การส่งเสริมพัฒนาการ
การเป็นครูที่ดี มีลักษณะอย่างไร
ประการแรก ครูจะต้องรักเด็กและเข้าใจเด็ก
ประการที่สอง ครูควรทราบวิธีการส่งเสริมให้เด็กได้
รับการพัฒนาทุกๆด้าน
(ด้านร่างกาย อารมณ์ สติปัญญา สังคม คุณธรรม และ
จริยธรรม)
1. จิตวิทยา คือ ศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์
ซึ่งสามารถสังเกตได้ วัดได้ และทดสอบได้
2. การที่ครูรู้จักและเข้าใจความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรม
ของเด็ก ทาให้ครูสามารถจัดกิจกรรม เนื้อหาและสภาพแวดล้อม
ให้เหมาะสมกับเด็กได้ ตลอดจนสร้างระเบียบวินัยที่ดีแก่เด็ก
3. เนื้อหาที่น่าสนใจที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา คือ การศึกษาเด็ก
เป็นรายบุคคล พัฒนาการของเด็ก การเอาใจใส่ การลงโทษ
การเสริมแรง การสร้างความรู้สึกนึกคิดที่ดีต่อตนเอง การสร้าง
บรรยากาศในชั้นเรียน การสร้างวินัย การพูดและการฟังของครู
คาถามที่ต้องการคาตอบ
- ทาอย่างไรเด็กจะรักโรงเรียน
- ทาอย่างไรเด็กจะรักครู
- ทาอย่างไรเด็กจะประพฤติปฏิบัติตัวดี
- ทาอย่างไรเด็กถึงจะเรียนเก่ง
- ทาอย่างไรจะช่วยให้เด็กแต่ละคนพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มที่
- ทาอย่างไรเด็กถึงจะเป็นคนดีที่โรงเรียนและสังคมต้องการ
ความสาคัญของจิตวิทยาการศึกษาต่ออาชีพครู
1. ช่วยให้ครูรู้จักลักษณะนิสัย (Characteristics) ของ
นักเรียนที่ครูต้องสอน
2. ช่วยให้ครูมีความเข้าใจพัฒนาการทางบุคลิกภาพบางประการของ
นักเรียน (ช่วยให้นักเรียนมีอัตมโนทัศน์ที่ดีและถูกต้อง)
3. ช่วยครูให้มีความเข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคล
4. ช่วยให้ครูรู้วิธีจัดสภาพแวดล้อของห้องเรียนให้เหมาะสมแก่วัยและขั้น
พัฒนาการของนักเรียน
5. ช่วยให้ครูทราบถึงตัวแปรต่างๆที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน
ความสาคัญของจิตวิทยาการศึกษาต่ออาชีพครู
 6. ช่วยครูในการเตรียมการสอน วางแผนการเรียน
7. ช่วยครูให้ทราบหลักการและทฤษฎีของการเรียนรู้
8. ช่วยครูให้ทราบถึงหลักการสอนและวิธีสอนที่มีประสิทธิภาพ
9. ช่วยครูให้ทราบว่านักเรียนที่มีผลการเรียนดีไม่ได้เป็นเพราะ
ระดับเชาวน์ปัญญาเพียงอย่างเดียว
10. ช่วยครูในการปกครองชั้นและการสร้างบรรยากาศของห้องเรียน
ครู : เป็นแม่พิมพ์ และเป็นเบ้าหลอมให้เด็กเป็นคนดีหรือคนเลวได้
 เด็กบางคนเปรียบเสมือนน้าร้อนที่เดือดปุดๆ
 ความเอื้ออาทร การเอาใจใส่ และความสงบเยือกเย็นของครู
 ที่จะทาให้น้าร้อนนั้นเย็นลง
 เด็กบางคนเปรียบเสมือนภูเขาน้าแข็ง
 ความอบอุ่นของครูเท่านั้น ที่จะละลายเขาได้
 จงทาให้เขาละลายลง………..
การสารวจนักเรียนรายบุคคล
เป็นการรวบรวมข้อมูลนักเรียนเป็นรายบุคคลอย่างละเอียด ข้อมูลที่เก็บ
บันทึกไว้ ได้แก่ ประวัติส่วนตัว ครอบครัว ภูมิหลังจากโรงเรียนเดิม
ประวัติการเรียน พฤติกรรม นิสัย บุคลิกภาพ สติปัญญา สุขภาพ
ความสัมฤทธิ์ผลทางการเรียน เจตคติ ประวัติการถูกลงโทษ การได้รับ
รางวัล การบาเพ็ญประโยชน์ ความสนใจ ความสามารถพิเศษ ฯลฯ
ทั้งนี้เพื่อจะได้รู้จักนักเรียน เข้าใจนักเรียนอย่างลึกซึ้ง เพื่อเป็นแนวทางที่
จะช่วยเหลือหรือพัฒนานักเรียนได้อย่างถูกต้อง
ข้อควรคานึงในการสารวจ
 1. ข้อมูลที่รวบรวมต้องถูกต้องเป็นจริง เชื่อถือได้ และเพียงพอที่จะ
 ทาให้ทราบสาเหตุของปัญหา
 2. ควรศึกษาข้อมูลอย่างต่อเนื่อง และต้องจดบันทึกทุกครั้ง
 3. ใช้ภาษาเข้าใจง่ายในการบันทึก ระบุวันเวลา สถานที่ ผู้บันทึกชัดเจน
 4. ข้อมูลควรได้มาจากหลายฝ่ ายและหลายสถานการณ์
 5. ข้อมูลที่นักเรียนไม่ต้องการให้เปิดเผย ครูต้องรักษาไว้เป็นความลับ
 6. ผู้รวบรวมข้อมูลต้องมีใจเป็นกลาง ไม่มีอคติหรือความลาเอียงใดๆ
 7. ครูไม่ควรด่วนสรุปหรือเชื่อข้อมูลที่ได้จากการศึกษาเพียงวิธีใดวิธี
หนึ่งเท่านั้น ควรหาจากหลายๆวิธีเพื่อความถูกต้องเพียงพอ
เทคนิคการสารวจเป็นรายบุคคล
เทคนิคต่างๆที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลนักเรียน ที่จาเป็นมีดังนี้
 1. การสังเกต
 2. การสัมภาษณ์
 3. แบบสอบถาม
 4. การเยี่ยมบ้าน
 5. การทาอัตชีวประวัติ
 6. แบบทดสอบ
การเอาใจใส่

