SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 15
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
21st
Century Learning Skills
สุรศักดิ์ ปาเฮ*
รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่เขต 2
http://www.addkutec3.com
บทนา (Introduction)
ในยุคแห่งการแข่งขันทางสังคมค่อนข้างสูงในปัจจุบัน ส่งผลต่อการปรับตัวให้ทัดเทียมและเท่าทันกับ
ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในบริบททางสังคมในทุกมิติรอบด้าน ดังนั้นการเสริมสร้างองค์ความรู้ ( Content
Knowledge ) ทักษะเฉพาะทาง ( Specific Skills ) ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ( Expertise ) และสมรรถนะ
ของการรู้เท่าทัน ( Literacy ) จึงเป็นตัวแปรสาคัญที่ต้องเกิดขึ้นกับตัวผู้เรียนในการเรียนรู้ยุคสังคมแห่งการ
เปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 นี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
กระแสการปรับเปลี่ยนทางสังคมที่เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 21 ซึ่งเป็นยุคแห่งความเป็นโลกาภิวัตน์ ( The
Globalization )ที่ได้เกิดวิวัฒนาการความก้าวหน้าในทุกๆมิติเป็นไปอย่างรวดเร็วและรุนแรง ส่งผลต่อวิถีการ
ดารงชีพของสังคมอย่างทั่วถึง ดังนั้นการกาหนดยุทธศาสตร์และการสร้างความพร้อมที่จะรับมือกับการ
เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนั้น เป็นสิ่งที่ท้าทายศักยภาพและความสามารถของมนุษย์ที่จะสร้างนวัตกรรมทางการ
เรียนรู้ในลักษณะต่างๆให้เกิดขึ้น และสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว
บทความนี้ผู้เขียนขอนาเสนอบทสรุปซึ่งเป็นยุทธศาสตร์การเสริมสร้างทักษะและประสิทธิภาพทางการ
เรียนรู้สาหรับผู้เรียนในยุคแห่งศตวรรษที่ 21 โดยเป็นการสรุปประเด็นสาระความรู้ที่ถูกกาหนดเป็นกรอบ
แนวคิด ( Framework ) และตัวแบบ ( Model ) จากการศึกษาวิจัยที่น่าสนใจมานาเสนอเพื่อนาไปสู่การ
วิเคราะห์ การสังเคราะห์และศึกษาวิจัยพัฒนาสาหรับสร้างองค์ความรู้ที่เหมาะสมต่อบริบทของการเรียนการ
สอนยุคใหม่ในสังคมบ้านเราได้ในโอกาสต่อไป
*Dip.in Ed. , B.Ed.(English) , M.Ed.(Ed.Tech.) , Ph.D.(Candidate) (Ed.Tech. & Comm.) STOU#1
-2-
กรอบงานการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21( Framework for 21st
Century Learning )
การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 ( 21st
Century Learning ) เป็นวลีคากล่าว ( Phrase )ที่กลายมาเป็น
ส่วนสาคัญต่อการวิเคราะห์และอภิปรายกันอย่างกว้างขวางของสังคมรอบด้าน ซึ่งได้ถูกกาหนดให้เป็น
ยุทธศาสตร์การทางานเพื่อการจัดการศึกษาเรียนรู้ในยุคใหม่นี้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดต่อการจัดการเรียนรู้
และในขณะเดียวกันนั้น ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ( 21st
Century Skills ) ก็กลายเป็นยุทธศาสตร์ที่มี
ความสาคัญที่นักการศึกษาหลากหลายฝ่ายต่างร่วมกันวิจัยเพื่อสร้างเป็นรูปแบบและนาเสนอแนวปฏิบัติต่อการ
เสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัดการศึกษาเรียนรู้ให้เกิดขึ้นเช่นกัน ( Mishra and Kereluik , 2011 ) ดังนั้น
การสร้างทักษะเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จึงเป็นลักษณะของการศึกษาวิจัยในเชิงบูรณาการเพื่อ
เสริมสร้างประสิทธิภาพแห่งองค์ความรู้ ทักษะ ความเชี่ยวชาญและสมรรถนะให้เกิดกับผู้เรียน เพื่อ
ประสิทธิภาพของการเรียนรู้สาหรับการดารงชีพในสังคมแห่งความเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน
กรอบแนวคิดของการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 ที่มีตัวแบบ ( Model ) ที่น่าสนใจและนาเสนอใน
โอกาสนี้มี 2 ตัวแบบได้แก่ตัวแบบของภาคีเครือข่ายภาคีเพื่อทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ( Partnership for 21st
Century Skills , 2007 ) และตัวแบบของ กลุ่มเมทิรี ( METIRI Group , 2003 ) โดยมีรายละเอียดของแต่ละ
ตัวแบบของการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 พอสังเขปดังนี้
1. Model of Partnership for 21st
Century Skills
เป็นกรอบแนวคิดที่ถูกพัฒนาขึ้นมาโดยภาคีเพื่อทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ( Partnership for 21st
Century Skills ) โดยสะท้อนความเป็นไปได้ในด้านต่างๆของการเรียนรู้ที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 ในระบบ
การจัดการศึกษาของสหรัฐอเมริกา ซึ่งวิสัยทัศน์ ( Vision ) ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเป็นการเสนอความคิดอย่างเป็น
องค์รวมและเป็นระบบเพื่อใช้ในการปรับความคิดและฟื้นฟูการศึกษาของรัฐขึ้นมาใหม่ โดยนาองค์ประกอบ
ทั้งหมดมารวมกันทั้งผลการเรียนรู้ของนักเรียนและระบบการสนับสนุนการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ให้กลายเป็น
กรอบความคิดรวบยอดหรือมโนทัศน์ ( Concepts )
องค์ประกอบทั้งหมดในโมเดลหรือตัวแบบที่นาเสนอนี้ได้ผ่านการนิยาม การพัฒนา และการตรวจสอบ
อย่างถี่ถ้วนจากผู้เชี่ยวชาญชั้นนา นักวิชาการศึกษา นักธุรกิจ ผู้ปกครอง และสมาชิกของชุมชน ซึ่งตัวแบบนี้
บางครั้งจะมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ตัวแบบประกายรุ้ง (Rainbow Model)” ดังมีรายละเอียดที่สาคัญสรุป
ได้ดังต่อไปนี้ ( วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง และ อธิป จิตตฤกษ์ , 2554 ; Partnership for 21st
Century Skills ,
2009 )
ส่วนที่ 1. ด้านผลลัพธ์ที่เกิดกับผู้เรียน ( Student Outcomes ) กล่าวถึง
วิชาแกนหลักและแนวคิดสาคัญของการเรียนรู้ (Core Subjects and 21st
Learning Themes)
ประกอบด้วย
-3-
- ภาษาอังกฤษ การอ่าน หรือศิลปะการใช้ภาษา - เศรษฐศาสตร์
- ภาษาสาคัญของโลก - วิทยาศาสตร์
- ศิลปะ - ภูมิศาสตร์
- คณิตศาสตร์ - ประวัติศาสตร์
- การปกครองและหน้าที่พลเมือง
วิชาแกนหลักสาคัญเหล่านี้ นามาสู่การกาหนดเป็นกรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์สาคัญต่อการจัดการ
เรียนรู้ในเนื้อหาเชิงสหวิทยาการ ( Interdisciplinary ) ประกอบด้วย
จิตสานึกต่อโลก ( Global Awareness ) โดย
1). ใช้ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ต่อการสร้างความรู้ความเข้าใจและกาหนดประเด็นสาคัญต่อการสร้าง
ความเป็นสังคมโลก
2). เรียนรู้จากการมีส่วนร่วมของการทางานเพื่อนาไปสู่การขับเคลื่อนในเชิงวัฒนธรรม ศาสนาและวิถี
ชีวิตที่อยู่ร่วมกันได้อย่างเหมาะสมในบริบททางสังคมที่ต่างกันรอบด้าน
3). มีความเข้าในใจในความเป็นมนุษย์ด้วยกันทั้งในด้านเชื้อชาติและวัฒนธรรม รวมทั้งการใช้
วัฒนธรรมทางภาษาที่แตกต่างกันได้อย่างลงตัว
ความรู้พื้นฐานด้านการเงิน เศรษฐกิจ ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ ( Financial ,
Economic , Business and Entrepreneurial Literacy ) โดย
1). รู้วิธีการที่เหมาะสมสาหรับการสร้างตัวเลือกเชิงเศรษฐศาสตร์/เศรษฐกิจ
2). เข้าใจบทบาทในเชิงเศรษฐศาสตร์ที่มีต่อสังคม
3). ใช้ทักษะการเป็นผู้ประกอบการในการยกระดับและเพิ่มประสิทธิผลด้านอาชีพ
ความรู้พื้นฐานด้านความเป็นพลเมือง ( Civic Literacy ) โดย
1). สร้างประสิทธิภาพของการมีส่วนร่วมทางสังคมผ่านวิธีการสร้างองค์ความรู้และความเข้าใจใน
กระบวนการทางการเมืองการปกครองที่ถูกต้อง
2). การนาวิถีแห่งความเป็นประชาธิปไตยไปสู่สังคมในระดับต่างๆได้
3). มีความเข้าใจต่อวิถีการปฏิบัติทางสังคมแห่งความเป็นพลเมืองทั้งในระดับท้องถิ่นและสากล
ความรู้พื้นฐานด้านสุขภาพอนามัย ( Health Literacy ) โดย
1). มีความรู้ความเข้าใจขั้นพื้นฐานในด้านข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับภาวะสุขภาพอนามัยและนาไปใช้
ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต
2). เข้าใจวิธีป้องกันแก้ไข รวมทั้งการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันที่มีต่อภาวะสุขภาพอนามัย ห่างไกลจาก
ภาวะความเสี่ยงจากโรคภัยไข้เจ็บที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพร่างกาย
-4-
3). ใช้ประโยชน์จากข้อมูลสารสนเทศในการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านสุขภาพอนามัยได้อย่าง
เหมาะสมกับบุคคล
4). เฝ้าระวังด้านสุขภาพอนามัยทั้งส่วนบุคคลและครอบครัวให้เกิดความเข้มแข็ง
5). รู้และเข้าใจในประเด็นสาคัญของการเสริมสร้างสุขภาวะที่ดีทั้งในระดับชาติและระดับสากล
ความรู้พื้นฐานด้านสิ่งแวดล้อม ( Environmental Literacy ) โดย
1). มีภูมิความรู้และความเข้าใจขั้นพื้นฐานต่อการอนุรักษ์และป้องกันสภาพแวดล้อม รวมทั้งมีส่วนร่วม
ในการอนุรักษ์และป้องกันสภาพแวดล้อมดังกล่าว
2). มีภูมิความรู้และความเข้าใจในผลกระทบที่เกิดจากธรรมชาติที่ส่งผลต่อสังคม (ทั้งในด้านการ
พัฒนาประชากร การเจริญเติบโตของสรรพสิ่งและแหล่งทรัพยากรทางธรรมชาติ ฯลฯ)
3). วิเคราะห์ประเด็นสาคัญด้านสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและกาหนดวิธีการในการป้องกันแก้ไข
รวมทั้งการอนุรักษ์รักษาสภาพแวดล้อมเหล่านั้น
4). สร้างสังคมโดยรวมให้เกิดความร่วมมือในการอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรสิ่งแวดล้อม
ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ( Learning and Innovation Skills )
ทักษะด้านนี้จุดเน้นอยู่บนพื้นฐานแห่งการสร้างสรรค์ การคิดแบบมีวิจารณญาณ การสื่อสาร และการ
มีส่วนร่วมในการทางาน ดังรายละเอียดต่อไปนี้
ก. ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม ( Creatively and Innovation ) ประกอบด้วย
การคิดสร้างสรรค์ ( Think Creativity ) โดย
1). ใช้เทคนิคของการสร้างสรรค์ทางความคิดที่เปิดกว้าง เช่น การระดมสมอง
2). สร้างสรรค์สิ่งแปลกใหม่และเสริมสร้างคุณค่าทางความคิดและสติปัญญา
3). มีความละเอียดรอบคอบต่อการคิดวิเคราะห์และประเมินแนวความคิด เพื่อนาไปสู่การปรับปรุง
และพัฒนางานในเชิงสร้างสรรค์
การทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์ ( Work Creativity with Others ) โดย
1). มุ่งพัฒนา เน้นปฏิบัติและสื่อสารแนวคิดใหม่ๆไปสู่ผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2). เปิดใจกว้างและยอมรับในมุมมองหรือโลกทัศน์ใหม่ๆที่ส่งผลต่อระบบการทางาน
3). เป็นผู้นาในการสร้างสรรค์งาน รวมทั้งมีความรู้และเข้าใจในสภาพการณ์ซึ่งอาจเป็นข้อเท็จจริงหรือ
เป็นข้อจากัด โดยพร้อมที่จะยอมรับความคิดหรือสภาพการณ์ใหม่ๆที่เกิดขึ้นนั้นได้
4). สามารถสร้างวิกฤติให้เป็นโอกาสส่งผลต่อการเรียนรู้ และเข้าใจถึงวิธีการสร้างสรรค์นวัตกรรมที่
ต้องใช้เวลาและสามารถนาเอาข้อผิดพลาดมาปรับปรุงแก้ไขและพัฒนางานได้อย่างต่อเนื่อง
การนาเอานวัตกรรมมาสู่การปฏิบัติ ( Implement Innovations ) โดย
ปฏิบัติเชิงสร้างสรรค์ให้เกิดคุณประโยชน์ต่อการปรับใช้และพัฒนาจากผลแห่งนวัตกรรมที่นามาใช้
-5-
ข. การคิดเชิงวิพากษ์และการแก้ไขปัญหา ( Critical Thinking and Problem Solving )
ประกอบด้วย
ประสิทธิภาพของการใช้เหตุผล ( Reason Effectively ) ใช้รูปแบบที่ชัดเจนในเชิงเหตุผลทั้งใน
เชิงนิรนัย ( Inductive ) และอุปนัย ( Deductive ) ได้เหมาะสมตามสถานการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น
การใช้วิธีคิดเชิงระบบ ( Use Systems Thinking ) สามารถคิดวิเคราะห์จากส่วนย่อยไปหาส่วน
ใหญ่ได้อย่างเป็นองค์รวมทั้งหมดและเป็นระบบครบวงจรในวิธีคิดหรือกระบวนการคิดนั้น
ประสิทธิภาพในการตัดสินใจ ( Make Judgments and Decisions ) โดย
1). สร้างประสิทธิภาพในการวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ เพื่อสร้างการยอมรับและความ
