SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 54
I nformation   T echnology   for   T oursim   and   E ntertainment Sudin Chaohinfa Administration Communication 2/2550 Krirk University
C ourse   C ontent   O utline 1. ศึกษาความรู้และทักษะ ในการออกแบบ - เผยแพร่เว็บไซต์ (Learning and Skill for Website Construction) 2. วิเคราะห์  วางแผน ออกแบบ จัดทำ ทดสอบ ส่งข้อมูล เผยแพร่ (Analysis, Select Project, Design, Implementation, Promotion) 3. เนื้อหาสาระ เกี่ยวกับการท่องเที่ยวและบันเทิง ( สาระ  =   Content,  สรรสาระ  = Context)
C ourse   C ontent   O utline สาระ  =   Content - สาระบันเทิง     (Valuable Entertainment / Edu-tainment) - สุขภาพ / สุขภาวะ   (Health) - นิเวศวิทยาและนิเวศสารสนเทศ    (Ecology & Eco-infology)   - นวัตกรรมทางสังคม  ( Neo-social technology ) * เศรษฐกิจพอเพียง   (Sufficient Economy) * ทุนทางสังคม   (Social Input/Output Resource) * เครือข่ายชุมชน  (Community Network) - การจัดการความรู้  ( Knowledge Management )
C ourse   C ontent   O utline สรรสาระ  =   Context + Philosophy + Paradigm,  + Motion + Ethics + Arts  &  Science + Academic   &   Ideas + Creativity
C ourse  C oncept  เรียนวิชานี้จะได้อะไร และจะต้องทำอะไร 1. Learning = Knowledge  (IT, Valuable Content) 2. Skill = IT Planning 3. Construction = Website 4. Presentation = Internet Project &  Webpage
แผนการเรียน ศึกษา  4   เรื่องคือ  1 .  สาระ :   - นิยามความหมาย  - สาระบันเทิง  - สุขภาวะ  - นิเวศ  - นวัตกรรม  - ความรู้   ( ครั้งที่   1 ) 2 .  สรรสาระ :  - philosophy,  - paradigm,  - arts   &   science,   academic & idea, creativity  ( ครั้งที่  4 ) 3 .  ทักษะพื้นฐาน :   - ระบบสารสนเทศ  - เว็บไซต์ วิเคราะห์ ออกแบบ สร้างหน้าเว็บ  ( ครั้งที่  3 ) ( ครั้งที่  7 ) 4 .  การใช้โปรแกรม :   Dreamweaver  ( ครั้งที่  5 ) ( ครั้งที่  6 ) 5 .  แบบฝึกหัด :   เขียนแผน และโครงสร้างการจัดทำเว็บ  ( ครั้งที่  2 ) ( ครั้งที่  8 : presentation workshop )
W orkshop Web Design / Upload / Browser ตามเกณฑ์การประเมิน ดังนี้ เกณฑ์วัดผลคุณภาพงานสาร สนเทศ เพื่อการ ท่องเที่ยวและบันเทิง
วิธีศึกษา : ( 1) เข้าฟังบรรยาย และฝึกปฏิบัติ  Web Application  Software  ผ่าน  Notebook /Labtop PC (2) ศึกษาด้วยตนเอง  จาก  http://elearning.nectec.or.th/index.php (3) download: www.truexpert.info   ติดต่อวิชาเรียน นศ .9204
นิยาม ความหมาย
การท่องเที่ยว หมายถึง  “ การเดินทางไปยังแหล่ง หรือสถานที่เป้าหมาย เพื่อวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่าง  คือ  (1)  เพื่อผ่อนคลายอิริยาบทจากงานประจำ และสร้างความรื่นรมย์ของจิตใจ  (2)  เพื่อศึกษา ค้นหาคำตอบ หรือ แลกเปลี่ยน ความรู้ และประสบการณ์  (3)  เพื่อ จรรโลงใจ และการ โน้มน้าวใจ  ให้เกิดความ ตระหนัก และ สำนึก ” นิยาม :  ความหมายของการท่องเที่ยว และบันเทิง
ความบันเทิง แบ่งออกเป็น  3  ระดับ   ABC ระดับที่  1 *   หมายถึง   ความรู้สึกผ่อนคลายจากอิริยาบทจากงานประจำ ระดับที่  2 **  หมายถึง   การสร้างบรรยากาศ หรือปรากฏการณ์ เพื่อส่งเสริมให้เกิด ความรู้สึก  รัก - ชอบ ,  เลื่อมใส - ศรัทธา ,   ตระหนัก - สำนึก ,  เชื่อถือ - เชื่อมั่น นิยาม :  ความหมายของการท่องเที่ยว และบันเทิง
ระดับที่  3 ***   หมายถึง  การสร้างบรรยากาศให้เกิดความรู้สึก  สนุกสนาน ตื่นเต้น ตระหนก ตระหนัก สำนึก ซาบซึ้ง   เพื่อเป็นแรงบันดาลใจ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตน  จากเลวไปเป็นดี จากดีให้ดียิ่งขึ้น ไปจนถือดีที่สุด และ ดีเสมอ   ( ดีถาวร ) นิยาม :  ความหมายของการท่องเที่ยว และบันเทิง
ประเภทของการท่องเที่ยว   มี  6  ประเภ ท  คือ (1) การท่องเที่ยวบันเทิง  (2)  การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม  (3)  การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ *   (4)  การท่องเที่ยวเชิงพานิชย์  (5)  การท่องเที่ยวเชิงวิชาการ (6) การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
ECOTOURISM  มาจากคำว่า  Ecology =  นิเวศวิทยา  +  Tourism =  การท่องเที่ยว  สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ให้คำจำกัดความของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ไว้ว่า   การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ หมายถึงการท่องเที่ยวที่เกี่ยวเนื่องกับ ระบบนิเวศ  โดยมีกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน ของผู้เกี่ยวข้อง ภายใต้การจัดการสิ่งแวดล้อม และการท่องเที่ยว อย่างมีส่วนร่วมของท้องถิ่น เพื่อมุ่งให้เกิดจิตสำนึกต่อการรักษาระบบนิเวศอย่างยั่งยืน การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ  ( Ecotourism )
ECOTOURISM  มาจากคำว่า  Ecology =  นิเวศวิทยา  +  Tourism =  การท่องเที่ยว  สรุปว่า การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ก็คือการท่องเที่ยว  ที่มี ระบบ นิเวศวิทยา เป็นรากฐาน หรือการท่องเที่ยว  ที่มีธรรมชาติ เป็นรากฐานนั่นเอง  และนอกจากการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ จะเป็นการท่องเที่ยวเยี่ยมชมโดยปกติแล้ว  ยังจะช่วยส่งเสริมความเข้าใจ  ในคุณลักษณะทางวิทยาศาสตร์ และนิเวศวิทยา  ของจุดสนใจทางธรรมชาติอีกด้วย การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ  ( Ecotourism )
องค์ประกอบของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ 1. องค์ประกอบด้านพื้นที่ 2. องค์ประกอบด้านการจัดการ 3. องค์ประกอบด้านกิจกรรมและกระบวนการ  4. องค์ประกอบด้านการมีส่วนร่วม [* กมล นวลใย .  การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ อุทยานแห่งชาติไทรโยก จังหวัดกาญจนบุรี .  สไลด์ประกอบคำบรรยาย เมื่อ  25  มีนาคม  2550] การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ  ( Ecotourism )*
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ  ( Ecotourism )* องค์ประกอบของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ 1. องค์ประกอบด้านพื้นที่ 2. องค์ประกอบด้านการจัดการ 3. องค์ประกอบด้านกิจกรรม และกระบวนการ  4. องค์ประกอบด้านการมีส่วนร่วม
