SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 11
หน่วยที่4
กลุ่มคุณภาพและการควบคุมคุณภาพทั่วทั้งองค์การของ
ญี่ปุ่ น
ความสัมพันธ์และความแตกต่างระหว่างTQMและTQC
TQM ระบบการบริหารเชิงคือการจัดระบบและวินัยในการทางาน เพื่อป้ องกัน
ความผิดพลาดเสียหาย
TQC
เป็นระบบหนึ่งที่ใช้เป็นวิธีการในการผลิต โดยบุคลากรในองค์กรทุกระดับ
โดยเน้นการติดตามและควบคุมให้ได้มาซึ่งคุณภาพโดยอาศัยการเก็บ
ตัวอย่างข้อมูลแล้วนามาคานวณและวิเคราะห์เชิงสถิติ เพื่อใช้เป็นข้อมูล
ประกอบการตัดสินใจ
TQM TQC
แนวทางการบริหารที่มุ่งเน้นคุณภาพโดยสมาชิก ทุกคนในองค์กรมีส่วนร่วมและมุ่ง
หมายผลงานระยะยาวด้วยการสร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้า รวมทั้งสร้าง
ผลประโยชน์ให้แก่หมู่สมาชิกขององค์กรและแก่สังคมด้วย
ญี่ปุ่ นได้วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่าง
TQMและTQC
วัฒนธรรม การเมือง ปรัชญา
ยุโรปเน้นความสาคัญของนักวิชาชีพและผู้เชี่ยวชาญ แยกหน้าที่ระหว่างผู้บริหารกับคนงาน เน้นระบบคุณธรรม มีอัตราการ
เข้าออกจากงานสูง เน้นผลกาไรระยะสั้น
ญี่ปุ่ นเน้นบทบาทของพนักงานและคนงาน ยึดถือระบบอาวุโส มีอัตราเข้าออกต่าเน้นการจ้างงานตลอดชีวิต เน้นผลกาไร
ระยะยาว
สรุป
TQC เกิดขึ้นที่ญี่ปุ่นและต่อมายุโรปนาไปใช้และเปลี่ยนมาเป็นTQM ซึ่งยุโรปมองว่าระบบ
TQCเป็นวัฒนธรรมของญี่ปุ่นใช้กับโรงงาน ยุโรปต้องการนาไปใช้กับองค์ที่กว้างขึ้น จาก
แนวความคิดดังกล่าวญี่ปุ่นมองว่านักวิชาการยุโรปเข้าใจผิดระบบTQCเป็นขบวนการที่สามารถ
นาไปใช้ได้กับงานทุกระดับชั้น
แนวคิดเรื่องการควบคุมคุณภาพของญี่ปุ่น
เฟเกนบาม
เป็นคนแรกที่ใช้คาว่า “การควบคุมคุณภาพทั้งองค์การ”
เขียนหนังสือขึ้นใช้ชื่อว่า “TQC” ในปี 1961
เฟเกนบาม ได้นิยามและให้ความหมายของTQC ว่าระบบที่มีประสิทธิผล
สาหรับผสมผสานพัฒนาคุณภาพของกลุ่มคนต่างๆในองค์การเพื่อให้การ
ผลิตและการบริการเกิดขึ้นในระดับที่ประหยัดและลูกค้าพึงพอใจอย่างเต็มที่
ความหมายและลักษณะสาคัญของการควบคุมคุณภาพทั้งองค์การ
มาตรฐานญี่ปุ่น jis อธิบายการควบคุมคุณภาพทั้งองค์การหมายถึง
การลงมือควบคุมคุณภาพให้สาเร็จ จาเป็นต้องได้รับความร่วมมือจาก
ทุกคน รวมไปถึงผู้บริหารระดับสูง ผู้จัดการ หัวหน้างาน และคนงาน
ในทุกพื้นที่บริษัท
ลักษณะสาคัญของการควบคุมคุณภาพทั้งองค์การของญี่ปุ่น มีอยู่ 3ประการ
ทุกฝ่ายในที่ทางานเข้า
มามีส่วนร่วมในการ
ควบคุมคุณภาพ
พนักงานทุกคนในที่
ทางานเข้ามามีส่วนร่วม
ในการควบคุมคุณภาพ
เป็นการควบคุม
คุณภาพแบบบูรณาการ
หลักการสาคัญของการควบคุมคุณภาพทั้งองค์การ
หลักสาคัญ 6ประการ
•1.คุณภาพมาก่อน
•2.มุ่งไปที่ลูกค้าไม่ใช่ผู้ผลิต
•3.กระบวนการต่อไปคือลูกค้าของคุณ
•4.นาเสนอข้อเท็จจริงและข้อมูลทางสถิติ
•5.ยืดปรัชญาในการจัดการที่เคารพต่อความเป็น
มนุษย์
•6.การจัดการต่างหน้าที่และคณะกรรมการต่าง
หน้าที่
แนวความคิดเกี่ยวกับคุณภาพ
อิชิกาวา
กลุ่มคุณภาพ คือกลุ่มคนเล็กที่ทาหน้าที่ควบคุมคุณภาพด้วยความสมัครใจ ซึ่งอยู่ภายในโงงาน
เดียวกัน เป็นกลุ่มที่พัฒนาตนเอง มีการพัฒนาร่วมกันโดยใช้เทคนิคในการควบคุมคุณภาพที่
ทุกคนมีส่วนร่วมได้แก่ ความต้องการให้กลุ่มคุณภาพปรับปรุงพัฒนากิจการบริษัท ต้องการให้
เคารพสิทธิความเป็นมนุษย์ ทาให้ทุกคนที่ทางานมีความสุขและสดใส
มี 5ประการ
5.ความต่อเนื่อง
4.การมีส่วนร่วม
โดยสมาชิกทุกคน
3.การพัฒนา
ร่วมกัน
1.ความ
สมัครใจ
2.การพัมนา
ตนเอง
ลักษณะสาคัญของกลุ่มคุณภาพ
วัตถุประสงค์ของกลุ่มคุณภาพ
2.เพื่อสร้างสภาพแสดล้อมที่ดีในการทางาน
1.เพื่อให้โอกาสพนักงานปรับปรุงตนเอง ด้านความรู้ทักษะ ด้วยวิธีการทางานเป็นทีม
3.เพื่อสร้างที่ทางานให้มีส่วนร่วมในการควบคุมคุณภาพอย่างแท้จริง
หน้าที่ของกลุ่มควบคุมคุณภาพ
1.ตัดสินใจกาหนดเป้ าหมาย
3.ประเมินสถานการปัจจุบัน
2.ให้เหตุผลที่ชัดเจนในการเลือก
6.ประเมินผลลัพย์
5.กาหนดมาตรฐาน
4.วิเคราะห์สืบหาสาเหตุ
9.วางแผนสาหรับอนาคต
8.ทบทวนปัญหาที่คงเหลือ
7.กาหนดมาตรฐานการเกิดปัญหา
ซ้า
ประโยชน์ที่ได้รับจากเครือข่ายคุณภาพ
ประการที่1 พนักงานได้มีส่วนร่วมในองค์การ
ประการที่2 พนักงานมีส่วนร่วมในการปรับปรุงแก้ไข
วิธีการทางาน
ประการที่3 พนักงานมีความมั่นคงในชีวิตการทางาน
8 ปัจจัย
1.ความผูกพันธ์และการสนับสนุนจากผู้บริหาร
2.การมีสวนร่วมของพนักงานและสหภาพแรงงาน
3.การฝึกอบรมสมาชิกและผู้นา
4.ความมั่นคงทางการเงิน
5.การอานวยความสะดวก นิสัยส่วนตัวผู้บริหาร
6.ลักษณะส่วนตัวสมาชิก
7.สภาพแวดล้อมภายใน-นอกองค์การ
8.ความพร้อมขององค์การในการนาสู่การปฎิบัติ