น่าเชื่อถือ
2). สามารถวิเคราะห์และประเมินในเชิงทัศนะได้อย่างต่อเนื่อง
3). สังเคราะห์และเชื่อมโยงระหว่างข้อมูลรวมทั้งบทสรุปที่เกิดขึ้น
4). ตีความหมายและให้ข้อสรุปที่ตั้งบนฐานแห่งการวิเคราะห์ที่มีความน่าเชื่อถือมากที่สุด
5). สะท้อนผลได้อย่างมีวิจารญาณ บนพื้นฐานแห่งประสบการและกระบวนการเรียนรู้
การแก้ไขปัญหา ( Solve Problems ) โดย
1). แก้ไขปัญหาที่มีความแตกต่างได้ทั้งปัญหาซ้าซากและปัญหาที่อุบัติขึ้นใหม่ในหลากหลายเทคนิค
วิธีการ
2). สามารถกาหนดเป็นประเด็นคาถามสาคัญที่จะนาไปสร้างเป็นจุดเน้นในการแก้ไขปัญหาตาม
สถานการณ์ที่เหมาะสมและดีที่สุด
ค. การสื่อสารและการมีส่วนร่วม ( Communication and Collaboration ) ประกอบด้วย
การสื่อสารได้ชัดเจนมีประสิทธิภาพ ( Communication Clearly ) โดย
1). สร้างความถูกต้องชัดเจนในการสื่อความหมายทั้งการพูด การเขียน หรือการใช้ทักษะอื่นๆ
ในทางอวัจนภาษา ( Non-verbal )ในรูปแบบต่างๆ
2). มีประสิทธิภาพทางการรับฟังที่สามารถสร้างทักษะสาหรับการถอดรหัสความหมาย การสรุปเป็น
ความรู้ สร้างคุณค่า ทัศนคติ และเกิดความสนใจใฝ่รู้
3). ใช้การสื่อสารในการกาหนดจุดมุ่งหมายเฉพาะทั้งการรายงาน การสอน การสร้างแรงจูงใจ
4). ใช้สื่อเทคโนโลยีหลากหลายและรู้วิธีการใช้สื่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5). สื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพท่ามกลางสภาพแวดล้อมหรือบริบทที่ต่างกัน
การทางานร่วมกับผู้อื่น ( Collaborate with Others ) โดย
1). มีความสามารถในการเป็นผู้นาในการทางานและเกิดการยอมรับในทีมงาน
-6-
2). มีกิจกรรมการทางานที่สร้างความรับผิดชอบและก่อให้เกิดความสุขในการทางานเพื่อให้บรรลุผล
ตามที่มุ่งหวัง
3). สร้างการมีส่วนร่วมในความรับผิดชอบในภารกิจงาน และแต่ละคนมองเห็นคุณค่าของการทางาน
เป็นหมู่คณะ
ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี ( Information , Media and Technology Skills )
ได้แก่องค์ประกอบสาคัญดังต่อไปนี้
ก. ความรู้พื้นฐานด้านสารสนเทศ ( Information Literacy ) ประกอบด้วย
การเข้าถึงและการประเมินสารสนเทศ ( Access and Evaluate Information ) โดย
1). เข้าถึงสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ด้านเวลา) และเกิดประสิทธิผล (แหล่งข้อมูล
สารสนเทศ)
2). ประเมินสารสนเทศได้อย่างมีวิจารณญาณตามสมรรถนะที่เกิดขึ้น
การใช้และการจัดการสารสนเทศ ( Use and Manage Information ) โดย
1). เพิ่มประสิทธิภาพการใช้สารสนเทศอย่างสร้างสรรค์และตรงกับประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้น
2). จัดการกับสารเทศได้อย่างต่อเนื่อง จากแหล่งข้อมูลที่มีอยู่มากมายหลากหลาย
3). มีความรู้พื้นฐานที่จะประยุกต์ใช้สารสนเทศตามกรอบแห่งคุณธรรมจริยธรรมที่มีปัจจัย
เสริมอยู่รอบด้าน
ข. ความรู้พื้นฐานด้านสื่อ ( Media Literacy ) ประกอบด้วย
ความสามารถในการวิเคราะห์สื่อ ( Analyze Media ) โดย
1). เข้าใจวิธีการใช้และการผลิตสื่อเพื่อให้ตรงกับเป้าประสงค์ที่กาหนด
2). สามารถใช้สื่อเพื่อตอบสนองต่อความแตกต่างของปัจเจกชน รู้คุณค่าและสร้างจุดเน้น รู้
ถึงอิทธิพลของสื่อที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภคสื่อ
3). มีความรู้พื้นฐานที่จะประยุกต์ใช้สื่อได้ตามกรอบแห่งคุณธรรมจริยธรรมที่มีปัจจัยเสริมอยู่
รอบด้าน
ความสามารถในการผลิตสื่อสร้างสรรค์ ( Create Media Products ) โดย
1). มีความรู้ความเข้าใจต่อการใช้สื่ออย่างสร้างสรรค์และเหมาะสมตามคุณลักษณะเฉพาะ
ของตัวสื่อประเภทนั้นๆ
2). มีความรู้ความเข้าใจต่อการใช้สื่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสนองต่อความแตกต่างใน
เชิงวัฒนธรรมอย่างรอบด้าน
ค. ความรู้พื้นฐานด้านไอซีที ( ICT : Information , Communication and Technology
Literacy ) ประกอบด้วย
-7-
ประสิทธิผลของการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ( Apply Technology Efficiency ) โดย
1). ใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือเพื่อการวิจัย การจัดการองค์กร การประเมินและการสื่อสาร
ทางสารสนเทศ
2). ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ( คอมพิวเตอร์ , PDAs , Media Players etc. ) ในการสื่อสารและ
การสร้างเครือข่าย รวมทั้งการเข้าถึงสื่อทางสังคม ( Social Media ) ได้อย่างเหมาะสม
3). มีความรู้พื้นฐานในการประยุกต์ใช้ ICT ได้ตามกรอบแห่งคุณธรรมจริยธรรมที่มีข้อมูล
หลากหลายรอบด้าน
ทักษะชีวิตและงานอาชีพ ( Life and Career Skills ) ประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญในด้าน
ต่างๆดังต่อไปนี้
ก. ความยืดหยุ่นและการปรับตัว ( Flexibility and Adaptability ) ได้แก่
การปรับตัวเพื่อรับการเปลี่ยนแปลง ( Adapt to Change ) โดย
1). ปรับตัวตามบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบและบริบทตามช่วงเวลาที่กาหนด
2). ปรับตัวเพื่อการเปลี่ยนแปลงบรรยากาศของการทางานในองค์กรที่ดีขึ้น
เกิดความยืดหยุ่นในการทางาน ( Be Flexible ) โดย
1). สามารถหลอมรวมผลสะท้อนของงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2). เป็นผู้นาที่สร้างสรรค์ให้เกิดผลเชิงบวกกับการทางาน
3). มีความรู้ความเข้าใจในการสร้างความสมดุลและความเสมอภาคอย่างรอบด้าน เพื่อ
ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเชิงสร้างสรรค์ของการทางาน
ข. เป็นผู้มีความคิดริเริ่มและเป็นผู้นา ( Initiative and Self-Direction ) ได้แก่
การจัดการด้านเป้าหมายและเวลา ( Manage Goals and Time ) โดย
1). กาหนดเป้าหมายได้ชัดเจนบนฐานความสาเร็จตามเกณฑ์ที่กาหนด
2). สร้างความสมดุลในเป้าหมายที่กาหนด (ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว)
3). ใช้เวลาและการจัดการให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการทางาน
การสร้างงานอิสระ ( Work Independently ) โดย
1). กากับติดตาม จาแนกวิเคราะห์ จัดเรียงลาดับความสาคัญ และกาหนดภารกิจงานอย่างมี
อิสระปราศจากการควบคุมจากภายนอก
เป็นผู้นาที่มีประสิทธิภาพในตนเอง ( Be Self-Directed Learners ) โดย
1). มุ่งมั่นสู่ความเชี่ยวชาญทั้งทางด้านทักษะ ความรู้และขยายผลสู่ความเป็นเลิศ
2). เป็นผู้นาเชิงทักษะขั้นสูง มุ่งสู่ความเป็นมืออาชีพ
3). เป็นผู้นาในการเรียนรู้ตลอดชีวิต ( Lifelong Learning )
-8-
4). สามารถสะท้อนผลและเก็บเกี่ยวประสบการณ์จากอดีตมุ่งสู่เส้นทางแห่งความก้าวหน้าใน
อนาคต
ค. ทักษะทางสังคมและการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม ( Social and Cross-Cultural Skills )
ประกอบด้วย
ประสิทธิผลเชิงปฏิสัมพันธ์ร่วมกับผู้อื่น ( Interact Effectively with Others ) โดย
1). รอบรู้ในการสร้างประสิทธิภาพ จังหวะเวลาที่เหมาะสมในการฟัง-การพูดในโอกาสต่างๆ
2). สร้างศักยภาพต่อการควบคุมให้เกิดการยอมรับในความเป็นผู้นาทางวิชาชีพ
การสร้างทีมงานที่มีคุณภาพ ( Work Effectively in Diverse Teams ) โดย
1). ยอมรับในข้อแตกต่างทางวัฒนธรรมและภารกิจงานของทีมงานที่แตกต่างกันหลากหลาย
ลักษณะ
2). เปิดโลกทัศน์และปลุกจิตสานึกเพื่อมองเห็นการยอมรับในข้อแตกต่าง สามารถมองเห็น
คุณค่าในความแตกต่างเหล่านั้น
3). พึงระลึกเสมอว่าข้อแตกต่างเชิงสังคมและวัฒนธรรมนั้น สามารถนามาสร้างสรรค์เป็น
แนวคิดใหม่ๆให้เกิดขึ้นได้ โดยการคิดค้นนวัตกรรมเพื่อการสร้างงานอย่างมีคุณภาพ
ง. การเพิ่มผลผลิตและการรู้รับผิด ( Productivity and Accountability ) ประกอบด้วย
การจัดการโครงการ ( Manage Projects ) โดย
1). กาหนดเป้าหมายให้ชัดเจนเพื่อมุ่งสู่ความสาเร็จของงาน
2). วางแผน จัดเรียงลาดับความสาคัญของงานและบริหารจัดการให้เกิดผลลัพธ์ที่มุ่งหวัง
ผลผลิตที่เกิดขึ้น ( Produce Results ) โดยสร้างผลผลิตที่มีคุณภาพสูง โดยมีจุดเน้นใน
ด้านต่างๆได้แก่
1). การทางานทางวิชาชีพที่สุจริต
2). สามารถบริหารเวลาและบริหารโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3). เน้นภารกิจงานในเชิงสหกิจ ( Multi-tasks )
4). การมีส่วนร่วมอย่างแข็งขัน
5). นาเสนอผลงานได้อย่างมืออาชีพ
6). ยอมรับผลผลิตที่เกิดขึ้นด้วยความชื่นชม
จ. ภาวะผู้นาและความรับผิดชอบ ( Leadership and Responsibility ) ประกอบด้วย
ความเป็นตัวแบบและเป็นผู้นาคนอื่น ( Guide and Lead Others ) โดย
1). ใช้ทักษะการแก้ไขปัญหาระหว่างบุคคลได้ เพื่อนาพาองค์การก้าวบรรลุจุดมุ่งหมาย
2). เป็นตัวกลางหรือผู้ประสานงานที่มีประสิทธิภาพ สามารถชี้นาและนาพาองค์การก้าวสู่
ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์
-9-
3). ยอมรับความสามารถของคณะทางานหรือผู้ร่วมงานที่มีความแตกต่างกัน
4). เป็นแบบอย่างในพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ผู้อื่นยอมรับ
ส่วนที่ 2. ระบบสนับสนุนการศึกษาของศตวรรษที่ 21 ( 21st
Century
Support Systems )
เป็นปัจจัยสนับสนุนที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดประสิทธิภาพสูงสุดทางการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ตาม
โมเดลที่กล่าวถึง ทั้งนี้ปัจจัยสาคัญจะประกอบไปด้วย
มาตรฐานในศตวรรษที่ 21 ( 21st
Century Standards ) จุดเน้น
1). เน้นทักษะ ความรู้และความเชี่ยวชาญที่เกิดกับผู้เรียน
2). สร้างความรู้ความเข้าใจในการเรียนในเชิงสหวิทยาการระหว่างวิชาหลักที่เป็นจุดเน้น
3). มุ่งเน้นการสร้างความรู้และเข้าใจในเชิงลึกมากกว่าการสร้างความรู้แบบผิวเผิน
4). ยกระดับความสามารถผู้เรียนด้วยการให้ข้อมูลที่เป็นจริง การใช้สื่อหรือเครื่องมือที่มีคุณภาพจาก
การเรียนรู้ในสถานศึกษา การทางานและในการดารงชีวิตประจาวัน ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความหมายและ
สามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้
5). ใช้หลักการวัดประเมินผลที่มีคุณภาพระดับสูง
การประเมินทักษะในศตวรรษที่ 21 ( Assessment of 21st
Century Skills ) จุดเน้น
1). สร้างความสมดุลในการประเมินผลเชิงคุณภาพ โดยการใช้แบบทดสอบมาตรฐานสาหรับการ
ทดสอบย่อยและทดสอบรวมสาหรับการประเมินผลในชั้นเรียน
2). เน้นการนาประโยชน์ของผลสะท้อนจากการปฏิบัติของผู้เรียนมาปรับปรุงแก้ไขงาน
3). ใช้เทคโนโลยีเพื่อยกระดับการทดสอบวัดและประเมินผลให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
4). สร้างและพัฒนาระบบแฟ้มสะสมงาน ( Portfolios ) ของผู้เรียนให้เป็นมาตรฐานและมีคุณภาพ
หลักสูตรและการสอนในศตวรรษที่ 21 ( 21st
Century Curriculum & Instruction )
1). การสอนให้เกิดทักษะการเรียนในศตวรรษที่ 21 มุ่งเน้นเชิงสหวิทยาการของวิชาแกนหลัก
2). สร้างโอกาสที่จะประยุกต์ทักษะเชิงบูรณาการข้ามสาระเนื้อหา และสร้างระบบการเรียนรู้ที่เน้น
สมรรถนะเป็นฐาน ( Competency-based )
3). สร้างนวัตกรรมและวิธีการเรียนรู้ในเชิงบูรณาการที่มีเทคโนโลยีเป็นตัวเกื้อหนุน การเรียนรู้แบบ
สืบค้น และวิธีการเรียนจากการใช้ปัญหาเป็นฐาน( Problem-based )เพื่อการสร้างทักษะขั้นสูงทางการคิด
4). บูรณาการแหล่งเรียนรู้( Learning Resources )จากชุมชนเข้ามาใช้ในโรงเรียน
-10-
การพัฒนาทางวิชาชีพในศตวรรษที่ 21 ( 21st
Century Professional Development )
1). จุดมุ่งหมายสาคัญเพื่อการสร้างครูให้เป็นผู้ที่มีทักษะความรู้ความสามารถในเชิงบูรณาการ การใช้
เครื่องมือและกาหนดยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติในชั้นเรียน และสร้างให้ครูมีความสามรรถในการวิเคราะห์และ
กาหนดกิจกรรมการเรียนรู้ได้เหมาะสม
2). สร้างความสมบูรณ์แบบในมิติของการสอนด้วยเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย
