SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 44
Downloaden Sie, um offline zu lesen
้ ่
จากหอคอยงาชางสูข ้าวแกงข ้างถนน

              สฤณี อาชวานันทกุล
           http://www.fringer.org/
               ์ ็
           เวิรคชอป ‘ค่ายนักเขียน ธปท.’
                                        ี
 ธนาคารแห่งประเทศไทย สานักงานภาคเหนือ เชยงใหม่
                16 พฤศจิกายน 2555
          งานนี้เผยแพร่ภายใต้สญญาอนุญาต Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-nc-sa)
                                ั
          โดยผูสร้างอนุญาตให้ทาซา แจกจ่าย แสดง และสร้างงานดัดแปลงจากส่วนใดส่วนหนึ่งของงานนี้ได้โดยเสรี แต่เฉพาะใน
               ้                  ้
           กรณีทให้เครดิตผูสร้าง ไม่นาไปใช้ในทางการค้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต้สญญาอนุญาตแบบเดียวกันนี้เท่านัน
                 ่ี        ้                                                      ั                             ้
หัวข ้อ
• “วิธคด” vs “วิธเขียน”
      ี ิ        ี
• ความ “ยาก” ของเศรษฐศาสตร์ และ
  ข ้อเขียนแต่ละประเภท
• เขียนอย่างไรให ้ “รัดกุม” และ “รู ้เรือง”
                                        ่
• เครืองมือใหม่ๆ และข ้อควรระวัง
      ่
               ี
• องค์กรกับโซเชยลมีเดีย
                                              2
“วิธคด” vs “วิธเขียน”
    ี ิ        ี
นกบิน พอเหนือยมันก็รอนลงดิน
               ่       ่

คนคิด พอเหนือยเขาก็พดว่า “ฉั นเข ้าใจ”
            ่       ู

           - สุภาษิตญีปน -
                      ่ ุ่
                                         4
ข ้อควรพิจารณาเกียวกับการคิด
                 ่
            ั ้
• ความซบซอนสองประเภท
              ั ้     ิ
    ความซบซอนเชงรายละเอียด (detail complexity):
         ั ้
      ซบซอนจากจานวนตัวแปร
               ั ้      ิ
    ความซบซอนเชงพลวัต (dynamic complexity):
          ั ้                          ั
      ซบซอนจากธรรมชาติของปฏิสมพันธ์ระหว่างตัวแปร
      ต่างๆ
                          ี่ ั ้   ิ
• การคิดในสถานการณ์ทซบซอนเชงรายละเอียด: นา
  รายละเอียดต่างๆ มารวมกัน “อย่างไร” ให ้เป็ นระเบียบ
                            ี่ ั ้   ิ
• การคิดในสถานการณ์ทซบซอนเชงพลวัต: “ช” ตัวแปร ี้
       ั                        ั
  ให ้ชด และ “เข ้าใจ” ปฏิสมพันธ์ระหว่างกัน
                                                        5
่
วิธคด “ธรรมชาติ” ของคนสวนใหญ่ (1)
   ี ิ
         ้
 คิดจากซายไปขวา
   เริมทีจดตังต ้น คิดต่อไปเรือยๆ ให ้ถึงจุดหมาย
       ่ ่ ุ ้                 ่

   “ผลลัพธ์” หรือจุดหมายคืออะไรก็ตามทีเราไปถึง
                                       ่
            ้             ิ
    (บางทีเสนตายคือตัวตัดสน!)

                 ี่ ิ         ่       ิ่ ่ ั
   “ง่าย” ในแง่ทคดต่อจุดไปเรือยๆ จากสงทีตวเองรู ้อยู่
    แล ้ว


                                                         6
่
วิธคด “ธรรมชาติ” ของคนสวนใหญ่ (2)
   ี ิ
 คิดจากล่างขึนบน
              ้
   เป้ าประสงค์หลักคือพยายามคิดวิธรวบรวมและ
                                   ี
    ประมวลข ้อมูล
   ปกติคนจะตังต ้นคิดจากระดับความละเอียดทีตวเอง
                 ้                              ่ ั
    คุ ้นเคย แต่อาจไม่สอดคล ้องหรือเกียวข ้องกับปั ญหา
                                      ่
    หรือประเด็นทีจะนาเสนอ
                   ่
                                             ึ้
   จากัดการพัฒนาความรู ้ความเข ้าใจอย่างลึกซง
    (insight)
   ปกติผลลัพธ์คอ “ตาน้ าพริกละลายแม่น้ า”
                ื
                                                         7
่
วิธคด “ธรรมชาติ” ของคนสวนน ้อย (1)
   ี ิ
              ้
 คิดจากขวาไปซาย
   เริมทีจดหมาย (ผลลัพธ์) และคิดกลับมาหาจุดตังต ้น
       ่ ่ ุ                                  ้
    ค ้นหาวิธวาจะไปถึงจุดหมายได ้อย่างไร อย่างเป็ น
             ี ่
    เหตุเป็ นผล

