SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 26
Downloaden Sie, um offline zu lesen
งานนาเสนอ
         เครื่องใช้ไฟฟ้า


รายวิชาวิทยาศาสตร์
จัดทาโดย
ด.ญ.   วรรณารัตน์ บุญวงศ์ เลขที่26
ด.ญ.   วราภรณ์         วงค์ราษฎร์ เลขที27 ่
ด.ญ.   วัชราภรณ์        ฟองฟู เลขที28       ่
ด.ญ.   ศิรพร
          ิ            สมเครือ เลขที29่
ด.ญ.   ศิวพร           หล่อวงค์ เลขที30 ่
            ชันมัธยมศึกษา ม.3/1
              ้
                 เสนอ
            ครู จิราภรณ์ ไชยมงคล
เครืองใช้ไฟฟ้าคือ อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้า
             ่
เป็นพลังงานรูปอื่น เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ไม่ว่าจะเป็น เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้ภายในบ้าน
ในสานักงาน ตลอดจนเครื่องมือ เครื่องจักร
ในโรงงานอุตสาหกรรม ล้วนแต่ต้องอาศัยพลังงานจากไฟฟ้าทั้งสิ้น
1.   เครืองใช้ไฟฟ้าที่ให้แสงสว่าง
         ่
2.   เครืองใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อน
           ่
3.   เครืองใช้ไฟฟ้าทีให้พลังงานกล
               ่      ่
4.   เครืองใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียง
             ่
เครืองใช้ไฟฟ้าที่ให้แสงสว่าง
                     ่
     อุปกรณ์ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานแสงสว่าง
คือหลอดไฟฟ้า หลอดไฟฟ้าที่ใช้ในบ้าน แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ดังนี้
1. หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา
 1.1 ไส้หลอด ทาด้วยโลหะที่มจุดหลอดเหลวสูง ทนความร้อนได้มาก
                             ี
 มีความทานสูง เช่น ทังสเตน
 1.2 หลอดแก้ว ทาจากแก้วที่ทนความร้อนได้ดี ไม่แตกง่าย สูบอากาศออกจนหมด
     ภายในบรรจุก๊าซไนโตรเจนและอาร์กอนเล็กน้อย ก๊าซชนิดนี้ทาปฏิกิริยา
          ยาก ช่วยป้องกันไม่ให้ไส้หลอดระเหิดไปจับที่หลอดแก้ว
หลักการทางานของหลอดไฟฟ้า

การที่หลอด ไฟฟ้าให้แสงสว่างได้เป็นไปตามหลักการดังนี้ เมื่อ
กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไส้หลอด ซึ่งมีความต้านทานสูง พลังงานไฟฟ้าจะ
เปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน ทาให้ไส้หลอดร้อนจัดจนเปล่งแสง
ออกมาได้ ซึ่งมีการเปลี่ยนรูปพลังงานดังนี้
พลังงานไฟฟ้า ----> พลังงานความร้อน ----> พลังงานแสง
2. หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์