3). สร้างให้ครูเป็นผู้มีทักษะความรู้ความสามารถในเชิงลึกเกี่ยวกับการแก้ปัญหา การคิดแบบ
วิจารณญาณ และทักษะด้านอื่นๆที่สาคัญต่อวิชาชีพ
4). เป็นยุคแห่งการสร้างสมรรถนะทางวิชาชีพให้เกิดขึ้นกับครูเพื่อเป็นตัวแบบ ( Model ) แห่งการ
เรียนรู้ของชั้นเรียนที่จะนาไปสู่การสร้างทักษะการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนได้อย่างมีคุณภาพ
5). สร้างให้ครูเป็นผู้ที่มีความสามารถวิเคราะห์ผู้เรียนได้ทั้งรูปแบบการเรียน สติปัญญา จุดอ่อนจุดแข็ง
ในตัวผู้เรียน เหล่านี้เป็นต้น
6). ช่วยให้ครูได้เกิดการพัฒนาความสามารถให้สูงขึ้นเพื่อนาไปใช้สาหรับการกาหนดกลยุทธ์ทางการ
สอนและจัดประสบการณ์ทางการเรียนได้เหมาะสมกับบริบททางการเรียนรู้
7). สนับสนุนให้เกิดการประเมินผู้เรียนอย่างต่อเนื่องเพื่อสร้างทักษะและเกิดการพัฒนาการเรียนรู้
8). แบ่งปันความรู้ระหว่างชุมชนทางการเรียนรู้โดยใช้ช่องทางหลากหลายในการสื่อสารให้เกิดขึ้น
9). สร้างให้เกิดตัวแบบที่มีการพัฒนาทางวิชาชีพได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน
สภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ( 21st
Century Learning Environment )
1). สร้างสรรค์แนวปฏิบัติทางการเรียน การรับการสนับสนุนจากบุคลากรและสภาพแวดล้อมทาง
กายภาพที่เกื้อหนุน เพื่อช่วยให้การเรียนการสอนบรรลุผล
2). สนับสนุนทางวิชาชีพแก่ชุมชนทั้งในด้านการให้การศึกษา การมีส่วนร่วม การแบ่งปันสิ่งปฏิบัติที่
เป็นเลิศระหว่างกันรวมทั้งการบูรณาการหลอมรวมทักษะหลากหลายสู่การปฏิบัติในชั้นเรียน
3). สร้างผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากสิ่งที่ปฏิบัติจริงตามบริบท โดยเฉพาะการเรียนแบบโครงงาน
4). สร้างโอกาสในการเข้าถึงสื่อเทคโนโลยี เครื่องมือหรือแหล่งการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ
5). ออกแบบระบบการเรียนรู้ที่เหมาะสมทั้งการเรียนเป็นกลุ่มหรือการเรียนรายบุคคล
6). นาไปสู่การพัฒนาและขยายผลสู่ชุมชนทั้งในรูปแบบการเผชิญหน้าหรือระบบออนไลน์
ที่กล่าวมาทั้งหมดในเบื้องต้นนั้น เป็นการสร้างกรอบแนวคิดของการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ 21 ที่ผ่านกระบวนการวิจัยโดย Partnership for 21st
Century Skills เป็นตัวแบบที่นาเสนอใน
รายละเอียดของตัวแปรหรือองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาศักยภาพทางการเรียนรู้ในสังคมยุคใหม่ที่
ต้องคานึงถึง และต้องสร้างให้เกิดขึ้นกับผู้เกี่ยวข้องกับการศึกษาทุกฝ่ายทั้งครู นักเรียน ผู้บริหาร ผู้ปกครอง
ชุมชนและผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย ( Stakeholders )
-11-
ตัวแบบ ( Model ) ซึ่งเป็นมิติของการสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่กล่าวมานั้นสามารถ
นาเสนอเป็นรูปแบบเชิงกราฟิก ( Graphic )ดังภาพต่อไปนี้
ภาพที่ 1. Model of 21st
Century Student Outcomes and Support Systems
Source : http://www.21stcenturyskills.com
กรอบแนวคิดเชิงมโนทัศน์สาหรับทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ที่นาเสนอโดยกลุ่มภาคีเพื่อทักษะแห่ง
ศตวรรษที่ 21 ( Partnership for 21st
Century Skills ) เป็นกรอบแนวคิดที่ผ่านการวิจัยและพัฒนามาอย่าง
เข้มแข็งเป็นระบบ สามารถตอบสนองความต้องการที่กาลังเปลี่ยนแปลงของสังคมที่เผชิญอยู่ และกรอบ
แนวคิดนี้ได้รับการสนับสนุนอย่างต่อเนื่องจากองค์กรสนับสนุนด้านการศึกษาหลายแห่ง รวมทั้งภาคธุรกิจ
เอกชนและผู้กาหนดนโยบายทางการศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน ฯลฯ จนสามารถพัฒนากลายเป็นวิสัยทัศน์เพื่อ
การศึกษารอบด้านและมีเป้าหมายที่ชัดเจน เหตุผลสาคัญที่กรอบแนวคิดดังกล่าวเป็นที่ยอมรับในสังคมวง
กว้างเนื่องจากเหตุผลหลายประการดังที่เคน เคย์ ( Ken Kay, JD. อ้างถึงใน วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง และอธิป
จิตตฤกษ์ , 2554 ) ได้กล่าวไว้สรุปได้ดังนี้
1. กรอบแนวคิดนี้เน้นที่ผลลัพธ์ที่สาคัญ เป็นผลลัพธ์ทั้งในด้านความรู้ในวิชาแกนและทักษะแห่ง
ศตวรรษใหม่ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนได้เตรียมความพร้อมหลายด้านทั้งการรู้จักวิธีคิด , เรียนรู้ , ทางาน ,
แก้ปัญหา, สื่อสาร , และร่วมมือทางานได้อย่างมีประสิทธิผลไปตลอดชีวิต
-12-
2. กรอบแนวคิดนี้เห็นว่าระบบสนับสนุนการศึกษาโดยเฉพาะประสบการณ์ในการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
เป็นสิ่งสาคัญ กล่าวกันว่าการพัฒนาวิชาชีพคือส่วนที่สาคัญที่สุดในการเปลี่ยนแปลง
3. กรอบความคิดนี้ตรงกับความคิดของผู้กาหนดนโยบาย นักการศึกษา ประชาคมธุรกิจ องค์กรชุมชน
และผู้ปกครอง
เหตุผลสาคัญที่กล่าวถึงเหล่านี้จึงเป็นคาตอบที่ชัดเจนว่ากรอบแนวคิดของกลุ่มภาคีเครือข่ายนี้เป็นที่
ยอมรับกันในวงกว้างต่อการนาไปปรับใช้ในแต่ละบริบทสังคมเพื่อสร้างศักยภาพทางการเรียนรู้ในสังคมแห่ง
การเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันได้อย่างเหมาะสม
2. Model of en Gauge 21st
Century Skills
โมเดล ( Model ) ดังกล่าวถูกพัฒนาขึ้นมาโดยกลุ่มเมทิรี ( Metiri Group ) และห้องวิจัยการศึกษา
เขตภาคกลางตอนเหนือ ( NCREL : North Central Regional Educational Laboratory ) ประเทศ
สหรัฐอเมริกาที่ได้เสนอกรอบแนวคิดสาคัญสาหรับศตวรรษที่ 21 เมื่อปี 2003 โดยใช้ชื่อว่า “en Gauge 21st
Century Skills” ซึ่งแนวคิดนี้ได้เพิ่มความรู้พื้นฐานด้านข้อมูลข่าวสารและรวม “ความอยากรู้” , “ความกล้า
เสี่ยง” และ “การจัดการความซับซ้อน” เข้าไว้ในทักษะหลักด้วย กรอบแนวคิดนี้เน้นเรื่อง “การจัดลาดับ
ความสาคัญ การวางแผน และการจัดการเพื่อมุ่งผลลัพธ์” และเห็นว่า “ความรู้พื้นฐานทางพหุวัฒนธรรม (
Multicultural Literacy )” เป็นองค์ประกบที่ชัดเจนอีกอย่างหนึ่งหากไม่นับกลุ่ม “การสื่อสารอย่างมี
ประสิทธิผล” แล้ว กรอบความคิด en Gauge นี้เน้นเรื่องความคาบเกี่ยวของหลักสูตรกับเนื้อหาน้อยกว่ากรอบ
ความคิดของกลุ่ม Partnership แต่เน้นในเรื่องเนื้อหาความรู้ตามบริบทมากกว่า ( Chris Dede , Ed.D อ้าง
ในวรพจน์ วงศกิจรุ่งเรือง และ อธิป จิตตฤกษ์ , 2554 )
กรอบแนวคิดของ en Gauge 21st
Century Skills ของ NCREL/Metiri Group ประกอบด้วย
องค์ประกอบหลัก 4 องค์ประกอบได้แก่ ( NCREL / METIRI Group , 2003 )
1. ความรู้พื้นฐานในยุคดิจิทัล ( Digital-Age Literacy ) ประกอบด้วยความรู้พื้นฐานด้าน
วิทยาศาสตร์ เศรษฐศาสตร์และเทคโนโลยี ความรู้พื้นฐานเชิงทัศนะและข้อมูล ความรู้พื้นฐานทางพหุ
วัฒนธรรมและจิตสานึกต่อโลก
2. การคิดเชิงนวัตกรรมและสร้างสรรค์ ( Inventive Thinking ) ประกอบด้วย ความสามารถใน
การปรับตัว การจัดการความซับซ้อน และความสามารถในการชี้นาตนเอง ความอยากรู้ ความคิดสร้างสรรค์
และความกล้าเสี่ยง การคิดระดับสูงและการใช้เหตุผลที่ดี
3. การสื่อสารอย่างมีประสิทธิผล ( Effective Communication ) ประกอบด้วย การทางานเป็น
ทีม ความร่วมมือ และทักษะด้านปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อสังคม และความ
รับผิดชอบในฐานะพลเมือง การสื่อสารและการโต้ตอบ
-13-
4. การเพิ่มผลผลิตในระดับสูง ( High Productivity ) ประกอบด้วย การจัดลาดับความสาคัญ การ
วางแผนและการจัดการเพื่อมุ่งผลลัพธ์ การใช้เครื่องมือจริงอย่างมีประสิทธิผล ความสามารถในการสร้าง
ผลผลิตที่มีคุณภาพและเหมาะสม
ตัวแบบ ( Model ) ของ NCREL/Metiri Group แสดงให้เห็นจากภาพกราฟิกต่อไปนี้
ภาพที่ 2. Model of en Gauge 21st
Century Skills
Source : NCREL and Metiri Group ( 2003 ) p.15
การกาหนดเป็นวิสัยทัศน์สู่การปรับแนวคิดสู่การปฏิรูปการศึกษาไทย
การสร้างความเข้มแข็งทางการศึกษาของไทยภายใต้บริบทแห่งการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นย่อมเป็นสิ่งที่
ทุกฝ่ายควรตระหนักและมองเห็นความสาคัญในการกาหนดยุทธศาสตร์ของการพัฒนาคนสู่การพัฒนาชาติ เพื่อ
ก้าวสู่สังคมโลกท่ามกลางสภาพการณ์แห่งการแข่งขันในปัจจุบัน การสร้างความเข้มแข็งของคนในชาติในการ
-14-
จัดการศึกษา จะเป็นปัจจัยสาคัญที่ทุกฝ่ายต้องร่วมกันทางานอย่างเป็นองค์รวม โดยเฉพาะอย่างยิ่งภายใต้
ยุทธศาสตร์ของการปฏิรูปการศึกษา ( Educational Reform ) นั้นย่อมมีความสาคัญและจาเป็นที่ต้องร่วมกัน
กาหนดยุทธศาสตร์เพื่อสร้างความรู้แก่คนในชาติอย่างมีคุณค่าและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ส่งผลต่อการปฏิรูป
และเกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน ( Sustainable Development )
ภายใต้ยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 ที่มุ่งพัฒนาและปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ของการ
ทางานใหม่ทั้ง 4 ด้านได้แก่ การปฏิรูปผู้เรียนยุคใหม่ การปฏิรูปครูยุคใหม่ การปฏิรูปโรงเรียนและแหล่งเรียนรู้
ยุคใหม่ และการปฏิรูประบบบริหารจัดการยุคใหม่ นั้นน่าจะมีการวิเคราะห์วิจัยเพื่อปรับแนวคิดของตัวแบบที่
นาเสนอทั้งสองตัวแบบดังกล่าวนั้นมาปรับใช้กับการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่สองนี้ให้เกิดความเหมาะสมกับ
บริบททางสังคมรอบด้าน เนื่องจากปัจจัยต่างๆที่จะสร้างทักษะความรู้จากงานวิจัยทั้ง 2 งานดังกล่าวข้างต้น
นั้น ต่างสอดรับกับกระบวนทัศน์ ( Paradigm )ของการปฏิรูปการศึกษาตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ ซึ่งความสัมพันธ์ดังกล่าวอาจสรุปให้เห็นจากภาพต่อไปนี้
ภาพที่ 3. การปรับกระบวนทัศน์การศึกษายุคใหม่ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา
กรอบแนวความคิดของการปรับกระบวนทัศน์ปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่สองนี้ จะนาเอาฐานแนวคิด
จากการศึกษาวิจัยจากตัวแบบทั้งสองคือ Partnership Model และ en Gauge Model นามาหลอมรวมแล้ว
นาไปสู่การกาหนดแนวยุทธศาสตร์ในเชิงบูรณาการ ( Integration ) โดยยึดหลักความเหมาะสมกับสภาพแห่ง
บริบท ( Context )รอบด้านเป็นประการสาคัญ ซึ่งเป็นสิ่งที่นักการศึกษาที่รับผิดชอบทุกฝ่ายน่าจะนาไปสู่การ
กาหนดกรอบแนวคิดใหม่ภายใต้กระแสการเปลี่ยนแปลงในสังคมปัจจุบัน
...................
Model of Partnership
for 21st
Century Skills
Model of en Gauge
21st
Century Skills
Educational
Reformation
ปฏิรูปผู้เรียนยุคใหม่
ปฏิรูปครูยุคใหม่
ปฏิรูปโรงเรียนยุคใหม่
ปฏิรูประบบบริหารยุคใหม่
-15-
แหล่งค้นคว้าเพิ่มเติม
วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง และ อธิป จิตตฤกษ์ (แปล). ทักษะแห่งอนาคตใหม่ : การศึกษาเพื่อศตวรรษที่ 21.
กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ Open Worlds. , 2554.
Mishra , Punya and Kereluik , Kristen. What 21st
Century Learning? A Review and a
Synthesis. (online) Available from http://www.punya.edu.msu.edu/publications/
21stCenturyKnowledge-PM-KK.pdf. ( November 18 , 2012 )
North Central Regional Laboratory & Metiri Group. En Gauge 21st
Century Skills : Literacy in
The Digital Age. Chicago : North Central Regional Educational Laboratory , 2003.
Partnership for 21st
Century Skills. P21 Framework Definitions. (online) Available from
http://www.p21.org/storage/documents/P21-Framework -Definitions.pdf. ( November
18 , 2012 )
---------- . Framework for 21st
Century Learning. (online) Available from http://www.21st
Centuryskills.org.pdf. ( November 18 , 2012 )
Doctoral Program in Educational Technology and Communications #1.
Sukhothai Thammathirat Open University (STOU).
Thailand.