   “ยาก” ในแง่ทต ้อง “คิด” ตลอดเวลาว่าเรากาลัง
                ี่
                           ่ ุ
    เดินทางไหน และมันนาไปสูจดหมายหรือเปล่า

   วางแผนผลลัพธ์ไว ้ก่อนแล ้วล่วงหน ้า

                                                      8
่
วิธคด “ธรรมชาติ” ของคนสวนน ้อย (2)
   ี ิ
 คิดจากบนลงล่าง
   เป้ าประสงค์หลักคือพัฒนาความรู ้ความเข ้าใจอย่าง
          ึ้     ั
    ลึกซงในปฏิสมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ
   ตังต ้นจากตัวปั ญหาหรือประเด็น แล ้วค่อยคิดต่อลง
      ้
    มาเรือยๆ
          ่




                                                       9
ั        ั
คิดแบบไหนดีกว่ากัน? ถ ้าคิดชดก็เขียนชด?




                                     10
“การเขียนเหมือนกับการขับรถฝ่ าหมอกกลางดึก คุณ
                               ่
   มองเห็นทางแต่เฉพาะทีไฟหน ้าสองไปถึง แต่ก็
                       ่
        สามารถเดินทางทังทริปแบบนันได ้”
                       ้         ้

            - อี.แอล. ด็อกทอโรว์ -              11
ความ “ยาก” ของเศรษฐศาสตร์ และ
      ข ้อเขียนแต่ละประเภท
เศรษฐศาสตร์ “ยาก” ตรงไหน
 นามธรรม
 อนาคต  ความไม่แน่นอน
   ั
 ศพท์แสงทางเทคนิค
 สมการ ตัวเลข
 ตัวแปร เงือนไข บริบท
            ่
 คนคิดว่า “ไกลตัว”
 ไม่ใช ่ “เกิด A เพราะ B” แต่ “B, C, D น่าจะมีสวน
                                                ่
  ก่อให ้เกิด A”
                                                     13
ข ้อเขียนทางเศรษฐศาสตร์
ในนามองค์กร                   ่
                        ในนามสวนตัว
 งานวิจัย                               ่
                         บล็อก/เว็บไซต์สวนตัว
 บทความวิชาการ                       ่
                         Facebook สวนตัว
             ั
 ข่าวประชาสมพันธ์                 ่
                         Twitter สวนตัว
                 ื
 บทความลงหนังสอพิมพ์
 บล็อกองค์กร
 Facebook องค์กร
 Twitter องค์กร

                                                 14
ข ้อเขียนแต่ละประเภทต่างกันอย่างไร?




                                      15
เขียนอย่างไรให ้ “รัดกุม”
     และ “รู ้เรือง”
                 ่
ระดมสมอง: ตัวอย่างงานเขียน
1. อาจินต์ ปัญจพรรค์: “เศรษฐศาสตร์กลางทะเลลึก” จาก
http://www.fringer.org/wp-content/writings/econ-deepsea.pdf
                    ์
2. นิธ ิ เอียวศรีวงศ: “ต ้นกาเนิดประชานิยม” จาก
http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2008q1/2008march07p8.h
tm และ “ค่าเงินบาทจากแง่มมเศรษฐสวดอนุบาล” จาก
                              ุ
http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2007q3/2007september03
p4.htm
3. วรากรณ์ สามโกเศศ: “รวย จน และน้ าตา” จาก
http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2006q3/2006september28
p1.htm และ “ของเมืองนอกแพงหูฉี่ไม่เท่ากัน” จาก
http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2008q2/2008april03p5.htm
                                                              17
ข ้อเขียนทางเศรษฐศาสตร์ท ี่ “ดี”
   มีโครงสร ้าง (เป็ นเหตุเป็ นผล)
   อ่านง่าย
     ั
    ชดเจน
       ้
    ใชข ้อเท็จจริงและข ้อมูล?
   ให ้แง่คด?
            ิ
   น่าอ่าน น่าสนใจ (เพราะอะไร?)
   อารมณ์ขน? ั
                                      18
ิ่ ่
สงทีไม่ควรทา
    ้ ั                      ่
 ใชศพท์หรือแนวคิดทีคนทีไม่ใชนักเศรษฐศาสตร์ไม่รู ้จัก
                    ่   ่
  โดยไม่อธิบายความหมาย
    ้ ั
 ใชศพท์ภาษาอังกฤษพราเพรือ
                    ่    ่
 เขียนภาษาไทยคาอังกฤษคา
 ไม่แยกแยะระหว่าง “ข ้อเท็จจริง” กับ “ข ้อคิดเห็น”
 ยกข ้อมูลหรือสถิตโดยไม่อธิบายความสาคัญ
                   ิ
 ยกข ้อมูลหรือสถิตทไม่เกียวกับประเด็น
                   ิ ี่   ่
                                             ั
 เขียนถึง “ความน่าจะเป็ น” ราวกับมันเป็ น “สจธรรม”