      ส่วนประกอบของหลอดฟลูออเรสเซนต์มีดังนี้
               2.1 ตัวหลอด ภายในสูบอากาศออกจนหมดแล้วบรรจุ
ไอปรอทและก๊าซอาร์กอน เล็กน้อย ผิวด้านในของหลอดเรืองแสงฉาบ
ด้วยสารเรืองแสงชนิดต่างๆ แล้วแต่ความต้องการให้เรืองแสงเป็นสีใด
เช่น ถ้าต้องการให้เรืองแสงสีเขียว ต้องฉาบด้วยสารซิงค์ซลิเคต แสงสี
                                                      ิ
ขาวแกม ฟ้าฉาบด้วยมักเนเซียมทังสเตน แสงสีชมพูฉาบด้วยแคดเนียม
     บอเรต เป็นต้น
2.2 สตาร์ตเตอร์ ทาหน้าทีเป็นสวิตซ์ไฟฟ้าอัตโนมัติของ
                                          ่
วงจรโดยต่อขนานกับหลอด ทาด้วยหลอดแก้วภายในบรรจุกาซนีออนและ๊
แผ่นโลหะคู่ที่งอตัวได้เมื่อได้รับความร้อน เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านก๊าซนีออน
ก๊าซนีออนจะติดไฟเกิดความร้อนขึ้น ทาให้แผ่นโลหะคู่งอจนแตะติดกันทาให้
กลายเป็นวงจรปิดทาให้กระแสไฟฟ้าผ่านแผ่นโลหะได้ครบวงจร ก๊าซ
นีออนที่ติดไฟอยู่จะดับและเย็น
ลง แผ่นโลหะคู่จะแยกออกจากกันทาให้เกิดความต้านทานสูงขึ้นอย่างทันทีซึ่ง
ขณะเดียวกันกระแสไฟฟ้าจะผ่านไส้หลอดได้มากขึ้นทาให้ไส้หลอดร้อน
ขึ้นมาก ปรอทก็จะเป็นไอมากขึ้นจนพอที่นากระแสไฟฟ้าได้
หลักการทางานของหลอดเรืองแสง
         เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านไอปรอทจะคายพลังงานไฟฟ้าให้อะตอมไอ
ปรอท ทาให้อะตอมของไอปรอทอยู่ในสภาวะถูกกระตุ้น (excited state)
และอะตอมของปรอทจะคายพลังงานออกมาเพื่อลดระดับพลังงาน ในรูป
ของรังสีอัลตราไวโอเลต ซึ่งอยู่ในช่วงของแสงที่มองไม่เห็น เมื่อรังสีนี้กระทบ
สารเรืองแสงที่ฉาบไว้ที่ผิวหลอด สารเรืองแสงจะเปล่งแสงสีต่างๆตามชนิด
ของสารเรืองแสงที่ฉาบไว้ในหลอดนั้น
เครืองใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อน
                        ่
             อุปกรณ์ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน
       มีส่วนประกอบที่สาคัญ คือ
    1. ขดลวดความร้อน หรือแผ่นความร้อน มักทาจากโลหะผสมระหว่างนิเกิล
กับโครเมียม เรียกว่า นิโครม ซึงมีสมบัติคือมีจุดหลอมเหลวสูงมากจึงทนความร้อน
                                  ่
ได้สูงเมื่อมีความร้อนเกิดขึ้นมากๆจึงไม่ขาดและมีความต้านทานสูงมาก
      2. เทอร์โมสตาร์ท ทาหน้าที่ควบคุมอุณหภูมิไม่ให้ร้อนเกินไป มีส่วนประกอบ
เป็นโลหะต่างชนิดกัน 2 แผ่นมาประกบกัน เมื่อได้รับความร้อนจะขยายตัวได้ไม่
เท่ากัน โดยให้แผ่นโลหะที่ขยายตัวได้น้อย(เหล็ก)อยู่ด้านบน ส่วนโลหะที่จะขยายตัว
ได้มาก(ทองเหลือง)อยู่ด้านล่าง
เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านแผ่นโลหะทั้งสองมากขึ้นจะทาให้
     มีอุณหภูมิสงจนแผ่นโลหะทั้งสองซึ่งขยายตัวได้ต่างกันโลหะที่ขยายตัว
                 ู
    ได้มากจะขยายตัวโค้งงอ เป็นเหตุให้จุดสัมผัสแยกออกจากกัน
เกิดเป็นวงจรเปิด กระแสไฟฟ้าจึงไหลผ่านไม่ได้ และเมื่อแผ่นโลหะทั้งสองเย็นลง
ก็จะสัมผัสกันเหมือนเดิม เกิดเป็นวงจรปิด กระแสไฟฟ้าจึงไหลผ่านได้อีกครั้งหนึ่ง
หลักการทางาน
คือเมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดตัวนาที่มีความต้านทานสูงๆ ลวดตัวนานั้น
จะร้อน จนสามารถนาความร้อนออกไปใช้ประโยชน์ได้
เครืองใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล
                     ่
         อุปกรณ์ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล มีดังนี้
1.มอเตอร์ เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าทีเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงา
                                 ่
    กล ประกอบด้วย
ขดลวด ที่พันรอบแกนโลหะที่วางอยู่ ระหว่างขั้วแม่เหล็กโดยเมื่อผ่านกระแสไฟฟ้า
เข้าไปยังขดลวดที่อยู่ระหว่างขั้วแม่เหล็ก จะทาให้ขดลวดหมุนไปรอบแกน
และเมื่อสลับขั้วไฟฟ้า การหมุนของขดลวดจะหมุนกลับทิศทางเดิม
2. เครื่องควบคุมความเร็วของมอเตอร์ ทาได้โดย การเพิ่มหรือลดความต้านทาน
ให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้มากหรือน้อยภายในเครื่องใช้ไฟฟ้านั้น ซึ่งเป็นผล
                          ให้ความเร็ว ของการหมุนมอเตอร์เปลี่ยนไปจากเดิม
หลักการทางาน
           โดยอาศัยหลักการเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้า ด้วยอุปกรณ์
ที่เรียกว่า มอเตอร์ และ เครืองควบคุมความเร็ว ซึ่งเป็นอุปกรณ์หลัก
                              ่
ในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล ตัวอย่าง เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล
เช่น พัดลม เครื่องซักผ้า เป็นต้น
เครืองใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียง
                      ่
      อุปกรณ์ที่สาคัญในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง คือ
1. ไมโครโฟน เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานเสียงเป็นพลังงานไฟฟ้า
2. ลาโพง           เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง
3. เครืองรับวิทยุ เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง
       ่
โดยรับคลื่นวิทยุ จากสถานีส่งแล้วใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขยายสัญญาณเสียงที่มี
อยู่ในรูปของสัญญาณไฟฟ้าให้แรงขึ้นเมื่อผ่านสัญญาณไฟฟ้านี้ไปยังลาโพงจะ
ทาให้ลาโพงสั่นสะเทือนเปลี่ยนเป็นเสียงที่สามารถรับฟังได้ ดังแผนผัง