สาระบันเทิง
1 . การสร้างบรรยากาศ หรือปรากฏการณ์  เพื่อส่งเสริมให้เกิดความรู้สึก รัก - ชอบ ,  เลื่อมใส - ศรัทธา ,  ตระหนัก - สำนึก ,  เชื่อถือ - เชื่อมั่น   2 . การสร้างบรรยากาศให้เกิดความรู้สึก  สนุกสนาน   ตื่นเต้น   ตระหนก   ตระหนัก   สำนึก   ซาบซึ้ง   เพื่อเป็นแรงบันดาลใจ ให้เกิดการ เปลี่ยนแปลง พฤติกรรมของตน จากเลวไปเป็นดี จากดีให้ดียิ่งขึ้น ไปจนถึงดีที่สุด และดีเสมอ  ( ดีถาวร ) ** ธรรมคดี  =  50  สารคดี  =  30  บันเทิงคดี  = 20
กิจกรรมภาคบันเทิง ของชาวชุมชนราชธานีอโศก กิจกรรม “วิปัสสนาจอแก้ว” กิจกรรมการแสดงบนเวที “รายการสาระบันเทิงภาคค่ำ” กิจกรรมดนตรีเพื่อชีวิต “วงฆราวาส” กิจกรรมนิทรรศการและการศึกษาดูงาน กิจกรรมกินข้าวริมมูล สถานีวิทยุโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม “ FM.TV. “ เพื่อมนุษยชาติ” สถานีวิทยุกระจายเสียงชุมชน “บัวกลางมูล” คลื่น  FM.179 Mhz. งานตลาดอาริยะปีใหม่  (30  ธันวาคม  - 2  มกราคม )
Tourism and Entertainment Marketing " สื่อเสรี "  ต้องมีจรรยาบรรณ  " สื่อสร้างสรร "  สานฝันสู่จุดหมาย  " สื่อลามก "  ส่งนรกให้หญิงชาย " สื่อรุนแรง "  แฝงร้ายหมายฆ่าฟัน  ร่วมคัดค้านต้านชื่อ  " สื่อน้ำเน่า "  " สื่อมอมเมา "  เยาวชนไม่สร้างสรรค์ E-COMMERCE
" สื่อบันเทิง "  พาเหลิงโลกจนเมามัน " สื่อสาระ "  ถูกกีดกันจากรายการ ร่วมรณรงค์คงชื่อ  " สื่อสาระ "  " สื่อสัจจะ "  อหิงสาจงกล้าหาญ " สื่อธรรมะ "  พัฒนาจิตวิญญาณ ประกาศผ่าน สารนั้นคือ  " สื่อเสรี “ 10  ม . ค .2551
เถียงนามื้อนี่ บ่มีไผนอน คิดไปหัวใจสะท้อน ก่อนนั้นเฮาเคยได้มา แต่มามื้อนี่ บ่ มีไผสิเหลียวหา เหลือเพียงแต่หุ่นไล่กา คู่เถียงนาเมื่อคราหน้าแล้ง เถียงนาหลังเก่าก่อนเฮาเคยนอน หลบฝนหลบแดดหน้าร้อน พักผ่อนให้พอมีแฮง ฝนลาฟ้าสั่ง สิ้นหวังไร่นาสวนแตง เหลือเพียงแต่ความแห้งแล้ง แตกระแหง พื้นดินไร่นา เถียง ... นา คอยหาคอยถ่า ลูก หลาน หนุ่มสาวอิสาน ลูกหลาน อย่าลืมกลับมา กลับมาบ้านทุ่ง ป้าลุง พ่อแม่ห่วงหา อย่าหลงอยู่กรุงเมืองฟ้า กลับท้องนา กลับมาบ้านเฮา [*].... เถียงนาหลังน่อย อย่าปล่อยให้ฮ่าง เหลือเพียงแต่ความอ้างว้าง ทิ้งห่างให้ยืนซึมเซา กลับมาเด้อหล่า อย่าลืมทุ่งนาป่าเขา เถียงนาบ้านป่ายังเหงา รอหมู่เฮาหวนคืนบ้านนา
สุขภาวะ
.: Health System สุขภาวะทางร่างกาย   ( Physical Health ) สุขภาวะทางจิต   ( Psychological Health ) สุขภาวะทาง อารมณ์และ จิตวิญญาณ   ( Emotional Health ) สุขภาวะทางสังคม และสิ่งแวดล้อม  ( Social  Environment and Public Health )
.: H ealth  S ystem Physical Health   สุขภาวะทางร่างกาย - สมอง  ( Brain ) - ระบบภูมิต้านทานร่างกาย   ( Immune System ) - สารสื่อนำประสาท   ( Neurotransmitter ) - ต่อมไพเนียล  ( Pineal Gland ) - สุขภาพจิต   ( Mental Health ) - บุคลิกภาพ  ( Personality ) - การล้างพิษเพื่อสุขภาพ  ( Detox ) - ออกกำลังสมองเพื่อสุขภาพ  ( Neurobics )
.: H ealth  S ystem  Psychological Health  สุขภาวะทางจิต - อุปนิสัยแห่งความสำเร็จ   (Success Mind) - จิต  ( Mind ) - ความรู้คุณค่าในตัวเอง  ( Self - Esteem ) - พลังจิต  ( Gsychergy ) - ทัศนคติ  ( Attitude ) - ความสนใจ  (Attention) - จิตใต้สำนึก  ( Subconscious ) - แรงจูงใจ  ( Motives ) T  H  E  O  R  Y
.: H ealth  S ystem  Emotional Health   สุขภาวะทาง อารมณ์และ จิตวิญญาณ หมวดอารมณ์  (Emotion) - เชาว์อารมณ์  (EQ)  - การรับรู้  (Perception)  - ความรู้สึกใกล้ชิด  (Immediacy)  - ความกล้า   ความกลัว   (Fear / Fearless) - ความเครียด  (Stress)
.: H ealth  S ystem Social  Environment and Public Health สุขภาวะทางสังคม และสิ่งแวดล้อม หมวดกระบวนการ  (Process) - สมรรถนะ  (Competency) - ความเป็นผู้นำ  (Leadership) - ทฤษฎีการเรียนรู้  (Learning Theory) - ข่ายใยชีวิต   (Web of Life) - กระบวนการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย  (Cognitive Domain) - กระบวนการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย  (Affective Domain)  - กระบวนการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย  (Psychomotor Domain)
.: H ealth  S ystem Social  Environment and Public Health สุขภาวะทางสังคม และสิ่งแวดล้อม หมวดสัมพันธภาพ  (Relation) - เครือข่าย  (Networking) - มนุษยสัมพันธ์  (Human Relations) - พฤติกรรมมนุษย์  (Behavior) - หรรษา   (Comedy) - นิเวศวิทยา  (Ecology) Eco-Communication Garbology Biology
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา  Ecology - ความสัมพันธ์ ความแตกต่าง ความเฉพาะตน ของวัตถุ สิ่งมีชีวิต จิตใจ  - ผลกระทบ ความต่อเนื่อง ความเปลี่ยนแปลง อารมณ์ - ความรู้สึก  - การพัฒนา ความหายนะ  ( วัฏฏะ ) - เกี่ยวข้องกับทุกศาสตร์
นิเวศวิทยา  Ecology - นิเวศวิทยา  Ecology   - นิเวศนิเทศ  Eco - communication   - นิเวศเกษตร  Agro - ecology - การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ  Ecotourism
นวัตกรรม
นวัตกรรมทางเทคโนโลยี นวัตกรรมทางสังคม นวัตกรรมทางจิต
นวัตกรรมทางเทคโนโลยี 1. กลไก  (mechanisms)  และ แรงต่างๆ -analogue - แรงโน้มถ่วง -digital - แรงแม่เหล็ก - แรงไฟฟ้า - แรงนิวเคลียร์ 2. การพัฒนา  ( development )  และความยั่งยืน  ( sustainable ) 3. ความรู้ และการจัดการความรู้  ( Knowledge Management ) 4. วาทะกรรม   หรือ เทคโนโลยีทางภาษาและการสื่อสาร
นวัตกรรมทางสังคม 1. บ้าน วัด โรงเรียน 2. เครือข่ายชุมชน   (Communication Network) 3. เศรษฐกิจพึ่งตน  / เศรษฐกิจพอเพียง  ( Sufficient Economy ) 4. กสิกรรมธรรมชาติ  /  เกษตรอินทรีย์  ( Organic Agriculture )
ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง   Sufficient Economy   พอเพียง   = Sufficiency ความต้องการ Demand การตอบสนองความต้องการ Supply ความต้องการ  พื้นฐาน Standard/Original Needs ความต้องการ  ส่วนเกิน   Redundancy / Desire