                                                        19
ความรัดกุมในการเขียน
•   อ ้างอิงแหล่งทีมาของข ้อมูล
                   ่
•   แจกแจงข ้อจากัดของแหล่งทีมา (ถ ้ามี)
                                ่
•   ตระหนักในพลังและอานาจของตัวเลข
•               ้    ิ ี่ ื่
    ระวังการใชสถิตทสอไม่ตรงประเด็น เชน ่
    – รายได ้เฉลียไม่บอกอะไรเกียวกับความเหลือมล้าทางรายได ้
                 ่             ่            ่
    – อัตราเงินเฟ้ อไม่บอกอะไรเกียวกับความอยูดมสขทางเศรษฐกิจ
                                 ่           ่ ี ี ุ
              ้   ่ ื่ ั ่
• ระวังการใชคาทีสอสดสวน โดยเฉพาะกรณีทไม่ม ีี่
                      ่    ่      ่
  ข ้อมูลสนับสนุน เชน “สวนใหญ่” “สวนน ้อย”
• หลีกเลียงการเหมารวม
          ่                                                    20
ิ
ศลปะแห่งการอุปมาอุปไมย
“...พอธนาคารล ้มเหลวก็เหมือนหัวใจวาย ระบบเศรษฐกิจยาแย่ [ใน
                                                  ่
วิกฤติต ้มยากุ ้ง ปี 1997] อเมริกาเลยสอนเราว่า คราวหน ้าต ้องไปทา
ระบบตลาดทุนและระบบประกันให ้ดี จะได ้เหมือนรถทียงวิงได ้อยู่ ถึง
                                               ่ ั ่
    ี                    ิ่ ่ ุ
จะเสยล ้อไปอันหนึง เป็ นสงทีคณกรีนสแปนสอนว่าให ้เผือยางสารอง
                 ่                                 ่
เอาไว ้ ถ ้ายางล ้อหนึงระเบิดไป ก็จะได ้มีอย่างอืนทีจะมาทดแทนให ้
                      ่                          ่ ่
เงินไหลเวียนอยูในระบบได ้ ปรากฏว่าครังนีเป็ นวิกฤตครังร ้ายแรง
               ่                     ้ ้             ้
                                 ้                     ้
มาก เพราะว่าอเมริกามียางอยู่ 4 เสน ระเบิดพร ้อมกันทุกเสน และที่
เคยสอนเราไว ้ต ้องไปเปิ ดตาราใหม่ ว่าจะทาอย่างไรเมือยางระเบิด
                                                   ่
หมดแล ้ว”
                                       ั
                             - ดร. กอบศกดิ์ ภูตระกูล, U.S. Crisis
                                                                    21
ิ           ื่
ศลปะแห่งการเชอมโยง (1)




 ทีมา: http://flowingdata.com/2009/03/13/27-visualizations-and-infographics-to-
   ่                                                                              22
 understand-the-financial-crisis/
ิ           ื่
ศลปะแห่งการเชอมโยง (2)
                                  $15 ล ้านล ้าน : จีดพและหนีสหรัฐ
                                                      ี ี    ้
                                                          ปี 2011




 ทีมา: http://usdebt.kleptocracy.us/
   ่                                                                 23
ื
จะเป็ นนักสบ หรือจะเป็ นนักท่องเทียว?
                                  ่
คาถามทีสาคัญทีสด
       ่      ่ ุ




                    25
เครืองมือใหม่ๆ และข ้อควรระวัง
    ่
ตัวอย่าง “มูลค่าเพิม” : tip of the week
                   ่
ตัวอย่าง Infographic ที่ “เวิรค”
                              ์
ตัวอย่าง Infographic ที่ “ไม่เวิรค”
                                 ์
่ ี ่
Infographic ทีดชวยเพิมมูลค่า...
                     ่




                                  ทีมา: ไทยรัฐออนไลน์
                                    ่
...แต่ต ้องหาง่าย+โดดเด่น
ทำเนื้อหำให้เป็ น“น้ำตก”
ี
องค์กรกับโซเชยลมีเดีย
นิวมีเดีย = digital + interactive
ความสาคัญของ Long Tail
โลกของ Web 2.0
ี
ประเภทของโซเชยลมีเดีย
             พูด/เขียน