   เสาอากาศ           ขยายสัญญาณ             ลาโพง                  เสียง
                                        (รับคลื่นวิทยุ)
เครืองขยายเสียง คือ เครื่องใช้ไฟฟ้า ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็น
                  ่
         พลังงานเสียงโดยรับสัญญาณไฟฟ้าจากไมโครโฟน หัวเทป หรือจากเครื่องกาเนิด
สัญญาณไฟฟ้าจากเสียงต่างๆ มาขยายสัญญาณไฟฟ้าจนมีกาลังมากพอจึงส่งออกสู่ลาโพงเสียง

เสียง           ไมโครโฟน       สัญญาณไฟฟ้า             บันทึกเป็นสัญญาณแม่เหล็กลง
                                                           บนแถบบันทึกเสียง

             แผนผังการเปลี่ยนพลังงานของเครื่องบันทึกเสียงขณะบันทึก
เมื่อนาแถบบันทึกเสียงที่บันทึกได้มาเล่น สัญญาณแม่เหล็กจะถูก
         เปลี่ยนกลับ เป็นสัญญาณไฟฟ้า และสัญญาณนี้จะถูกขยายให้แรงขึ้นด้วยอุปกรณ์
   ไฟฟ้าจนทาให้ลาโพงสั่นสะเทือนเป็นเสียงขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ดังแผนผัง

สัญญาณแม่เหล็กจาก     สัญญาณไฟฟ้า      ขยายสัญญาณ     ลาโพง     เสียง
   แถบบันทึกเสียง

                แผนผังการเปลี่ยนพลังงานของเครื่องบันทึกเสียงขณะเล่น
วิธีการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า
แต่ละประเภทอย่าง
ประหยัด
เครืองใช้ไฟฟ้าที่ให้แสงสว่าง
        ่
-      เลือกใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าให้เหมาะสม
-       ปิดไฟบางบริเวณให้เร็วกว่าที่เคยปฏิบัติ
-       เลิกเปิดไฟทิ้งไว้เมื่อไม่มีคนอยู่ หรือเมื่อเลิกใช้งาน
-       ลดจานวนหลอดไฟในบริเวณที่อาศัยแสงธรรมชาติได้
-       เลิกใช้หลอดไฟที่ไม่ได้มาตรฐาน
-       หมั่นทาความสะอาดตัวหลอดไม่ให้มีฝุ่นละอองเกาะ
       เพราะจะทาให้ความสว่างลดน้อยลง
-  สารวจปรับเปลี่ยนอุปกรณ์ที่หมดอายุการใช้งาน
    หรือไม่ได้คณภาพ
               ุ
- บารุงรักษาอุปกรณ์อย่างสม่าเสมอ ตรวจสอบการ
   ทางานและความสว่าง
- หลอดไส้ใช้สาหรับบริเวณที่ต้องการปรับหรือหรี่แสง
    แต่ไม่ประหยัดพลังงาน
 - หลอดตะเกียบประหยัดพลังงานกว่า
    หลอดไส้
เครืองใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อน
                      ่
    วิธีใช้เตารีดไฟฟ้าให้ประหยัดพลังงาน
-       ควรรีดผ้าคราวละมากๆติดต่อกันจนเสร็จและควรเริ่มรีดผ้าบางๆก่อนในขณะ
        ที่เตารีดยังไม่ร้อนและก่อน
-       รีดเสร็จประมาณ 2-3นาที ให้ถอดปลั๊กออก
-      เมื่อไม่ได้ใช้งานควรถอดปลั๊กออกและก่อนจะเก็บควรทิ้งเตารีดให้เย็นก่อน
-       ควรระวังไม่ให้ความร้อนจากเตารีดสัมผัสสายไฟฟ้า
-       สายปลักของเตารีด-เปลือกสาย(ฉนวน) ต้องไม่เสื่อมสภาพหรือฉีกขาด
                ๊
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล
วิธใช้พดลมเพือประหยัดพลังงาน
   ี ั       ่
-        ควรใช้พัดลมตั้งพื้นหรือตั้งโต๊ะแทนพัดลมติดเพดานเพราะจะกินไฟ
         น้อยกว่าพัดลมติดเพดานประมาณครึ่งหนึ่ง
-       อย่าเปิดพัดลมทิ้งไว้เมื่อไม่มีคนอยู่
-       เมื่อเลิกใช้ควรปิดพัดลมและถอดปลั๊กออก
-       ปรับระดับความเร็วลมพอสมควร
-       เลือกขนาดให้เหมาะสมกับการใช้งาน
-       ควรเปิดหน้าต่างใช้ลมธรรมชาติแทนถ้าทาได้
วิธใช้เครื่องซักผ้าให้ประหยัดพลังงานและปลอดภัย
    ี
- เลือกขนาดให้เหมาะสมกับงานที่ใช้ ซักผ้าตามพิกัดของเครื่อง
  อย่าใส่ผ้าอัดแน่นเกินกาลังของเครื่อง
- การซักผ้าทีละ2-3 ชิ้นไม่เป็นการประหยัดและควรใช้น้าร้อนซักผ้าเมื่อจาเป็น
  เท่านั้น
- ซักผ้าแล้ว ไม่จาเป็นต้องใช้เครื่องอบผ้าแห้งด้วยไฟฟ้า ควรใช้วิธีการ
  ผึ่งลมหรือผึ่งแดด
- ต้องต่อสายดินและหมั่นตรวจสอบไฟรั่วด้วยไขควงลองไฟ
  อยู่เสมอ
เครืองใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียง
                ่
-   เลิกเปิดวิทยุเพียงเพื่อเป็นเพื่อนโดยไม่ได้สนใจฟัง
-   เลิกเปิดวิทยุคู่กับการเปิดดูโทรทัศน์
-   เลิกเสียบปลั๊กไว้เพื่อใช้ดูเวลา หากมีนาฬิกาอื่นๆ ใช้ดูเวลาอยู่แล้ว
-   เลิกปิดเครื่องโดยใช้รีโมทคอนโทรล ให้ปิดจากสวิตซ์ที่เครื่องแทน
เครื่องใช้ไฟฟ้า