เศรษฐกิจพอเพียง  4  ระดับ ระดับที่  1 ตอบสนอง  ความต้องการพื้นฐาน  และ ศึกษาเรียนรู้   โทษภัยของความต้องการส่วนเกิน ระดับที่  2 ตอบสนอง  ความต้องการพื้นฐาน   +  ลด  ความต้องการส่วนเกิน ระดับที่  3 สร้าง   ความต้องการพื้นฐาน   +  ลด   ความต้องการส่วนเกิน ระดับที่  4 สร้าง + แบ่งปัน   ความต้องการพื้นฐานแก่ผู้อื่น   +  ลด  ความต้องการส่วนเกิน CSR :  Corporate Social Responsibility CG :  Corporate Governance SC :   Social Campaign SIOR : Social Input/Output Resource
Gross National Happiness  :  GNH ความสุขมวลรวมประชาชาติ - การพัฒนาทางเศรษฐกิจ และสังคม  ให้สามารถ พึ่งตนเอง อย่างยั่งยืน - การมุ่งเน้นอนุรักษ์   ทรัพยากรธรรมชาติ - สิ่งแวดล้อม   - การอนุรักษ์ และ พัฒนาเสริมสร้าง วัฒนธรรมท้องถิ่น   - ส่งเสริม หลักธรรมาภิบาล
อยู่ แบบพึ่งพา   คิด แบบพอเพียง   พูด ให้พากเพียร   ทำ แบบทุ่มเท   บริโภค แบบพอดี   สู่วิถี   บ   ว   ร “ เพราะเราไม่พัก  เราไม่เพียร   เราจึงอยู่อย่างพอเพียงได้ ”
นวัตกรรมทางจิต 1. สังขารธรรม  ( being phenomena )  มิติวัฏฏะ  -  มิติเอกภาพ 2. ความหลุดพ้นจากวัฏฏะ 3. การสื่อสารทางจิต และพลังจิต
องค์ประกอบสังขารธรรม   (Formative Phenomena) ระดับ ธาตุ   /  สสาร   (Mass) พีชะ   (Organism)  เดรัจฉาน   (Wildness)   ปุถุชน   -   มนุสโส   (Homo Sapiens)   เทพ   (Super Maning  /  Goodness)   ธรรม   (Integrity - Being  nothing ) ประเภท   ( มีชีวิต - ไม่มีชีวิต ) ดิน  วัตถุ  (Material) พืช   (Plant) สัตว์   (Animal) คน   -  มนุษย์  (Human) เทพ   -  พระเจ้า   (God) ธรรม   (Dharma)
องค์ประกอบสังขารธรรม   (Formative Phenomena) ธาตุ   Mass องค์ประกอบ   : ของ แข็ง   +  ของ เหลว   +  อุณหภูมิ   +  อากาศ   +  ช่องว่าง   = ธาตุทั้ง  5  ( ดิน ,  น้ำ ,  ไฟ ,  ลม ,  อากาศ ) คุณลักษณะ : สสาร  +  พลังงาน = (Mass + Power)
องค์ประกอบสังขารธรรม   (Formative Phenomena) พีชะ   (Organism)   คุณลักษณะ : สสาร   +   พลังงาน   +   กริยา  m ass  +   p ower  +   action องค์ประกอบ : ธาตุทั้ง  5  +   อาหาร   ( food )
เดรัจฉาน   ( Wildness )   องค์ประกอบสังขารธรรม   (Formative Phenomena) องค์ประกอบ : ธาตุทั้ง  5  +   อาหาร   +  ภูตะ ( รู้สึก - รับรู้ ) คุณลักษณะ : สสาร   +   พลังงาน   +   กริยา  +   กรรม  +   วัฎฎะ m ass  +   p ower  +   action  +  motion  +  eternity
ปุถุชน   -   มนุสโส   (Homo Sapiens) องค์ประกอบสังขารธรรม   (Formative Phenomena) คุณลักษณะ : สสาร   +   พลังงาน   +   กริยา  +   กรรม  +   วิบาก m ass +  p ower +  action + motion + effect องค์ประกอบ : ธาตุทั้ง  5  +   อาหาร   +  ภูตะ   +  ปาณะ   +  กิเลส   ( ดุร้าย ) ( รู้สึก - รับรู้ ) ( พลังฉลาด )
เทพ   (Super Maning  /  Goodness) องค์ประกอบสังขารธรรม   (Formative Phenomena) คุณลักษณะ : สสาร   +   พลังงาน   +   กริยา  +   กรรม  +   วิบาก m ass +  p ower +  action + motion + effect องค์ประกอบ : ธาตุทั้ง  5  +   อาหาร   +  ภูตะ   +  ปาณะ   +  ภพ   ( สวรรค์ ) ( รู้สึก - รับรู้ ) ( พลังฉลาด )
ธรรม   (Integrity - Being  nothing ) องค์ประกอบสังขารธรรม   (Formative Phenomena) องค์ประกอบ : ธาตุทั้ง  5  +   อาหาร   +  ภูตะ   +  ปาณะ   +  สุญญตา ( รู้สึก - รับรู้ ) ( พลังฉลาด ) คุณลักษณะ : สสาร   +   พลังงาน   +   กริยา  +   กรรม  +   กาละ m ass +  p ower +  action + motion + time
ที่มา : http :// www . truexpert . info / newidea2550 . html มิติของวัฏฏะ และ มิติของเอกภพ วัฏฏะ มี  3   มิติ แต่ในโลกของเอกภาพ ในวัฏฏะ  จะมีมิติของเวลาเพิ่มขึ้นมาอีก  1   มิติ  ดังนั้น มิติของวัฏฏะ จึงมี  4   มิติ คำถาม  ( 1 )  จุดเริ่มต้นของเวลา อยู่ที่ไหน  … ไม่มี  ( 2 )  จุดจบของเวลาอยู่ที่ไหน  … อนันต์  ( 3 )  ลูกศรของเวลาเดินทางเป็นตรงใช่หรือไม่  … เดินทางเป็นเส้นโค้ง สังขารธรรม  ( Being Phenomena )  ใดๆ  จะหลุดจากวงของวัฏฏะ ได้เพียงกรณีเดียว  คือ ต้องทำให้ แกน  “ กิเลส ”  และแกน  “ กรรม ”  มีสภาวะเป็น  “ หลุมดำ ”  คือ  มีศักยภาพ  =  0   มีขนาด  =  0   ซึ่ง ทำให้วัดค่าไม่ได้
อารยะธรรมไอที อารยธรรมของไอที  5   ยุค  ( 1 )  คือการสร้างและพัฒนา  " รหัสความหมาย "  ให้กับคอมพิวเตอร์  ( Code marked langued  :  CML ) ( 2 )  คือการสร้าง  " ความเป็นจริง "  ที่มาจาก  " รหัสความหมาย ” ( 3 )  คือการแก้ไข  " ความผิดพลาด "  ที่เกิดจาก  " รหัสความหมาย " ( error ) ( 4 )  คือการป้องกัน  " ความเสียหาย "  ที่เกิดจาก  " ความผิดพลาด "  ของ  " รหัสความหมาย " ( bug ) ( 5 )  คือการทำลาย  " รหัสความหมาย "  ที่เกิดจาก  " เจตนาอันชั่วร้าย "  ของมนุษย์  ( virus )
อารยธรรมของมนุษย์  ( 1 )  คือการกระทำ  " ความจริง "  ให้กับ  " ความรู้ "  ที่มนุษย์ควรรู้ ( 2 )  คือการงดกระทำ  " ความจริง "  ที่เกิดจาก  " ความรู้ "  ที่มนุษย์ไม่ควรรู้ ( 3 )  คือการเปิดเผย  " ความรู้ "  ที่เป็น  " ความจริง "  ที่มนุษย์ควรมี ( 4 )  คือการปกปิด  " ความรู้ "  ที่เกิดจาก  " ความจริง "  ที่มนุษย์ไม่ควรมี บ่อนทำลายอารยธรรมของมนุษย์  มาจากสาเหตุ  2   ประการ คือ  ( 1 )  ไอทีวัตถุ  ( technology hardware & technology software )  และ ( 2 )  ไอทีจิต  ( techonology mentality ) * ที่มีอิทธิพลครอบงำเหนือมนุษย์ และ มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือในการ  " ทำลายความผาสุก "  ของมนุษย์ด้วยกันเอง  (" ศาตรา "  โดยแท้ หรืออาวุธ )
ไอทีจิต  ( technology mentality )   หมายถึง  " วิธีคิด "  และ  " การบูรณาการทางความคิด "  ระหว่าง  5   องค์ประกอบของ  " เครื่องมือและสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมความคิด "  ต่อไปนี้ -1 .  สุขภาพจิตที่เป็นมนุษย์ปกติ  ( มนุสสมนุสโส  -  physical wellbeing human ) -2 .  ความรู้  ( knowledge ) -3 .  อารมณ์ และ ความรัก  ( motive & love )** -4 .  การสื่อสาร  ( communication ) -5 .  เวลา  ( Q - SPORT time dimension ) คอมพิวเตอร์มี โปรแกรม  ( software )  เป็นแรงผลักดันให้เกิด  การตอบสนอง  ( interactive output )  ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ สิ่งที่ตรงข้ามกับการกระทำดังกล่าว ก็คือ  " หายนธรรม "  ทั้งสิ้นทั้งปวง
Goto  Context