 “น้าขาดปลา ฟ้ าขาดฝน คนขาดใจ
 ชีวิตคงจะห่อเหี่ยว แห้งแล้งและโรยราแน่”
“ ธรรมชาติของมนุษย์ ต้องการที่จะได้รับความรัก ความเอาใจใส่
ความสนใจ และการยอมรับจากเพื่อมนุษย์ด้วยกัน ”
พฤติกรรมที่เรียกร้องความสนใจ
 - ชอบส่งเสียงดังในชั้นเรียน
 - ฝ่ าฝืนกฎระเบียบของโรงเรียน
 - ลุกเดินจากที่นั่งบ่อยๆ
การเอาใจใส่นักเรียน จาแนกได้ 2 ประการ
1. การเอาใจใส่ทางบวก เป็นการสื่อสารด้วยคาพูดที่ทาให้ผู้รับ
รู้สึกว่าตนมีคุณค่า
 1.1 การเอาใจใส่ทางบวกโดยไม่มีเงื่อนไข
“ ครูรักเธอ ไม่ว่าเธอจะเป็นใคร มาจากไหน เรียนเก่งหรืออ่อน
จนหรือรวยก็ตาม ”
 1.2 การเอาใจใส่ทางบวกโดยมีเงื่อนไข
“ ถ้านักเรียนคนไหนสอบได้ที่ 1 ครูมีรางวัลให้ ”
การเอาใจใส่นักเรียน จาแนกได้ 2 ประการ
 2. การเอาใจใส่ทางลบ คือการสื่อสารด้วยคาพูดหรือภาษากาย
จากผู้ส่งออกไปยังผู้รับแล้ว ผู้รับไม่พอใจ
 2.1 การเอาใจใส่ทางลบโดยไม่มีเงื่อนไข
เป็นการไม่ยอมรับในความเป็นคนของเขา เช่น
“ครูเกลียดนักเรียนที่เป็นคนใต้”
 2.2 การเอาใจใส่ทางลบโดยมีเงื่อนไข
การไม่ยอมรับตามการกระทาที่กาหนด เช่น
“ ครูจะลงโทษนักเรียนที่ไม่ส่งการบ้าน ”
แนวทางการนาการเอาใจใส่ไปใช้ในโรงเรียน
1. ครูควรเอาใจใส่นักเรียนด้วยคาพูดและภาษากาย
2. จาชื่อนักเรียนที่ครูสอนได้ถูกต้อง
3. ให้เวลาแก่นักเรียนทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน
4. ครูควรมีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใสกับนักเรียน
5. เตรียมรางวัลหรือของขวัญเล็กๆน้อยๆให้นักเรียนบ้าง
6. สารวจ ดูแล เอาใจใส่ต่อความสะอาดของร่างกาย และการแต่ง
กายของนักเรียน
7. ครูควรจะให้การเอาใจใส่ทางบวก โดยไม่มีเงื่อนไขอย่าง
สม่าเสมอ
“If you touch me soft and gentle
If you look at me and smile at me
If you listen to me and talk sometimes
before you talk
I will grow , really grow ”
“ถ้าเพียงแต่คุณแตะต้องฉันอย่างนุ่มนวล และละมุนละม่อม
ถ้าเพียงแต่คุณมองดูและยิ้มให้ฉัน
ถ้าเพียงแต่คุณฟังฉันพูดบ้างเป็นบางครั้ง ก่อนที่คุณจะพูดเสียเอง
ฉันก็จะเจริญเติบโต …….เจริญงอกงามได้อย่างแท้จริง ”
“ไม้เรียวสร้างคนให้เป็นรัฐมนตรีหลายคน”
อดีต : ลงโทษด้วยวิธีการตี
ปัจจุบัน : นิยมใช้การเสริมแรง ( Reinforcement)
การลงโทษที่ไม่ถูกต้องอาจก่อให้เกิดปัญหา ยิ่งวิธีการลงโทษที่
ไม่ถูกต้องและเหมาะสมมากเท่าใด ยิ่งจะสร้างบาดแผลทางกาย
และทางใจกับนักเรียนไปตลอดชีวิตได้มากขึ้นเท่านั้น
ประเภทการลงโทษ จาแนกได้ 2 ประเภท
1. การลงโทษทางบวก (Positive punishment )
เช่น นายศักดิ์พูดคาหยาบ ครูลงโทษโดยการดุหรือด่า
2. การลงโทษทางลบ ( negative punishment )
เช่น นางสาวสมศรีไม่ทาเวร ครูจึงลงโทษโดยตัดคะแนนความประพฤติ
ของนางสาวสมศรีออกไป 5 คะแนน
ข้อคิด เกี่ยวกับการลงโทษ
 ดวงเดือน พันธุมนาวิน กล่าวว่า
“ เด็กเล็กควรลงโทษโดยตีให้เจ็บกาย แต่ต้องตีด้วยความรัก มิใช่ความเกลียดและ
ความโมโหโทโส อาจตีได้ในเด็ก 0 – 7 ขวบ
และเริ่มลดการตีลงจาก 7 ขวบ เพิ่มการให้รางวัลเป็นวัตถุสิ่งของและเลิกตีเมื่อ
เด็กอายุ 10 ขวบไปแล้ว”
 Hurlock ทดลองพบว่า
“ เด็กโตชอบการชมเชยมากกว่าการตาหนิ แต่เด็กเรียนเก่ง เมื่อถูกตาหนิ
จะพยายามการะทาสิ่งต่างๆให้ดีมากขึ้นกว่าถูกชม
 Morgan อธิบายว่า
 “ การให้รางวัลนั้น มีผลดีต่อการเรียนรู้ของเด็กมากกว่าการลงโทษ และการ
เรียนรู้ที่เกิดจากการลงโทษจะไม่คงทนถาวรเท่าการให้รางวัล
การเสริมแรง
ความหมาย : การให้สิ่งเร้าแล้ว ผู้เรียนเกิดความพึงพอใจหรือไม่
พึงพอใจ
เป้ าหมาย : ให้ผู้เรียนเกิดพฤติกรรมที่พึงประสงค์มากขึ้น
ประเภทการเสริมแรง : มี 2 ประเภท
 1. การเสริมแรงทางบวก
 2. การเสริมแรงทางลบ
การเสริมแรง
เทคนิคการเสริมแรง :
 1. การเสริมแรงด้วยวาจา
 2. การเสริมแรงด้วยการให้ผู้เรียนเห็นความก้าวหน้าของตน
 3. การเสริมแรงด้วยท่าทาง
 4. การเสริมแรงด้วยการให้รางวัลและสัญลักษณ์ต่างๆ