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
Up To You's Toey
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าและประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าและประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้าและประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าและประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
Pleum Ps
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
Panupong Rongpan
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
Sarun Boonwong
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า3
เครื่องใช้ไฟฟ้า3เครื่องใช้ไฟฟ้า3
เครื่องใช้ไฟฟ้า3
SUPAPIT3033
 
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้างานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
Jirachaya_chumwong
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
0841766393
 
งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1
thanawan302
 
เรื่องประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่องประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าเรื่องประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่องประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ธนวัฒน์ ตุ้ยคำ
 
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้าหลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
Chanukid Chaisri
 
งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123
Chanukid Chaisri
 
งานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdfงานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdf
Panatsaya
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
1560100453451
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันเครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
Papungkorn
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
orohimaro
 
งานกลุ่ม 6 ม. 3/3
งานกลุ่ม 6 ม. 3/3งานกลุ่ม 6 ม. 3/3
งานกลุ่ม 6 ม. 3/3
orohimaro
 
งานนำเสนอ 1
งานนำเสนอ 1งานนำเสนอ 1
งานนำเสนอ 1
orohimaro
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
orohimaro
 
งานนำเสนอ 11
งานนำเสนอ 11งานนำเสนอ 11
งานนำเสนอ 11
orohimaro
 

Was ist angesagt? (20)

เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าและประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าและประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้าและประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าและประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า3
เครื่องใช้ไฟฟ้า3เครื่องใช้ไฟฟ้า3
เครื่องใช้ไฟฟ้า3
 
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้างานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
 
งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1
 
เรื่องประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่องประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าเรื่องประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่องประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้าหลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
 
งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123
 
งานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdfงานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdf
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันเครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
งานกลุ่ม 6 ม. 3/3
งานกลุ่ม 6 ม. 3/3งานกลุ่ม 6 ม. 3/3
งานกลุ่ม 6 ม. 3/3
 
Vvv
VvvVvv
Vvv
 
งานนำเสนอ 1
งานนำเสนอ 1งานนำเสนอ 1
งานนำเสนอ 1
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
งานนำเสนอ 11
งานนำเสนอ 11งานนำเสนอ 11
งานนำเสนอ 11
 

Andere mochten auch

Andere mochten auch (10)

ใบความรู้ การใช้พลังงานไฟฟ้าอย่างประหยัด ป.2+229+dltvscip2+55t2sci p02 f03-4...
ใบความรู้ การใช้พลังงานไฟฟ้าอย่างประหยัด  ป.2+229+dltvscip2+55t2sci p02 f03-4...ใบความรู้ การใช้พลังงานไฟฟ้าอย่างประหยัด  ป.2+229+dltvscip2+55t2sci p02 f03-4...
ใบความรู้ การใช้พลังงานไฟฟ้าอย่างประหยัด ป.2+229+dltvscip2+55t2sci p02 f03-4...
 