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Somyot Ongkhluap
 
การท่องเที่ยวทางเลือก: ศาสนาวัฒนธรรม Religion tourism
การท่องเที่ยวทางเลือก: ศาสนาวัฒนธรรม Religion tourismการท่องเที่ยวทางเลือก: ศาสนาวัฒนธรรม Religion tourism
การท่องเที่ยวทางเลือก: ศาสนาวัฒนธรรม Religion tourismChaloempond Chantong
 
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการMint NutniCha
 
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestayความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ HomestayKorawan Sangkakorn
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยKorawan Sangkakorn
 
Palestra Encontro Gamer 2016 - FCS na Indústria de Jogos
Palestra Encontro Gamer 2016 - FCS na Indústria de JogosPalestra Encontro Gamer 2016 - FCS na Indústria de Jogos
Palestra Encontro Gamer 2016 - FCS na Indústria de JogosFabio Lima
 
Policy lab user centred insight monday 23rd feb
Policy lab user centred insight monday 23rd febPolicy lab user centred insight monday 23rd feb
Policy lab user centred insight monday 23rd febPolicy Lab
 
งานโลหะแผ่น5 2
งานโลหะแผ่น5 2งานโลหะแผ่น5 2
งานโลหะแผ่น5 2Pannathat Champakul
 
Keynote "Kommunikation im Gesundheitssektor" vom 25. April 2013, Wien
Keynote "Kommunikation im Gesundheitssektor" vom 25. April 2013, WienKeynote "Kommunikation im Gesundheitssektor" vom 25. April 2013, Wien
Keynote "Kommunikation im Gesundheitssektor" vom 25. April 2013, Wienbeeq
 
Verden lige nu
Verden lige nuVerden lige nu
Verden lige nupersloth
 
Kelas tahun 5 rajin 2014 for merge
Kelas tahun 5 rajin  2014   for mergeKelas tahun 5 rajin  2014   for merge
Kelas tahun 5 rajin 2014 for mergeSiti Norwati
 
Introduction to NOSQL And MongoDB
Introduction to NOSQL And MongoDBIntroduction to NOSQL And MongoDB
Introduction to NOSQL And MongoDBBehrouz Bakhtiari
 
Intro to sustainability intro
Intro to sustainability introIntro to sustainability intro
Intro to sustainability introIan Garrett
 

Andere mochten auch (19)

Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558
 
การท่องเที่ยวทางเลือก: ศาสนาวัฒนธรรม Religion tourism
การท่องเที่ยวทางเลือก: ศาสนาวัฒนธรรม Religion tourismการท่องเที่ยวทางเลือก: ศาสนาวัฒนธรรม Religion tourism
การท่องเที่ยวทางเลือก: ศาสนาวัฒนธรรม Religion tourism
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
 
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
 
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestayความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
 
Palestra Encontro Gamer 2016 - FCS na Indústria de Jogos
Palestra Encontro Gamer 2016 - FCS na Indústria de JogosPalestra Encontro Gamer 2016 - FCS na Indústria de Jogos
Palestra Encontro Gamer 2016 - FCS na Indústria de Jogos
 
Policy lab user centred insight monday 23rd feb
Policy lab user centred insight monday 23rd febPolicy lab user centred insight monday 23rd feb
Policy lab user centred insight monday 23rd feb
 
งานโลหะแผ่น5 2
งานโลหะแผ่น5 2งานโลหะแผ่น5 2
งานโลหะแผ่น5 2
 
Keynote "Kommunikation im Gesundheitssektor" vom 25. April 2013, Wien
Keynote "Kommunikation im Gesundheitssektor" vom 25. April 2013, WienKeynote "Kommunikation im Gesundheitssektor" vom 25. April 2013, Wien
Keynote "Kommunikation im Gesundheitssektor" vom 25. April 2013, Wien
 