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2sarawut chaicharoen
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอสื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอrainacid
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยSuriyawaranya Asatthasonthi
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพkrupeem
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑bangonchin
 
โครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีโครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีNuchy Geez
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีsukanya5729
 
อักษรย่อ
อักษรย่ออักษรย่อ
อักษรย่อSAM RANGSAM
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษาความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษาPitchayakarn Nitisahakul
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 

Was ist angesagt? (20)

วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอสื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
 
โครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีโครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏี
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
อักษรย่อ
อักษรย่ออักษรย่อ
อักษรย่อ
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษาความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 

Andere mochten auch

ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21Rujroad Kaewurai
 
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21nanza
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21Anucha Somabut
 
ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21KruBeeKa
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนTeacher Sophonnawit
 
การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21
การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21
การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21Yai Muay
 
การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21T' Bomb Kim-bomb
 
Web 3 เทคโนโลยีการศึกษาศตวรรษที่ 21
Web 3 เทคโนโลยีการศึกษาศตวรรษที่ 21Web 3 เทคโนโลยีการศึกษาศตวรรษที่ 21
Web 3 เทคโนโลยีการศึกษาศตวรรษที่ 21Gog Gimmig
 
Professional learning communities overview 1
Professional learning communities overview 1Professional learning communities overview 1
Professional learning communities overview 1Keith Eades
 
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56sukanya56106930005
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานWeerachat Martluplao
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลwasan
 
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21Atar Tharinee
 
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลUtq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลkrusoon1103
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลtassanee chaicharoen
 
Future skill for 21st century skill librarian version
Future skill for 21st century skill librarian versionFuture skill for 21st century skill librarian version
Future skill for 21st century skill librarian versionMaykin Likitboonyalit
 

Andere mochten auch (20)

ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
 
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 
ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
 
การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21
การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21
การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21
 
การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21
 
Web 3 เทคโนโลยีการศึกษาศตวรรษที่ 21
Web 3 เทคโนโลยีการศึกษาศตวรรษที่ 21Web 3 เทคโนโลยีการศึกษาศตวรรษที่ 21
Web 3 เทคโนโลยีการศึกษาศตวรรษที่ 21
 
Social network training
Social network trainingSocial network training
Social network training
 
10 km 1
10 km 110 km 1
10 km 1
 
Professional learning communities overview 1
Professional learning communities overview 1Professional learning communities overview 1
Professional learning communities overview 1
 
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
 
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลUtq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
 
Teacher a leader
Teacher a leaderTeacher a leader
Teacher a leader
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
Future skill for 21st century skill librarian version
Future skill for 21st century skill librarian versionFuture skill for 21st century skill librarian version
Future skill for 21st century skill librarian version
 
รูปแบบการสอนแบบทางตรง
รูปแบบการสอนแบบทางตรงรูปแบบการสอนแบบทางตรง
รูปแบบการสอนแบบทางตรง
 

Ähnlich wie ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

นักศึกษาในศตวรรษ
นักศึกษาในศตวรรษนักศึกษาในศตวรรษ
นักศึกษาในศตวรรษChantana Papattha
 
โครงงานฟิสิกส์
โครงงานฟิสิกส์โครงงานฟิสิกส์
โครงงานฟิสิกส์Phiromporn Norachan
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน krupornpana55
 
thai education reform(book)
thai education reform(book)thai education reform(book)
thai education reform(book)Sireetorn Buanak
 
ปฏิรูปการศึกษาไทยภายใต้ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ เรื่องยากที่เข้าใจง่าย
ปฏิรูปการศึกษาไทยภายใต้ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ  เรื่องยากที่เข้าใจง่ายปฏิรูปการศึกษาไทยภายใต้ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ  เรื่องยากที่เข้าใจง่าย
ปฏิรูปการศึกษาไทยภายใต้ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ เรื่องยากที่เข้าใจง่ายสอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21Kobwit Piriyawat
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
การพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษ...
การพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษ...การพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษ...
การพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษ...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_kanyarat chinwong
 
Social media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use itSocial media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use itAnucha Somabut
 

Ähnlich wie ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (20)

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1 - 5
บทที่ 1 - 5 บทที่ 1 - 5
บทที่ 1 - 5
 
บท2
บท2บท2
บท2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
นักศึกษาในศตวรรษ
นักศึกษาในศตวรรษนักศึกษาในศตวรรษ
นักศึกษาในศตวรรษ
 
โครงงานฟิสิกส์
โครงงานฟิสิกส์โครงงานฟิสิกส์
โครงงานฟิสิกส์
 
แนวทาง Tok
แนวทาง Tokแนวทาง Tok
แนวทาง Tok
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
 
thai education reform(book)
thai education reform(book)thai education reform(book)
thai education reform(book)
 
ปฏิรูปการศึกษาไทยภายใต้ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ เรื่องยากที่เข้าใจง่าย
ปฏิรูปการศึกษาไทยภายใต้ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ  เรื่องยากที่เข้าใจง่ายปฏิรูปการศึกษาไทยภายใต้ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ  เรื่องยากที่เข้าใจง่าย
ปฏิรูปการศึกษาไทยภายใต้ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ เรื่องยากที่เข้าใจง่าย
 
Kmutt edu3
Kmutt edu3Kmutt edu3
Kmutt edu3
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
การพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษ...
การพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษ...การพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษ...
การพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษ...
 