   เล่นเกม                  แบ่งปั น



    สร ้าง
เครือข่าย                      สนทนา


         สถานที่          ื้ ิ
                         ซอสนค ้า/บริการ

                                           37
ี
โซเชยลมีเดียทีได ้รับความนิยมสูงสุด
              ่
้   ี
วิธกว ้างๆ ทีคนใชโซเชยลมีเดีย
   ี         ่




                                39
ี                  ั         ื่
โซเชยลมีเดีย คือ “ความสมพันธ์ผานสอ”
                              ่
      ี                        ื่
• โซเชยลมีเดีย ไม่ได ้เป็ นแค่สอ เทคโนโลยี หรือเครืองมือ
                                                   ่
      ี                  ั         ั
• โซเชยลมีเดีย คือ “ความสมพันธ์ทางสงคม” (Social) ที่
  ขับดันด ้วยการสนทนา
• การสนทนา เกิดขึนระหว่างคนจริงๆ
                 ้
• ดังนัน ใครก็ตามทีอยากได ้ประโยชน์ เต็มที่ จากโซเชยล
       ้           ่                               ี
                   ่                    ่    ้   ี
  มีเดีย ก็ต ้องมีสวนร่วมในบทสนทนา ไม่ใชแค่ใชโซเชยล
  มีเดียเป็ น “เครืองมือ” พีอาร์หรือการตลาด
                   ่
       ่
• จะมีสวนร่วมได ้ ก็ต ้อง 1) รู ้จักตัวเอง และ 2) รู ้จัก
  กลุมเป้ าหมาย
     ่                                                      40
ี
ลักษณะของโซเชยลมีเดีย
• โตเร็วมาก – 500,000 new users ต่อวัน เมืองไทยผู ้ใช ้
  Facebook เพิมจาก 1.6 ล ้าน เป็ น 7 ล ้านในหนึงปี
              ่                                ่
• เข ้าถึงคนจานวนมากอย่างรวดเร็ว
• เข ้าจากทีไหนก็ได ้ จากเครืองมืออะไรก็ได ้ทีเข ้าเน็ ตได ้
            ่                ่                ่
                ่                             ่
• ทุกคนสามารถมีสวนร่วม (ถ ้าไม่ตงค่าความเป็ นสวนตัว)
                                ั้
                           ั
• สร ้าง “ชุมชน” และ “ความสมพันธ์”
• โฆษณาและสแปมค่อนข ้างมาก
• เนือหามหาศาลและซ้าซากจาเจ ทาให ้คนเบือง่าย
     ้                                 ่
                                                               41
ี             ื่
โซเชยลมีเดีย vs. สอสารมวลชน
                   ื่            ่
                 สอสารมวลชนชวยสร ้างการ
                 ตระหนักรู ้ (awareness)
                        ่
                 นาไปสูการพิจารณา
                 (consideration) และขัน้
                 ต่อๆ ไป

                      ี           ่
                 โซเชยลมีเดียชวยสร ้างบท
                 สนทนา (conversation)
                 ความภักดีตอ “แบรนด์”
                             ่
                 (loyalty) และการรณรงค์
                               ึ่
                 (advocacy) ซงสร ้างการ
                 ตระหนักรู ้               42
New Media vs. Old Media
  • การเข ้าถึง (access)
  • ความคุ ้มค่า (cost effectiveness)
  • อายุ (lifespan)
  • ความรู ้ (knowledge)
  • มีผู ้ผลิตเนือหาไม่หยุดนิง (active
                 ้           ่
    content producers)
  • การโต ้ตอบกัน (interactive)
ื่
“ระบบนิเวศใหม่” ของสอ
 - ชุมชนออนไลน์พดคุย
                   ู
                     ่ ื่
และ “ขยาย” เรืองราวทีสอ
              ่
     กระแสหลักสร ้าง
 - ชุมชนเหล่านียงผลิตสอ
                 ้ ั    ื่
       ่
แบบมีสวนร่วม รายงานข่าว
 จากฐานราก แลกเปลียน  ่
 ความเห็น และตรวจสอบ
         ข ้อเท็จจริง
- สอกระแสหลักสามารถใช ้
    ื่
  เนือหาของชุมชนเหล่านี้
       ้
   เป็ นประโยชน์ ในฐานะ
 แหล่งข่าว ไอเดียทาข่าว
 และ cross-check ข ้อมูล

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie From Ivory Tower to Street Food

Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54dentyomaraj
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์Surapon Boonlue
 
อาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟอาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟNing Rommanee
 
อาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟอาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟNing Rommanee
 
อาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟอาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟNing Rommanee
 
วิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวม
วิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวมวิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวม
วิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวมPrachoom Rangkasikorn
 