Presentation_NEW.PPTX
Presentation_NEW.PPTXPresentation_NEW.PPTX
Presentation_NEW.PPTX
 
Verden lige nu
Verden lige nuVerden lige nu
Verden lige nu
 
Kelas tahun 5 rajin 2014 for merge
Kelas tahun 5 rajin  2014   for mergeKelas tahun 5 rajin  2014   for merge
Kelas tahun 5 rajin 2014 for merge
 
Hola mundo
Hola mundoHola mundo
Hola mundo
 
Introduction to NOSQL And MongoDB
Introduction to NOSQL And MongoDBIntroduction to NOSQL And MongoDB
Introduction to NOSQL And MongoDB
 
Lina oti
Lina otiLina oti
Lina oti
 
Paseo por la ciencia 2016 Ficha Laura
Paseo por la ciencia 2016 Ficha LauraPaseo por la ciencia 2016 Ficha Laura
Paseo por la ciencia 2016 Ficha Laura
 
Intro to sustainability intro
Intro to sustainability introIntro to sustainability intro
Intro to sustainability intro
 
Presentasi cbi ku
Presentasi cbi kuPresentasi cbi ku
Presentasi cbi ku
 

Ähnlich wie การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ

กำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้ากำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้าkrusuparat01
 
โครงงานคุณภาพชีวิต
โครงงานคุณภาพชีวิตโครงงานคุณภาพชีวิต
โครงงานคุณภาพชีวิตZoe A'Black
 
สรุปเตรียมสอบผู้บริหาร ปี 55
สรุปเตรียมสอบผู้บริหาร ปี 55สรุปเตรียมสอบผู้บริหาร ปี 55
สรุปเตรียมสอบผู้บริหาร ปี 55Manud Thesthong
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7supap6259
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Mickey Toon Luffy
 
Social psychology1
Social psychology1Social psychology1
Social psychology1csmithikrai
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1supap6259
 
กำหนดการสอนนักเรียนชั้นม.1
กำหนดการสอนนักเรียนชั้นม.1กำหนดการสอนนักเรียนชั้นม.1
กำหนดการสอนนักเรียนชั้นม.1krusuparat01
 
โครงการค่ายวิทยาศาสตร์ทางทะเลบูรณาการปี55
โครงการค่ายวิทยาศาสตร์ทางทะเลบูรณาการปี55โครงการค่ายวิทยาศาสตร์ทางทะเลบูรณาการปี55
โครงการค่ายวิทยาศาสตร์ทางทะเลบูรณาการปี55Lao-puphan Pipatsak
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
Life longlearning620511
Life longlearning620511Life longlearning620511
Life longlearning620511Pattie Pattie
 
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...สถาบันราชบุรีศึกษา
 

Ähnlich wie การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (20)

กำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้ากำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้า
 
โครงงานคุณภาพชีวิต
โครงงานคุณภาพชีวิตโครงงานคุณภาพชีวิต
โครงงานคุณภาพชีวิต
 
Communty diagnosis
Communty diagnosisCommunty diagnosis
Communty diagnosis
 
สรุปเตรียมสอบผู้บริหาร ปี 55
สรุปเตรียมสอบผู้บริหาร ปี 55สรุปเตรียมสอบผู้บริหาร ปี 55
สรุปเตรียมสอบผู้บริหาร ปี 55
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
 
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 11051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)
 
Social psychology1
Social psychology1Social psychology1
Social psychology1
 
03 develop1
03 develop103 develop1
03 develop1
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
 
V 287
V 287V 287
V 287
 
กำหนดการสอนนักเรียนชั้นม.1
กำหนดการสอนนักเรียนชั้นม.1กำหนดการสอนนักเรียนชั้นม.1
กำหนดการสอนนักเรียนชั้นม.1
 
Brains power point
Brains power pointBrains power point
Brains power point
 
การใช้เหตุผล
การใช้เหตุผลการใช้เหตุผล
การใช้เหตุผล
 
Brains power point
Brains power pointBrains power point
Brains power point
 
โครงการค่ายวิทยาศาสตร์ทางทะเลบูรณาการปี55
โครงการค่ายวิทยาศาสตร์ทางทะเลบูรณาการปี55โครงการค่ายวิทยาศาสตร์ทางทะเลบูรณาการปี55
โครงการค่ายวิทยาศาสตร์ทางทะเลบูรณาการปี55
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
Life longlearning620511
Life longlearning620511Life longlearning620511
Life longlearning620511
 
