SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 62
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1
ซอฟตแวรซอฟตแวร
SoftwareSoftware
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอรและเทคโนโลยี
สารสนเทศ
คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร
2
วัตถุประสงควัตถุประสงค
• นิสิตเขาใจความหมาย คุณสมบัติ และความสําคัญของซอฟตแวร
• นิสิตสามารถจําแนกประเภทของซอฟตแวรได
• นิสิตเขาใจหนาที่การทํางานของซอฟตแวรแตละประเภท
• นิสิตสามารถนําซอฟตแวรมาใชไดอยางถูกตองเหมาะสม
3
ความหมายของซอฟตแวรความหมายของซอฟตแวร
• ซอฟตแวร คือ ชุดคําสั่งที่ถูกสงไปประมวลผลที่เครื่องคอมพิวเตอรโดย
มีวัตถุประสงคอยางใดอยางหนึ่ง
• ซอฟตแวรถูกเรียกอีกอยางวา “โปรแกรมคอมพิวเตอร”
• โปรแกรมคอมพิวเตอรจะไปประกอบดวย คําสั่งจิ๋ว (Instruction) ที่ทํา
หนาที่เฉพาะดาน เชน การ LOAD ขอมูลจาก หนวยความจํา เปนตน
• คําสั่งจิ๋ว จะถูกสงไปที่หนวยประมวลผล CPU เพื่อทําการถอดรหัสคําสั่ง
และปฏิบัติงานตามคําสั่งที่ไดรับมา
10110111 10110111 10110111 10110111 CPU
32 bits Instruction
4
การนําซอฟตแวรมาใชงานการนําซอฟตแวรมาใชงาน
สื่อบันทึกขอมูล
10110111 10110111 10110111 10110111
10110111 10110111 10110111 10110111
10110111 10110111 10110111 10110111
10110111 10110111 10110111 10110111
10110111 10110111 10110111 10110111
CPU
ติดตั้ง
Load ไปหนวยความจํา
เมื่อตองการใชงาน
สงคําสั่งไปประมวลผล
การดําเนินการดานตางๆ
5
คุณสมบัติของซอฟตแวรคุณสมบัติของซอฟตแวร
• เปนโปรแกรมที่กําหนดไวแลว ใชสําหรับควบคุมการทํางานของ
ฮารดแวร
• ฮารดแวรไมสามารถทํางานไดนอกเหนือโปรแกรมที่ไดกําหนดไวได
• ซอฟตแวรสามารถ
– ติดตั้งใหมได (Installable)
– ถอนการติดตั้งได (Removable)
– สามารถเพิ่มเติมได (Upgradeable, Updatable)
• ดังนั้นซอฟตแวรจึงมีความยืดหยุนตอการนํามาประยุกตใชงานที่สูงกวา
ฮารดแวร
6
คุณสมบัติของซอฟตแวรคุณสมบัติของซอฟตแวร
• ซอฟตแวรที่ดีควรมีคุณสมบัติตอไปนี้
– มีความถูกตอง (Correctness)
– มีความนาเชื่อถือ (Reliability)
– เปนมิตรตอผูใช (User Friendliness) หมายถึง ใชงานงาย
– มีประสิทธิภาพ (Efficiency) เชน ทํางานไดเร็ว ใชทรัพยากรนอย
– มีความมั่นคงปลอดภัย (Security/Safety) เชน การเขารหัสขอมูลใหเปน
ความลับ
7
ประเภทของซอฟตแวรประเภทของซอฟตแวร
• ซอฟตแวรสามารถแบงเปนสองประเภทดังตอไปนี้
–ซอฟตแวรระบบ (System Software)
• ซอฟตแวรระบบ หมายถึง โปรแกรมที่ทําหนาที่ติดตอกับสวนประกอบ
ตาง ๆ ของฮารดแวรคอมพิวเตอรโดยตรง และอํานวยฟงกชันทํางาน
พื้นฐานตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับฮารดแวร
–ซอฟตแวรประยุกต (Application Software)
• ซอฟตแวรประยุกต หมายถึง โปรแกรมที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อตอบสนอง
ตอความตองการของผูใชในดานตางๆ เชน การจัดทําเอกสาร การทํางาน
เฉพาะดาน หรือ เพื่อความบันเทิง เปนตน
8
ตัวอยางของซอฟตแวรระบบตัวอยางของซอฟตแวรระบบ
• ระบบปฏิบัติการ (Operating System)
• ระบบควบคุมอุปกรณ (Device Driver)
• โปรแกรมอรรถประโยชน (Utilities Software)
• ไวรัสคอมพิวเตอร (Virus)
• ตัวแปลภาษา (Translator)
9
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ (Operating System)(Operating System)
• ระบบปฏิบัติการ เปนโปรแกรมที่ทํางานเปนตัวกลางระหวาง
ผูใชและฮารดแวรคอมพิวเตอร โดยมีวัตถุประสงคหลายดาน
ดังนี้
–จัดสภาพแวดลอมใหผูใชสามารถปฏิบัติงานบนเครื่องคอมพิวเตอร
ได
–ควบคุมและจัดการทรัพยากรตางๆ ใหถูกใชงานอยางมีประสิทธิภาพ