การเสริมแรง / การเรียนการสอน
การเสริมแรงมีบทบาทสาคัญยิ่งในการเรียนการสอน
เป็นเสมือนหยดน้าอมฤตช่วยชุบชีวิตชโลมใจให้นักเรียนมี
ชีวิตชีวา เกิดความรู้สึกดีๆ ขยันหมั่นเพียรในการเรียนเพิ่ม
มากขึ้น
ช่วยให้ผู้เรียนเกิดพฤติกรรมการเรียนรู้และประสบการณ์ที่
ถูกต้อง
ผู้เรียนเกิดพฤติกรรมที่ครู โรงเรียน และสังคมต้องการ
ความรู้สึกนึกคิดที่มีต่อตนเอง SELF - CONCEPT
“ ความรักต้องเริ่มจากรักตัวเองก่อน
 (เอื้ออาทร ห่วงใย เข้าใจ ยอมรับ )
 ถ้าเราไม่มีความรักในตัวเอง เราก็ไม่สามารถแบ่งความรัก
ให้ใครได้ ”
ความรู้สึกนึกคิดที่มีต่อตนเอง หรือ อัตมโนทัศน์
SELF - CONCEPT
 ความรู้สึกนึกคิดที่มีต่อตนเอง เป็นตัวกาหนดพฤติกรรมที่
แสดงออกของบุคคล
 คนแต่ละคนจะแสดงพฤติกรรมเช่นไรนั้นขึ้นอยู่กับว่าเขามี
ความรู้สึกนึกคิดที่มีต่อตนเองว่าเป็นอย่างไร
 ครูจะต้องเข้าใจนักเรียน เข้าใจในพฤติกรรมของเขา
มองสิ่งต่างๆให้เห็นอย่างที่เขาเห็นไม่ใช่มองสิ่งต่างๆอย่างที่ครูเห็น
และควรเข้าใจเหตุผลในการกระทาของเขา
ประเภทความรู้สึกนึกคิดที่มีต่อตนเอง มี 2 ประเภท
 1. ตัวตนที่เป็นจริง (Real self – concept )
 2. ตัวตนที่ต้องการเป็น (Idea self – concept )
บทบาทของครู : ครูควรที่จะพยายามช่วยให้ตัวตนที่เป็นจริง
กับตัวตนที่ต้องการเป็นของเด็ก ให้มีความแตกต่างกันน้อย
ที่สุด
วิธีการพัฒนาความรู้สึกนึกคิดที่มีต่อตนเอง
พรรณี ช.เจนจิต : เสนอการสร้างบรรยากาศเพื่อนาไปสู่การ
พัฒนาอัตมโนทัศน์ในทางบวก 6 ประการ คือ
 1. บรรยากาศที่ท้าทาย 2. บรรยากาศที่มีอิสระ
 3. บรรยากาศที่มีความอบอุ่น
 4. บรรยากาศที่มีการยอมรับนับถือ
 5. บรรยากาศแห่งการควบคุม
 6. บรรยากาศแห่งความสาเร็จ
การสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
จุดมุ่งหมาย : ให้นักเรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ
 เกิดทักษะ ความชานาญ และมีเจตคติที่ดี
(Knowledge Understand Skill Attitude )
 : นักเรียนมีความสุข – สนุก ในการเรียน
 : การสอนของครูบรรลุเป้ าหมาย
องค์ประกอบการสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
 1. บุคลิกภาพของครู : การแต่งกาย อารมณ์ขัน ท่าทาง
น้าเสียง การใช้คาพูด
 2. พฤติกรรมการสอนของครู : แบบประชาธิปไตย
เปิดโอกาสให้ซักถาม ช่วยเหลือกัน
 3. ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียน : ทากิจกรรมร่วมกัน
 4. ปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับนักเรียน : มีโอกาส
ทางาน
ร่วมกันและช่วยเหลือกัน
บรรยากาศที่ควรหลีกเลี่ยง
 อย่าทาตัวเป็นครูระเบียบ ต้องทาอย่างโน้น อย่างนี้
 อย่าทาตัวเป็นครูสาราญ คาดหวังอะไรไม่ได้
 อย่าทาตัวเป็นครูวันลาหรือลาวัน ไม่ยอมมาโรงเรียน
 อย่าทาตัวเป็นครูอานาจ บังคับ ขู่เข็ญ
 (ดุ ด่า ตาหนิติเตียน บังคับ ข่มขู่ เยาะเย้ย ถากถาง เฉยๆ โกหก)
การสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
 ใส่ความยิ้มแย้มแจ่มใส แทนที่ความบูดบึ้งบนใบหน้า
 ใส่ความเป็นปิยวาจา แทนที่การกราดเกรี้ยวและดูหมิ่น
 ใส่ความรู้สึกกระตือรือร้น แทนที่ความเชื่องช้าและเฉยเมย
 ใส่อารมณ์ขัน แทนที่อารมณ์เครียด
 ใส่น้าเสียงนุ่มนวล แทนที่น้าเสียงดุดัน
 ใส่ความเอาใจใส่ดูแล แทนที่การปล่อยปละละเลย
 ใส่ความยกย่องชมเชย แทนที่การตาหนิติเคียน
การสร้างวินัยในชั้นเรียน
ครูต้องยอมรับว่า
 - พฤติกรรมทุกอย่างย่อมมีสาเหตุ ถ้าครูรู้สาเหตุของ
ปัญหา ย่อมสามารถแก้ปัญหานั้นได้
 - สาเหตุเดียวทาให้เกิดพฤติกรรมหลายอย่าง และ
พฤติกรรมอย่างเดียวกันอาจมาจากหลายสาเหตุก็ได้
นางสาว สมศรี ชั้น ปวช. 3 อกหัก (สาเหตุ)
ส่งผลให้เกิดพฤติกรรม ดื่มสุรา
หาหนังสือธรรมะอ่าน เข้าวัด ร้องไห้
ปรึกษาเพื่อน หาผู้ชายคนใหม่ชดเชย
นางสาว สมศรี ชั้นปวช. 3 สอบตกชั้นปวช. 3 (สาเหตุ)
อาจเกิดจาก อกหัก ขาดเรียนบ่อย
ไม่ส่งการบ้าน ทาข้อสอบไม่ได้
เข้าสอบช้า ไม่ดูหนังสือ
Psychology5