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
 
การศึกษา
การศึกษาการศึกษา
การศึกษา
 

การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ

  • 1. I nformation T echnology for T oursim and E ntertainment Sudin Chaohinfa Administration Communication 2/2550 Krirk University
  • 2. C ourse C ontent O utline 1. ศึกษาความรู้และทักษะ ในการออกแบบ - เผยแพร่เว็บไซต์ (Learning and Skill for Website Construction) 2. วิเคราะห์ วางแผน ออกแบบ จัดทำ ทดสอบ ส่งข้อมูล เผยแพร่ (Analysis, Select Project, Design, Implementation, Promotion) 3. เนื้อหาสาระ เกี่ยวกับการท่องเที่ยวและบันเทิง ( สาระ = Content, สรรสาระ = Context)
  • 3. C ourse C ontent O utline สาระ = Content - สาระบันเทิง (Valuable Entertainment / Edu-tainment) - สุขภาพ / สุขภาวะ (Health) - นิเวศวิทยาและนิเวศสารสนเทศ (Ecology & Eco-infology) - นวัตกรรมทางสังคม ( Neo-social technology ) * เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficient Economy) * ทุนทางสังคม (Social Input/Output Resource) * เครือข่ายชุมชน (Community Network) - การจัดการความรู้ ( Knowledge Management )
  • 4. C ourse C ontent O utline สรรสาระ = Context + Philosophy + Paradigm, + Motion + Ethics + Arts & Science + Academic & Ideas + Creativity
  • 5. C ourse C oncept เรียนวิชานี้จะได้อะไร และจะต้องทำอะไร 1. Learning = Knowledge (IT, Valuable Content) 2. Skill = IT Planning 3. Construction = Website 4. Presentation = Internet Project & Webpage
  • 6. แผนการเรียน ศึกษา 4 เรื่องคือ 1 . สาระ : - นิยามความหมาย - สาระบันเทิง - สุขภาวะ - นิเวศ - นวัตกรรม - ความรู้ ( ครั้งที่ 1 ) 2 . สรรสาระ : - philosophy, - paradigm, - arts & science, academic & idea, creativity ( ครั้งที่ 4 ) 3 . ทักษะพื้นฐาน : - ระบบสารสนเทศ - เว็บไซต์ วิเคราะห์ ออกแบบ สร้างหน้าเว็บ ( ครั้งที่ 3 ) ( ครั้งที่ 7 ) 4 . การใช้โปรแกรม : Dreamweaver ( ครั้งที่ 5 ) ( ครั้งที่ 6 ) 5 . แบบฝึกหัด : เขียนแผน และโครงสร้างการจัดทำเว็บ ( ครั้งที่ 2 ) ( ครั้งที่ 8 : presentation workshop )
  • 7. W orkshop Web Design / Upload / Browser ตามเกณฑ์การประเมิน ดังนี้ เกณฑ์วัดผลคุณภาพงานสาร สนเทศ เพื่อการ ท่องเที่ยวและบันเทิง
  • 8. วิธีศึกษา : ( 1) เข้าฟังบรรยาย และฝึกปฏิบัติ Web Application Software ผ่าน Notebook /Labtop PC (2) ศึกษาด้วยตนเอง จาก http://elearning.nectec.or.th/index.php (3) download: www.truexpert.info ติดต่อวิชาเรียน นศ .9204
  • 10. การท่องเที่ยว หมายถึง “ การเดินทางไปยังแหล่ง หรือสถานที่เป้าหมาย เพื่อวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่าง คือ (1) เพื่อผ่อนคลายอิริยาบทจากงานประจำ และสร้างความรื่นรมย์ของจิตใจ (2) เพื่อศึกษา ค้นหาคำตอบ หรือ แลกเปลี่ยน ความรู้ และประสบการณ์ (3) เพื่อ จรรโลงใจ และการ โน้มน้าวใจ ให้เกิดความ ตระหนัก และ สำนึก ” นิยาม : ความหมายของการท่องเที่ยว และบันเทิง
  • 11. ความบันเทิง แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ABC ระดับที่ 1 * หมายถึง ความรู้สึกผ่อนคลายจากอิริยาบทจากงานประจำ ระดับที่ 2 ** หมายถึง การสร้างบรรยากาศ หรือปรากฏการณ์ เพื่อส่งเสริมให้เกิด ความรู้สึก รัก - ชอบ , เลื่อมใส - ศรัทธา , ตระหนัก - สำนึก , เชื่อถือ - เชื่อมั่น นิยาม : ความหมายของการท่องเที่ยว และบันเทิง
  • 12. ระดับที่ 3 *** หมายถึง การสร้างบรรยากาศให้เกิดความรู้สึก สนุกสนาน ตื่นเต้น ตระหนก ตระหนัก สำนึก ซาบซึ้ง เพื่อเป็นแรงบันดาลใจ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตน จากเลวไปเป็นดี จากดีให้ดียิ่งขึ้น ไปจนถือดีที่สุด และ ดีเสมอ ( ดีถาวร ) นิยาม : ความหมายของการท่องเที่ยว และบันเทิง
  • 13. ประเภทของการท่องเที่ยว มี 6 ประเภ ท คือ (1) การท่องเที่ยวบันเทิง (2) การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (3) การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ * (4) การท่องเที่ยวเชิงพานิชย์ (5) การท่องเที่ยวเชิงวิชาการ (6) การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
  • 14. ECOTOURISM มาจากคำว่า Ecology = นิเวศวิทยา + Tourism = การท่องเที่ยว สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ให้คำจำกัดความของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ไว้ว่า การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ หมายถึงการท่องเที่ยวที่เกี่ยวเนื่องกับ ระบบนิเวศ โดยมีกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน ของผู้เกี่ยวข้อง ภายใต้การจัดการสิ่งแวดล้อม และการท่องเที่ยว อย่างมีส่วนร่วมของท้องถิ่น เพื่อมุ่งให้เกิดจิตสำนึกต่อการรักษาระบบนิเวศอย่างยั่งยืน การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ( Ecotourism )
  • 15. ECOTOURISM มาจากคำว่า Ecology = นิเวศวิทยา + Tourism = การท่องเที่ยว สรุปว่า การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ก็คือการท่องเที่ยว ที่มี ระบบ นิเวศวิทยา เป็นรากฐาน หรือการท่องเที่ยว ที่มีธรรมชาติ เป็นรากฐานนั่นเอง และนอกจากการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ จะเป็นการท่องเที่ยวเยี่ยมชมโดยปกติแล้ว ยังจะช่วยส่งเสริมความเข้าใจ ในคุณลักษณะทางวิทยาศาสตร์ และนิเวศวิทยา ของจุดสนใจทางธรรมชาติอีกด้วย การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ( Ecotourism )
  • 16. องค์ประกอบของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ 1. องค์ประกอบด้านพื้นที่ 2. องค์ประกอบด้านการจัดการ 3. องค์ประกอบด้านกิจกรรมและกระบวนการ 4. องค์ประกอบด้านการมีส่วนร่วม [* กมล นวลใย . การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ อุทยานแห่งชาติไทรโยก จังหวัดกาญจนบุรี . สไลด์ประกอบคำบรรยาย เมื่อ 25 มีนาคม 2550] การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ( Ecotourism )*