Lectures 14 2.2
Lectures 14 2.2Lectures 14 2.2
Lectures 14 2.2
 
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
 
ชุมชนเข้มแข็งญี่ปุ่น in jp1
ชุมชนเข้มแข็งญี่ปุ่น in jp1ชุมชนเข้มแข็งญี่ปุ่น in jp1
ชุมชนเข้มแข็งญี่ปุ่น in jp1
 
Tep summary
Tep summaryTep summary
Tep summary
 
21st century skill for librarian
21st century skill for librarian21st century skill for librarian
21st century skill for librarian
 
Social media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use itSocial media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use it
 

Mehr von Teacher Sophonnawit

คู่มือการใช้งาน Logbook
คู่มือการใช้งาน Logbookคู่มือการใช้งาน Logbook
คู่มือการใช้งาน LogbookTeacher Sophonnawit
 
วิทยฐานะ ว 21 2560 ล่าสุด
วิทยฐานะ ว 21 2560 ล่าสุดวิทยฐานะ ว 21 2560 ล่าสุด
วิทยฐานะ ว 21 2560 ล่าสุดTeacher Sophonnawit
 
ว21 2560 (ดร.สำเริง)
ว21 2560 (ดร.สำเริง)ว21 2560 (ดร.สำเริง)
ว21 2560 (ดร.สำเริง)Teacher Sophonnawit
 
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...Teacher Sophonnawit
 
แผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fishแผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fishTeacher Sophonnawit
 
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่านคู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่านTeacher Sophonnawit
 
คู่มือการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ (Interactive Solfwear) หนังสือ Upstream ม.4
คู่มือการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ (Interactive Solfwear) หนังสือ Upstream ม.4คู่มือการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ (Interactive Solfwear) หนังสือ Upstream ม.4
คู่มือการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ (Interactive Solfwear) หนังสือ Upstream ม.4Teacher Sophonnawit
 
ว7 แนวทางและแบบฟอร์มการเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ ก.ค.ศ. พิจารณา
ว7 แนวทางและแบบฟอร์มการเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ ก.ค.ศ. พิจารณาว7 แนวทางและแบบฟอร์มการเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ ก.ค.ศ. พิจารณา
ว7 แนวทางและแบบฟอร์มการเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ ก.ค.ศ. พิจารณาTeacher Sophonnawit
 
PA.3/4 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานนิเทศการศึกษา)
PA.3/4 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานนิเทศการศึกษา)PA.3/4 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานนิเทศการศึกษา)
PA.3/4 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานนิเทศการศึกษา)Teacher Sophonnawit
 
PA.3/3 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
PA.3/3 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)PA.3/3 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
PA.3/3 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)Teacher Sophonnawit
 
PA.3/2 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
PA.3/2 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)PA.3/2 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
PA.3/2 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)Teacher Sophonnawit
 
PA.3/1 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานการสอน)
PA.3/1 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานการสอน)PA.3/1 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานการสอน)
PA.3/1 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานการสอน)Teacher Sophonnawit
 
PA.2 แบบรายงานและรับรองด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
PA.2 แบบรายงานและรับรองด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพPA.2 แบบรายงานและรับรองด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
PA.2 แบบรายงานและรับรองด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพTeacher Sophonnawit
 
ว7 กรอบและแนวทางการทดสอบความรู้ความสามารถเชิงทฤษฎีและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพ
ว7 กรอบและแนวทางการทดสอบความรู้ความสามารถเชิงทฤษฎีและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพว7 กรอบและแนวทางการทดสอบความรู้ความสามารถเชิงทฤษฎีและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพ
ว7 กรอบและแนวทางการทดสอบความรู้ความสามารถเชิงทฤษฎีและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพTeacher Sophonnawit
 
ว7 ปฏิทินการดำเนินงานตามหลักเกณฑ์
ว7 ปฏิทินการดำเนินงานตามหลักเกณฑ์ว7 ปฏิทินการดำเนินงานตามหลักเกณฑ์
ว7 ปฏิทินการดำเนินงานตามหลักเกณฑ์Teacher Sophonnawit
 
ว7 คำอธิบายและตัวอย่าง
ว7 คำอธิบายและตัวอย่างว7 คำอธิบายและตัวอย่าง
ว7 คำอธิบายและตัวอย่างTeacher Sophonnawit
 
ว7 หลักเกณฑ์และวิธีการ
ว7 หลักเกณฑ์และวิธีการว7 หลักเกณฑ์และวิธีการ
ว7 หลักเกณฑ์และวิธีการTeacher Sophonnawit
 

Mehr von Teacher Sophonnawit (20)

คู่มือการใช้งาน Logbook
คู่มือการใช้งาน Logbookคู่มือการใช้งาน Logbook
คู่มือการใช้งาน Logbook
 
วิทยฐานะ ว 21 2560 ล่าสุด
วิทยฐานะ ว 21 2560 ล่าสุดวิทยฐานะ ว 21 2560 ล่าสุด
วิทยฐานะ ว 21 2560 ล่าสุด
 
ว21 2560 (ดร.สำเริง)
ว21 2560 (ดร.สำเริง)ว21 2560 (ดร.สำเริง)
ว21 2560 (ดร.สำเริง)
 
Lookbook teacher
Lookbook teacherLookbook teacher
Lookbook teacher
 
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
 
แผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fishแผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fish
 
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่านคู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
 
คู่มือการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ (Interactive Solfwear) หนังสือ Upstream ม.4
คู่มือการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ (Interactive Solfwear) หนังสือ Upstream ม.4คู่มือการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ (Interactive Solfwear) หนังสือ Upstream ม.4
คู่มือการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ (Interactive Solfwear) หนังสือ Upstream ม.4
 
Access m.3 wordlists
Access m.3 wordlistsAccess m.3 wordlists
Access m.3 wordlists
 
ว7 แนวทางและแบบฟอร์มการเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ ก.ค.ศ. พิจารณา
ว7 แนวทางและแบบฟอร์มการเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ ก.ค.ศ. พิจารณาว7 แนวทางและแบบฟอร์มการเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ ก.ค.ศ. พิจารณา
ว7 แนวทางและแบบฟอร์มการเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ ก.ค.ศ. พิจารณา
 
PA.3/4 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานนิเทศการศึกษา)
PA.3/4 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานนิเทศการศึกษา)PA.3/4 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานนิเทศการศึกษา)
PA.3/4 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานนิเทศการศึกษา)
 
PA.3/3 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
PA.3/3 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)PA.3/3 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
PA.3/3 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
 
PA.3/2 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
PA.3/2 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)PA.3/2 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
PA.3/2 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
 
PA.3/1 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานการสอน)
PA.3/1 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานการสอน)PA.3/1 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานการสอน)
PA.3/1 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานการสอน)
 
PA.2 แบบรายงานและรับรองด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
PA.2 แบบรายงานและรับรองด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพPA.2 แบบรายงานและรับรองด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
PA.2 แบบรายงานและรับรองด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
 
PA.1 แบบคำขอ
PA.1 แบบคำขอPA.1 แบบคำขอ
PA.1 แบบคำขอ
 
ว7 กรอบและแนวทางการทดสอบความรู้ความสามารถเชิงทฤษฎีและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพ
ว7 กรอบและแนวทางการทดสอบความรู้ความสามารถเชิงทฤษฎีและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพว7 กรอบและแนวทางการทดสอบความรู้ความสามารถเชิงทฤษฎีและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพ
ว7 กรอบและแนวทางการทดสอบความรู้ความสามารถเชิงทฤษฎีและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพ
 
ว7 ปฏิทินการดำเนินงานตามหลักเกณฑ์
ว7 ปฏิทินการดำเนินงานตามหลักเกณฑ์ว7 ปฏิทินการดำเนินงานตามหลักเกณฑ์
ว7 ปฏิทินการดำเนินงานตามหลักเกณฑ์
 
ว7 คำอธิบายและตัวอย่าง
ว7 คำอธิบายและตัวอย่างว7 คำอธิบายและตัวอย่าง
ว7 คำอธิบายและตัวอย่าง
 
ว7 หลักเกณฑ์และวิธีการ
ว7 หลักเกณฑ์และวิธีการว7 หลักเกณฑ์และวิธีการ
ว7 หลักเกณฑ์และวิธีการ
 

ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

  • 1. ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 21st Century Learning Skills สุรศักดิ์ ปาเฮ* รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่เขต 2 http://www.addkutec3.com บทนา (Introduction) ในยุคแห่งการแข่งขันทางสังคมค่อนข้างสูงในปัจจุบัน ส่งผลต่อการปรับตัวให้ทัดเทียมและเท่าทันกับ ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในบริบททางสังคมในทุกมิติรอบด้าน ดังนั้นการเสริมสร้างองค์ความรู้ ( Content Knowledge ) ทักษะเฉพาะทาง ( Specific Skills ) ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ( Expertise ) และสมรรถนะ ของการรู้เท่าทัน ( Literacy ) จึงเป็นตัวแปรสาคัญที่ต้องเกิดขึ้นกับตัวผู้เรียนในการเรียนรู้ยุคสังคมแห่งการ เปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 นี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ กระแสการปรับเปลี่ยนทางสังคมที่เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 21 ซึ่งเป็นยุคแห่งความเป็นโลกาภิวัตน์ ( The Globalization )ที่ได้เกิดวิวัฒนาการความก้าวหน้าในทุกๆมิติเป็นไปอย่างรวดเร็วและรุนแรง ส่งผลต่อวิถีการ ดารงชีพของสังคมอย่างทั่วถึง ดังนั้นการกาหนดยุทธศาสตร์และการสร้างความพร้อมที่จะรับมือกับการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนั้น เป็นสิ่งที่ท้าทายศักยภาพและความสามารถของมนุษย์ที่จะสร้างนวัตกรรมทางการ เรียนรู้ในลักษณะต่างๆให้เกิดขึ้น และสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว บทความนี้ผู้เขียนขอนาเสนอบทสรุปซึ่งเป็นยุทธศาสตร์การเสริมสร้างทักษะและประสิทธิภาพทางการ เรียนรู้สาหรับผู้เรียนในยุคแห่งศตวรรษที่ 21 โดยเป็นการสรุปประเด็นสาระความรู้ที่ถูกกาหนดเป็นกรอบ แนวคิด ( Framework ) และตัวแบบ ( Model ) จากการศึกษาวิจัยที่น่าสนใจมานาเสนอเพื่อนาไปสู่การ วิเคราะห์ การสังเคราะห์และศึกษาวิจัยพัฒนาสาหรับสร้างองค์ความรู้ที่เหมาะสมต่อบริบทของการเรียนการ สอนยุคใหม่ในสังคมบ้านเราได้ในโอกาสต่อไป *Dip.in Ed. , B.Ed.(English) , M.Ed.(Ed.Tech.) , Ph.D.(Candidate) (Ed.Tech. & Comm.) STOU#1
  • 2. -2- กรอบงานการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21( Framework for 21st Century Learning ) การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 ( 21st Century Learning ) เป็นวลีคากล่าว ( Phrase )ที่กลายมาเป็น ส่วนสาคัญต่อการวิเคราะห์และอภิปรายกันอย่างกว้างขวางของสังคมรอบด้าน ซึ่งได้ถูกกาหนดให้เป็น ยุทธศาสตร์การทางานเพื่อการจัดการศึกษาเรียนรู้ในยุคใหม่นี้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดต่อการจัดการเรียนรู้ และในขณะเดียวกันนั้น ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ( 21st Century Skills ) ก็กลายเป็นยุทธศาสตร์ที่มี ความสาคัญที่นักการศึกษาหลากหลายฝ่ายต่างร่วมกันวิจัยเพื่อสร้างเป็นรูปแบบและนาเสนอแนวปฏิบัติต่อการ เสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัดการศึกษาเรียนรู้ให้เกิดขึ้นเช่นกัน ( Mishra and Kereluik , 2011 ) ดังนั้น การสร้างทักษะเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จึงเป็นลักษณะของการศึกษาวิจัยในเชิงบูรณาการเพื่อ เสริมสร้างประสิทธิภาพแห่งองค์ความรู้ ทักษะ ความเชี่ยวชาญและสมรรถนะให้เกิดกับผู้เรียน เพื่อ ประสิทธิภาพของการเรียนรู้สาหรับการดารงชีพในสังคมแห่งความเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน กรอบแนวคิดของการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 ที่มีตัวแบบ ( Model ) ที่น่าสนใจและนาเสนอใน โอกาสนี้มี 2 ตัวแบบได้แก่ตัวแบบของภาคีเครือข่ายภาคีเพื่อทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ( Partnership for 21st Century Skills , 2007 ) และตัวแบบของ กลุ่มเมทิรี ( METIRI Group , 2003 ) โดยมีรายละเอียดของแต่ละ ตัวแบบของการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 พอสังเขปดังนี้ 1. Model of Partnership for 21st Century Skills เป็นกรอบแนวคิดที่ถูกพัฒนาขึ้นมาโดยภาคีเพื่อทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ( Partnership for 21st Century Skills ) โดยสะท้อนความเป็นไปได้ในด้านต่างๆของการเรียนรู้ที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 ในระบบ การจัดการศึกษาของสหรัฐอเมริกา ซึ่งวิสัยทัศน์ ( Vision ) ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเป็นการเสนอความคิดอย่างเป็น องค์รวมและเป็นระบบเพื่อใช้ในการปรับความคิดและฟื้นฟูการศึกษาของรัฐขึ้นมาใหม่ โดยนาองค์ประกอบ ทั้งหมดมารวมกันทั้งผลการเรียนรู้ของนักเรียนและระบบการสนับสนุนการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ให้กลายเป็น กรอบความคิดรวบยอดหรือมโนทัศน์ ( Concepts ) องค์ประกอบทั้งหมดในโมเดลหรือตัวแบบที่นาเสนอนี้ได้ผ่านการนิยาม การพัฒนา และการตรวจสอบ อย่างถี่ถ้วนจากผู้เชี่ยวชาญชั้นนา นักวิชาการศึกษา นักธุรกิจ ผู้ปกครอง และสมาชิกของชุมชน ซึ่งตัวแบบนี้ บางครั้งจะมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ตัวแบบประกายรุ้ง (Rainbow Model)” ดังมีรายละเอียดที่สาคัญสรุป ได้ดังต่อไปนี้ ( วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง และ อธิป จิตตฤกษ์ , 2554 ; Partnership for 21st Century Skills , 2009 ) ส่วนที่ 1. ด้านผลลัพธ์ที่เกิดกับผู้เรียน ( Student Outcomes ) กล่าวถึง วิชาแกนหลักและแนวคิดสาคัญของการเรียนรู้ (Core Subjects and 21st Learning Themes) ประกอบด้วย
  • 3. -3- - ภาษาอังกฤษ การอ่าน หรือศิลปะการใช้ภาษา - เศรษฐศาสตร์ - ภาษาสาคัญของโลก - วิทยาศาสตร์ - ศิลปะ - ภูมิศาสตร์ - คณิตศาสตร์ - ประวัติศาสตร์ - การปกครองและหน้าที่พลเมือง วิชาแกนหลักสาคัญเหล่านี้ นามาสู่การกาหนดเป็นกรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์สาคัญต่อการจัดการ เรียนรู้ในเนื้อหาเชิงสหวิทยาการ ( Interdisciplinary ) ประกอบด้วย จิตสานึกต่อโลก ( Global Awareness ) โดย 1). ใช้ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ต่อการสร้างความรู้ความเข้าใจและกาหนดประเด็นสาคัญต่อการสร้าง ความเป็นสังคมโลก 2). เรียนรู้จากการมีส่วนร่วมของการทางานเพื่อนาไปสู่การขับเคลื่อนในเชิงวัฒนธรรม ศาสนาและวิถี ชีวิตที่อยู่ร่วมกันได้อย่างเหมาะสมในบริบททางสังคมที่ต่างกันรอบด้าน 3). มีความเข้าในใจในความเป็นมนุษย์ด้วยกันทั้งในด้านเชื้อชาติและวัฒนธรรม รวมทั้งการใช้ วัฒนธรรมทางภาษาที่แตกต่างกันได้อย่างลงตัว ความรู้พื้นฐานด้านการเงิน เศรษฐกิจ ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ ( Financial , Economic , Business and Entrepreneurial Literacy ) โดย 1). รู้วิธีการที่เหมาะสมสาหรับการสร้างตัวเลือกเชิงเศรษฐศาสตร์/เศรษฐกิจ 2). เข้าใจบทบาทในเชิงเศรษฐศาสตร์ที่มีต่อสังคม 3). ใช้ทักษะการเป็นผู้ประกอบการในการยกระดับและเพิ่มประสิทธิผลด้านอาชีพ ความรู้พื้นฐานด้านความเป็นพลเมือง ( Civic Literacy ) โดย 1). สร้างประสิทธิภาพของการมีส่วนร่วมทางสังคมผ่านวิธีการสร้างองค์ความรู้และความเข้าใจใน กระบวนการทางการเมืองการปกครองที่ถูกต้อง 2). การนาวิถีแห่งความเป็นประชาธิปไตยไปสู่สังคมในระดับต่างๆได้ 3). มีความเข้าใจต่อวิถีการปฏิบัติทางสังคมแห่งความเป็นพลเมืองทั้งในระดับท้องถิ่นและสากล ความรู้พื้นฐานด้านสุขภาพอนามัย ( Health Literacy ) โดย 1). มีความรู้ความเข้าใจขั้นพื้นฐานในด้านข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับภาวะสุขภาพอนามัยและนาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต 2). เข้าใจวิธีป้องกันแก้ไข รวมทั้งการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันที่มีต่อภาวะสุขภาพอนามัย ห่างไกลจาก ภาวะความเสี่ยงจากโรคภัยไข้เจ็บที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพร่างกาย
  • 4. -4- 3). ใช้ประโยชน์จากข้อมูลสารสนเทศในการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านสุขภาพอนามัยได้อย่าง เหมาะสมกับบุคคล 4). เฝ้าระวังด้านสุขภาพอนามัยทั้งส่วนบุคคลและครอบครัวให้เกิดความเข้มแข็ง 5). รู้และเข้าใจในประเด็นสาคัญของการเสริมสร้างสุขภาวะที่ดีทั้งในระดับชาติและระดับสากล ความรู้พื้นฐานด้านสิ่งแวดล้อม ( Environmental Literacy ) โดย 1). มีภูมิความรู้และความเข้าใจขั้นพื้นฐานต่อการอนุรักษ์และป้องกันสภาพแวดล้อม รวมทั้งมีส่วนร่วม ในการอนุรักษ์และป้องกันสภาพแวดล้อมดังกล่าว 2). มีภูมิความรู้และความเข้าใจในผลกระทบที่เกิดจากธรรมชาติที่ส่งผลต่อสังคม (ทั้งในด้านการ พัฒนาประชากร การเจริญเติบโตของสรรพสิ่งและแหล่งทรัพยากรทางธรรมชาติ ฯลฯ) 3). วิเคราะห์ประเด็นสาคัญด้านสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและกาหนดวิธีการในการป้องกันแก้ไข รวมทั้งการอนุรักษ์รักษาสภาพแวดล้อมเหล่านั้น 4). สร้างสังคมโดยรวมให้เกิดความร่วมมือในการอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรสิ่งแวดล้อม ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ( Learning and Innovation Skills ) ทักษะด้านนี้จุดเน้นอยู่บนพื้นฐานแห่งการสร้างสรรค์ การคิดแบบมีวิจารณญาณ การสื่อสาร และการ มีส่วนร่วมในการทางาน ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ก. ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม ( Creatively and Innovation ) ประกอบด้วย การคิดสร้างสรรค์ ( Think Creativity ) โดย 1). ใช้เทคนิคของการสร้างสรรค์ทางความคิดที่เปิดกว้าง เช่น การระดมสมอง 2). สร้างสรรค์สิ่งแปลกใหม่และเสริมสร้างคุณค่าทางความคิดและสติปัญญา 3). มีความละเอียดรอบคอบต่อการคิดวิเคราะห์และประเมินแนวความคิด เพื่อนาไปสู่การปรับปรุง และพัฒนางานในเชิงสร้างสรรค์ การทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์ ( Work Creativity with Others ) โดย 1). มุ่งพัฒนา เน้นปฏิบัติและสื่อสารแนวคิดใหม่ๆไปสู่ผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2). เปิดใจกว้างและยอมรับในมุมมองหรือโลกทัศน์ใหม่ๆที่ส่งผลต่อระบบการทางาน 3). เป็นผู้นาในการสร้างสรรค์งาน รวมทั้งมีความรู้และเข้าใจในสภาพการณ์ซึ่งอาจเป็นข้อเท็จจริงหรือ เป็นข้อจากัด โดยพร้อมที่จะยอมรับความคิดหรือสภาพการณ์ใหม่ๆที่เกิดขึ้นนั้นได้ 4). สามารถสร้างวิกฤติให้เป็นโอกาสส่งผลต่อการเรียนรู้ และเข้าใจถึงวิธีการสร้างสรรค์นวัตกรรมที่ ต้องใช้เวลาและสามารถนาเอาข้อผิดพลาดมาปรับปรุงแก้ไขและพัฒนางานได้อย่างต่อเนื่อง การนาเอานวัตกรรมมาสู่การปฏิบัติ ( Implement Innovations ) โดย ปฏิบัติเชิงสร้างสรรค์ให้เกิดคุณประโยชน์ต่อการปรับใช้และพัฒนาจากผลแห่งนวัตกรรมที่นามาใช้