108 วิธี ประหยัดพลังงาน
108 วิธี ประหยัดพลังงาน108 วิธี ประหยัดพลังงาน
108 วิธี ประหยัดพลังงาน
 
ใบความรู้+ใช้ไฟฟ้าประหยัด+ป.3+245+dltvscip3+55t2sci p03 f07-1page
ใบความรู้+ใช้ไฟฟ้าประหยัด+ป.3+245+dltvscip3+55t2sci p03 f07-1pageใบความรู้+ใช้ไฟฟ้าประหยัด+ป.3+245+dltvscip3+55t2sci p03 f07-1page
ใบความรู้+ใช้ไฟฟ้าประหยัด+ป.3+245+dltvscip3+55t2sci p03 f07-1page
 
ใบความรู้+วิธีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค้า+ป.3+241+dltvscip3+54sc p03 ...
 ใบความรู้+วิธีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค้า+ป.3+241+dltvscip3+54sc p03 ... ใบความรู้+วิธีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค้า+ป.3+241+dltvscip3+54sc p03 ...
ใบความรู้+วิธีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค้า+ป.3+241+dltvscip3+54sc p03 ...
 
ใบความรู้+ใช้ไฟฟ้าประหยัด2+ป.3+245+dltvscip3+55t2sci p03 f08-1page
ใบความรู้+ใช้ไฟฟ้าประหยัด2+ป.3+245+dltvscip3+55t2sci p03 f08-1pageใบความรู้+ใช้ไฟฟ้าประหยัด2+ป.3+245+dltvscip3+55t2sci p03 f08-1page
ใบความรู้+ใช้ไฟฟ้าประหยัด2+ป.3+245+dltvscip3+55t2sci p03 f08-1page
 
ใบความรู้+วิธีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค้า+ป.3+241+dltvscip3+54sc p03 ...
 ใบความรู้+วิธีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค้า+ป.3+241+dltvscip3+54sc p03 ... ใบความรู้+วิธีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค้า+ป.3+241+dltvscip3+54sc p03 ...
ใบความรู้+วิธีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค้า+ป.3+241+dltvscip3+54sc p03 ...
 
Projectโดราเอม่อนประหยัดพลังงาน
Projectโดราเอม่อนประหยัดพลังงานProjectโดราเอม่อนประหยัดพลังงาน
Projectโดราเอม่อนประหยัดพลังงาน
 
สาระวิธีประหยัดไฟ
สาระวิธีประหยัดไฟสาระวิธีประหยัดไฟ
สาระวิธีประหยัดไฟ
 
ใบความรู้+ใช้ไฟฟ้าประหยัด+ป.3+245+dltvscip3+55t2sci p03 f07-4page
ใบความรู้+ใช้ไฟฟ้าประหยัด+ป.3+245+dltvscip3+55t2sci p03 f07-4pageใบความรู้+ใช้ไฟฟ้าประหยัด+ป.3+245+dltvscip3+55t2sci p03 f07-4page
ใบความรู้+ใช้ไฟฟ้าประหยัด+ป.3+245+dltvscip3+55t2sci p03 f07-4page
 
ใบความรู้+ใช้ไฟฟ้าประหยัด2+ป.3+245+dltvscip3+55t2sci p03 f08-4page
ใบความรู้+ใช้ไฟฟ้าประหยัด2+ป.3+245+dltvscip3+55t2sci p03 f08-4pageใบความรู้+ใช้ไฟฟ้าประหยัด2+ป.3+245+dltvscip3+55t2sci p03 f08-4page
ใบความรู้+ใช้ไฟฟ้าประหยัด2+ป.3+245+dltvscip3+55t2sci p03 f08-4page
 

Ähnlich wie เครื่องใช้ไฟฟ้า

สำเร็จ
สำเร็จสำเร็จ
สำเร็จ
Panatsaya
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
1560100453451
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
Kanoknat Kaosim
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2
thanawan302
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2
thanawan302
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
1560100453451
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
1560100453451
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
1560100453451
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
1560100453451
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
Panatsaya Jakkheaw
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
Boyz Bill
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
jaturong2012
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
jaturong20155
 
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้างานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
Phachakorn Khrueapuk
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
Powergift_vip
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
Powergift_vip
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)
ying08932
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
thanawan302
 

Ähnlich wie เครื่องใช้ไฟฟ้า (20)

สำเร็จ
สำเร็จสำเร็จ
สำเร็จ
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้างานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 