  • 17. การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ( Ecotourism )* องค์ประกอบของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ 1. องค์ประกอบด้านพื้นที่ 2. องค์ประกอบด้านการจัดการ 3. องค์ประกอบด้านกิจกรรม และกระบวนการ 4. องค์ประกอบด้านการมีส่วนร่วม
  • 19. 1 . การสร้างบรรยากาศ หรือปรากฏการณ์ เพื่อส่งเสริมให้เกิดความรู้สึก รัก - ชอบ , เลื่อมใส - ศรัทธา , ตระหนัก - สำนึก , เชื่อถือ - เชื่อมั่น 2 . การสร้างบรรยากาศให้เกิดความรู้สึก สนุกสนาน ตื่นเต้น ตระหนก ตระหนัก สำนึก ซาบซึ้ง เพื่อเป็นแรงบันดาลใจ ให้เกิดการ เปลี่ยนแปลง พฤติกรรมของตน จากเลวไปเป็นดี จากดีให้ดียิ่งขึ้น ไปจนถึงดีที่สุด และดีเสมอ ( ดีถาวร ) ** ธรรมคดี = 50 สารคดี = 30 บันเทิงคดี = 20
  • 20. กิจกรรมภาคบันเทิง ของชาวชุมชนราชธานีอโศก กิจกรรม “วิปัสสนาจอแก้ว” กิจกรรมการแสดงบนเวที “รายการสาระบันเทิงภาคค่ำ” กิจกรรมดนตรีเพื่อชีวิต “วงฆราวาส” กิจกรรมนิทรรศการและการศึกษาดูงาน กิจกรรมกินข้าวริมมูล สถานีวิทยุโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม “ FM.TV. “ เพื่อมนุษยชาติ” สถานีวิทยุกระจายเสียงชุมชน “บัวกลางมูล” คลื่น FM.179 Mhz. งานตลาดอาริยะปีใหม่ (30 ธันวาคม - 2 มกราคม )
  • 21. Tourism and Entertainment Marketing " สื่อเสรี " ต้องมีจรรยาบรรณ " สื่อสร้างสรร " สานฝันสู่จุดหมาย " สื่อลามก " ส่งนรกให้หญิงชาย " สื่อรุนแรง " แฝงร้ายหมายฆ่าฟัน ร่วมคัดค้านต้านชื่อ " สื่อน้ำเน่า " " สื่อมอมเมา " เยาวชนไม่สร้างสรรค์ E-COMMERCE
  • 22. " สื่อบันเทิง " พาเหลิงโลกจนเมามัน " สื่อสาระ " ถูกกีดกันจากรายการ ร่วมรณรงค์คงชื่อ " สื่อสาระ " " สื่อสัจจะ " อหิงสาจงกล้าหาญ " สื่อธรรมะ " พัฒนาจิตวิญญาณ ประกาศผ่าน สารนั้นคือ " สื่อเสรี “ 10 ม . ค .2551
  • 23. เถียงนามื้อนี่ บ่มีไผนอน คิดไปหัวใจสะท้อน ก่อนนั้นเฮาเคยได้มา แต่มามื้อนี่ บ่ มีไผสิเหลียวหา เหลือเพียงแต่หุ่นไล่กา คู่เถียงนาเมื่อคราหน้าแล้ง เถียงนาหลังเก่าก่อนเฮาเคยนอน หลบฝนหลบแดดหน้าร้อน พักผ่อนให้พอมีแฮง ฝนลาฟ้าสั่ง สิ้นหวังไร่นาสวนแตง เหลือเพียงแต่ความแห้งแล้ง แตกระแหง พื้นดินไร่นา เถียง ... นา คอยหาคอยถ่า ลูก หลาน หนุ่มสาวอิสาน ลูกหลาน อย่าลืมกลับมา กลับมาบ้านทุ่ง ป้าลุง พ่อแม่ห่วงหา อย่าหลงอยู่กรุงเมืองฟ้า กลับท้องนา กลับมาบ้านเฮา [*].... เถียงนาหลังน่อย อย่าปล่อยให้ฮ่าง เหลือเพียงแต่ความอ้างว้าง ทิ้งห่างให้ยืนซึมเซา กลับมาเด้อหล่า อย่าลืมทุ่งนาป่าเขา เถียงนาบ้านป่ายังเหงา รอหมู่เฮาหวนคืนบ้านนา
  • 25. .: Health System สุขภาวะทางร่างกาย ( Physical Health ) สุขภาวะทางจิต ( Psychological Health ) สุขภาวะทาง อารมณ์และ จิตวิญญาณ ( Emotional Health ) สุขภาวะทางสังคม และสิ่งแวดล้อม ( Social Environment and Public Health )
  • 26. .: H ealth S ystem Physical Health สุขภาวะทางร่างกาย - สมอง ( Brain ) - ระบบภูมิต้านทานร่างกาย ( Immune System ) - สารสื่อนำประสาท ( Neurotransmitter ) - ต่อมไพเนียล ( Pineal Gland ) - สุขภาพจิต ( Mental Health ) - บุคลิกภาพ ( Personality ) - การล้างพิษเพื่อสุขภาพ ( Detox ) - ออกกำลังสมองเพื่อสุขภาพ ( Neurobics )
  • 27. .: H ealth S ystem Psychological Health สุขภาวะทางจิต - อุปนิสัยแห่งความสำเร็จ (Success Mind) - จิต ( Mind ) - ความรู้คุณค่าในตัวเอง ( Self - Esteem ) - พลังจิต ( Gsychergy ) - ทัศนคติ ( Attitude ) - ความสนใจ (Attention) - จิตใต้สำนึก ( Subconscious ) - แรงจูงใจ ( Motives ) T H E O R Y
  • 28. .: H ealth S ystem Emotional Health สุขภาวะทาง อารมณ์และ จิตวิญญาณ หมวดอารมณ์ (Emotion) - เชาว์อารมณ์ (EQ) - การรับรู้ (Perception) - ความรู้สึกใกล้ชิด (Immediacy) - ความกล้า ความกลัว (Fear / Fearless) - ความเครียด (Stress)
  • 29. .: H ealth S ystem Social Environment and Public Health สุขภาวะทางสังคม และสิ่งแวดล้อม หมวดกระบวนการ (Process) - สมรรถนะ (Competency) - ความเป็นผู้นำ (Leadership) - ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning Theory) - ข่ายใยชีวิต (Web of Life) - กระบวนการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) - กระบวนการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย (Affective Domain) - กระบวนการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain)
  • 30. .: H ealth S ystem Social Environment and Public Health สุขภาวะทางสังคม และสิ่งแวดล้อม หมวดสัมพันธภาพ (Relation) - เครือข่าย (Networking) - มนุษยสัมพันธ์ (Human Relations) - พฤติกรรมมนุษย์ (Behavior) - หรรษา (Comedy) - นิเวศวิทยา (Ecology) Eco-Communication Garbology Biology
  • 32. นิเวศวิทยา Ecology - ความสัมพันธ์ ความแตกต่าง ความเฉพาะตน ของวัตถุ สิ่งมีชีวิต จิตใจ - ผลกระทบ ความต่อเนื่อง ความเปลี่ยนแปลง อารมณ์ - ความรู้สึก - การพัฒนา ความหายนะ ( วัฏฏะ ) - เกี่ยวข้องกับทุกศาสตร์
  • 33. นิเวศวิทยา Ecology - นิเวศวิทยา Ecology - นิเวศนิเทศ Eco - communication - นิเวศเกษตร Agro - ecology - การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ Ecotourism
  • 36. นวัตกรรมทางเทคโนโลยี 1. กลไก (mechanisms) และ แรงต่างๆ -analogue - แรงโน้มถ่วง -digital - แรงแม่เหล็ก - แรงไฟฟ้า - แรงนิวเคลียร์ 2. การพัฒนา ( development ) และความยั่งยืน ( sustainable ) 3. ความรู้ และการจัดการความรู้ ( Knowledge Management ) 4. วาทะกรรม หรือ เทคโนโลยีทางภาษาและการสื่อสาร
  • 37. นวัตกรรมทางสังคม 1. บ้าน วัด โรงเรียน 2. เครือข่ายชุมชน (Communication Network) 3. เศรษฐกิจพึ่งตน / เศรษฐกิจพอเพียง ( Sufficient Economy ) 4. กสิกรรมธรรมชาติ / เกษตรอินทรีย์ ( Organic Agriculture )
  • 38. ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง Sufficient Economy พอเพียง = Sufficiency ความต้องการ Demand การตอบสนองความต้องการ Supply ความต้องการ พื้นฐาน Standard/Original Needs ความต้องการ ส่วนเกิน Redundancy / Desire