  • 5. -5- ข. การคิดเชิงวิพากษ์และการแก้ไขปัญหา ( Critical Thinking and Problem Solving ) ประกอบด้วย ประสิทธิภาพของการใช้เหตุผล ( Reason Effectively ) ใช้รูปแบบที่ชัดเจนในเชิงเหตุผลทั้งใน เชิงนิรนัย ( Inductive ) และอุปนัย ( Deductive ) ได้เหมาะสมตามสถานการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น การใช้วิธีคิดเชิงระบบ ( Use Systems Thinking ) สามารถคิดวิเคราะห์จากส่วนย่อยไปหาส่วน ใหญ่ได้อย่างเป็นองค์รวมทั้งหมดและเป็นระบบครบวงจรในวิธีคิดหรือกระบวนการคิดนั้น ประสิทธิภาพในการตัดสินใจ ( Make Judgments and Decisions ) โดย 1). สร้างประสิทธิภาพในการวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ เพื่อสร้างการยอมรับและความ น่าเชื่อถือ 2). สามารถวิเคราะห์และประเมินในเชิงทัศนะได้อย่างต่อเนื่อง 3). สังเคราะห์และเชื่อมโยงระหว่างข้อมูลรวมทั้งบทสรุปที่เกิดขึ้น 4). ตีความหมายและให้ข้อสรุปที่ตั้งบนฐานแห่งการวิเคราะห์ที่มีความน่าเชื่อถือมากที่สุด 5). สะท้อนผลได้อย่างมีวิจารญาณ บนพื้นฐานแห่งประสบการและกระบวนการเรียนรู้ การแก้ไขปัญหา ( Solve Problems ) โดย 1). แก้ไขปัญหาที่มีความแตกต่างได้ทั้งปัญหาซ้าซากและปัญหาที่อุบัติขึ้นใหม่ในหลากหลายเทคนิค วิธีการ 2). สามารถกาหนดเป็นประเด็นคาถามสาคัญที่จะนาไปสร้างเป็นจุดเน้นในการแก้ไขปัญหาตาม สถานการณ์ที่เหมาะสมและดีที่สุด ค. การสื่อสารและการมีส่วนร่วม ( Communication and Collaboration ) ประกอบด้วย การสื่อสารได้ชัดเจนมีประสิทธิภาพ ( Communication Clearly ) โดย 1). สร้างความถูกต้องชัดเจนในการสื่อความหมายทั้งการพูด การเขียน หรือการใช้ทักษะอื่นๆ ในทางอวัจนภาษา ( Non-verbal )ในรูปแบบต่างๆ 2). มีประสิทธิภาพทางการรับฟังที่สามารถสร้างทักษะสาหรับการถอดรหัสความหมาย การสรุปเป็น ความรู้ สร้างคุณค่า ทัศนคติ และเกิดความสนใจใฝ่รู้ 3). ใช้การสื่อสารในการกาหนดจุดมุ่งหมายเฉพาะทั้งการรายงาน การสอน การสร้างแรงจูงใจ 4). ใช้สื่อเทคโนโลยีหลากหลายและรู้วิธีการใช้สื่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5). สื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพท่ามกลางสภาพแวดล้อมหรือบริบทที่ต่างกัน การทางานร่วมกับผู้อื่น ( Collaborate with Others ) โดย 1). มีความสามารถในการเป็นผู้นาในการทางานและเกิดการยอมรับในทีมงาน
  • 6. -6- 2). มีกิจกรรมการทางานที่สร้างความรับผิดชอบและก่อให้เกิดความสุขในการทางานเพื่อให้บรรลุผล ตามที่มุ่งหวัง 3). สร้างการมีส่วนร่วมในความรับผิดชอบในภารกิจงาน และแต่ละคนมองเห็นคุณค่าของการทางาน เป็นหมู่คณะ ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี ( Information , Media and Technology Skills ) ได้แก่องค์ประกอบสาคัญดังต่อไปนี้ ก. ความรู้พื้นฐานด้านสารสนเทศ ( Information Literacy ) ประกอบด้วย การเข้าถึงและการประเมินสารสนเทศ ( Access and Evaluate Information ) โดย 1). เข้าถึงสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ด้านเวลา) และเกิดประสิทธิผล (แหล่งข้อมูล สารสนเทศ) 2). ประเมินสารสนเทศได้อย่างมีวิจารณญาณตามสมรรถนะที่เกิดขึ้น การใช้และการจัดการสารสนเทศ ( Use and Manage Information ) โดย 1). เพิ่มประสิทธิภาพการใช้สารสนเทศอย่างสร้างสรรค์และตรงกับประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้น 2). จัดการกับสารเทศได้อย่างต่อเนื่อง จากแหล่งข้อมูลที่มีอยู่มากมายหลากหลาย 3). มีความรู้พื้นฐานที่จะประยุกต์ใช้สารสนเทศตามกรอบแห่งคุณธรรมจริยธรรมที่มีปัจจัย เสริมอยู่รอบด้าน ข. ความรู้พื้นฐานด้านสื่อ ( Media Literacy ) ประกอบด้วย ความสามารถในการวิเคราะห์สื่อ ( Analyze Media ) โดย 1). เข้าใจวิธีการใช้และการผลิตสื่อเพื่อให้ตรงกับเป้าประสงค์ที่กาหนด 2). สามารถใช้สื่อเพื่อตอบสนองต่อความแตกต่างของปัจเจกชน รู้คุณค่าและสร้างจุดเน้น รู้ ถึงอิทธิพลของสื่อที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภคสื่อ 3). มีความรู้พื้นฐานที่จะประยุกต์ใช้สื่อได้ตามกรอบแห่งคุณธรรมจริยธรรมที่มีปัจจัยเสริมอยู่ รอบด้าน ความสามารถในการผลิตสื่อสร้างสรรค์ ( Create Media Products ) โดย 1). มีความรู้ความเข้าใจต่อการใช้สื่ออย่างสร้างสรรค์และเหมาะสมตามคุณลักษณะเฉพาะ ของตัวสื่อประเภทนั้นๆ 2). มีความรู้ความเข้าใจต่อการใช้สื่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสนองต่อความแตกต่างใน เชิงวัฒนธรรมอย่างรอบด้าน ค. ความรู้พื้นฐานด้านไอซีที ( ICT : Information , Communication and Technology Literacy ) ประกอบด้วย
  • 7. -7- ประสิทธิผลของการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ( Apply Technology Efficiency ) โดย 1). ใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือเพื่อการวิจัย การจัดการองค์กร การประเมินและการสื่อสาร ทางสารสนเทศ 2). ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ( คอมพิวเตอร์ , PDAs , Media Players etc. ) ในการสื่อสารและ การสร้างเครือข่าย รวมทั้งการเข้าถึงสื่อทางสังคม ( Social Media ) ได้อย่างเหมาะสม 3). มีความรู้พื้นฐานในการประยุกต์ใช้ ICT ได้ตามกรอบแห่งคุณธรรมจริยธรรมที่มีข้อมูล หลากหลายรอบด้าน ทักษะชีวิตและงานอาชีพ ( Life and Career Skills ) ประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญในด้าน ต่างๆดังต่อไปนี้ ก. ความยืดหยุ่นและการปรับตัว ( Flexibility and Adaptability ) ได้แก่ การปรับตัวเพื่อรับการเปลี่ยนแปลง ( Adapt to Change ) โดย 1). ปรับตัวตามบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบและบริบทตามช่วงเวลาที่กาหนด 2). ปรับตัวเพื่อการเปลี่ยนแปลงบรรยากาศของการทางานในองค์กรที่ดีขึ้น เกิดความยืดหยุ่นในการทางาน ( Be Flexible ) โดย 1). สามารถหลอมรวมผลสะท้อนของงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2). เป็นผู้นาที่สร้างสรรค์ให้เกิดผลเชิงบวกกับการทางาน 3). มีความรู้ความเข้าใจในการสร้างความสมดุลและความเสมอภาคอย่างรอบด้าน เพื่อ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเชิงสร้างสรรค์ของการทางาน ข. เป็นผู้มีความคิดริเริ่มและเป็นผู้นา ( Initiative and Self-Direction ) ได้แก่ การจัดการด้านเป้าหมายและเวลา ( Manage Goals and Time ) โดย 1). กาหนดเป้าหมายได้ชัดเจนบนฐานความสาเร็จตามเกณฑ์ที่กาหนด 2). สร้างความสมดุลในเป้าหมายที่กาหนด (ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว) 3). ใช้เวลาและการจัดการให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการทางาน การสร้างงานอิสระ ( Work Independently ) โดย 1). กากับติดตาม จาแนกวิเคราะห์ จัดเรียงลาดับความสาคัญ และกาหนดภารกิจงานอย่างมี อิสระปราศจากการควบคุมจากภายนอก เป็นผู้นาที่มีประสิทธิภาพในตนเอง ( Be Self-Directed Learners ) โดย 1). มุ่งมั่นสู่ความเชี่ยวชาญทั้งทางด้านทักษะ ความรู้และขยายผลสู่ความเป็นเลิศ 2). เป็นผู้นาเชิงทักษะขั้นสูง มุ่งสู่ความเป็นมืออาชีพ 3). เป็นผู้นาในการเรียนรู้ตลอดชีวิต ( Lifelong Learning )
  • 8. -8- 4). สามารถสะท้อนผลและเก็บเกี่ยวประสบการณ์จากอดีตมุ่งสู่เส้นทางแห่งความก้าวหน้าใน อนาคต ค. ทักษะทางสังคมและการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม ( Social and Cross-Cultural Skills ) ประกอบด้วย ประสิทธิผลเชิงปฏิสัมพันธ์ร่วมกับผู้อื่น ( Interact Effectively with Others ) โดย 1). รอบรู้ในการสร้างประสิทธิภาพ จังหวะเวลาที่เหมาะสมในการฟัง-การพูดในโอกาสต่างๆ 2). สร้างศักยภาพต่อการควบคุมให้เกิดการยอมรับในความเป็นผู้นาทางวิชาชีพ การสร้างทีมงานที่มีคุณภาพ ( Work Effectively in Diverse Teams ) โดย 1). ยอมรับในข้อแตกต่างทางวัฒนธรรมและภารกิจงานของทีมงานที่แตกต่างกันหลากหลาย ลักษณะ 2). เปิดโลกทัศน์และปลุกจิตสานึกเพื่อมองเห็นการยอมรับในข้อแตกต่าง สามารถมองเห็น คุณค่าในความแตกต่างเหล่านั้น 3). พึงระลึกเสมอว่าข้อแตกต่างเชิงสังคมและวัฒนธรรมนั้น สามารถนามาสร้างสรรค์เป็น แนวคิดใหม่ๆให้เกิดขึ้นได้ โดยการคิดค้นนวัตกรรมเพื่อการสร้างงานอย่างมีคุณภาพ ง. การเพิ่มผลผลิตและการรู้รับผิด ( Productivity and Accountability ) ประกอบด้วย การจัดการโครงการ ( Manage Projects ) โดย 1). กาหนดเป้าหมายให้ชัดเจนเพื่อมุ่งสู่ความสาเร็จของงาน 2). วางแผน จัดเรียงลาดับความสาคัญของงานและบริหารจัดการให้เกิดผลลัพธ์ที่มุ่งหวัง ผลผลิตที่เกิดขึ้น ( Produce Results ) โดยสร้างผลผลิตที่มีคุณภาพสูง โดยมีจุดเน้นใน ด้านต่างๆได้แก่ 1). การทางานทางวิชาชีพที่สุจริต 2). สามารถบริหารเวลาและบริหารโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3). เน้นภารกิจงานในเชิงสหกิจ ( Multi-tasks ) 4). การมีส่วนร่วมอย่างแข็งขัน 5). นาเสนอผลงานได้อย่างมืออาชีพ 6). ยอมรับผลผลิตที่เกิดขึ้นด้วยความชื่นชม จ. ภาวะผู้นาและความรับผิดชอบ ( Leadership and Responsibility ) ประกอบด้วย ความเป็นตัวแบบและเป็นผู้นาคนอื่น ( Guide and Lead Others ) โดย 1). ใช้ทักษะการแก้ไขปัญหาระหว่างบุคคลได้ เพื่อนาพาองค์การก้าวบรรลุจุดมุ่งหมาย 2). เป็นตัวกลางหรือผู้ประสานงานที่มีประสิทธิภาพ สามารถชี้นาและนาพาองค์การก้าวสู่ ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์
  • 9. -9- 3). ยอมรับความสามารถของคณะทางานหรือผู้ร่วมงานที่มีความแตกต่างกัน 4). เป็นแบบอย่างในพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ผู้อื่นยอมรับ ส่วนที่ 2. ระบบสนับสนุนการศึกษาของศตวรรษที่ 21 ( 21st Century Support Systems ) เป็นปัจจัยสนับสนุนที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดประสิทธิภาพสูงสุดทางการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ตาม โมเดลที่กล่าวถึง ทั้งนี้ปัจจัยสาคัญจะประกอบไปด้วย มาตรฐานในศตวรรษที่ 21 ( 21st Century Standards ) จุดเน้น 1). เน้นทักษะ ความรู้และความเชี่ยวชาญที่เกิดกับผู้เรียน 2). สร้างความรู้ความเข้าใจในการเรียนในเชิงสหวิทยาการระหว่างวิชาหลักที่เป็นจุดเน้น 3). มุ่งเน้นการสร้างความรู้และเข้าใจในเชิงลึกมากกว่าการสร้างความรู้แบบผิวเผิน 4). ยกระดับความสามารถผู้เรียนด้วยการให้ข้อมูลที่เป็นจริง การใช้สื่อหรือเครื่องมือที่มีคุณภาพจาก การเรียนรู้ในสถานศึกษา การทางานและในการดารงชีวิตประจาวัน ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความหมายและ สามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้ 5). ใช้หลักการวัดประเมินผลที่มีคุณภาพระดับสูง การประเมินทักษะในศตวรรษที่ 21 ( Assessment of 21st Century Skills ) จุดเน้น 1). สร้างความสมดุลในการประเมินผลเชิงคุณภาพ โดยการใช้แบบทดสอบมาตรฐานสาหรับการ ทดสอบย่อยและทดสอบรวมสาหรับการประเมินผลในชั้นเรียน 2). เน้นการนาประโยชน์ของผลสะท้อนจากการปฏิบัติของผู้เรียนมาปรับปรุงแก้ไขงาน 3). ใช้เทคโนโลยีเพื่อยกระดับการทดสอบวัดและประเมินผลให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด 4). สร้างและพัฒนาระบบแฟ้มสะสมงาน ( Portfolios ) ของผู้เรียนให้เป็นมาตรฐานและมีคุณภาพ หลักสูตรและการสอนในศตวรรษที่ 21 ( 21st Century Curriculum & Instruction ) 1). การสอนให้เกิดทักษะการเรียนในศตวรรษที่ 21 มุ่งเน้นเชิงสหวิทยาการของวิชาแกนหลัก 2). สร้างโอกาสที่จะประยุกต์ทักษะเชิงบูรณาการข้ามสาระเนื้อหา และสร้างระบบการเรียนรู้ที่เน้น สมรรถนะเป็นฐาน ( Competency-based ) 3). สร้างนวัตกรรมและวิธีการเรียนรู้ในเชิงบูรณาการที่มีเทคโนโลยีเป็นตัวเกื้อหนุน การเรียนรู้แบบ สืบค้น และวิธีการเรียนจากการใช้ปัญหาเป็นฐาน( Problem-based )เพื่อการสร้างทักษะขั้นสูงทางการคิด 4). บูรณาการแหล่งเรียนรู้( Learning Resources )จากชุมชนเข้ามาใช้ในโรงเรียน