–ใหบริการกับผูใชและซอฟตแวรประยุกตในดานอื่นๆ
10
โครงสรางการใหบริการของระบบปฏิบัติการโครงสรางการใหบริการของระบบปฏิบัติการ
Hardware
Application
Device Driver
User
Operating System
11
ชนิดของระบบปฏิบัติการชนิดของระบบปฏิบัติการ
• ระบบปฏิบัติการแบบฝงตัว (Embedded OS) เปนระบบที่ถูกติดตั้งอยูใน
หนวยความจํารอม (ROM) โดยมากจะเปนระบบปฏิบัติการบนเครื่อง
คอมพิวเตอรแบบมือถือหรือเครื่องพีดีเอ ตัวอยาง เชน Windows CE,
Windows SE, Palm OS, Symbian เปนตน
• ระบบปฏิบัติการบนเครื่องเดี่ยว (Stand-alone OS) เปนระบบที่ใชกัน
ทั่วไปในเครื่องแบบเดสทอป และโนตบุก เชน Windows, Mac OS,
DOS เปนตน
• ระบบปฏิบัติการแบบเครือขาย (Network OS : NOS) เปนระบบที่ใชคอย
ควบคุมการทํางานของคอมพิวเตอรที่มีการเชื่อมตอกัน ตัวอยาง เชน
NetWare, Windows NT Server, Windows XP Server, UNIX เปนตน
12
หนาที่ของระบบปฏิบัติการหนาที่ของระบบปฏิบัติการ
• จัดสภาพแวดลอมใหผูใชสามารถปฏิบัติงานบนเครื่องคอมพิวเตอรได
โดยเตรียมสวนติดตอกับผูใช (User Interface) ไว
– ติดตอแบบพิมพคําสั่ง (Command-line Interface)
• ผูใชจะสงคําสั่งโดยการพิมพ
– ติดตอแบบกราฟฟกส (Graphic User Interface: GUI)
• ผูใชสงคําสั่งโดยการเลือกที่ภาพ (Icon, Menu, ปุมควบคุมตางๆ)
Command-line Interface)
Graphic User Interface: GUI
13
หนาที่ของระบบปฏิบัติการหนาที่ของระบบปฏิบัติการ
• จัดการทรัพยากร (Resources Management)
– จัดการการประมวลผล (Processes Management)
– การจัดการหนวยความจํา (Memory management)
– จัดการแฟมขอมูล (File Management)
– การจัดการอินพุต / เอาตพุต (I/O management)
– จัดการเกี่ยวกับระบบเครือขาย (Networking Management)
14
จัดการการประมวลผลจัดการการประมวลผล (Processes Management)(Processes Management)
• เนื่องจากซอฟตแวรถูกประมวลผลโดย CPU ดังนั้นระบบปฏิบัติการจึง
ทําหนาที่ในการสงโปรแกรมไปประมวลผล
• ระบบปฏิบัติการที่สงโปรแกรมไปประมวลผลไดครั้งละ 1 โปรแกรม
เรียกวา Single tasking OS
– จะตองออกจากโปรแกรมหนึ่งกอนจึงจะใชงานอีกโปรแกรมหนึ่งได
• ระบบปฏิบัติการที่สงโปรแกรมไปประมวลผลไดครั้งละมากกวา 1
โปรแกรม และใหโปรแกรมทํางานไปพรอมๆกันได เรียกวา
Multitasking OS
– สามารถเรียกใชงานโปรแกรมไดหลายโปรแกรมพรอมๆกัน
15
ตัวอยางการทํางานแบบตัวอยางการทํางานแบบ MultitaskingMultitasking
CPU
16
การจัดการหนวยความจําการจัดการหนวยความจํา ((MemoryMemory
managementmanagement))
• เนื่องจากโปรแกรมจะตองถูกโหลดไปยังหนวยความจํา ดังนั้นตองมีการ
จัดสรรพื้นที่หนวยความจําใหกับโปรแกรมตางๆ
RAM
Data
Windows
MS Word
Media Player
Internet Explorer
Program Segment
เก็บสวนคําสั่ง
Data Segment
เก็บสวนขอมูล
17
จัดการแฟมขอมูลจัดการแฟมขอมูล ((File ManagementFile Management))
• คือการจัดเก็บขอมูลอยูในรูปของแฟมขอมูล โดยใหมีการจัดเก็บ
แฟมขอมูลที่มีโครงสรางที่เปนระบบ จึงทําใหสะดวกและรวดเร็วตอ
การคนหา
18
การจัดการอินพุตการจัดการอินพุต // เอาตพุตเอาตพุต ((II//O managementO management))
• การติดตอกับอุปกรณเชื่อมตอตางๆ
• การรับคําสั่ง หรือ ขอมูลจาก อุปกรณนําเขา
• การสงผลลัพธไปแสดงผลที่อุปกรณแสดงผล
แสดงสถานะ การเชื่อมตอกับ USB
19
จัดการเกี่ยวกับระบบเครือขายจัดการเกี่ยวกับระบบเครือขาย ((Networking Management)Networking Management)
• จัดการดานการเชื่อมตอกับระบบเครือขาย
• จัดการในดานการรับสงขอมูลระหวางเครื่องคอมพิวเตอรในระบบเครือขาย
• จัดการดานการแบงปนทรัพยากรในเครือขาย (Resource sharing)
• อื่นๆ
20
หนาที่ของระบบปฏิบัติการหนาที่ของระบบปฏิบัติการ