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt  จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt yuapawan
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Ratchada Rattanapitak
 
บรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวกบรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวกWiwat Ch
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3poms0077
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3poms0077
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Sasipron Tosuk
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้masaya_32
 
จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231Anny Hotelier
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Natida Boonyadetwong
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Aoun หมูอ้วน
 
จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1nan1799
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้yuapawan
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2hadesza
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษาWatcharin Chongkonsatit
 

Was ist angesagt? (16)

จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt  จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
บรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวกบรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวก
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 5555
จิตวิทยาการเรียนรู้ 5555จิตวิทยาการเรียนรู้ 5555
จิตวิทยาการเรียนรู้ 5555
 
จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา
 
จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้
 

Andere mochten auch

บุคลิกภาพของบุคลากรในธุรกิจการบิน
บุคลิกภาพของบุคลากรในธุรกิจการบินบุคลิกภาพของบุคลากรในธุรกิจการบิน
บุคลิกภาพของบุคลากรในธุรกิจการบินMint NutniCha
 
Rodrigo d no futuro
Rodrigo d no futuro Rodrigo d no futuro
Rodrigo d no futuro Julian Pardo
 
Squares Review Flashcards
Squares Review FlashcardsSquares Review Flashcards
Squares Review Flashcardsamydotson1704
 
SMJERNICE o djelovanju centara za pruanje usluga socijalne skrbi dnevnog zbri...
SMJERNICE o djelovanju centara za pruanje usluga socijalne skrbi dnevnog zbri...SMJERNICE o djelovanju centara za pruanje usluga socijalne skrbi dnevnog zbri...
SMJERNICE o djelovanju centara za pruanje usluga socijalne skrbi dnevnog zbri...Mirna Strinić
 
Conference proposal VAASL.org
Conference proposal VAASL.orgConference proposal VAASL.org
Conference proposal VAASL.orgTamCast
 

Andere mochten auch (8)

บุคลิกภาพของบุคลากรในธุรกิจการบิน
บุคลิกภาพของบุคลากรในธุรกิจการบินบุคลิกภาพของบุคลากรในธุรกิจการบิน
บุคลิกภาพของบุคลากรในธุรกิจการบิน
 
Rodrigo d no futuro
Rodrigo d no futuro Rodrigo d no futuro
Rodrigo d no futuro
 
Praveen
PraveenPraveen
Praveen
 
Yasre
Yasre Yasre
Yasre
 
Squares Review Flashcards
Squares Review FlashcardsSquares Review Flashcards
Squares Review Flashcards
 
Succeed with mathematical games
Succeed with mathematical gamesSucceed with mathematical games
Succeed with mathematical games
 
SMJERNICE o djelovanju centara za pruanje usluga socijalne skrbi dnevnog zbri...
SMJERNICE o djelovanju centara za pruanje usluga socijalne skrbi dnevnog zbri...SMJERNICE o djelovanju centara za pruanje usluga socijalne skrbi dnevnog zbri...
SMJERNICE o djelovanju centara za pruanje usluga socijalne skrbi dnevnog zbri...
 