  • 10. -10- การพัฒนาทางวิชาชีพในศตวรรษที่ 21 ( 21st Century Professional Development ) 1). จุดมุ่งหมายสาคัญเพื่อการสร้างครูให้เป็นผู้ที่มีทักษะความรู้ความสามารถในเชิงบูรณาการ การใช้ เครื่องมือและกาหนดยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติในชั้นเรียน และสร้างให้ครูมีความสามรรถในการวิเคราะห์และ กาหนดกิจกรรมการเรียนรู้ได้เหมาะสม 2). สร้างความสมบูรณ์แบบในมิติของการสอนด้วยเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย 3). สร้างให้ครูเป็นผู้มีทักษะความรู้ความสามารถในเชิงลึกเกี่ยวกับการแก้ปัญหา การคิดแบบ วิจารณญาณ และทักษะด้านอื่นๆที่สาคัญต่อวิชาชีพ 4). เป็นยุคแห่งการสร้างสมรรถนะทางวิชาชีพให้เกิดขึ้นกับครูเพื่อเป็นตัวแบบ ( Model ) แห่งการ เรียนรู้ของชั้นเรียนที่จะนาไปสู่การสร้างทักษะการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนได้อย่างมีคุณภาพ 5). สร้างให้ครูเป็นผู้ที่มีความสามารถวิเคราะห์ผู้เรียนได้ทั้งรูปแบบการเรียน สติปัญญา จุดอ่อนจุดแข็ง ในตัวผู้เรียน เหล่านี้เป็นต้น 6). ช่วยให้ครูได้เกิดการพัฒนาความสามารถให้สูงขึ้นเพื่อนาไปใช้สาหรับการกาหนดกลยุทธ์ทางการ สอนและจัดประสบการณ์ทางการเรียนได้เหมาะสมกับบริบททางการเรียนรู้ 7). สนับสนุนให้เกิดการประเมินผู้เรียนอย่างต่อเนื่องเพื่อสร้างทักษะและเกิดการพัฒนาการเรียนรู้ 8). แบ่งปันความรู้ระหว่างชุมชนทางการเรียนรู้โดยใช้ช่องทางหลากหลายในการสื่อสารให้เกิดขึ้น 9). สร้างให้เกิดตัวแบบที่มีการพัฒนาทางวิชาชีพได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน สภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ( 21st Century Learning Environment ) 1). สร้างสรรค์แนวปฏิบัติทางการเรียน การรับการสนับสนุนจากบุคลากรและสภาพแวดล้อมทาง กายภาพที่เกื้อหนุน เพื่อช่วยให้การเรียนการสอนบรรลุผล 2). สนับสนุนทางวิชาชีพแก่ชุมชนทั้งในด้านการให้การศึกษา การมีส่วนร่วม การแบ่งปันสิ่งปฏิบัติที่ เป็นเลิศระหว่างกันรวมทั้งการบูรณาการหลอมรวมทักษะหลากหลายสู่การปฏิบัติในชั้นเรียน 3). สร้างผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากสิ่งที่ปฏิบัติจริงตามบริบท โดยเฉพาะการเรียนแบบโครงงาน 4). สร้างโอกาสในการเข้าถึงสื่อเทคโนโลยี เครื่องมือหรือแหล่งการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ 5). ออกแบบระบบการเรียนรู้ที่เหมาะสมทั้งการเรียนเป็นกลุ่มหรือการเรียนรายบุคคล 6). นาไปสู่การพัฒนาและขยายผลสู่ชุมชนทั้งในรูปแบบการเผชิญหน้าหรือระบบออนไลน์ ที่กล่าวมาทั้งหมดในเบื้องต้นนั้น เป็นการสร้างกรอบแนวคิดของการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 ที่ผ่านกระบวนการวิจัยโดย Partnership for 21st Century Skills เป็นตัวแบบที่นาเสนอใน รายละเอียดของตัวแปรหรือองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาศักยภาพทางการเรียนรู้ในสังคมยุคใหม่ที่ ต้องคานึงถึง และต้องสร้างให้เกิดขึ้นกับผู้เกี่ยวข้องกับการศึกษาทุกฝ่ายทั้งครู นักเรียน ผู้บริหาร ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย ( Stakeholders )
  • 11. -11- ตัวแบบ ( Model ) ซึ่งเป็นมิติของการสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่กล่าวมานั้นสามารถ นาเสนอเป็นรูปแบบเชิงกราฟิก ( Graphic )ดังภาพต่อไปนี้ ภาพที่ 1. Model of 21st Century Student Outcomes and Support Systems Source : http://www.21stcenturyskills.com กรอบแนวคิดเชิงมโนทัศน์สาหรับทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ที่นาเสนอโดยกลุ่มภาคีเพื่อทักษะแห่ง ศตวรรษที่ 21 ( Partnership for 21st Century Skills ) เป็นกรอบแนวคิดที่ผ่านการวิจัยและพัฒนามาอย่าง เข้มแข็งเป็นระบบ สามารถตอบสนองความต้องการที่กาลังเปลี่ยนแปลงของสังคมที่เผชิญอยู่ และกรอบ แนวคิดนี้ได้รับการสนับสนุนอย่างต่อเนื่องจากองค์กรสนับสนุนด้านการศึกษาหลายแห่ง รวมทั้งภาคธุรกิจ เอกชนและผู้กาหนดนโยบายทางการศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน ฯลฯ จนสามารถพัฒนากลายเป็นวิสัยทัศน์เพื่อ การศึกษารอบด้านและมีเป้าหมายที่ชัดเจน เหตุผลสาคัญที่กรอบแนวคิดดังกล่าวเป็นที่ยอมรับในสังคมวง กว้างเนื่องจากเหตุผลหลายประการดังที่เคน เคย์ ( Ken Kay, JD. อ้างถึงใน วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง และอธิป จิตตฤกษ์ , 2554 ) ได้กล่าวไว้สรุปได้ดังนี้ 1. กรอบแนวคิดนี้เน้นที่ผลลัพธ์ที่สาคัญ เป็นผลลัพธ์ทั้งในด้านความรู้ในวิชาแกนและทักษะแห่ง ศตวรรษใหม่ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนได้เตรียมความพร้อมหลายด้านทั้งการรู้จักวิธีคิด , เรียนรู้ , ทางาน , แก้ปัญหา, สื่อสาร , และร่วมมือทางานได้อย่างมีประสิทธิผลไปตลอดชีวิต
  • 12. -12- 2. กรอบแนวคิดนี้เห็นว่าระบบสนับสนุนการศึกษาโดยเฉพาะประสบการณ์ในการเรียนรู้ทางวิชาชีพ เป็นสิ่งสาคัญ กล่าวกันว่าการพัฒนาวิชาชีพคือส่วนที่สาคัญที่สุดในการเปลี่ยนแปลง 3. กรอบความคิดนี้ตรงกับความคิดของผู้กาหนดนโยบาย นักการศึกษา ประชาคมธุรกิจ องค์กรชุมชน และผู้ปกครอง เหตุผลสาคัญที่กล่าวถึงเหล่านี้จึงเป็นคาตอบที่ชัดเจนว่ากรอบแนวคิดของกลุ่มภาคีเครือข่ายนี้เป็นที่ ยอมรับกันในวงกว้างต่อการนาไปปรับใช้ในแต่ละบริบทสังคมเพื่อสร้างศักยภาพทางการเรียนรู้ในสังคมแห่ง การเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันได้อย่างเหมาะสม 2. Model of en Gauge 21st Century Skills โมเดล ( Model ) ดังกล่าวถูกพัฒนาขึ้นมาโดยกลุ่มเมทิรี ( Metiri Group ) และห้องวิจัยการศึกษา เขตภาคกลางตอนเหนือ ( NCREL : North Central Regional Educational Laboratory ) ประเทศ สหรัฐอเมริกาที่ได้เสนอกรอบแนวคิดสาคัญสาหรับศตวรรษที่ 21 เมื่อปี 2003 โดยใช้ชื่อว่า “en Gauge 21st Century Skills” ซึ่งแนวคิดนี้ได้เพิ่มความรู้พื้นฐานด้านข้อมูลข่าวสารและรวม “ความอยากรู้” , “ความกล้า เสี่ยง” และ “การจัดการความซับซ้อน” เข้าไว้ในทักษะหลักด้วย กรอบแนวคิดนี้เน้นเรื่อง “การจัดลาดับ ความสาคัญ การวางแผน และการจัดการเพื่อมุ่งผลลัพธ์” และเห็นว่า “ความรู้พื้นฐานทางพหุวัฒนธรรม ( Multicultural Literacy )” เป็นองค์ประกบที่ชัดเจนอีกอย่างหนึ่งหากไม่นับกลุ่ม “การสื่อสารอย่างมี ประสิทธิผล” แล้ว กรอบความคิด en Gauge นี้เน้นเรื่องความคาบเกี่ยวของหลักสูตรกับเนื้อหาน้อยกว่ากรอบ ความคิดของกลุ่ม Partnership แต่เน้นในเรื่องเนื้อหาความรู้ตามบริบทมากกว่า ( Chris Dede , Ed.D อ้าง ในวรพจน์ วงศกิจรุ่งเรือง และ อธิป จิตตฤกษ์ , 2554 ) กรอบแนวคิดของ en Gauge 21st Century Skills ของ NCREL/Metiri Group ประกอบด้วย องค์ประกอบหลัก 4 องค์ประกอบได้แก่ ( NCREL / METIRI Group , 2003 ) 1. ความรู้พื้นฐานในยุคดิจิทัล ( Digital-Age Literacy ) ประกอบด้วยความรู้พื้นฐานด้าน วิทยาศาสตร์ เศรษฐศาสตร์และเทคโนโลยี ความรู้พื้นฐานเชิงทัศนะและข้อมูล ความรู้พื้นฐานทางพหุ วัฒนธรรมและจิตสานึกต่อโลก 2. การคิดเชิงนวัตกรรมและสร้างสรรค์ ( Inventive Thinking ) ประกอบด้วย ความสามารถใน การปรับตัว การจัดการความซับซ้อน และความสามารถในการชี้นาตนเอง ความอยากรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และความกล้าเสี่ยง การคิดระดับสูงและการใช้เหตุผลที่ดี 3. การสื่อสารอย่างมีประสิทธิผล ( Effective Communication ) ประกอบด้วย การทางานเป็น ทีม ความร่วมมือ และทักษะด้านปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อสังคม และความ รับผิดชอบในฐานะพลเมือง การสื่อสารและการโต้ตอบ
  • 13. -13- 4. การเพิ่มผลผลิตในระดับสูง ( High Productivity ) ประกอบด้วย การจัดลาดับความสาคัญ การ วางแผนและการจัดการเพื่อมุ่งผลลัพธ์ การใช้เครื่องมือจริงอย่างมีประสิทธิผล ความสามารถในการสร้าง ผลผลิตที่มีคุณภาพและเหมาะสม ตัวแบบ ( Model ) ของ NCREL/Metiri Group แสดงให้เห็นจากภาพกราฟิกต่อไปนี้ ภาพที่ 2. Model of en Gauge 21st Century Skills Source : NCREL and Metiri Group ( 2003 ) p.15 การกาหนดเป็นวิสัยทัศน์สู่การปรับแนวคิดสู่การปฏิรูปการศึกษาไทย การสร้างความเข้มแข็งทางการศึกษาของไทยภายใต้บริบทแห่งการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นย่อมเป็นสิ่งที่ ทุกฝ่ายควรตระหนักและมองเห็นความสาคัญในการกาหนดยุทธศาสตร์ของการพัฒนาคนสู่การพัฒนาชาติ เพื่อ ก้าวสู่สังคมโลกท่ามกลางสภาพการณ์แห่งการแข่งขันในปัจจุบัน การสร้างความเข้มแข็งของคนในชาติในการ
  • 14. -14- จัดการศึกษา จะเป็นปัจจัยสาคัญที่ทุกฝ่ายต้องร่วมกันทางานอย่างเป็นองค์รวม โดยเฉพาะอย่างยิ่งภายใต้ ยุทธศาสตร์ของการปฏิรูปการศึกษา ( Educational Reform ) นั้นย่อมมีความสาคัญและจาเป็นที่ต้องร่วมกัน กาหนดยุทธศาสตร์เพื่อสร้างความรู้แก่คนในชาติอย่างมีคุณค่าและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ส่งผลต่อการปฏิรูป และเกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน ( Sustainable Development ) ภายใต้ยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 ที่มุ่งพัฒนาและปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ของการ ทางานใหม่ทั้ง 4 ด้านได้แก่ การปฏิรูปผู้เรียนยุคใหม่ การปฏิรูปครูยุคใหม่ การปฏิรูปโรงเรียนและแหล่งเรียนรู้ ยุคใหม่ และการปฏิรูประบบบริหารจัดการยุคใหม่ นั้นน่าจะมีการวิเคราะห์วิจัยเพื่อปรับแนวคิดของตัวแบบที่ นาเสนอทั้งสองตัวแบบดังกล่าวนั้นมาปรับใช้กับการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่สองนี้ให้เกิดความเหมาะสมกับ บริบททางสังคมรอบด้าน เนื่องจากปัจจัยต่างๆที่จะสร้างทักษะความรู้จากงานวิจัยทั้ง 2 งานดังกล่าวข้างต้น นั้น ต่างสอดรับกับกระบวนทัศน์ ( Paradigm )ของการปฏิรูปการศึกษาตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ ซึ่งความสัมพันธ์ดังกล่าวอาจสรุปให้เห็นจากภาพต่อไปนี้ ภาพที่ 3. การปรับกระบวนทัศน์การศึกษายุคใหม่ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา กรอบแนวความคิดของการปรับกระบวนทัศน์ปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่สองนี้ จะนาเอาฐานแนวคิด จากการศึกษาวิจัยจากตัวแบบทั้งสองคือ Partnership Model และ en Gauge Model นามาหลอมรวมแล้ว นาไปสู่การกาหนดแนวยุทธศาสตร์ในเชิงบูรณาการ ( Integration ) โดยยึดหลักความเหมาะสมกับสภาพแห่ง บริบท ( Context )รอบด้านเป็นประการสาคัญ ซึ่งเป็นสิ่งที่นักการศึกษาที่รับผิดชอบทุกฝ่ายน่าจะนาไปสู่การ กาหนดกรอบแนวคิดใหม่ภายใต้กระแสการเปลี่ยนแปลงในสังคมปัจจุบัน ................... Model of Partnership for 21st Century Skills Model of en Gauge 21st Century Skills Educational Reformation ปฏิรูปผู้เรียนยุคใหม่ ปฏิรูปครูยุคใหม่ ปฏิรูปโรงเรียนยุคใหม่ ปฏิรูประบบบริหารยุคใหม่
  • 15. -15- แหล่งค้นคว้าเพิ่มเติม วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง และ อธิป จิตตฤกษ์ (แปล). ทักษะแห่งอนาคตใหม่ : การศึกษาเพื่อศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ Open Worlds. , 2554. Mishra , Punya and Kereluik , Kristen. What 21st Century Learning? A Review and a Synthesis. (online) Available from http://www.punya.edu.msu.edu/publications/ 21stCenturyKnowledge-PM-KK.pdf. ( November 18 , 2012 ) North Central Regional Laboratory & Metiri Group. En Gauge 21st Century Skills : Literacy in The Digital Age. Chicago : North Central Regional Educational Laboratory , 2003. Partnership for 21st Century Skills. P21 Framework Definitions. (online) Available from http://www.p21.org/storage/documents/P21-Framework -Definitions.pdf. ( November 18 , 2012 ) ---------- . Framework for 21st Century Learning. (online) Available from http://www.21st Centuryskills.org.pdf. ( November 18 , 2012 ) Doctoral Program in Educational Technology and Communications #1. Sukhothai Thammathirat Open University (STOU). Thailand.