คิดต่าง สร้างใหม่
คิดต่าง  สร้างใหม่คิดต่าง  สร้างใหม่
คิดต่าง สร้างใหม่Chu Ching
 
การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01Apida Runvat
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร.pdf
การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร.pdfการเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร.pdf
การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร.pdfJenjiraTipyan
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานteacherhistory
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์jeeraporn
 
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์Sansana Siritarm
 
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธDrDanai Thienphut
 
พลังจากภายใน
พลังจากภายในพลังจากภายใน
พลังจากภายในPattie Pattie
 
Language, Reality, Emptiness, Laughs
Language, Reality, Emptiness, LaughsLanguage, Reality, Emptiness, Laughs
Language, Reality, Emptiness, LaughsSoraj Hongladarom
 

Ähnlich wie From Ivory Tower to Street Food (20)

Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
 
Scenario Thinking
Scenario ThinkingScenario Thinking
Scenario Thinking
 
อาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟอาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟ
 
อาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟอาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟ
 
อาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟอาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟ
 
วิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวม
วิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวมวิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวม
วิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวม
 
คิดต่าง สร้างใหม่
คิดต่าง  สร้างใหม่คิดต่าง  สร้างใหม่
คิดต่าง สร้างใหม่
 
การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01
 
เรียงความ
เรียงความเรียงความ
เรียงความ
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร.pdf
การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร.pdfการเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร.pdf
การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร.pdf
 
Online Collaboration
Online CollaborationOnline Collaboration
Online Collaboration
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
 
V 291
V 291V 291
V 291
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์
 
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
 
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
 
พลังจากภายใน
พลังจากภายในพลังจากภายใน
พลังจากภายใน
 
Language, Reality, Emptiness, Laughs
Language, Reality, Emptiness, LaughsLanguage, Reality, Emptiness, Laughs
Language, Reality, Emptiness, Laughs
 

Mehr von Sarinee Achavanuntakul

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Sarinee Achavanuntakul
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?Sarinee Achavanuntakul
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectSarinee Achavanuntakul
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandSarinee Achavanuntakul
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessSarinee Achavanuntakul
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkSarinee Achavanuntakul
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Sarinee Achavanuntakul
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueSarinee Achavanuntakul
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilitySarinee Achavanuntakul
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์Sarinee Achavanuntakul
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016Sarinee Achavanuntakul
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยSarinee Achavanuntakul
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeSarinee Achavanuntakul
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverSarinee Achavanuntakul
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsSarinee Achavanuntakul
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorSarinee Achavanuntakul
 

Mehr von Sarinee Achavanuntakul (20)

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
 
2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View
 
Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in Thailand
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 