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie ใช้สอนระะคุณภาพปวส.ชฟ

เกณฑ์มาตรฐานเพา1
เกณฑ์มาตรฐานเพา1เกณฑ์มาตรฐานเพา1
เกณฑ์มาตรฐานเพา1
guestb58ff9
 
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทยการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
Punyapon Tepprasit
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
Prakaywan Tumsangwan
 

Ähnlich wie ใช้สอนระะคุณภาพปวส.ชฟ (20)

ocjee
ocjeeocjee
ocjee
 
L1
L1L1
L1
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
 
L1
L1L1
L1
 
Tqm
TqmTqm
Tqm
 
Chapter1 kc
Chapter1 kcChapter1 kc
Chapter1 kc
 
Tqm
TqmTqm
Tqm
 
Km16-17
Km16-17Km16-17
Km16-17
 
TQM & Operations Management for Sustainability
TQM & Operations Management for SustainabilityTQM & Operations Management for Sustainability
TQM & Operations Management for Sustainability
 
คู่มือติวV-net 3000 0101
คู่มือติวV-net 3000 0101คู่มือติวV-net 3000 0101
คู่มือติวV-net 3000 0101
 
Tqa
TqaTqa
Tqa
 
NQA application report writing
NQA application report  writingNQA application report  writing
NQA application report writing
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
เกณฑ์มาตรฐานเพา1
เกณฑ์มาตรฐานเพา1เกณฑ์มาตรฐานเพา1
เกณฑ์มาตรฐานเพา1
 
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทยการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
 
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้าคู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
 

ใช้สอนระะคุณภาพปวส.ชฟ