• ใหบริการ (Services) กับผูใชและซอฟตแวรประยุกต ในดาน
อื่นๆ
–บริการดานการติดตอกับฮารดแวร
–บริการดานการเรียกใชงานโปรแกรมและขอมูล
–บริการการดานการควบคุมการประมวลผล เชน หยุดการประมวลผล
โปรแกรมเมื่อตองการ (Process Termination)
–บริการดานความปลอดภัย (Security)
–อื่นๆ
21
ตัวอยางของระบบปฏิบัติการตัวอยางของระบบปฏิบัติการ
• ระบบปฏิบัติการ DOS (Disk Operating System)
– เปนระบบปฏิบัติการแบบเกา มีลักษณะเปน Text mode ที่ทํางานแบบ Command-line
– การจัดการโปรแกรมเปนแบบ Single-tasking
– เริ่มตนจาก PC-DOS ซึ่งใชสําหรับเครื่อง IBM-PC แลวมาเปน MS-DOS
C:> dir *.*
22
ตัวอยางของระบบปฏิบัติการตัวอยางของระบบปฏิบัติการ Microsoft WindowsMicrosoft Windows
• ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows
– เปนระบบปฏิบัติการ ซึ่งพัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟท เปดตัวเมื่อป พ.ศ. 2528 (ค.ศ. 1985)
– ครองความนิยมในตลาดคอมพิวเตอรสวนบุคคล มากกวา 90% ของการใชงานทั่วโลก
– ติดตอกับผูใชแบบ Graphic User Interface และมีการประมวลผลโปรแกรมแบบ
Multitasking
23
วิวัฒนาการของระบบปฏิบัติการวิวัฒนาการของระบบปฏิบัติการ WindowsWindows
24
WindowsWindows สําหรับอุปกรณเคลื่อนที่แบบพกพาสําหรับอุปกรณเคลื่อนที่แบบพกพา
• นอกจากจะเปนระบบปฏิบัติการที่ทํางานบนเครื่องคอมพิวเตอรแลว ไมโครซอฟต
ยังพัฒนาระบบ Windows สําหรับอุปกรณพกพาดวย
• เชน Windows CE , Windows Mobile เปนตน
25
ตัวอยางของระบบปฏิบัติการตัวอยางของระบบปฏิบัติการ Mac OSMac OS
• Mac OS เปนระบบปฏิบัติการที่พัฒนาโดยบริษัท Apple สําหรับเครื่อง
คอมพิวเตอรในสายการผลิตที่เรียกวา Macintosh
• เปนตนแบบของระบบปฏิบัติการ GUI
Mac OS X v10.5- the latest release of Mac OS X.
Mac OS 1984
26
ตัวอยางของระบบปฏิบัติการตัวอยางของระบบปฏิบัติการ
• บริษัท Apple ไดพัฒนาระบบปฏิบัติการสําหรับอุปกรณพาเชนกัน
เรียกวา IPhone OS
27
ตัวอยางของระบบปฏิบัติการตัวอยางของระบบปฏิบัติการ OS2OS2
• OS2 เปนระบบปฏิบัติการที่พัฒนารวมกันระหวาง Microsoft และ
IBM เพื่อนํามาใชงานบนเครื่องของ IBM
• ปจจุบันหยุดการพัฒนาตอแลว
28
ตัวอยางของระบบปฏิบัติการตัวอยางของระบบปฏิบัติการ UnixUnix
• เปนระบบปฏิบัติการที่เกาแก (เริ่มตั้งแตป 1969) โดยบริษัท AT&T และมหาวิทยาลัย MIT
• เริ่มตนใชงานกับเครื่อง Mainframe , Minicomputer
• ระบบ Unix ถูกออกแบบใหทํางานแบบ Multitasking และ Multi-user
• Unix ถูกใชเปนตนแบบสําหรับระบบปฏิบัติการในปจจุบันเชน Solaris, BSD และ Linux เปน
ตน
29
ระบบปฏิบัติการแบบระบบปฏิบัติการแบบ Open SourceOpen Source
• มีลักษณะ Open-source software
– สามารถ Download ไฟลโปรแกรม และไฟลตนฉบับไดฟรี
– สามารถเปลี่ยนแปลงแกไขตนฉบับไดตามความตองการ
– สามารถแจกจายไปใหผูอื่นโดยไมตองขออนุญาต
– ขอจํากัดคือ เมื่อแกไขสวนใด ตองประกาศใหผูอื่นทราบดวย
• ระบบปฏิบัติการที่เปน Open Source
– Linux, FreeBSD เปนตน
– ใชรวมกับซอฟตแวรฟรีอื่นๆ
30
ระบบควบคุมอุปกรณระบบควบคุมอุปกรณ ((Device DriverDevice Driver))
• ระบบควบคุมอุปกรณ (Device Driver) คือซอฟตแวรที่พัฒนาขึ้นเพื่อใชในการควบคุมอุปกรณ
ตอพวง
• อุปกรณตอพวงประเภทเดียวกัน อาจถูกออกแบบและพัฒนามาแตกตางกัน (ตางบริษัทผูผลิต) จึง
จําเปนที่จะตองมีระบบควบคุมที่แตกตางกัน
• ถาระบบปฏิบัติการไมมีระบบควบคุมอุปกรณเหลานั้น จําเปนตองติดตั้งระบบควบคุมอุปกรณ
พิเศษเพิ่ม (ปกติผูผลิตอุปกรณจะเตรียมระบบควบคุมไวใหอยูแลว)
• เชน ระบบควบคุมของ WebCam ระบบควบคุมของเครื่องพิมพ เปนตน