เครื่องใช้ไฟฟ้า

  • 1. งานนาเสนอ เครื่องใช้ไฟฟ้า รายวิชาวิทยาศาสตร์
  • 2. จัดทาโดย ด.ญ. วรรณารัตน์ บุญวงศ์ เลขที่26 ด.ญ. วราภรณ์ วงค์ราษฎร์ เลขที27 ่ ด.ญ. วัชราภรณ์ ฟองฟู เลขที28 ่ ด.ญ. ศิรพร ิ สมเครือ เลขที29่ ด.ญ. ศิวพร หล่อวงค์ เลขที30 ่ ชันมัธยมศึกษา ม.3/1 ้ เสนอ ครู จิราภรณ์ ไชยมงคล
  • 3. เครืองใช้ไฟฟ้าคือ อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้า ่ เป็นพลังงานรูปอื่น เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ไม่ว่าจะเป็น เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้ภายในบ้าน ในสานักงาน ตลอดจนเครื่องมือ เครื่องจักร ในโรงงานอุตสาหกรรม ล้วนแต่ต้องอาศัยพลังงานจากไฟฟ้าทั้งสิ้น
  • 4.
  • 5. 1. เครืองใช้ไฟฟ้าที่ให้แสงสว่าง ่ 2. เครืองใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อน ่ 3. เครืองใช้ไฟฟ้าทีให้พลังงานกล ่ ่ 4. เครืองใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียง ่
  • 6.
  • 7. เครืองใช้ไฟฟ้าที่ให้แสงสว่าง ่ อุปกรณ์ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานแสงสว่าง คือหลอดไฟฟ้า หลอดไฟฟ้าที่ใช้ในบ้าน แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ดังนี้ 1. หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา 1.1 ไส้หลอด ทาด้วยโลหะที่มจุดหลอดเหลวสูง ทนความร้อนได้มาก ี มีความทานสูง เช่น ทังสเตน 1.2 หลอดแก้ว ทาจากแก้วที่ทนความร้อนได้ดี ไม่แตกง่าย สูบอากาศออกจนหมด ภายในบรรจุก๊าซไนโตรเจนและอาร์กอนเล็กน้อย ก๊าซชนิดนี้ทาปฏิกิริยา ยาก ช่วยป้องกันไม่ให้ไส้หลอดระเหิดไปจับที่หลอดแก้ว
  • 8. หลักการทางานของหลอดไฟฟ้า การที่หลอด ไฟฟ้าให้แสงสว่างได้เป็นไปตามหลักการดังนี้ เมื่อ กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไส้หลอด ซึ่งมีความต้านทานสูง พลังงานไฟฟ้าจะ เปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน ทาให้ไส้หลอดร้อนจัดจนเปล่งแสง ออกมาได้ ซึ่งมีการเปลี่ยนรูปพลังงานดังนี้ พลังงานไฟฟ้า ----> พลังงานความร้อน ----> พลังงานแสง
  • 9. 2. หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์ ส่วนประกอบของหลอดฟลูออเรสเซนต์มีดังนี้ 2.1 ตัวหลอด ภายในสูบอากาศออกจนหมดแล้วบรรจุ ไอปรอทและก๊าซอาร์กอน เล็กน้อย ผิวด้านในของหลอดเรืองแสงฉาบ ด้วยสารเรืองแสงชนิดต่างๆ แล้วแต่ความต้องการให้เรืองแสงเป็นสีใด เช่น ถ้าต้องการให้เรืองแสงสีเขียว ต้องฉาบด้วยสารซิงค์ซลิเคต แสงสี ิ ขาวแกม ฟ้าฉาบด้วยมักเนเซียมทังสเตน แสงสีชมพูฉาบด้วยแคดเนียม บอเรต เป็นต้น
  • 10. 2.2 สตาร์ตเตอร์ ทาหน้าทีเป็นสวิตซ์ไฟฟ้าอัตโนมัติของ ่ วงจรโดยต่อขนานกับหลอด ทาด้วยหลอดแก้วภายในบรรจุกาซนีออนและ๊ แผ่นโลหะคู่ที่งอตัวได้เมื่อได้รับความร้อน เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านก๊าซนีออน ก๊าซนีออนจะติดไฟเกิดความร้อนขึ้น ทาให้แผ่นโลหะคู่งอจนแตะติดกันทาให้ กลายเป็นวงจรปิดทาให้กระแสไฟฟ้าผ่านแผ่นโลหะได้ครบวงจร ก๊าซ นีออนที่ติดไฟอยู่จะดับและเย็น ลง แผ่นโลหะคู่จะแยกออกจากกันทาให้เกิดความต้านทานสูงขึ้นอย่างทันทีซึ่ง ขณะเดียวกันกระแสไฟฟ้าจะผ่านไส้หลอดได้มากขึ้นทาให้ไส้หลอดร้อน ขึ้นมาก ปรอทก็จะเป็นไอมากขึ้นจนพอที่นากระแสไฟฟ้าได้