  • 39. เศรษฐกิจพอเพียง 4 ระดับ ระดับที่ 1 ตอบสนอง ความต้องการพื้นฐาน และ ศึกษาเรียนรู้ โทษภัยของความต้องการส่วนเกิน ระดับที่ 2 ตอบสนอง ความต้องการพื้นฐาน + ลด ความต้องการส่วนเกิน ระดับที่ 3 สร้าง ความต้องการพื้นฐาน + ลด ความต้องการส่วนเกิน ระดับที่ 4 สร้าง + แบ่งปัน ความต้องการพื้นฐานแก่ผู้อื่น + ลด ความต้องการส่วนเกิน CSR : Corporate Social Responsibility CG : Corporate Governance SC : Social Campaign SIOR : Social Input/Output Resource
  • 40. Gross National Happiness : GNH ความสุขมวลรวมประชาชาติ - การพัฒนาทางเศรษฐกิจ และสังคม ให้สามารถ พึ่งตนเอง อย่างยั่งยืน - การมุ่งเน้นอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ - สิ่งแวดล้อม - การอนุรักษ์ และ พัฒนาเสริมสร้าง วัฒนธรรมท้องถิ่น - ส่งเสริม หลักธรรมาภิบาล
  • 41. อยู่ แบบพึ่งพา คิด แบบพอเพียง พูด ให้พากเพียร ทำ แบบทุ่มเท บริโภค แบบพอดี สู่วิถี บ ว ร “ เพราะเราไม่พัก เราไม่เพียร เราจึงอยู่อย่างพอเพียงได้ ”
  • 42. นวัตกรรมทางจิต 1. สังขารธรรม ( being phenomena ) มิติวัฏฏะ - มิติเอกภาพ 2. ความหลุดพ้นจากวัฏฏะ 3. การสื่อสารทางจิต และพลังจิต
  • 43. องค์ประกอบสังขารธรรม (Formative Phenomena) ระดับ ธาตุ / สสาร (Mass) พีชะ (Organism) เดรัจฉาน (Wildness) ปุถุชน - มนุสโส (Homo Sapiens) เทพ (Super Maning / Goodness) ธรรม (Integrity - Being nothing ) ประเภท ( มีชีวิต - ไม่มีชีวิต ) ดิน วัตถุ (Material) พืช (Plant) สัตว์ (Animal) คน - มนุษย์ (Human) เทพ - พระเจ้า (God) ธรรม (Dharma)
  • 44. องค์ประกอบสังขารธรรม (Formative Phenomena) ธาตุ Mass องค์ประกอบ : ของ แข็ง + ของ เหลว + อุณหภูมิ + อากาศ + ช่องว่าง = ธาตุทั้ง 5 ( ดิน , น้ำ , ไฟ , ลม , อากาศ ) คุณลักษณะ : สสาร + พลังงาน = (Mass + Power)
  • 45. องค์ประกอบสังขารธรรม (Formative Phenomena) พีชะ (Organism) คุณลักษณะ : สสาร + พลังงาน + กริยา m ass + p ower + action องค์ประกอบ : ธาตุทั้ง 5 + อาหาร ( food )
  • 46. เดรัจฉาน ( Wildness ) องค์ประกอบสังขารธรรม (Formative Phenomena) องค์ประกอบ : ธาตุทั้ง 5 + อาหาร + ภูตะ ( รู้สึก - รับรู้ ) คุณลักษณะ : สสาร + พลังงาน + กริยา + กรรม + วัฎฎะ m ass + p ower + action + motion + eternity
  • 47. ปุถุชน - มนุสโส (Homo Sapiens) องค์ประกอบสังขารธรรม (Formative Phenomena) คุณลักษณะ : สสาร + พลังงาน + กริยา + กรรม + วิบาก m ass + p ower + action + motion + effect องค์ประกอบ : ธาตุทั้ง 5 + อาหาร + ภูตะ + ปาณะ + กิเลส ( ดุร้าย ) ( รู้สึก - รับรู้ ) ( พลังฉลาด )
  • 48. เทพ (Super Maning / Goodness) องค์ประกอบสังขารธรรม (Formative Phenomena) คุณลักษณะ : สสาร + พลังงาน + กริยา + กรรม + วิบาก m ass + p ower + action + motion + effect องค์ประกอบ : ธาตุทั้ง 5 + อาหาร + ภูตะ + ปาณะ + ภพ ( สวรรค์ ) ( รู้สึก - รับรู้ ) ( พลังฉลาด )
  • 49. ธรรม (Integrity - Being nothing ) องค์ประกอบสังขารธรรม (Formative Phenomena) องค์ประกอบ : ธาตุทั้ง 5 + อาหาร + ภูตะ + ปาณะ + สุญญตา ( รู้สึก - รับรู้ ) ( พลังฉลาด ) คุณลักษณะ : สสาร + พลังงาน + กริยา + กรรม + กาละ m ass + p ower + action + motion + time
  • 50. ที่มา : http :// www . truexpert . info / newidea2550 . html มิติของวัฏฏะ และ มิติของเอกภพ วัฏฏะ มี 3 มิติ แต่ในโลกของเอกภาพ ในวัฏฏะ จะมีมิติของเวลาเพิ่มขึ้นมาอีก 1 มิติ ดังนั้น มิติของวัฏฏะ จึงมี 4 มิติ คำถาม ( 1 ) จุดเริ่มต้นของเวลา อยู่ที่ไหน … ไม่มี ( 2 ) จุดจบของเวลาอยู่ที่ไหน … อนันต์ ( 3 ) ลูกศรของเวลาเดินทางเป็นตรงใช่หรือไม่ … เดินทางเป็นเส้นโค้ง สังขารธรรม ( Being Phenomena ) ใดๆ จะหลุดจากวงของวัฏฏะ ได้เพียงกรณีเดียว คือ ต้องทำให้ แกน “ กิเลส ” และแกน “ กรรม ” มีสภาวะเป็น “ หลุมดำ ” คือ มีศักยภาพ = 0 มีขนาด = 0 ซึ่ง ทำให้วัดค่าไม่ได้
  • 51. อารยะธรรมไอที อารยธรรมของไอที 5 ยุค ( 1 ) คือการสร้างและพัฒนา " รหัสความหมาย " ให้กับคอมพิวเตอร์ ( Code marked langued : CML ) ( 2 ) คือการสร้าง " ความเป็นจริง " ที่มาจาก " รหัสความหมาย ” ( 3 ) คือการแก้ไข " ความผิดพลาด " ที่เกิดจาก " รหัสความหมาย " ( error ) ( 4 ) คือการป้องกัน " ความเสียหาย " ที่เกิดจาก " ความผิดพลาด " ของ " รหัสความหมาย " ( bug ) ( 5 ) คือการทำลาย " รหัสความหมาย " ที่เกิดจาก " เจตนาอันชั่วร้าย " ของมนุษย์ ( virus )
  • 52. อารยธรรมของมนุษย์ ( 1 ) คือการกระทำ " ความจริง " ให้กับ " ความรู้ " ที่มนุษย์ควรรู้ ( 2 ) คือการงดกระทำ " ความจริง " ที่เกิดจาก " ความรู้ " ที่มนุษย์ไม่ควรรู้ ( 3 ) คือการเปิดเผย " ความรู้ " ที่เป็น " ความจริง " ที่มนุษย์ควรมี ( 4 ) คือการปกปิด " ความรู้ " ที่เกิดจาก " ความจริง " ที่มนุษย์ไม่ควรมี บ่อนทำลายอารยธรรมของมนุษย์ มาจากสาเหตุ 2 ประการ คือ ( 1 ) ไอทีวัตถุ ( technology hardware & technology software ) และ ( 2 ) ไอทีจิต ( techonology mentality ) * ที่มีอิทธิพลครอบงำเหนือมนุษย์ และ มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือในการ " ทำลายความผาสุก " ของมนุษย์ด้วยกันเอง (" ศาตรา " โดยแท้ หรืออาวุธ )
  • 53. ไอทีจิต ( technology mentality ) หมายถึง " วิธีคิด " และ " การบูรณาการทางความคิด " ระหว่าง 5 องค์ประกอบของ " เครื่องมือและสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมความคิด " ต่อไปนี้ -1 . สุขภาพจิตที่เป็นมนุษย์ปกติ ( มนุสสมนุสโส - physical wellbeing human ) -2 . ความรู้ ( knowledge ) -3 . อารมณ์ และ ความรัก ( motive & love )** -4 . การสื่อสาร ( communication ) -5 . เวลา ( Q - SPORT time dimension ) คอมพิวเตอร์มี โปรแกรม ( software ) เป็นแรงผลักดันให้เกิด การตอบสนอง ( interactive output ) ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ สิ่งที่ตรงข้ามกับการกระทำดังกล่าว ก็คือ " หายนธรรม " ทั้งสิ้นทั้งปวง