Conference proposal VAASL.org
Conference proposal VAASL.orgConference proposal VAASL.org
Conference proposal VAASL.org
 

Ähnlich wie Psychology5

การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณการสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณKobwit Piriyawat
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
ศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกต
ศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกตศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกต
ศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกตorawan chaiyakhan
 
จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครูจรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครูพรรณภา ดาวตก
 
บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑Tuk Diving
 
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอนSarawut Tikummul
 
บทความ2
บทความ2บทความ2
บทความ2duenka
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02Mai Amino
 
1111111111111111111111111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111111111111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111111111111111111111111bow4903
 
บรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวกบรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวกWiwat Ch
 
บรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวกบรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวกWiwat Ch
 
Presentation 2013-01-11 My experience on Coaching
Presentation 2013-01-11 My experience on CoachingPresentation 2013-01-11 My experience on Coaching
Presentation 2013-01-11 My experience on CoachingNopporn Thepsithar
 
คู่มือครูสำหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้
คู่มือครูสำหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้คู่มือครูสำหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้
คู่มือครูสำหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้ครูบ้านนอก จนจน
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Sasipron Tosuk
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Sasipron Tosuk
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Sasipron Tosuk
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้maymymay
 
งานซู
งานซูงานซู
งานซูmaymymay
 

Ähnlich wie Psychology5 (20)

การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณการสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
ศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกต
ศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกตศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกต
ศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกต
 
Eb chapter2
Eb chapter2Eb chapter2
Eb chapter2
 
จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครูจรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
 
บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑
 
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
 
บทความ2
บทความ2บทความ2
บทความ2
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
 
1111111111111111111111111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111111111111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111111111111111111111111
 
บรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวกบรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวก
 
บรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวกบรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวก
 
Instdev
InstdevInstdev
Instdev
 
Presentation 2013-01-11 My experience on Coaching
Presentation 2013-01-11 My experience on CoachingPresentation 2013-01-11 My experience on Coaching
Presentation 2013-01-11 My experience on Coaching
 
คู่มือครูสำหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้
คู่มือครูสำหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้คู่มือครูสำหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้
คู่มือครูสำหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
งานซู
งานซูงานซู
งานซู
 