  • 11. หลักการทางานของหลอดเรืองแสง เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านไอปรอทจะคายพลังงานไฟฟ้าให้อะตอมไอ ปรอท ทาให้อะตอมของไอปรอทอยู่ในสภาวะถูกกระตุ้น (excited state) และอะตอมของปรอทจะคายพลังงานออกมาเพื่อลดระดับพลังงาน ในรูป ของรังสีอัลตราไวโอเลต ซึ่งอยู่ในช่วงของแสงที่มองไม่เห็น เมื่อรังสีนี้กระทบ สารเรืองแสงที่ฉาบไว้ที่ผิวหลอด สารเรืองแสงจะเปล่งแสงสีต่างๆตามชนิด ของสารเรืองแสงที่ฉาบไว้ในหลอดนั้น
  • 12. เครืองใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อน ่ อุปกรณ์ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน มีส่วนประกอบที่สาคัญ คือ 1. ขดลวดความร้อน หรือแผ่นความร้อน มักทาจากโลหะผสมระหว่างนิเกิล กับโครเมียม เรียกว่า นิโครม ซึงมีสมบัติคือมีจุดหลอมเหลวสูงมากจึงทนความร้อน ่ ได้สูงเมื่อมีความร้อนเกิดขึ้นมากๆจึงไม่ขาดและมีความต้านทานสูงมาก 2. เทอร์โมสตาร์ท ทาหน้าที่ควบคุมอุณหภูมิไม่ให้ร้อนเกินไป มีส่วนประกอบ เป็นโลหะต่างชนิดกัน 2 แผ่นมาประกบกัน เมื่อได้รับความร้อนจะขยายตัวได้ไม่ เท่ากัน โดยให้แผ่นโลหะที่ขยายตัวได้น้อย(เหล็ก)อยู่ด้านบน ส่วนโลหะที่จะขยายตัว ได้มาก(ทองเหลือง)อยู่ด้านล่าง
  • 13. เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านแผ่นโลหะทั้งสองมากขึ้นจะทาให้ มีอุณหภูมิสงจนแผ่นโลหะทั้งสองซึ่งขยายตัวได้ต่างกันโลหะที่ขยายตัว ู ได้มากจะขยายตัวโค้งงอ เป็นเหตุให้จุดสัมผัสแยกออกจากกัน เกิดเป็นวงจรเปิด กระแสไฟฟ้าจึงไหลผ่านไม่ได้ และเมื่อแผ่นโลหะทั้งสองเย็นลง ก็จะสัมผัสกันเหมือนเดิม เกิดเป็นวงจรปิด กระแสไฟฟ้าจึงไหลผ่านได้อีกครั้งหนึ่ง หลักการทางาน คือเมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดตัวนาที่มีความต้านทานสูงๆ ลวดตัวนานั้น จะร้อน จนสามารถนาความร้อนออกไปใช้ประโยชน์ได้
  • 14. เครืองใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล ่ อุปกรณ์ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล มีดังนี้ 1.มอเตอร์ เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าทีเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงา ่ กล ประกอบด้วย ขดลวด ที่พันรอบแกนโลหะที่วางอยู่ ระหว่างขั้วแม่เหล็กโดยเมื่อผ่านกระแสไฟฟ้า เข้าไปยังขดลวดที่อยู่ระหว่างขั้วแม่เหล็ก จะทาให้ขดลวดหมุนไปรอบแกน และเมื่อสลับขั้วไฟฟ้า การหมุนของขดลวดจะหมุนกลับทิศทางเดิม 2. เครื่องควบคุมความเร็วของมอเตอร์ ทาได้โดย การเพิ่มหรือลดความต้านทาน ให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้มากหรือน้อยภายในเครื่องใช้ไฟฟ้านั้น ซึ่งเป็นผล ให้ความเร็ว ของการหมุนมอเตอร์เปลี่ยนไปจากเดิม
  • 15. หลักการทางาน โดยอาศัยหลักการเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้า ด้วยอุปกรณ์ ที่เรียกว่า มอเตอร์ และ เครืองควบคุมความเร็ว ซึ่งเป็นอุปกรณ์หลัก ่ ในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล ตัวอย่าง เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล เช่น พัดลม เครื่องซักผ้า เป็นต้น
  • 16. เครืองใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียง ่ อุปกรณ์ที่สาคัญในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง คือ 1. ไมโครโฟน เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานเสียงเป็นพลังงานไฟฟ้า 2. ลาโพง เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง 3. เครืองรับวิทยุ เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง ่ โดยรับคลื่นวิทยุ จากสถานีส่งแล้วใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขยายสัญญาณเสียงที่มี อยู่ในรูปของสัญญาณไฟฟ้าให้แรงขึ้นเมื่อผ่านสัญญาณไฟฟ้านี้ไปยังลาโพงจะ ทาให้ลาโพงสั่นสะเทือนเปลี่ยนเป็นเสียงที่สามารถรับฟังได้ ดังแผนผัง เสาอากาศ ขยายสัญญาณ ลาโพง เสียง (รับคลื่นวิทยุ)