Webcam Driver
OS
Application
31
โปรแกรมอรรถประโยชนโปรแกรมอรรถประโยชน (Utilities)(Utilities)
• โปรแกรมอรรถประโยชน เปนโปรแกรมที่ทํางานบนระบบปฏิบัติการ ที่ชวยเสริมใหการใชงาน
ระบบปฏิบัติการ มีประสิทธิภาพ และสะดวกมากยิ่งขึ้น
• ยูทิลิตี้สําหรับระบบปฏิบัติการ
– ประเภทการจัดการไฟล (File manager)
– ประเภทกูคืนไฟล (File Recover)
– ประเภทการถอนโปรแกรม (Uninstaller)
– ประเภทการสแกนดิสก (Disk Scanner)
– ประเภทการจัดพื้นที่เก็บขอมูล (Disk Defragmenter)
– ประเภทรักษาหนาจอ (Screen Saver)
– อื่นๆ
• ยูทิลิตี้อื่นๆ
– โปรแกรมปองกันไวรัส (Anti Virus Program)
– โปรแกรมไฟรวอลล (Firewall)
– โปรแกรมบีบอัดไฟล (File Compression Utility)
32
ไวรัสคอมพิวเตอรไวรัสคอมพิวเตอร (Computer Virus)(Computer Virus)
• ไวรัส คือ โปรแกรมคอมพิวเตอรที่บุกรุกเขาไปในเครื่องคอมพิวเตอรโดยไมไดรับความยินยอม
จากผูใช สวนมากมักจะมีประสงครายและสรางความเสียหายใหกับระบบของเครื่อง
คอมพิวเตอร
• ไวรัส สามารถทําสําเนาของตัวเองเพื่อแพรออกไปโดยการสอดแทรกตัวสําเนาไปในรหัส
คอมพิวเตอรสวนที่สามารถปฏิบัติการไดหรือขอมูลเอกสาร
• ไวรัส โดยทั่วไปจะไมสงผลกอใหเกิดความเสียหายตอฮารดแวรโดยตรง แตจะทําความเสียหาย
ตอซอฟตแวร และ ขอมูล
• ไวรัส บางประเภทอาจไมสรางความเสียหาย แตอาจเพียงสรางความรําคาญตอนใชงานเทานั้น
33
ประเภทของไวรัสคอมพิวเตอรประเภทของไวรัสคอมพิวเตอร
• บูตไวรัส (boot virus) คือไวรัสคอมพิวเตอรที่แพรเขาสูเปาหมายในระหวางเริ่มทําการบูตเครื่อง มักติดตอกันผานสื่อ
บันทึกขอมูล
• ไฟลไวรัส (file virus) ใชเรียกไวรัสที่ติดไฟลโปรแกรม เชนโปรแกรมที่ดาวนโหลดจากอินเทอรเน็ต นามสกุล.exe
โปรแกรมประเภทแชรแวรเปนตน
• มาโครไวรัส (macro virus) คือไวรัสที่ติดไฟลเอกสารชนิดตางๆ ซึ่งมีความสามารถในการใสคําสั่งมาโครสําหรับ
ทํางานอัตโนมัติในไฟลเอกสารดวย ตัวอยางเอกสารที่สามารถติดไวรัสได เชน ไฟลไมโครซอฟทเวิรด
ไมโครซอฟทเอ็กเซล เปนตน
• หนอน (Worm) เปนรูปแบบหนึ่งของไวรัส มีความสามารถในการทําลายระบบในเครื่องคอมพิวเตอรสูงที่สุดใน
บรรดาไวรัสทั้งหมด สามารถกระจายตัวไดรวดเร็ว ผานทางระบบอินเทอรเน็ต ซึ่งสาเหตุที่เรียกวาหนอนนั้น คงจะ
เปนลักษณะของการกระจายและการทําลาย ที่คลายกับหนอนกินผลไม ที่สามารถกระจายตัวไดมากมาย รวดเร็ว
และเมื่อยิ่งเพิ่มจํานวนมากขึ้น ระดับการทําลายลางยิ่งสูงขึ้น
• มาโทรจัน (Trojan) คือโปรแกรมจําพวกหนึ่งที่ถูกออกแบบขึ้นมาเพื่อแอบแฝง กระทําการบางอยาง ในเครื่องของ
เราจากผูที่ไมหวังดี ซึ่งเราอาจจะรับมาโดยไมรูตัวจาก ecard email หรือ โปรแกรมที่ download มา
• ซอฟตแวรสอดแนม (spying software) หรือ สปายแวร (spyware) หมายถึง ประเภทซอฟตแวรที่ออกแบบเพื่อ
สังเกตการณหรือดักจับขอมูล หรือควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร โดยที่ผูใชไมรับทราบวาไดติดตั้งเอาไว หรือผูใชไม
ยอมรับ ซึ่งสวนใหญแลวเพื่อสรางผลประโยชนแกผูอื่น
34
การปองกันและแกไขไวรัสการปองกันและแกไขไวรัส
• โปรแกรมปองกันไวรัส (Antivirus software) เปนโปรแกรมที่สรางขึ้น
เพื่อปองกันและกําจัดไวรัสคอมพิวเตอร
35
โปรแกรมแปลภาษาโปรแกรมแปลภาษา (Translator)(Translator)
• ใชสําหรับแปลภาษาโปรแกรม เปน รหัสภาษาเครื่อง (0/1)
• ตัวแปลภาษาจะตองทราบรหัสคําสั่งของเครื่องแตละชนิด
Translator
If (I>10) {
printf(“%d”,i);
}else{
printf(“Less than 10”)
}
Programming language
00000010
11100011
11001100
10101110
11001111
Machine code
36
ประเภทของตัวแปลภาษาประเภทของตัวแปลภาษา
• อินเตอรพรีเตอร (Interpreter)