Psychology5

  • 2. การเป็นครูที่ดี มีลักษณะอย่างไร ประการแรก ครูจะต้องรักเด็กและเข้าใจเด็ก ประการที่สอง ครูควรทราบวิธีการส่งเสริมให้เด็กได้ รับการพัฒนาทุกๆด้าน (ด้านร่างกาย อารมณ์ สติปัญญา สังคม คุณธรรม และ จริยธรรม)
  • 3. 1. จิตวิทยา คือ ศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ ซึ่งสามารถสังเกตได้ วัดได้ และทดสอบได้ 2. การที่ครูรู้จักและเข้าใจความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรม ของเด็ก ทาให้ครูสามารถจัดกิจกรรม เนื้อหาและสภาพแวดล้อม ให้เหมาะสมกับเด็กได้ ตลอดจนสร้างระเบียบวินัยที่ดีแก่เด็ก 3. เนื้อหาที่น่าสนใจที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา คือ การศึกษาเด็ก เป็นรายบุคคล พัฒนาการของเด็ก การเอาใจใส่ การลงโทษ การเสริมแรง การสร้างความรู้สึกนึกคิดที่ดีต่อตนเอง การสร้าง บรรยากาศในชั้นเรียน การสร้างวินัย การพูดและการฟังของครู
  • 4. คาถามที่ต้องการคาตอบ - ทาอย่างไรเด็กจะรักโรงเรียน - ทาอย่างไรเด็กจะรักครู - ทาอย่างไรเด็กจะประพฤติปฏิบัติตัวดี - ทาอย่างไรเด็กถึงจะเรียนเก่ง - ทาอย่างไรจะช่วยให้เด็กแต่ละคนพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มที่ - ทาอย่างไรเด็กถึงจะเป็นคนดีที่โรงเรียนและสังคมต้องการ
  • 5. ความสาคัญของจิตวิทยาการศึกษาต่ออาชีพครู 1. ช่วยให้ครูรู้จักลักษณะนิสัย (Characteristics) ของ นักเรียนที่ครูต้องสอน 2. ช่วยให้ครูมีความเข้าใจพัฒนาการทางบุคลิกภาพบางประการของ นักเรียน (ช่วยให้นักเรียนมีอัตมโนทัศน์ที่ดีและถูกต้อง) 3. ช่วยครูให้มีความเข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคล 4. ช่วยให้ครูรู้วิธีจัดสภาพแวดล้อของห้องเรียนให้เหมาะสมแก่วัยและขั้น พัฒนาการของนักเรียน 5. ช่วยให้ครูทราบถึงตัวแปรต่างๆที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน
  • 6. ความสาคัญของจิตวิทยาการศึกษาต่ออาชีพครู  6. ช่วยครูในการเตรียมการสอน วางแผนการเรียน 7. ช่วยครูให้ทราบหลักการและทฤษฎีของการเรียนรู้ 8. ช่วยครูให้ทราบถึงหลักการสอนและวิธีสอนที่มีประสิทธิภาพ 9. ช่วยครูให้ทราบว่านักเรียนที่มีผลการเรียนดีไม่ได้เป็นเพราะ ระดับเชาวน์ปัญญาเพียงอย่างเดียว 10. ช่วยครูในการปกครองชั้นและการสร้างบรรยากาศของห้องเรียน
  • 7. ครู : เป็นแม่พิมพ์ และเป็นเบ้าหลอมให้เด็กเป็นคนดีหรือคนเลวได้  เด็กบางคนเปรียบเสมือนน้าร้อนที่เดือดปุดๆ  ความเอื้ออาทร การเอาใจใส่ และความสงบเยือกเย็นของครู  ที่จะทาให้น้าร้อนนั้นเย็นลง  เด็กบางคนเปรียบเสมือนภูเขาน้าแข็ง  ความอบอุ่นของครูเท่านั้น ที่จะละลายเขาได้  จงทาให้เขาละลายลง………..
  • 8. การสารวจนักเรียนรายบุคคล เป็นการรวบรวมข้อมูลนักเรียนเป็นรายบุคคลอย่างละเอียด ข้อมูลที่เก็บ บันทึกไว้ ได้แก่ ประวัติส่วนตัว ครอบครัว ภูมิหลังจากโรงเรียนเดิม ประวัติการเรียน พฤติกรรม นิสัย บุคลิกภาพ สติปัญญา สุขภาพ ความสัมฤทธิ์ผลทางการเรียน เจตคติ ประวัติการถูกลงโทษ การได้รับ รางวัล การบาเพ็ญประโยชน์ ความสนใจ ความสามารถพิเศษ ฯลฯ ทั้งนี้เพื่อจะได้รู้จักนักเรียน เข้าใจนักเรียนอย่างลึกซึ้ง เพื่อเป็นแนวทางที่ จะช่วยเหลือหรือพัฒนานักเรียนได้อย่างถูกต้อง
  • 9. ข้อควรคานึงในการสารวจ  1. ข้อมูลที่รวบรวมต้องถูกต้องเป็นจริง เชื่อถือได้ และเพียงพอที่จะ  ทาให้ทราบสาเหตุของปัญหา  2. ควรศึกษาข้อมูลอย่างต่อเนื่อง และต้องจดบันทึกทุกครั้ง  3. ใช้ภาษาเข้าใจง่ายในการบันทึก ระบุวันเวลา สถานที่ ผู้บันทึกชัดเจน  4. ข้อมูลควรได้มาจากหลายฝ่ ายและหลายสถานการณ์  5. ข้อมูลที่นักเรียนไม่ต้องการให้เปิดเผย ครูต้องรักษาไว้เป็นความลับ  6. ผู้รวบรวมข้อมูลต้องมีใจเป็นกลาง ไม่มีอคติหรือความลาเอียงใดๆ  7. ครูไม่ควรด่วนสรุปหรือเชื่อข้อมูลที่ได้จากการศึกษาเพียงวิธีใดวิธี หนึ่งเท่านั้น ควรหาจากหลายๆวิธีเพื่อความถูกต้องเพียงพอ
  • 10. เทคนิคการสารวจเป็นรายบุคคล เทคนิคต่างๆที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลนักเรียน ที่จาเป็นมีดังนี้  1. การสังเกต  2. การสัมภาษณ์  3. แบบสอบถาม  4. การเยี่ยมบ้าน  5. การทาอัตชีวประวัติ  6. แบบทดสอบ