From Ivory Tower to Street Food

  • 1. ้ ่ จากหอคอยงาชางสูข ้าวแกงข ้างถนน สฤณี อาชวานันทกุล http://www.fringer.org/ ์ ็ เวิรคชอป ‘ค่ายนักเขียน ธปท.’ ี ธนาคารแห่งประเทศไทย สานักงานภาคเหนือ เชยงใหม่ 16 พฤศจิกายน 2555 งานนี้เผยแพร่ภายใต้สญญาอนุญาต Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-nc-sa) ั โดยผูสร้างอนุญาตให้ทาซา แจกจ่าย แสดง และสร้างงานดัดแปลงจากส่วนใดส่วนหนึ่งของงานนี้ได้โดยเสรี แต่เฉพาะใน ้ ้ กรณีทให้เครดิตผูสร้าง ไม่นาไปใช้ในทางการค้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต้สญญาอนุญาตแบบเดียวกันนี้เท่านัน ่ี ้ ั ้
  • 2. หัวข ้อ • “วิธคด” vs “วิธเขียน” ี ิ ี • ความ “ยาก” ของเศรษฐศาสตร์ และ ข ้อเขียนแต่ละประเภท • เขียนอย่างไรให ้ “รัดกุม” และ “รู ้เรือง” ่ • เครืองมือใหม่ๆ และข ้อควรระวัง ่ ี • องค์กรกับโซเชยลมีเดีย 2
  • 4. นกบิน พอเหนือยมันก็รอนลงดิน ่ ่ คนคิด พอเหนือยเขาก็พดว่า “ฉั นเข ้าใจ” ่ ู - สุภาษิตญีปน - ่ ุ่ 4
  • 5. ข ้อควรพิจารณาเกียวกับการคิด ่ ั ้ • ความซบซอนสองประเภท ั ้ ิ  ความซบซอนเชงรายละเอียด (detail complexity): ั ้ ซบซอนจากจานวนตัวแปร ั ้ ิ  ความซบซอนเชงพลวัต (dynamic complexity): ั ้ ั ซบซอนจากธรรมชาติของปฏิสมพันธ์ระหว่างตัวแปร ต่างๆ ี่ ั ้ ิ • การคิดในสถานการณ์ทซบซอนเชงรายละเอียด: นา รายละเอียดต่างๆ มารวมกัน “อย่างไร” ให ้เป็ นระเบียบ ี่ ั ้ ิ • การคิดในสถานการณ์ทซบซอนเชงพลวัต: “ช” ตัวแปร ี้ ั ั ให ้ชด และ “เข ้าใจ” ปฏิสมพันธ์ระหว่างกัน 5
  • 6. ่ วิธคด “ธรรมชาติ” ของคนสวนใหญ่ (1) ี ิ ้  คิดจากซายไปขวา  เริมทีจดตังต ้น คิดต่อไปเรือยๆ ให ้ถึงจุดหมาย ่ ่ ุ ้ ่  “ผลลัพธ์” หรือจุดหมายคืออะไรก็ตามทีเราไปถึง ่ ้ ิ (บางทีเสนตายคือตัวตัดสน!) ี่ ิ ่ ิ่ ่ ั  “ง่าย” ในแง่ทคดต่อจุดไปเรือยๆ จากสงทีตวเองรู ้อยู่ แล ้ว 6
  • 7. ่ วิธคด “ธรรมชาติ” ของคนสวนใหญ่ (2) ี ิ  คิดจากล่างขึนบน ้  เป้ าประสงค์หลักคือพยายามคิดวิธรวบรวมและ ี ประมวลข ้อมูล  ปกติคนจะตังต ้นคิดจากระดับความละเอียดทีตวเอง ้ ่ ั คุ ้นเคย แต่อาจไม่สอดคล ้องหรือเกียวข ้องกับปั ญหา ่ หรือประเด็นทีจะนาเสนอ ่ ึ้  จากัดการพัฒนาความรู ้ความเข ้าใจอย่างลึกซง (insight)  ปกติผลลัพธ์คอ “ตาน้ าพริกละลายแม่น้ า” ื 7
  • 8. ่ วิธคด “ธรรมชาติ” ของคนสวนน ้อย (1) ี ิ ้  คิดจากขวาไปซาย  เริมทีจดหมาย (ผลลัพธ์) และคิดกลับมาหาจุดตังต ้น ่ ่ ุ ้ ค ้นหาวิธวาจะไปถึงจุดหมายได ้อย่างไร อย่างเป็ น ี ่ เหตุเป็ นผล  “ยาก” ในแง่ทต ้อง “คิด” ตลอดเวลาว่าเรากาลัง ี่ ่ ุ เดินทางไหน และมันนาไปสูจดหมายหรือเปล่า  วางแผนผลลัพธ์ไว ้ก่อนแล ้วล่วงหน ้า 8
  • 9. ่ วิธคด “ธรรมชาติ” ของคนสวนน ้อย (2) ี ิ  คิดจากบนลงล่าง  เป้ าประสงค์หลักคือพัฒนาความรู ้ความเข ้าใจอย่าง ึ้ ั ลึกซงในปฏิสมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ  ตังต ้นจากตัวปั ญหาหรือประเด็น แล ้วค่อยคิดต่อลง ้ มาเรือยๆ ่ 9
  • 10. ั คิดแบบไหนดีกว่ากัน? ถ ้าคิดชดก็เขียนชด? 10