– อานประโยคคําสั่งจาก Source program โดยตรงทีละบรรทัด แลวทํางานตามคําสั่งที่อานมานั้น
ทันที
– ไมมีการตรวจความถูกตองของโปรแกรมทั้งหมดกอน
– ถามี Error เกิดขึ้นที่คําสั่งใดของโปรแกรม จะหยุดการทํางานทันที
• คอมไพลเลอร (Compiler)
– แปลงจาก Source program เปน Target program
– Compiler จะตรวจสอบ Source program ทั้งหมดวามีการเขียน ไวยกรณไวถูกตองหรือไม
– ถา Source program ทั้งหมดที่เขียนไวมีไวยกรณ ที่ถูกตองจึงจะทําการสราง Target program
(Machine code)
– Target program จะถูกนําไปใชเปนชุดคําสั่ง
37
CPU
การทํางานของการทํางานของอินเตอรพอินเตอรพรีรีเตอรเตอร ((InterpreterInterpreter))
Command1
Command2
Command3 (Error)
Command4
Command5
Command6
Command1
Command2
Command3 (Error)
Command4
Command5
Command6
Interpreter
101110001
101110001
stop
Command3 เปนคําสั่งที่มีขอผิดพลาด เชน อาจเขียนคําสั่งผิดเปนตน
โปรแกรมตนฉบับ (Source Program)
38
การทํางานของการทํางานของคอมไพลคอมไพลเลอรเลอร ((CompilerCompiler))
Command1
Command2
Command3 (Error)
Command4
Command5
Command6
Command1
Command2
Command3 (Error)
Command4
Command5
Command6
Compiler
รายงานขอผิดพลาด
* พบขอผิดพลาดที่บรรทัดที่ 3
โปรแกรมตนฉบับ (Source Program)
39
การทํางานของการทํางานของคอมไพลคอมไพลเลอรเลอร ((CompilerCompiler))
Command1
Command2
Command3
Command4
Command5
Command6
Command1
Command2
Command3
Command4
Command5
Command6
Compiler
ไมมีขอผิดพลาด
CPU
โปรแกรมตนฉบับ (Source Program)
10110011
11100110
01110111
10110011
11100110
01110111
10110011
11100110
01110111
10110011
11100110
01110111
โปรแกรมเปาหมาย (Target Program)
40
ซอฟตแวรประยุกตซอฟตแวรประยุกต (Application Software)(Application Software)
• ซอฟตแวรประยุกต คือโปรแกรมที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อนํามาใชงานตอ
ความตองการหรือวัตถุประสงคที่เฉพาะอยางใดอยางหนึ่ง
• ซอฟตแวรประยุกตถูกนํามาใชงาน จากระดับผูใชทั่วไปจนถึงองคกร
ขนาดใหญ
• ประเภทของซอฟตแวรประยุกต
– ซอฟตแวรที่สั่งทําเฉพาะ (Special purpose software/ Custom-built software)
– ซอฟตแวรสําหรับงานทั่วไป (General purpose software/ Package software)
41
ซอฟตแวรที่สั่งทําเฉพาะซอฟตแวรที่สั่งทําเฉพาะ ((CustomCustom--built softwarebuilt software))
• ปกติจะหมายถึง ซอฟตแวรที่ถูก
สั่งใหพัฒนาเพื่อองคกรใดองคกร
หนึ่ง สําหรับทํางานเฉพาะดาน
ขององคกรนั้นๆ เชน ธนาคาร
มหาวิทยาลัย เปนตน
• ผูพัฒนาโปรแกรมตองเขาไปศึกษา
รูปแบบการดําเนินงาน หรือ
ความตองการขององคกรนั้นๆ
เพื่อจัดทําซอฟตแวรขึ้น
42
ซอฟตแวรสําหรับงานทั่วไปซอฟตแวรสําหรับงานทั่วไป
((General purpose software/ Package softwareGeneral purpose software/ Package software))
• เปนซอฟตแวรที่พัฒนาขึ้น เพื่อขายหรือ
แจกจายใหกับผูใชทั่วไป ไมเจาะจงวาเปนราย
ใดรายหนึ่ง
• ซอฟตแวรแตละประเภทจะมีหนาที่การทํางาน
เฉพาะดาน ตามวัตถุประสงคการใชงานของแต
ละประเภท
– เชน งานจัดทําเอกสาร งานกราฟฟกส เปนตน
• สามารถซื้อไดจากตัวแทนจําหนาย หรือรานคา
ทั่วไป หรือ download ไดจาก
อินเตอรเน็ต
43
โปรแกรมประมวลคําโปรแกรมประมวลคํา (Word Processing Program)(Word Processing Program)
• โปรแกรมประมวลคํา เปนซอฟตแวรประยุกตสําหรับงานจัดทําเอกสารเปนหลัก
• โปรแกรมสามรถจัดรูปแบบของเอกสารไดหลากหลาย และมีเครื่องมือชวยมากมาย
สําหรับการสรางเอกสาร
• โปรแกรมประมวลผลคําในปจจุบันมีสวนติดตอแบบ GUI โดยอยูบนพื้นฐานของ