  • 12.   “น้าขาดปลา ฟ้ าขาดฝน คนขาดใจ  ชีวิตคงจะห่อเหี่ยว แห้งแล้งและโรยราแน่” “ ธรรมชาติของมนุษย์ ต้องการที่จะได้รับความรัก ความเอาใจใส่ ความสนใจ และการยอมรับจากเพื่อมนุษย์ด้วยกัน ”
  • 13. พฤติกรรมที่เรียกร้องความสนใจ  - ชอบส่งเสียงดังในชั้นเรียน  - ฝ่ าฝืนกฎระเบียบของโรงเรียน  - ลุกเดินจากที่นั่งบ่อยๆ
  • 14. การเอาใจใส่นักเรียน จาแนกได้ 2 ประการ 1. การเอาใจใส่ทางบวก เป็นการสื่อสารด้วยคาพูดที่ทาให้ผู้รับ รู้สึกว่าตนมีคุณค่า  1.1 การเอาใจใส่ทางบวกโดยไม่มีเงื่อนไข “ ครูรักเธอ ไม่ว่าเธอจะเป็นใคร มาจากไหน เรียนเก่งหรืออ่อน จนหรือรวยก็ตาม ”  1.2 การเอาใจใส่ทางบวกโดยมีเงื่อนไข “ ถ้านักเรียนคนไหนสอบได้ที่ 1 ครูมีรางวัลให้ ”
  • 15. การเอาใจใส่นักเรียน จาแนกได้ 2 ประการ  2. การเอาใจใส่ทางลบ คือการสื่อสารด้วยคาพูดหรือภาษากาย จากผู้ส่งออกไปยังผู้รับแล้ว ผู้รับไม่พอใจ  2.1 การเอาใจใส่ทางลบโดยไม่มีเงื่อนไข เป็นการไม่ยอมรับในความเป็นคนของเขา เช่น “ครูเกลียดนักเรียนที่เป็นคนใต้”  2.2 การเอาใจใส่ทางลบโดยมีเงื่อนไข การไม่ยอมรับตามการกระทาที่กาหนด เช่น “ ครูจะลงโทษนักเรียนที่ไม่ส่งการบ้าน ”
  • 16. แนวทางการนาการเอาใจใส่ไปใช้ในโรงเรียน 1. ครูควรเอาใจใส่นักเรียนด้วยคาพูดและภาษากาย 2. จาชื่อนักเรียนที่ครูสอนได้ถูกต้อง 3. ให้เวลาแก่นักเรียนทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน 4. ครูควรมีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใสกับนักเรียน 5. เตรียมรางวัลหรือของขวัญเล็กๆน้อยๆให้นักเรียนบ้าง 6. สารวจ ดูแล เอาใจใส่ต่อความสะอาดของร่างกาย และการแต่ง กายของนักเรียน 7. ครูควรจะให้การเอาใจใส่ทางบวก โดยไม่มีเงื่อนไขอย่าง สม่าเสมอ
  • 17. “If you touch me soft and gentle If you look at me and smile at me If you listen to me and talk sometimes before you talk I will grow , really grow ” “ถ้าเพียงแต่คุณแตะต้องฉันอย่างนุ่มนวล และละมุนละม่อม ถ้าเพียงแต่คุณมองดูและยิ้มให้ฉัน ถ้าเพียงแต่คุณฟังฉันพูดบ้างเป็นบางครั้ง ก่อนที่คุณจะพูดเสียเอง ฉันก็จะเจริญเติบโต …….เจริญงอกงามได้อย่างแท้จริง ”
  • 18. “ไม้เรียวสร้างคนให้เป็นรัฐมนตรีหลายคน” อดีต : ลงโทษด้วยวิธีการตี ปัจจุบัน : นิยมใช้การเสริมแรง ( Reinforcement) การลงโทษที่ไม่ถูกต้องอาจก่อให้เกิดปัญหา ยิ่งวิธีการลงโทษที่ ไม่ถูกต้องและเหมาะสมมากเท่าใด ยิ่งจะสร้างบาดแผลทางกาย และทางใจกับนักเรียนไปตลอดชีวิตได้มากขึ้นเท่านั้น
  • 19. ประเภทการลงโทษ จาแนกได้ 2 ประเภท 1. การลงโทษทางบวก (Positive punishment ) เช่น นายศักดิ์พูดคาหยาบ ครูลงโทษโดยการดุหรือด่า 2. การลงโทษทางลบ ( negative punishment ) เช่น นางสาวสมศรีไม่ทาเวร ครูจึงลงโทษโดยตัดคะแนนความประพฤติ ของนางสาวสมศรีออกไป 5 คะแนน
  • 20. ข้อคิด เกี่ยวกับการลงโทษ  ดวงเดือน พันธุมนาวิน กล่าวว่า “ เด็กเล็กควรลงโทษโดยตีให้เจ็บกาย แต่ต้องตีด้วยความรัก มิใช่ความเกลียดและ ความโมโหโทโส อาจตีได้ในเด็ก 0 – 7 ขวบ และเริ่มลดการตีลงจาก 7 ขวบ เพิ่มการให้รางวัลเป็นวัตถุสิ่งของและเลิกตีเมื่อ เด็กอายุ 10 ขวบไปแล้ว”  Hurlock ทดลองพบว่า “ เด็กโตชอบการชมเชยมากกว่าการตาหนิ แต่เด็กเรียนเก่ง เมื่อถูกตาหนิ จะพยายามการะทาสิ่งต่างๆให้ดีมากขึ้นกว่าถูกชม  Morgan อธิบายว่า  “ การให้รางวัลนั้น มีผลดีต่อการเรียนรู้ของเด็กมากกว่าการลงโทษ และการ เรียนรู้ที่เกิดจากการลงโทษจะไม่คงทนถาวรเท่าการให้รางวัล
  • 21. การเสริมแรง ความหมาย : การให้สิ่งเร้าแล้ว ผู้เรียนเกิดความพึงพอใจหรือไม่ พึงพอใจ เป้ าหมาย : ให้ผู้เรียนเกิดพฤติกรรมที่พึงประสงค์มากขึ้น ประเภทการเสริมแรง : มี 2 ประเภท  1. การเสริมแรงทางบวก  2. การเสริมแรงทางลบ
  • 22. การเสริมแรง เทคนิคการเสริมแรง :  1. การเสริมแรงด้วยวาจา  2. การเสริมแรงด้วยการให้ผู้เรียนเห็นความก้าวหน้าของตน  3. การเสริมแรงด้วยท่าทาง  4. การเสริมแรงด้วยการให้รางวัลและสัญลักษณ์ต่างๆ