  • 11. “การเขียนเหมือนกับการขับรถฝ่ าหมอกกลางดึก คุณ ่ มองเห็นทางแต่เฉพาะทีไฟหน ้าสองไปถึง แต่ก็ ่ สามารถเดินทางทังทริปแบบนันได ้” ้ ้ - อี.แอล. ด็อกทอโรว์ - 11
  • 12. ความ “ยาก” ของเศรษฐศาสตร์ และ ข ้อเขียนแต่ละประเภท
  • 13. เศรษฐศาสตร์ “ยาก” ตรงไหน  นามธรรม  อนาคต  ความไม่แน่นอน ั  ศพท์แสงทางเทคนิค  สมการ ตัวเลข  ตัวแปร เงือนไข บริบท ่  คนคิดว่า “ไกลตัว”  ไม่ใช ่ “เกิด A เพราะ B” แต่ “B, C, D น่าจะมีสวน ่ ก่อให ้เกิด A” 13
  • 14. ข ้อเขียนทางเศรษฐศาสตร์ ในนามองค์กร ่ ในนามสวนตัว  งานวิจัย ่  บล็อก/เว็บไซต์สวนตัว  บทความวิชาการ ่  Facebook สวนตัว ั  ข่าวประชาสมพันธ์ ่  Twitter สวนตัว ื  บทความลงหนังสอพิมพ์  บล็อกองค์กร  Facebook องค์กร  Twitter องค์กร 14
  • 16. เขียนอย่างไรให ้ “รัดกุม” และ “รู ้เรือง” ่
  • 17. ระดมสมอง: ตัวอย่างงานเขียน 1. อาจินต์ ปัญจพรรค์: “เศรษฐศาสตร์กลางทะเลลึก” จาก http://www.fringer.org/wp-content/writings/econ-deepsea.pdf ์ 2. นิธ ิ เอียวศรีวงศ: “ต ้นกาเนิดประชานิยม” จาก http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2008q1/2008march07p8.h tm และ “ค่าเงินบาทจากแง่มมเศรษฐสวดอนุบาล” จาก ุ http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2007q3/2007september03 p4.htm 3. วรากรณ์ สามโกเศศ: “รวย จน และน้ าตา” จาก http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2006q3/2006september28 p1.htm และ “ของเมืองนอกแพงหูฉี่ไม่เท่ากัน” จาก http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2008q2/2008april03p5.htm 17
  • 18. ข ้อเขียนทางเศรษฐศาสตร์ท ี่ “ดี”  มีโครงสร ้าง (เป็ นเหตุเป็ นผล)  อ่านง่าย  ั ชดเจน  ้ ใชข ้อเท็จจริงและข ้อมูล?  ให ้แง่คด? ิ  น่าอ่าน น่าสนใจ (เพราะอะไร?)  อารมณ์ขน? ั 18
  • 19. ิ่ ่ สงทีไม่ควรทา ้ ั ่  ใชศพท์หรือแนวคิดทีคนทีไม่ใชนักเศรษฐศาสตร์ไม่รู ้จัก ่ ่ โดยไม่อธิบายความหมาย ้ ั  ใชศพท์ภาษาอังกฤษพราเพรือ ่ ่  เขียนภาษาไทยคาอังกฤษคา  ไม่แยกแยะระหว่าง “ข ้อเท็จจริง” กับ “ข ้อคิดเห็น”  ยกข ้อมูลหรือสถิตโดยไม่อธิบายความสาคัญ ิ  ยกข ้อมูลหรือสถิตทไม่เกียวกับประเด็น ิ ี่ ่ ั  เขียนถึง “ความน่าจะเป็ น” ราวกับมันเป็ น “สจธรรม” 19
  • 20. ความรัดกุมในการเขียน • อ ้างอิงแหล่งทีมาของข ้อมูล ่ • แจกแจงข ้อจากัดของแหล่งทีมา (ถ ้ามี) ่ • ตระหนักในพลังและอานาจของตัวเลข • ้ ิ ี่ ื่ ระวังการใชสถิตทสอไม่ตรงประเด็น เชน ่ – รายได ้เฉลียไม่บอกอะไรเกียวกับความเหลือมล้าทางรายได ้ ่ ่ ่ – อัตราเงินเฟ้ อไม่บอกอะไรเกียวกับความอยูดมสขทางเศรษฐกิจ ่ ่ ี ี ุ ้ ่ ื่ ั ่ • ระวังการใชคาทีสอสดสวน โดยเฉพาะกรณีทไม่ม ีี่ ่ ่ ่ ข ้อมูลสนับสนุน เชน “สวนใหญ่” “สวนน ้อย” • หลีกเลียงการเหมารวม ่ 20
  • 21. ิ ศลปะแห่งการอุปมาอุปไมย “...พอธนาคารล ้มเหลวก็เหมือนหัวใจวาย ระบบเศรษฐกิจยาแย่ [ใน ่ วิกฤติต ้มยากุ ้ง ปี 1997] อเมริกาเลยสอนเราว่า คราวหน ้าต ้องไปทา ระบบตลาดทุนและระบบประกันให ้ดี จะได ้เหมือนรถทียงวิงได ้อยู่ ถึง ่ ั ่ ี ิ่ ่ ุ จะเสยล ้อไปอันหนึง เป็ นสงทีคณกรีนสแปนสอนว่าให ้เผือยางสารอง ่ ่ เอาไว ้ ถ ้ายางล ้อหนึงระเบิดไป ก็จะได ้มีอย่างอืนทีจะมาทดแทนให ้ ่ ่ ่ เงินไหลเวียนอยูในระบบได ้ ปรากฏว่าครังนีเป็ นวิกฤตครังร ้ายแรง ่ ้ ้ ้ ้ ้ มาก เพราะว่าอเมริกามียางอยู่ 4 เสน ระเบิดพร ้อมกันทุกเสน และที่ เคยสอนเราไว ้ต ้องไปเปิ ดตาราใหม่ ว่าจะทาอย่างไรเมือยางระเบิด ่ หมดแล ้ว” ั - ดร. กอบศกดิ์ ภูตระกูล, U.S. Crisis 21