แนวคิดที่เรียกวา WYSIWYG – What you see is what you get (เห็นอยางไรก็ได
อยางนั้น)
• ปจจุบันมีการเพิ่มขีดความสามารถของโปรแกรมประมวลคําอีกมากมาย เชน
– สรางกราฟ สงอีเมล สรางเว็บเพจ ตรวจสอบการสะกดคํา พจนานุกรม ดัชนีคํา ตรวจสอบไว
ยกรณภาษาอังกฤษ และอื่นๆมากมาย
44
โปรแกรมประมวลคําโปรแกรมประมวลคํา (Word Processing(Word Processing
Program)Program)
MS Word 2007
OpenOffice Writer
45
โปรแกรมแผนตารางทํางานโปรแกรมแผนตารางทํางาน SpreadsheetSpreadsheet
• ซอฟตแวรตารางทํางาน เปนซอฟตแวรที่เนนดานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการขอมูลและการ
คํานวณ
• ใหแนวคิดของตาราง 2 มิติเปนพื้นฐานของการจัดการขอมูล
• สามารถสั่งใหคํานวณตามสูตรหรือเงื่อนไขที่กําหนดเองได มีการทํางานแบบ ถา-แลว
• ซอฟตแวรตารางทํางานที่นิยมใช เชน MS Excel
46
โปรแกรมนําเสนอโปรแกรมนําเสนอ ((Software for Presentation)Software for Presentation)
• เปนซอฟตแวรที่สําหรับงานนําเสนอ(Presentation) ซอฟตแวรประเภทนี้จึงเปน
ซอฟตแวรที่นอกจากสามารถแสดงขอความในลักษณะที่จะสื่อความหมายไดงาย
แลวจะตองสรางแผนภูมิ กราฟ รูปภาพ การเคลื่อนไหวได
• เชน MS PowerPoint
OutlineOutline
ThumbnailsThumbnails
47
โปรแกรมจัดการฐานขอมูลโปรแกรมจัดการฐานขอมูล Database ManagementDatabase Management
SoftwareSoftware
• ฐานขอมูลคือ แนวคิดของการจัดเก็บขอมูลไวที่เดียวกันอยางมีแบบแผนในการจัดเก็บ
• ซอฟตแวรจัดการฐานขอมูล (DBMS) หมายถึงซอฟตแวรที่ชวยในการเก็บ การเรียกคนมาใชงาน
การทํารายงาน การสรุปผลจากขอมูล
• ซอฟตแวรจัดการฐานขอมูลที่นิยมใช เชน MS ACCESS และ MySQL เปนตน
การการจัดจัดเก็บเก็บขอมูลขอมูล การการเชื่อมตอฐานขอมูลเชื่อมตอฐานขอมูล
รายงานรายงาน
48
โครงสรางตารางฐานขอมูลโครงสรางตารางฐานขอมูล
• Database Structure
– Fields
– Records
– Tables (files)
– Relational Databases
RecordsRecords
49
โปรแกรมจัดทําเอกสารสิ่งพิมพโปรแกรมจัดทําเอกสารสิ่งพิมพ (Desktop publisher)(Desktop publisher)
• มีความสามารถที่จะออกแบบงานหรือสรางเอกสารสิ่งพิมพ
• ถูกออกแบบใหมีความสามารถในดาน การเรียงพิมพ ตลอดจนการจัดสีที่สูงกวา word
processing
• เชน โปรแกรม MS-Publisher หรือ Adobe InDesign เปนตน
50
โปรแกรมประมวลผลภาพโปรแกรมประมวลผลภาพ (Image Processing Software)(Image Processing Software)
• โปรแกรมประมวลผลภาพ ทําหนาที่ในการจัดแตงภาพ หรือ ตัดตอภาพให
เปนไปตามตองการ
• เชน Adobe PhotoShop
51
เปนโปรแกรมออกแบบกราฟฟกสสมรรถนะสูง โดยมากตอง
ทํางานบเครื่องคอมพิวเตอรที่มีประสิทธิภาพสูงใชกับชวยงาน
ออกแบบของวิศวกร และ สถาปนิก ใชออกแบบสิ่งตางๆ เชน
แบบอาคาร แบบเครื่องบิน
Computer AidedComputer Aided Design(CADDesign(CAD))
โปรแกรมสําหรับงานออกแบบโปรแกรมสําหรับงานออกแบบ
52
ซอฟตแวรสําหรับการสื่อสารและระบบเครือขายซอฟตแวรสําหรับการสื่อสารและระบบเครือขาย
Communication SoftwareCommunication Software
• เปนซอฟตแวรที่ทําหนาที่ในการเชื่อมตอกับระบบเครือขาย เพื่อให
คอมพิวเตอรสามารถสื่อสารกันไดภายในเครือขาย และใหผูใช
คอมพิวเตอรสามารถสื่อสารกันไดบนเครือขายนั้น
• ตัวอยางเชน
– Messenger
– Web Browser
53
Messenger SoftwareMessenger Software
• การสนทนาแบบ Online chat
• VDO conference
• File Sending
• Online game
• อื่นๆ
54
เว็บเบราวเซอรเว็บเบราวเซอร (Web Browser)(Web Browser)
• เว็บเบราวเซอร เปนโปรแกรมที่ใหบริการในการติดตอกับเว็บไซทและ
แสดงผลหนาเว็บ (WebPages) ของเว็บไซทนั้น
• สามารถแสดงผลแบบ Multimedia เชน ขอความ ภาพ เสียง หรือ VDO
เปนตน