  • 23. การเสริมแรง / การเรียนการสอน การเสริมแรงมีบทบาทสาคัญยิ่งในการเรียนการสอน เป็นเสมือนหยดน้าอมฤตช่วยชุบชีวิตชโลมใจให้นักเรียนมี ชีวิตชีวา เกิดความรู้สึกดีๆ ขยันหมั่นเพียรในการเรียนเพิ่ม มากขึ้น ช่วยให้ผู้เรียนเกิดพฤติกรรมการเรียนรู้และประสบการณ์ที่ ถูกต้อง ผู้เรียนเกิดพฤติกรรมที่ครู โรงเรียน และสังคมต้องการ
  • 24. ความรู้สึกนึกคิดที่มีต่อตนเอง SELF - CONCEPT “ ความรักต้องเริ่มจากรักตัวเองก่อน  (เอื้ออาทร ห่วงใย เข้าใจ ยอมรับ )  ถ้าเราไม่มีความรักในตัวเอง เราก็ไม่สามารถแบ่งความรัก ให้ใครได้ ”
  • 25. ความรู้สึกนึกคิดที่มีต่อตนเอง หรือ อัตมโนทัศน์ SELF - CONCEPT  ความรู้สึกนึกคิดที่มีต่อตนเอง เป็นตัวกาหนดพฤติกรรมที่ แสดงออกของบุคคล  คนแต่ละคนจะแสดงพฤติกรรมเช่นไรนั้นขึ้นอยู่กับว่าเขามี ความรู้สึกนึกคิดที่มีต่อตนเองว่าเป็นอย่างไร  ครูจะต้องเข้าใจนักเรียน เข้าใจในพฤติกรรมของเขา มองสิ่งต่างๆให้เห็นอย่างที่เขาเห็นไม่ใช่มองสิ่งต่างๆอย่างที่ครูเห็น และควรเข้าใจเหตุผลในการกระทาของเขา
  • 26. ประเภทความรู้สึกนึกคิดที่มีต่อตนเอง มี 2 ประเภท  1. ตัวตนที่เป็นจริง (Real self – concept )  2. ตัวตนที่ต้องการเป็น (Idea self – concept ) บทบาทของครู : ครูควรที่จะพยายามช่วยให้ตัวตนที่เป็นจริง กับตัวตนที่ต้องการเป็นของเด็ก ให้มีความแตกต่างกันน้อย ที่สุด
  • 27. วิธีการพัฒนาความรู้สึกนึกคิดที่มีต่อตนเอง พรรณี ช.เจนจิต : เสนอการสร้างบรรยากาศเพื่อนาไปสู่การ พัฒนาอัตมโนทัศน์ในทางบวก 6 ประการ คือ  1. บรรยากาศที่ท้าทาย 2. บรรยากาศที่มีอิสระ  3. บรรยากาศที่มีความอบอุ่น  4. บรรยากาศที่มีการยอมรับนับถือ  5. บรรยากาศแห่งการควบคุม  6. บรรยากาศแห่งความสาเร็จ
  • 28. การสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน จุดมุ่งหมาย : ให้นักเรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ  เกิดทักษะ ความชานาญ และมีเจตคติที่ดี (Knowledge Understand Skill Attitude )  : นักเรียนมีความสุข – สนุก ในการเรียน  : การสอนของครูบรรลุเป้ าหมาย
  • 29. องค์ประกอบการสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน  1. บุคลิกภาพของครู : การแต่งกาย อารมณ์ขัน ท่าทาง น้าเสียง การใช้คาพูด  2. พฤติกรรมการสอนของครู : แบบประชาธิปไตย เปิดโอกาสให้ซักถาม ช่วยเหลือกัน  3. ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียน : ทากิจกรรมร่วมกัน  4. ปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับนักเรียน : มีโอกาส ทางาน ร่วมกันและช่วยเหลือกัน
  • 30. บรรยากาศที่ควรหลีกเลี่ยง  อย่าทาตัวเป็นครูระเบียบ ต้องทาอย่างโน้น อย่างนี้  อย่าทาตัวเป็นครูสาราญ คาดหวังอะไรไม่ได้  อย่าทาตัวเป็นครูวันลาหรือลาวัน ไม่ยอมมาโรงเรียน  อย่าทาตัวเป็นครูอานาจ บังคับ ขู่เข็ญ  (ดุ ด่า ตาหนิติเตียน บังคับ ข่มขู่ เยาะเย้ย ถากถาง เฉยๆ โกหก)
  • 31. การสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน  ใส่ความยิ้มแย้มแจ่มใส แทนที่ความบูดบึ้งบนใบหน้า  ใส่ความเป็นปิยวาจา แทนที่การกราดเกรี้ยวและดูหมิ่น  ใส่ความรู้สึกกระตือรือร้น แทนที่ความเชื่องช้าและเฉยเมย  ใส่อารมณ์ขัน แทนที่อารมณ์เครียด  ใส่น้าเสียงนุ่มนวล แทนที่น้าเสียงดุดัน  ใส่ความเอาใจใส่ดูแล แทนที่การปล่อยปละละเลย  ใส่ความยกย่องชมเชย แทนที่การตาหนิติเคียน
  • 32. การสร้างวินัยในชั้นเรียน ครูต้องยอมรับว่า  - พฤติกรรมทุกอย่างย่อมมีสาเหตุ ถ้าครูรู้สาเหตุของ ปัญหา ย่อมสามารถแก้ปัญหานั้นได้  - สาเหตุเดียวทาให้เกิดพฤติกรรมหลายอย่าง และ พฤติกรรมอย่างเดียวกันอาจมาจากหลายสาเหตุก็ได้
  • 33. นางสาว สมศรี ชั้น ปวช. 3 อกหัก (สาเหตุ) ส่งผลให้เกิดพฤติกรรม ดื่มสุรา หาหนังสือธรรมะอ่าน เข้าวัด ร้องไห้ ปรึกษาเพื่อน หาผู้ชายคนใหม่ชดเชย นางสาว สมศรี ชั้นปวช. 3 สอบตกชั้นปวช. 3 (สาเหตุ) อาจเกิดจาก อกหัก ขาดเรียนบ่อย ไม่ส่งการบ้าน ทาข้อสอบไม่ได้ เข้าสอบช้า ไม่ดูหนังสือ