  • 17. เครืองขยายเสียง คือ เครื่องใช้ไฟฟ้า ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็น ่ พลังงานเสียงโดยรับสัญญาณไฟฟ้าจากไมโครโฟน หัวเทป หรือจากเครื่องกาเนิด สัญญาณไฟฟ้าจากเสียงต่างๆ มาขยายสัญญาณไฟฟ้าจนมีกาลังมากพอจึงส่งออกสู่ลาโพงเสียง เสียง ไมโครโฟน สัญญาณไฟฟ้า บันทึกเป็นสัญญาณแม่เหล็กลง บนแถบบันทึกเสียง แผนผังการเปลี่ยนพลังงานของเครื่องบันทึกเสียงขณะบันทึก
  • 18. เมื่อนาแถบบันทึกเสียงที่บันทึกได้มาเล่น สัญญาณแม่เหล็กจะถูก เปลี่ยนกลับ เป็นสัญญาณไฟฟ้า และสัญญาณนี้จะถูกขยายให้แรงขึ้นด้วยอุปกรณ์ ไฟฟ้าจนทาให้ลาโพงสั่นสะเทือนเป็นเสียงขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ดังแผนผัง สัญญาณแม่เหล็กจาก สัญญาณไฟฟ้า ขยายสัญญาณ ลาโพง เสียง แถบบันทึกเสียง แผนผังการเปลี่ยนพลังงานของเครื่องบันทึกเสียงขณะเล่น
  • 20. เครืองใช้ไฟฟ้าที่ให้แสงสว่าง ่ - เลือกใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าให้เหมาะสม - ปิดไฟบางบริเวณให้เร็วกว่าที่เคยปฏิบัติ - เลิกเปิดไฟทิ้งไว้เมื่อไม่มีคนอยู่ หรือเมื่อเลิกใช้งาน - ลดจานวนหลอดไฟในบริเวณที่อาศัยแสงธรรมชาติได้ - เลิกใช้หลอดไฟที่ไม่ได้มาตรฐาน - หมั่นทาความสะอาดตัวหลอดไม่ให้มีฝุ่นละอองเกาะ เพราะจะทาให้ความสว่างลดน้อยลง
  • 21. - สารวจปรับเปลี่ยนอุปกรณ์ที่หมดอายุการใช้งาน หรือไม่ได้คณภาพ ุ - บารุงรักษาอุปกรณ์อย่างสม่าเสมอ ตรวจสอบการ ทางานและความสว่าง - หลอดไส้ใช้สาหรับบริเวณที่ต้องการปรับหรือหรี่แสง แต่ไม่ประหยัดพลังงาน - หลอดตะเกียบประหยัดพลังงานกว่า หลอดไส้
  • 22. เครืองใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อน ่ วิธีใช้เตารีดไฟฟ้าให้ประหยัดพลังงาน - ควรรีดผ้าคราวละมากๆติดต่อกันจนเสร็จและควรเริ่มรีดผ้าบางๆก่อนในขณะ ที่เตารีดยังไม่ร้อนและก่อน - รีดเสร็จประมาณ 2-3นาที ให้ถอดปลั๊กออก - เมื่อไม่ได้ใช้งานควรถอดปลั๊กออกและก่อนจะเก็บควรทิ้งเตารีดให้เย็นก่อน - ควรระวังไม่ให้ความร้อนจากเตารีดสัมผัสสายไฟฟ้า - สายปลักของเตารีด-เปลือกสาย(ฉนวน) ต้องไม่เสื่อมสภาพหรือฉีกขาด ๊
  • 23. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล วิธใช้พดลมเพือประหยัดพลังงาน ี ั ่ - ควรใช้พัดลมตั้งพื้นหรือตั้งโต๊ะแทนพัดลมติดเพดานเพราะจะกินไฟ น้อยกว่าพัดลมติดเพดานประมาณครึ่งหนึ่ง - อย่าเปิดพัดลมทิ้งไว้เมื่อไม่มีคนอยู่ - เมื่อเลิกใช้ควรปิดพัดลมและถอดปลั๊กออก - ปรับระดับความเร็วลมพอสมควร - เลือกขนาดให้เหมาะสมกับการใช้งาน - ควรเปิดหน้าต่างใช้ลมธรรมชาติแทนถ้าทาได้
  • 24. วิธใช้เครื่องซักผ้าให้ประหยัดพลังงานและปลอดภัย ี - เลือกขนาดให้เหมาะสมกับงานที่ใช้ ซักผ้าตามพิกัดของเครื่อง อย่าใส่ผ้าอัดแน่นเกินกาลังของเครื่อง - การซักผ้าทีละ2-3 ชิ้นไม่เป็นการประหยัดและควรใช้น้าร้อนซักผ้าเมื่อจาเป็น เท่านั้น - ซักผ้าแล้ว ไม่จาเป็นต้องใช้เครื่องอบผ้าแห้งด้วยไฟฟ้า ควรใช้วิธีการ ผึ่งลมหรือผึ่งแดด - ต้องต่อสายดินและหมั่นตรวจสอบไฟรั่วด้วยไขควงลองไฟ อยู่เสมอ
  • 25. เครืองใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียง ่ - เลิกเปิดวิทยุเพียงเพื่อเป็นเพื่อนโดยไม่ได้สนใจฟัง - เลิกเปิดวิทยุคู่กับการเปิดดูโทรทัศน์ - เลิกเสียบปลั๊กไว้เพื่อใช้ดูเวลา หากมีนาฬิกาอื่นๆ ใช้ดูเวลาอยู่แล้ว - เลิกปิดเครื่องโดยใช้รีโมทคอนโทรล ให้ปิดจากสวิตซ์ที่เครื่องแทน