  • 22. ื่ ศลปะแห่งการเชอมโยง (1) ทีมา: http://flowingdata.com/2009/03/13/27-visualizations-and-infographics-to- ่ 22 understand-the-financial-crisis/
  • 23. ื่ ศลปะแห่งการเชอมโยง (2) $15 ล ้านล ้าน : จีดพและหนีสหรัฐ ี ี ้ ปี 2011 ทีมา: http://usdebt.kleptocracy.us/ ่ 23
  • 24. ื จะเป็ นนักสบ หรือจะเป็ นนักท่องเทียว? ่
  • 29. ตัวอย่าง Infographic ที่ “ไม่เวิรค” ์
  • 30. ่ ี ่ Infographic ทีดชวยเพิมมูลค่า... ่ ทีมา: ไทยรัฐออนไลน์ ่
  • 37. ี ประเภทของโซเชยลมีเดีย พูด/เขียน เล่นเกม แบ่งปั น สร ้าง เครือข่าย สนทนา สถานที่ ื้ ิ ซอสนค ้า/บริการ 37
  • 39. ี วิธกว ้างๆ ทีคนใชโซเชยลมีเดีย ี ่ 39
  • 40. ั ื่ โซเชยลมีเดีย คือ “ความสมพันธ์ผานสอ” ่ ี ื่ • โซเชยลมีเดีย ไม่ได ้เป็ นแค่สอ เทคโนโลยี หรือเครืองมือ ่ ี ั ั • โซเชยลมีเดีย คือ “ความสมพันธ์ทางสงคม” (Social) ที่ ขับดันด ้วยการสนทนา • การสนทนา เกิดขึนระหว่างคนจริงๆ ้ • ดังนัน ใครก็ตามทีอยากได ้ประโยชน์ เต็มที่ จากโซเชยล ้ ่ ี ่ ่ ้ ี มีเดีย ก็ต ้องมีสวนร่วมในบทสนทนา ไม่ใชแค่ใชโซเชยล มีเดียเป็ น “เครืองมือ” พีอาร์หรือการตลาด ่ ่ • จะมีสวนร่วมได ้ ก็ต ้อง 1) รู ้จักตัวเอง และ 2) รู ้จัก กลุมเป้ าหมาย ่ 40
  • 41. ี ลักษณะของโซเชยลมีเดีย • โตเร็วมาก – 500,000 new users ต่อวัน เมืองไทยผู ้ใช ้ Facebook เพิมจาก 1.6 ล ้าน เป็ น 7 ล ้านในหนึงปี ่ ่ • เข ้าถึงคนจานวนมากอย่างรวดเร็ว • เข ้าจากทีไหนก็ได ้ จากเครืองมืออะไรก็ได ้ทีเข ้าเน็ ตได ้ ่ ่ ่ ่ ่ • ทุกคนสามารถมีสวนร่วม (ถ ้าไม่ตงค่าความเป็ นสวนตัว) ั้ ั • สร ้าง “ชุมชน” และ “ความสมพันธ์” • โฆษณาและสแปมค่อนข ้างมาก • เนือหามหาศาลและซ้าซากจาเจ ทาให ้คนเบือง่าย ้ ่ 41
  • 42. ื่ โซเชยลมีเดีย vs. สอสารมวลชน ื่ ่ สอสารมวลชนชวยสร ้างการ ตระหนักรู ้ (awareness) ่ นาไปสูการพิจารณา (consideration) และขัน้ ต่อๆ ไป ี ่ โซเชยลมีเดียชวยสร ้างบท สนทนา (conversation) ความภักดีตอ “แบรนด์” ่ (loyalty) และการรณรงค์ ึ่ (advocacy) ซงสร ้างการ ตระหนักรู ้ 42
  • 43. New Media vs. Old Media • การเข ้าถึง (access) • ความคุ ้มค่า (cost effectiveness) • อายุ (lifespan) • ความรู ้ (knowledge) • มีผู ้ผลิตเนือหาไม่หยุดนิง (active ้ ่ content producers) • การโต ้ตอบกัน (interactive)
  • 44. ื่ “ระบบนิเวศใหม่” ของสอ - ชุมชนออนไลน์พดคุย ู ่ ื่ และ “ขยาย” เรืองราวทีสอ ่ กระแสหลักสร ้าง - ชุมชนเหล่านียงผลิตสอ ้ ั ื่ ่ แบบมีสวนร่วม รายงานข่าว จากฐานราก แลกเปลียน ่ ความเห็น และตรวจสอบ ข ้อเท็จจริง - สอกระแสหลักสามารถใช ้ ื่ เนือหาของชุมชนเหล่านี้ ้ เป็ นประโยชน์ ในฐานะ แหล่งข่าว ไอเดียทาข่าว และ cross-check ข ้อมูล