• ปจจุบันโปรแกรมประยุกตตางๆ ไดพัฒนาใหสามารถทํางานบนเว็บเบ
ราวเซอร โดยผานอินเตอรเน็ตอยางแพรหลาย เรียกวา Web Application
• ตัวอยาง– IE(Internet Explorer), Opera, Mozzila FireFox, Mosaic และ
Google Chrome เปนตน
55
เว็บเบราวเซอรเว็บเบราวเซอร (Web Browser)(Web Browser)
IE (Internet Explorer),
Google Chrome
Safari Mobile Web
Browser
56
Software as a Service (Software as a Service (SaaSSaaS))
• SaaS ใหซอฟตแวรเปนบริการ (Service) ที่สามารถนํามาใชไดผาน
เครือขาย โดยผูใชไมตองลงโปรแกรมไวที่เครื่องคอมพิวเตอรของตนเอง
• ผูใชติดตอไปยังผูใหบริการซอฟตแวรผานทางเครือขาย และสามารถให
งานซอฟตแวรนั้นไดผาน Web Brower
• การ Update version ของซอฟแวรทําโดยอัตโนมัติจากผูใหบริการ โดยที่
ผูใชบริการไมจําเปนตองไป download software มาติดตั้งเองแตอยางใด
• ผูใชบริการไมตองดูแลระบบเอง ผูใหบริการจะเปนผูดูแลระบบให
• ตัวอยาง Google Doc ที่ใหบริการซอฟตแวรสํานักงานเปนตน เปนตน
57
Software as a Service (Software as a Service (SaaSSaaS))
Google Doc – Online Spreadsheet
ProjectManager.com
58
Virtual Reality (VR)ประกอบดวย
hardware และ software เพื่อจําลอง
สภาพแวดลอมใหผูใชรูสึกวาอยูใน
สถานการณนั้นจริง
โปรแกรมจําลองการทํางานเสมือนจริงโปรแกรมจําลองการทํางานเสมือนจริง
Graphic softwareGraphic software –– VR (Virtual Reality)VR (Virtual Reality)
59
โปรแกรมชวยฝกฝนและโปรแกรมการจัดทําโปรแกรมชวยฝกฝนและโปรแกรมการจัดทํา
สารสนเทศทางภูมิศาสตรสารสนเทศทางภูมิศาสตร (CBT & GIS)(CBT & GIS)
• Computer Base
Training (CBT)
• Geographic Information
System (GIS)
60
ลิขสิทธิ์การนําซอฟตแวรมาใชลิขสิทธิ์การนําซอฟตแวรมาใช
• Commercial/ Copyright Software จะตองจัดซื้อเพื่อใหไดสิทธิ์อนุญาต
การใชงาน (license)
• Shareware คือซอฟตแวรที่สามารถนํามาติดตั้งใชงานไดโดยไมตอง
ไดรับสิทธิ์อนุญาตการใชงาน แตอาจจะมีขอจํากัดการใชงาน เชนใชได
ไมเกิน 30 วัน หรือใชงานไดบางฟงกชันเทานั้น
• Freeware สามารถนํามาใชงานไดไมจํากัดโดยไมตองไดรับสิทธิ์อนุญาต
การใชงาน
แบบฝกหัดแบบฝกหัด
1. ขอใดเปนซอฟตแวรระบบที่ทําหนาที่เปนตัวกลางในการติดตอกับเครื่องคอมพิวเตอร
ก. ซอฟตแวรสําเร็จ ข. ซอฟตแวรระบบปฎิบัติการ
ค. ซอฟตแวรใชงานเฉพาะ ง. ซอฟตแวรตัวแปลภาษา
2. ขอใดเปนระบบปฏิบัติการที่ทํางานแบบ Multi-tasking
ก. DOS ข. Windows
ค. Linux ง. ถูกทั้งขอ ข และ ค
3. โปรแกรมสําหรับประมวลผลสารสนเทศทางภูมิศาสตรคือ
ก. Computer Aided Design (CAD) ข. Virtual Reality (VR)
ค. Computer Base Training (CBT) ง. Geographic Information System (GIS)
4. ซอฟตแวรขอใดเปน Freeware
ก. MS Office ข. Windows XP
ค. Linux ง. Adobe PhotoShop
5. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับภาษาเครื่อง (Machine code)
ก. เปนภาษาที่ใชสั่งงานคอมพิวเตอรโดยตรง ข. เปนเครื่องมือที่ใชในการแปลภาษาโปรแกรม
ค. สามารถตรวจสอบโครงสรางชุดคําสั่งได ง. เปนภาษาระดับสูงที่ใชควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร
61
เอกสารอางอิงเอกสารอางอิง
• Peter Norton (2005). Introduction to Computers. (6th ed.
International ed.). Singapore : McGraw – Hill Companies.
• Ed Lazowska (2010). Computer Science: Past, Present, and
Future. Saul Gorn Memorial Lecture. Univ. of Pennsylvania.
• H. L. Capron, Computers Tools for an Information Age, Prentice
Hall. 8 edition. 2003.
• Ron White, Timothy Edward Downs. How Computers Work (9th
Edition). Que. 2007.
62

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Nattapon
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
hs8zlb
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
Nattapon
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
Kriangx Ch
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
Jakarin Damrak
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
ThanThai Sangwong
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6
amphaiboon
 

Was ist angesagt? (20)

ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
Learnning02
Learnning02Learnning02
Learnning02
 
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6
 
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ใบความรู้1.1
ใบความรู้1.1ใบความรู้1.1
ใบความรู้1.1
 
Ch1 com tech
Ch1 com techCh1 com tech
Ch1 com tech
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
B1
B1B1
B1
 
computer
computercomputer
computer
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
Computer maintenance
Computer maintenanceComputer maintenance
Computer maintenance
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 

Andere mochten auch

Change Management vs Project Management
Change Management vs Project ManagementChange Management vs Project Management
Change Management vs Project Management
Mindy Micek
 
Change request form_template
Change request form_templateChange request form_template
Change request form_template
rac2
 
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพแนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
Rapeepan Thawornwanchai
 
Change strategic management
Change strategic managementChange strategic management
Change strategic management
capercom
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลงการบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
Radanat Chiachai
 
System Development Life Cycle (SDLC)
System Development Life Cycle (SDLC)System Development Life Cycle (SDLC)
System Development Life Cycle (SDLC)
fentrekin
 

Andere mochten auch (17)

บทที่ 16
บทที่ 16บทที่ 16
บทที่ 16
 
Change Management vs Project Management
Change Management vs Project ManagementChange Management vs Project Management
Change Management vs Project Management
 
Change request form_template
Change request form_templateChange request form_template
Change request form_template
 
Software Project Management: Change Control
Software Project Management: Change ControlSoftware Project Management: Change Control
Software Project Management: Change Control
 
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพแนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
 
Change strategic management
Change strategic managementChange strategic management
Change strategic management
 
Change Management 2015
Change  Management 2015Change  Management 2015
Change Management 2015
 
Change management - ITIL Series
Change management - ITIL SeriesChange management - ITIL Series
Change management - ITIL Series
 
Change Control Form
Change Control FormChange Control Form
Change Control Form
 
Software Development : Change Request Template
Software Development : Change Request TemplateSoftware Development : Change Request Template
Software Development : Change Request Template
 
Requirement Change Request Template
Requirement Change Request TemplateRequirement Change Request Template
Requirement Change Request Template
 
Change Management ITIL
Change Management ITILChange Management ITIL
Change Management ITIL
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลงการบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
 
ThaiBev Change Management
ThaiBev Change ManagementThaiBev Change Management
ThaiBev Change Management
 
System Development Life Cycle (SDLC)
System Development Life Cycle (SDLC)System Development Life Cycle (SDLC)
System Development Life Cycle (SDLC)
 
Implementing ITIL Change Management
Implementing ITIL Change Management Implementing ITIL Change Management
Implementing ITIL Change Management
 
Software Development Life Cycle (SDLC)
Software Development Life Cycle (SDLC)Software Development Life Cycle (SDLC)
Software Development Life Cycle (SDLC)
 

Ähnlich wie 03 software

Com element [compatibility mode]
Com element [compatibility mode]Com element [compatibility mode]
Com element [compatibility mode]
twatfangmin
 
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
supatra2011
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
Nattapon
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
prakaipet
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
Software 7
Software 7Software 7
Software 7
paween
 
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศหน่วยที่ 2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
somdetpittayakom school
 
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
nottodesu
 
Ch02 handout
Ch02 handoutCh02 handout
Ch02 handout
Naret Su
 
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลบทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
parinee
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
jintara022
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Yui Yui
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
TuaLek Kitkoot
 

Ähnlich wie 03 software (20)

Com element [compatibility mode]
Com element [compatibility mode]Com element [compatibility mode]
Com element [compatibility mode]
 
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
Software 7
Software 7Software 7
Software 7
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอม
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสารเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
 
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศหน่วยที่ 2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Ch02 handout
Ch02 handoutCh02 handout
Ch02 handout
 
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลบทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
 
แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 

Mehr von teaw-sirinapa

รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1
teaw-sirinapa
 
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
teaw-sirinapa
 
ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
teaw-sirinapa
 
การจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการการจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการ
teaw-sirinapa
 

Mehr von teaw-sirinapa (20)

รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1
 
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
 
ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
 
การจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการการจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการ
 
บทที่ 17
บทที่ 17บทที่ 17
บทที่ 17
 
บทที่ 15
บทที่ 15บทที่ 15
บทที่ 15
 
บทที่ 14
บทที่ 14บทที่ 14
บทที่ 14
 
บทที่ 13
บทที่ 13บทที่ 13
บทที่ 13
 
บทที่ 12
บทที่ 12บทที่ 12
บทที่ 12
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

03 software